บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ ค.ศ.1817 1. โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johann DÖbereiner) จัดธาตุเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัตทิ ี่คล้าย คลึงกัน เรียกว่า Triads โดยธาตุ ตวั กลางจะมมี วลอะตอมเท่ากับหรือใกลเ้ คยี งกับคา่ เฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุ Li 7 Ca 40 Cl 35 Na 23 Sr 88 Br 80 K 39 Ba 137 I 129 ลองคิด = (7 + 23 +39)÷3 = 23 บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ ค.ศ.1817 1. โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johann DÖbereiner) แตเ่ ม่อื นาหลกั Triads มาใชก้ ับธาตกุ ลมุ่ อน่ื เช่น Cu (63.6), Ag (108), Au (197) Zn (65.4), Cd (112.4), Hg (200.6) มวลอะตอมของธาตุตัวกลางไมไ่ ดม้ คี า่ เปน็ คา่ เฉลย่ี ของ มวลอะตอมของธาตทุ เี่ หลอื ในแตล่ ะกลุ่ม บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ 2. จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) Law of Octaves ถ้านาธาตุมาเรียงมาตามมวลอะตอมที่ เพิ่มขน้ึ เป็นแถว แถวละ 7 ธาตุ ธาตุที่ 8 จะมสี มบตั คิ ล้ายกบั ธาตุที่ 1 โดยเริม่ จากธาตใุ ดก็ได้ *ขอ้ จากัด : กฎนี้ใชไ้ ดก้ ับธาตทุ ่มี มี วลอะตอมไมเ่ กิน มวลอะตอมของแคลเซยี ม (เลขมวล 40) เทา่ น้ัน บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ ค.ศ.1869 3. เมนเดเลเอฟ และไมเออร์ (Mendeleev) ถ้าเรยี งธาตุตามลาดับ กฎพีรอิ อดกิ (Periodic Law) มวลอะตอม จากนอ้ ยไปหามาก “สมบตั ทิ างเคมแี ละสมบตั ทิ าง กายภาพของธาตุตา่ งๆ นนั้ ธาตทุ ม่ี คี ณุ สมบตั คิ ลา้ ยกนั จะปรากฏ เปลย่ี นแปลงไปในลกั ษณะทเ่ี ป็นช่วงๆ อยตู่ รงกนั เปน็ ชว่ งๆ ตามการเปลยี่ นคา่ ของมวลอะตอม โดยจะสมั พันธ์ กบั มวลอะตอมของมัน” บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ต า ร า ง ธ า ตุ ข อ ง เ ม น เ ด เ ล เ อ ฟ ปี ค . ศ . 1 8 6 9 บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ 3. เมนเดเลเอฟ และไมเออร์ (Mendeleev) ขอ้ บกพรอ่ งของ ตาแหน่งของธาตุบางธาตจุ ะปรากฏอยู่ในกลุม่ ทม่ี สี มบัติ การจัดเรยี งธาตุ ทางเคมแี ละทางกายภาพทแี่ ตกต่างไป จงึ ต้องยกเวน้ ไม่เรยี งตาม ของเมนเดเลเอฟ มวลอะตอมเป็นบางธาตุ เช่น Te (มวลอะตอม = 128) และ I (มวลอะตอม = 127) ถ้าจัดธาตุทงั้ สองเรยี งตามลาดบั มวลอะตอมแล้ว ธาตุท้งั สองจะไมไ่ ด้ อยูห่ ม่เู ดยี วกบั ธาตุทมี่ สี มบัติคลา้ ยคลึงกัน จงึ ตอ้ งมกี ารสลบั ตาแหนง่ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Te (มวลอะตอม = 128) และ I (มวลอะตอม = 127) สลับตาแหน่งกัน เพื่อใหม้ ีสมบัตเิ หมอื น ตามหมู่
Part 4 วิวัฒนาการของตารางธาตุ ค.ศ.1913 4. เฮนรี จี.เจ. มอสลีย์ (Henry G.J. Moseley) ค้นพบว่า เลขอะตอม มีความสัมพนั ธ์กบั สมบัติของธาตุ มากกว่ามวลอะตอม ถ้าจดั เรยี งธาตุตามลาดบั ของเลขอะตอม จะสามารถ แก้ปญั หาการจดั ตารางธาตขุ องเมนเดเลเอฟได้ บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ตาราง ธาตุใน ปัจจุบัน บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Group A = กรอบแดง เ รี ย ก ว่ า ธาตเุ รฟพรีเซน เททฟี (ธาตุหมู่หลัก) มี 8 หมู่ IA จนถึง VIIIA บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
