Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรีรวิทยาการออกกำลังกาย

สรีรวิทยาการออกกำลังกาย

Published by Library Horwang Pahtumthani, 2020-07-01 11:39:33

Description: วิชา :สุขศึกษาและพลศึกษา
เรื่อง : สรีรวิทยาการออกกำลังกาย
ระดับ : มัธยมศึกษาปีที่ 6
จัดทำโดย : ครูจิดาภา หงษ์ทองคำ
อัพโหลด : ห้องสมุด รร.หอวัง ปทุมธานี
*ห้ามนำไปใช้เชิงพานิชย์ อนุญาตสำหรับการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ความหมายและความสาคญั ของสรีรวทิ ยาการออกกาลงั

ความหมายของสรีรวทิ ยา (Physiology) หมายถึง • การศกึ ษาหนา้ ท่ี และการทางานทางานของอวยั วะสว่ นประกอบต่างๆ ของรา่ งกายวา่ มหี นา้ ทแ่ี ละมคี วามสมั พนั ธก์ บั อวยั วะอืน่ ๆในรา่ งกายของ มนษุ ย์ อยา่ งไร

ความหมายของการออกกาลงั กาย (Exercise) หมายถงึ • การใชแ้ รงกลา้ มเนือ้ เพ่ือใหร้ า่ งกายเกิดการเคล่ือนไหวอย่างมีระบบแบบแผน โดยมีการกาหนดความถ่ีของการออกกาลงั กาย ความแรงหรือความหนกั ของ การออกกาลงั กาย ความหนาหรือระยะเวลาของการออกกาลงกาย ระยะเวลา ในการอบอนุ่ รา่ งกายและระยะผอ่ นคลายรา่ งกายท่ีถกู ตอ้ ง ทง้ั นีก้ ารออกกาลงั กายในรูปใดหรือใชก้ ิจกรรมใดเป็นส่ือกไ็ ด้ โดยผลของการออกกาลงั กายจะช่วย ทาใหร้ า่ งกายเกดิ ความแข็งแรง ระบบการทางานตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมี ประสทิ ธิภาพดีขนึ้ มีสขุ ภาพดี

ความหมายของสรีรวิทยาการออกกาลังกาย (Physiology of Exercise)หมายถึง • ศาสตรส์ าขาหนง่ึ ทศ่ี กึ ษาเกี่ยวกบั การเปล่ียนแปลงของระบบตา่ งๆ ท่ตี อบสนอง (Response) หรอื ปรบั ตวั (Adaptation) ตอ่ การออกกาลงั กายในสภาวะตา่ งๆ • ศกึ ษาสรรี วทิ ยาการกีฬาและการออกกาลงั กายในเดก็ ผใู้ หญ่ ผสู้ งู อายแุ ละนกั กีฬา การทางานของระบบไหลเวียนระบบหายใจ ระบบกลา้ มเนือ้ ระบบ ประสาทและระบบกระดกู ผลของการออกกาลงั กายทม่ี ีตอ่ สภาพทางรา่ งกายของเดก็ ผูใ้ หญ่ ผสู้ งู อายแุ ละนกั กีฬา ขอ้ ควรระวงั ในการออกกาลงั กายและเลน่ กีฬา

ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการศึกษา วชิ าสรีรวทิ ยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี ทาใหท้ ราบถงึ โครงสรา้ ง รูปรา่ ง ลกั ษณะของตาแหนง่ ตงั้ ของอวยั วะต่างๆ รวมถงึ หนา้ ท่ีการปฎิบตั ิและการทางานประสานกนั ของอวยั วะตา่ งๆ ในร่างกายวา่ แต่ละส่วนของอวยั วะประกอบกนั ขนึ้ นนั้ ทาหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบอย่างไรจงึ สามารถ ประกอบกนั ขนึ้ เป็นอยา่ งละเอียด

ประโยชน์และความสาคญั ของการศึกษา วชิ าสรีรวิทยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี (ต่อ) สาหรบั ในทางพลศกึ ษานี้ การศกึ ษาวิชากายวิภาคและสรีรวทิ ยาการออก กาลงั กาย มีความจาเป็นอย่างย่งิ สาหรบั ผเู้ ก่ียวขอ้ งทางพลศกึ ษาตงั้ แต่ ครูพล ศกึ ษา ผฝู้ ึกสอนกีฬา ตลอดจนผสู้ นใจในการกีฬา เพราะผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งควรมีความรู้ ความเขา้ ใจลกั ษณะพืน้ ฐานของอวยั วะ โครงสรา้ ง รูปรา่ ง ตาแหน่งตลอดจนหนา้ ท่ี การทางานของอวยั วะตา่ งๆ ท่ีทางานกนั เป็นระบบเพ่ือประโยชน์ ดงั นี้

ประโยชน์และความสาคญั ของการศึกษา วชิ าสรีรวิทยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี (ต่อ) • 1. การศกึ ษาวชิ าการวิภาคและสรรี วิทยา เป็นพนื้ ฐานในการศกึ ษาการเปล่ียนแปลงของ รา่ งกายหรอื การทางานของอวยั วะตา่ งๆในขนะออกกาลงั กายหรอื การเลน่ กีฬาว่า เกิดขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร ยกตวั อยา่ ง เชน่ ในการออกกาลงั กายมีระบบใดบา้ งทม่ี ีสว่ นสาคญั ทมี่ ีผลตอ่ การออกกาลงั กาย ไดแ้ ก่ ระบบไหลเวียน ทม่ี ีหวั ใจเป็นอวยั วะทีส่ าคญั ทีส่ ดุ ทาหนา้ ท่ี สบู ฉีดเลือดไปเลีย้ งสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ซง่ึ จะนบั การเตน้ ของหวั ใจไดจ้ ากการเตน้ ของชีพจรถา้ มากเกินไปก็จะ ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ รา่ งกายได้ นนั้ การศกึ ษาวชิ านีจ้ งึ มสี ว่ นสาคญั หรอื ประโยชน์ ชว่ ยทา ใหท้ ราบการเปลยี่ นแปลงการทางานของอวยั วะภายในรา่ งกาย

ประโยชน์และความสาคญั ของการศึกษา วชิ าสรีรวทิ ยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี (ตอ่ ) • 2.การศกึ ษาวชิ ากายวภิ าคและสรีรวิทยา เป็นพืน้ ฐานการศกึ ษาวิเคราะห์ กลไกการเคล่ือนไหวของรา่ งกาย ในขณะท่ีออกกาลงั กาย หรือเล่นกีฬาอยา่ งไร จงึ จะเกดิ ผลท่ีดีท่ีสดุ หรือสามารถพฒั นารูปแบบหรอื ลกั ษณะท่ีออกกาลงั กาย และเล่นกีฬาใหม้ ีประสิทธิภาพมากท่ีสดุ ยกตวั อยา่ ง เช่น มมุ ในการเคล่ืองไหวท่าตา่ งๆ มมุ ใดจะทาใหเ้ กดิ การเคล่ือนไหวไดม้ ี ประสิทธิภาพมากท่ีสดุ หรอื ควรมีการฝึกอย่างไรจงึ จะเกิดผลดีตอ่ การออกกาลงั กายเป็นการพฒั นาปรบั ปรงทกั ษะ กลไกการเคล่ือนไหวของรา่ งกายใหม้ ี ประสิทธิภาพมากขนึ้

ประโยชน์และความสาคญั ของการศึกษา วิชาสรีรวทิ ยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี (ต่อ) • 3.การศกึ ษาวชิ ากายวิภาคและสรรี วทิ ยา เป็นพืน้ ฐานความรูใ้ นการปอ้ งกนั และรกั ษาการบาดเจบ็ ท่ีเกิดจากการออกกาลงั กายและการเลน่ กีฬา เพราะถา้ รู้ ลกั ษณะโครงสรา้ งการทางานของอวยั วะแลว้ จะสามารถปอ้ งกนั อนั ตรายอนั อาจจะเกดิ การเคล่ือนไหวทา่ ทางตา่ งๆ ในขณะออกกาลงั กาย หรอื ถา้ มีการ บาดเจบ็ เกดิ ขนึ้ ในขณะเลน่ กีฬากจ็ ะสามารถรกั ษาหรอื บรรเทาอาการเจ็บปวด ได้ ซง่ึ ขนึ้ อยกู่ บั การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ก่อนท่ีจะใหแ้ พทยท์ าการรกั ษาต่อไป

ประโยชน์และความสาคญั ของการศึกษาวชิ าสรีรวทิ ยาการออกกาลงั กาย มีดงั น้ี(ต่อ) • 4. การศกึ ษาวชิ ากายวภิ าคและสรรี วิทยา เป็นประโยชนใ์ นการปพู นื้ ฐาน นาไปสกู่ ารศกึ ษาวิชาในแขนงอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งเพราะการศกึ ษาโครงสรา้ งของอวยั วะตา่ งๆ รวมไปถึงหนา้ ทก่ี ารทางานดว้ ยนนั้ จะไดใ้ ชเ้ ป็นหลกั เปรยี บเทียบลกั ษณะทรี่ า่ งกายเป็นปกติอยา่ งไรและมหี นา้ ทส่ี มั พนั ธก์ นั อยา่ งไร เมือ่ มีส่ิงผิดปกติเกิดขนึ้ ก็จะได้ ทราบ หรอื ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั ของการเคล่ือนไหวมากย่ิงขึน้