คาบ 1 คาบ 2 คาบ 3 คาบ 4 คาบ 5 คาบ 6 คาบ 7 บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. ตารางธาตุในปัจจุบัน คือ การจัดเรยี งธาตุเคมใี นรปู แบบของตารางตาม เลขอะตอม/การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอน และสมบตั ทิ างเคมี ท่ซี ้ากัน โดยจะใช้ แนวโนม้ พริ อิ อดกิ เปน็ โครงสร้างพืน้ ฐานของตาราง 1.) แนวนอน เรยี กว่า “คาบ” มีท้ังหมด 7 คาบ ซ่งึ เรยี งตามลาดบั เลขอะตอมธาตทุ เ่ี พ่มิ ข้นึ 2.) แนวตงั้ มที งั้ หมด 18 แถว เรยี กวา่ “หมู่” ในปัจจุบนั แบ่งธาตทุ ง้ั หมดออกเป็น 18 หมู่ (ธาตุทม่ี ีสมบัติคลา้ ยกันจะถูกจัดจาแนกใหอ้ ยใู่ นหมเู่ ดยี วกนั ,การจดั เรียงเวเลนซ์อิเลก็ ตรอน) ✓ ใช้สญั ลกั ษณเ์ ปน็ ตวั เลขโรมนั หรอื เลขอารบกิ จาก 1 ถึง 18 และตวั อกั ษร เช่น IA หรือ 1A หม่ยู อ่ ย A มี 8 หมู่ คือ หมู่ IA จนถงึ VIIIA หมู่ยอ่ ย B มี 8 หมู่ คอื หมู่ IB จนถงึ VIIIB แตเ่ รียงเรม่ิ จากหมู่ IIIB ถึงหมู่ IIB ซ่ึง มชี อื่ เรยี กว่า ธาตุแทรนซิชัน (Transition Elements) บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. ตารางธาตุในปัจจุบัน 3.) ธาตเุ รฟพรเี ซนเททีฟ (ธาตุหมหู่ ลัก) ประกอบดว้ ยธาตุ 3 กลุ่ม คือ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ 4.) ชือ่ เฉพาะของธาตหุ มู่ A บางหมู่ ธาตุหมู่ IA หรือโลหะอลั คาไล (alkaline metal) ธาตหุ มู่ IIA หรอื โลหะอลั คาไลน์เอริ ์ธ (alkaline earth) ธาตุหมู่ VIIA หรือหม่แู ฮโลเจน (Halogen group) ธาตุหมู่ VIIIA หรือก๊าซเฉือ่ ย หรือก๊าซมตี ระกูล (Inert gas ) บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. ตารางธาตุในปัจจุบัน 5.) ธาตุ 2 แถวลา่ ง ซ่งึ แยกไวต้ า่ งหากนน้ั เรยี กว่า ธาตุแทรนซิชันช้ันใน (Inner transition elements ) • ธาตแุ ถวบน คือ ธาตทุ ี่มเี ลขอะตอมตงั้ แต่ 58 ถึง 71 เรียกวา่ กลุ่มธาตแุ ลนทาไนด์ (Lanthanide series) ธาตกุ ลุ่มน้คี วรจะอยใู่ นหมู่ III B โดยจะเรยี งตอ่ จากธาตุ La • ธาตแุ ถวลา่ ง คอื ธาตุทม่ี ีเลขอะตอมตงั้ แต่ 90 ถงึ 103 เรยี กว่า กล่มุ ธาตแุ อกทไิ นด์ (Actinide series) ธาตกุ ลุม่ น้ีควรอยู่ในหมู่ III B โดยเรยี งตอ่ จากธาตุ Ac บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Group B = กรอบนา้ เงิน เ รี ย ก ว่ า ธ า ตุ แ ท ร น ซิ ชั น มี 8 หมู่ Inner มีสมบัติเป็น Transition โลหะ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. ตารางธาตุในปัจจุบัน ธาตุเรฟพรเี ซนเททฟี (ธาตุหมู่หลัก) ประกอบดว้ ยธาตุ 3 กลมุ่ คือ โลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ ธาตุทเ่ี ป็นโลหะและอโลหะถูกแยกออกจากกันด้วย “เส้นขั้นบันได” ทางซา้ ย ของเสน้ บันไดเป็น โลหะ ทางขวา ของเสน้ ขัน้ บนั ไดเป็น อโลหะ ส่วนธาตทุ ี่อยู่ชิดเส้นบนั ไดจะมสี มบัติก้ากึง่ ระหวา่ งโลหะกบั อโลหะ เรียกธาตพุ วกนว้ี ่า ธาตุกง่ึ โลหะ (Metalloid) บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ทางซ้าย = โลหะ ทางขวา = อโลหะ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ตารางธาตุ แบ่งตาม การจัดเรียง อิเล็กตรอน บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ตารางธาตุ แบ่งตาม การจัดเรียง อิเล็กตรอน บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ทาไม ตาแหน่งของธาตุ H ถึงมีได้หลายแบบ ? บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 ข้อสังเกตในตารางธาตุ? คาตอบ ธาตไุ ฮโดรเจนมีสมบัติ บางอยา่ งคลา้ ยธาตหุ มู่ 1 และมีสมบัตบิ างอย่างคลา้ ย ธาตหุ มู่ 7 บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 2. ลักษณะสาคัญของธาตุภายในหมู่เดียวกัน 1.) ธาตุทอี่ ยใู่ นหมเู่ ดยี วกันมจี านวนเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเทา่ กนั ห มู่ = แ น ว ต้ั ง จงึ ทาใหม้ สี มบตั คิ ล้ายกนั เชน่ ธาตลุ เิ ทยี ม (3Li) และธาตุโซเดียม (11Na) ตา่ งก็มเี วเลนซอ์ เิ ล็กตรอนเท่ากบั 1 ทัง้ สองธาตุจึงมคี ณุ สมบตั คิ ล้ายกัน เปน็ ตน้ 2.) เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน = หมู่ 3.) ธาตุแทรนซิชันส่วนใหญ่มี เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเทา่ กบั 2 เช่น ธาตใุ นหมู่ I จะมีเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ธาตใุ นหมู่ II จะมีเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนเท่ากบั 2 ยกเวน้ บางธาตุ เชน่ Cr Cu เป็นตน้ จะมีเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเทา่ กบั 1 บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. ลักษณะสาคัญของธาตุภายในคาบเดียวกัน 1.) ธาตุในคาบเดยี วกนั มเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอน ไมเ่ ทา่ กนั คาบ =แนวนอน โดยมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนเพ่ิมข้ึนจากซ้ายไปขวา ยกเวน้ ธาตแุ ทรนซชิ นั ซง่ึ สว่ นใหญม่ จี านวนเวเลนซอ์ ิเล็กตรอน เวเลนซ์อิเลก็ ตรอนเพ่มิ ข้ึน เท่ากบั 2 เทา่ กนั จึงมคี ณุ สมบัติคลา้ ยกนั ท้งั ในหมแู่ ละในคาบเดียวกนั ดงั นัน้ ธาตุในคาบ เดียวกนั จงึ มีสมบัติ ต่างกนั บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. ลักษณะสาคัญของธาตุภายในคาบเดียวกัน 2.) ธาตใุ นคาบเดียวกนั มี จานวนระดบั พลังงานเทา่ กนั และเทา่ กบั เลขทข่ี องคาบ เช่น ธาตุในคาบท่ี 2 ทกุ ธาตุ (Li ถึง Ne) ต่างก็มี จานวนระดับพลังงาน เท่ากบั 2 คือ ชนั้ K (n=1) และชน้ั L (n=2) บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
แนวโน้มของธาตุในตารางธาตุ 1. แนวโน้มของขนาดอะตอม 2. แนวโน้มของขนาดไอออน 3. แนวโน้มค่าพลงั งานไอออไนเซชัน (IE) 4. แนวโน้มค่าสมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน (EA) 5. แนวโนม้ ค่าอเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ี (EN) บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. แนวโน้ม ตามหมู่ ” ข น า ด อ ะ ต อ ม จ ะ ใ ห ญ่ ข้ึ น ของขนาดอะตอม จ า ก บ น ล ง ล่ า ง ” ปัจจัยทม่ี ผี ล ตามหมู่ (แนวตง้ั ) คอื จานวนระดบั พลงั งาน เลขอะตอมเพิม่ ขึ้น = ขนาดอะตอมใหญ่ขน้ึ อะตอม ทม่ี รี ะดับ พลังงานมาก (มีวงโคจรเยอะๆ) อะตอมจะมขี นาดใหญ่ แต่ถา้ อยูใ่ นระดบั พลงั งานเดยี วกนั ถ้าจานวนโปรตอนเพ่มิ ขนึ้ อะตอมมขี นาดเล็กลง บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
เหมือนมเี กาะหลายช้ัน ป้องกนั แรงดงึ ดูดของ โปรตอนในนิวเคลยี สกับ valence e- บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 1. แนวโน้ม ตามคาบ ”ขนาดของอะตอมจะ ของขนาดอะตอม เล็กลง จากซ้ายไปขวา” ตามคาบ (แนวนอน) ถ้าเลขอะตอมเพม่ิ ขนึ้ = อะตอมจะมีขนาดเล็กลง เพราะจานวนโปรตอนเพิ่มขน้ึ ดงึ ดดู กับ valence e- ได้ดี! บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
สรปุ 1. แนวโนม้ ของขนาดอะตอม บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 แบ่งไอออนเปน็ 2 พวก ไดแ้ ก่ ไอออนของพวกอโลหะ จะเกิดจากไอออนลบ และไอออนของพวกโลหะ จะเกิดจากไอออนบวก 1. ไอออนของโลหะ ไอออนบวก คือ อะตอมที่ เสยี อิเลก็ ตรอน อะตอม เสีย e- p > e- ไอออนบวก บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 2. แนวโนม้ ขนาดของอะตอมเปรยี บเทยี บกบั ขนาด ของขนาดไอออน ”ไอออนบวก” โปรตอนดงึ เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ ไดแ้ รงขึ้น! ไอออนบวก จะมขี นาดเล็กกวา่ อะตอมทเ่ี ปน็ กลาง โลหะ = ผใู้ ห้ (e-)
Part 4 แบง่ ไอออนเปน็ 2 พวก ไดแ้ ก่ ไอออนของพวกอโลหะ จะเกิดจากไอออนลบ และไอออนของพวกโลหะ จะเกดิ จากไอออนบวก 2. ไอออนของอโลหะ ไอออนลบ คอื อะตอมท่ี รับอเิ ลก็ ตรอน อะตอม รบั e- e- > p ไอออนลบ บ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 2. แนวโน้ม ขนาดของอะตอมเปรยี บเทยี บกบั ขนาด ของขนาดไอออน ”ไอออนลบ” แรงดงึ ดูดระหว่างโปรตอนกบั บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนลดลง ไอออนลบ มี ขนาดใหญก่ ว่า อะตอม ทเ่ี ป็นกลาง อโลหะ = ผูร้ ับ (e-)
Part 4 2. แนวโนม้ ของขนาดไอออน ตามคาบ +1 +2 +3 -3 -2 -1 ” ไอออนบวก จะเล็กลงจากซ้ายไปขวา” “ไอออนลบ เล็กลงจาก ซ้ายไปขวาเชน่ กนั ” บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
สรุป 2. แนวโน้มของขนาดไอออนบวกและไอออนลบ เลก็ ”ตามคาบ” จะเลก็ ลงจาก ซา้ ยไปขวา” ”ตามหมู่” มขี นาดใหญข่ น้ึ จาก บนลงล่าง ใหญ่ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
สรุปขนาดของไอออน อะตอม (โลหะ) เสยี e- (อโลหะ) รบั e- ไอออนบวก ไอออนลบ เลก็ ลง ใหญข่ น้ึ ยิ่งเสยี e- ขนาดยง่ิ เลก็ ย่งิ รบั e- ขนาดยิง่ ใหญ่ A3+< A2+< A+< A A3-> A2-> A->A A2- A- A A+ A2+ บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
การเกิดสเปกตรมั ของธาตุ บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. พลงั งานไอออไนเซชนั (Ionization Energy), IE คือ พลังงานปรมิ าณนอ้ ยท่ีสดุ ที่ทาให้ e- ดูด หลดุ ออกจากอะตอม ในสถานะแกส๊ พลงั งาน ค่า IE พลงั งาน + X(g) → X+(g) + e- แสดงถึง ความยากงา่ ยใน การทาใหอ้ ะตอมในสถานะ • ค่า IE มาก = ทาให้เปน็ ไอออนบวกได้ยาก แกส๊ กลายเปน็ ไอออนบวก • ค่า IE นอ้ ย = ทาใหเ้ ปน็ ไอออนบวกได้ง่ายกวา่ บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. พลังงานไอออไนเซชนั (Ionization Energy), IE Na(g) →IE Na+ + e- (ดดู พลังงาน) บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ส่งิ ที่ตอ้ งรู้! 