ระบบ ( Systems) เก่ียวของกบั การออกกาลงั กาย • ระบบ (Systems) เป็นขบวนการของรา่ งกายทป่ี ระกอบดว้ ยอวยั วะหลายๆ อนั มารวมกนั ทาหนา้ ทีต่ า่ งกนั แตท่ างานประสานกนั เขา้ เป็นขบวนการหรอื เป็นระบบ ซงึ่ อวยั วะแตล่ ะสว่ นก็จะทาหนา้ ทีเ่ ฉพาะของมนั แตจ่ ะสมั พนั ธก์ บั อวยั วะอนื่ ๆ ใน ระบบเดยี วกนั ระบบตา่ งๆในรา่ งกายก็จะทางานรว่ มกนั โดยตา่ งทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะของระบบหนา้ ท่ี เฉพาะของมนั แตจ่ ะสมั พนั ธก์ บั อวยั วะอน่ื ๆทาใหร้ า่ งกายมชี วี ิตอยไู่ ด้

ระบบต่างๆในร่างกาย ที่สาคญั ท้งั หมดมี 9 ระบบ ดงั น้ี • 1.ระบบโครงกระดกู (Skeletal system) ประกอบดว้ ยกระดกู และ ขอ้ ต่อ ระบบนีท้ าหนา้ ท่ีปอ้ งกนั อวยั วะภายในและประสาทสว่ นกลาง เป็น โครงรา่ งของรา่ งกายใหค้ งรูปอยไู่ ดแ้ ละทาใหส้ ามารถเคลื่อนไหวสว่ น ต่างๆได้ • 2.ระบบกลา้ มเนือ้ (Muscular system) ประกอบดว้ ยกลา้ มเนือ้ เม่ือหดตวั จะทาใหเ้ กดิ การเคร่อื งไหวของรา่ งกายทงั้ ภายในและภายนอก • 3.ระบบประสาท (Nervous system) ประกอบดว้ ยสมอง ไขสนั หลงั และประสาทสว่ นปลายทาหนา้ ที่ควบคมุ ระบบอ่นื ๆใหท้ างาน สอดคลอ้ งและเป็นสือ่ การตดิ ตอ่ ระหวา่ งระบบตา่ งๆในรา่ งกาย

ระบบต่างๆในร่างกาย ท่ีสาคญั ท้งั หมดมี 9 ระบบ ดงั น้ี (ต่อ) • 4. ระบบไหลเวยี นของเลือด (Circulatory system) ประกอบดว้ ย หวั ใจ หลอดเลอื ด หลอดนา้ เหลอื ง หวั ใจทาหนา้ ที่สบู ฉีดเลอื ดไปตาม หลอดเลือดท่วั รา่ งกาย เลอื ดจะนาอาหารและออกซเิ จนไปสทู่ กุ ส่วนของ รา่ งกายและนาของเสียไปสอู่ วยั วะที่ทาหนา้ ท่ีขบั ถ่าย • 5.ระบบหายใจ (Respiratory system) ประกอบดว้ ยทางเดิน อากาศและปอด จะทาหนา้ ที่เพ่มิ ออกซเิ จนใหแ้ ก่เลือดและดงึ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากเลือด • 6.ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive system) ประกอบดว้ ยทางเดิน อาหารต่อมตา่ งๆ ลนิ้ และฟัน อวยั วะเหลา่ นีจ้ ะบดและย่อยอาหารให้ กลายเป็นวตั ถทุ ่ีอาจดดู ซมึ าปเลยี้ งเนือ้ เยื่อตา่ งๆของร่างกาย

ระบบต่างๆในร่างกาย ท่ีสาคญั ท้งั หมดมี 9 ระบบ ดงั น้ี (ต่อ) • 7.ระบบขบั ถา่ ย (Excretory system) ประกอบดว้ ยไตและทอ่ ขบั ถา่ ยผวิ หนงั ลาไส้ ปอด ทาหนา้ ท่ีขบั ถา่ ยนา้ และสารทรี่ า่ งกายไมต่ อ้ งการออกสภู่ ายนอกรา่ งกาย • 8.รรบบสืบพนั ธ์ (Reproductive system) ในเพศชายประกอบไปดว้ ยลกู อณั ฑะและทอ่ ตา่ งๆ ในเพศหญิงประกอบดว้ ยรงั ไข่ ทอ่ มดลกู มดลกู ชอ่ งคลอด และ อวยั วะสืบพนั ธุภ์ ายนอก • 9.ระบบตอ่ มมไรท้ อ่ (Endocrine system) ประกอบดว้ ยตอ่ มไมม่ ที อ่ เชน่ ต่อมพิ จอู ติ าร่ี ตอ่ มหมวกไต ทาหนา้ ที่ท่ีขบั สารเพ่ือชว่ ยทาใหอ้ วยั วะตา่ งๆทางานสมั พนั ธก์ นั