1. พลงั งานไอออไนเซชนั ของแตล่ ะอะตอมจะมหี ลายค่า ขึ้นอยกู่ ับจานวน อิเล็กตรอนในอะตอม เช่น Mg มีเลขอะตอม เทา่ กบั 12 มีคา่ IE ได้ 12 ค่า คอื IE1 – IE12 He มเี ลขอะตอม เท่ากับ 2 มีค่า IE ได้ 2 ค่า คือ IE1 และ IE2 2. IE1 มคี า่ ตา่ ทส่ี ดุ IE2, IE3, …, IEn จะมคี า่ เพมิ่ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ เพราะอเิ ลก็ ตรอนอยู่ใกลน้ ิวเคลยี สมากข้นึ แรงดึงดูดระหวา่ งโปรตอนกับ อเิ ล็กตรอนจงึ มากขนึ้ ตามลาดบั บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ส่งิ ที่ตอ้ งรู้! อิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุดจะหลุดออกมาก่อน ถ้าใช้พลังงานดึงอิเล็กตรอนตัวที่ 1 ออกจากอะตอมอิสระในสภาวะ แกส๊ เรยี กว่า “IE1” และถ้าดึงอิเล็กตรอนตัวที่ 2 ออกจากไอออนบวกเรียกว่า “IE2” ถ้าดงึ อเิ ลก็ ตรอนตวั ที่ 3 , 4 , 5 , ... กจ็ ะมี IE3 , IE4 , IE5 , … เลขอะตอม = จานวนอิเล็กตรอน บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. พลงั งานไอออไนเซชนั (Ionization Energy), IE ตัวอย่าง ธาตุที่มีหลายอเิ ลก็ ตรอน (C เลขอะตอม = 6) การทาให้ไฮโดรเจนอะตอม สถานะแกส๊ C(g) → C+(g) + e- IE1 = 1,086 kJ/mol กลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแกส๊ C+(g) → C2+(g) + e- C2+(g) → C3+(g) + e- IE2 = 2,353 kJ/mol H atom มี e- 1 ตวั C3+(g) → C4+(g) + e- IE3 = 4,621 kJ/mol C4+(g) → C5+(g) + e- IE4 = 6,223 kJ/mol H(g) → H+(g) + e- C5+(g) → C6+(g) + e- IE5 = 37,831 kJ/mol IE6 = 42,277 kJ/mol IE1 = 1,318 kJ/mol เรียกวา่ ไอออไนเซชันลาดับท่ี 1 บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 3. แนวโน้ม ลดลง ของค่า IE บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ ตามหมู่ ห มู่ เ ดี ย ว กั น พ ลั ง ง า น ไ อ อ อ ไ น เ ซ ชั น จ ะ มี ค่าลดลง จากบนลงล่าง
Part 4 3. แนวโนม้ เ พิ่ ม ข้ึ น ของคา่ IE บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ ตามคาบ ค า บ เ ดี ย ว กั น พ ลั ง ง า น ไอออไนเซชันลาดับท่ี 1 จะมีค่าเพ่ิมข้ึน จากซ้ายไปขวา
สรปุ 3. แนวโน้มของค่า IE (Ionization Energies) เ พิ่ ม ข้ึ น ลดลง บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
ตามคาบ คา่ IE จะสูงข้ึน (จากซ้ายไปขวา) ยกเวน้ หมู่ 2 จะสูงกวา่ หมู่ 3 และหมู่ 5 จะสูงกวา่ หมู่ 6 เพราะ หมู่ 2 กับหมู่ 5 จดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอน เสถยี รมากกว่า บ ท ท่ี 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
แนวโนม้ ของคา่ พลังงานไอออไนเซชนั (IE) บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
แนวโนม้ ของคา่ พลังงานไอออไนเซชนั (IE) บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Part 4 4. สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน (Electron affinity : EA) คือ ความสามารถในการรบั e- ของอะตอมของธาตุ ในสถานะแก๊ส หรอื พลงั งานทค่ี ายออกมา เมอ่ื อะตอมในสถานะ แกส๊ ได้รับ e- 1 อะตอม ค่า EA X-(g) → X(g) + e- แสดงถึง คา่ พลังงานทตี่ อ้ ง คา่ EA มาก = อะตอมธาตนุ นั้ มคี วามสามรถในการรับ e- เกิดเปน็ ใชใ้ นการทาให้อิเลก็ ตรอนหลุด ไอออนลบไดด้ ี (ต้องใชพ้ ลงั งานมากเพอ่ื ให้ e- หลดุ ออก) ออกจากไอออนลบของธาตุ บ ท ที่ 2 : อ ะ ต อ ม แ ล ะ ส ม บั ติ ข อ ง ธ า ตุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126