สรีรวทิ ยาท่ีมีผลต่อร่างกายในการออกกาลงั กายและการเล่นกีฬา

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) 1. การแบ่งตามลกั ษณะการทางานของกล้ามเนื้อ 3 ชนดิ 1.1 การออกกาลงั กายแบบไอโซเมตรกิ (Isometric Exercise or Static Exercise) หมายถึง การออกกาลงั กาย แบบมกี ารหดตวั ของกลา้ มเนือ้ ชนิดท่ีความยาวของกลา้ มเนือ้ คงท่ี แต่ มกี ารเกรง็ หรอื ตงึ ตวั (Tension) ของกลา้ มเนือ้ เพ่อื ตา้ นกบั แรง ตา้ นทาน ดงั นนั้ เม่อื มีการออกกาลงั กายชนิดนีอ้ วยั วะต่างๆ จงึ ไมม่ ีการ เคลอ่ื นไหวแต่มีการเกรง็ ของกลา้ มเนือ้ ในลกั ษณะออกแรงเตม็ ท่ใี น ระยะสนั้ ๆ เช่น ออกแรงดนั ผนงั กาแพง ออกแรงบบี วตั ถหุ รอื กาหมดั ไว้ แน่น หรอื ในขณะน่งั ทางานเอาฝ่ามอื กดลงบนโต๊ะเตม็ ท่ี เป็นตน้

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) 1.2 การออกกาลงั กายแบบไอโซโทนิก (Isotonic Exercise or Dynamic Exercise) หมายถึง การออกกาลงั กายแบบมีการหดตวั ของกลา้ มเน้ือ ชนิดที่ความยาวของกลา้ มเน้ือมกี ารเปลี่ยนแปลงและอวยั วะมีการ เคล่ือนไหว เป็นการบริหารกลา้ มเน้ือตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยตรงซ่ึงสามารถแบ่งการทางานของกลา้ มเน้ือออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1.2.1 คอนเซนตริก (Concentric) คือ การ หดตวั ของกลา้ มเน้ือชนิดท่ีความยาวของกลา้ มเน้ือหดส้นั เขา้ ทาให้ น้าหนกั เคล่ือนเขา้ หาลาตวั เช่น การยกน้าหนกั เขา้ หาลาตวั ทา่ วิดพ้ืน ในขณะที่ลาตวั ลงสู่พ้นื 1.2.2 เอกเซนตริก (Eccentric) คือ การหดตวั ของกลา้ มเน้ือชนิดที่มกี ารเกร็งกลา้ มเน้ือและความยาวของกลา้ มเน้ือ เพม่ิ ข้ึน เช่น ยกน้าหนกั ออกห่างจากลาตวั ท่าวิดพ้ืนในขณะยกลาตวั ข้ึน

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) • 1.3 การออกกาลงั กายแบบไอโซคเิ นตกิ (Isokinetic Exercise) หมายถงึ การออก กาลงั กายชนิดท่กี ารทางานของกลา้ มเนือ้ เป็นไป อยา่ งสม่าเสมอตลอดชว่ งเวลาของการเคล่อื นไหว เชน่ การข่ีจกั รยานวดั งาน การกา้ วขนึ้ ลงตาม แบบทดสอบของฮารว์ ารด์ (Harvard Step Test) หรอื การใชเ้ ครอ่ื งมืออ่นื ๆ เขา้ ชว่ ย

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) • 2. การแบง่ ตามลกั ษณะการใช้ออกซเิ จน 2 แบบ 2.1 การออกกาลงั กายแบบแอนแอโรบกิ (Anaerobic Exercise) หมายถงึ การออกกาลงั กายแบบไม่ตอ้ งใชอ้ อกซเิ จน หรอื ในขณะท่อี อกกาลงั กายแทบไมต่ อ้ งหายใจเอาอากาศเขา้ สปู่ อดเลย เชน่ การ ว่ิงเรว็ ระยะสน้ั การกระโดดสงู กระโดดไกล ขวา้ งจกั ร พงุ่ แหลน ทมุ่ นา้ หนกั ซง่ึ ผลจากการออกกาลงั กาย แบบแอนแอโรบิกคลา้ ยกบั การออกกาลงั กายแบบไอโซเมตรกิ

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) 2. การแบ่งตามลักษณะการใชอ้ อกซิเจน (ตอ่ ) 2.1 การออกกาลังกายแบบแอนแอโรบิก (Anaerobic Exercise) การออกกาลงั กายแบบแอนแอโรบิคจะมรี ะดบั ความ เขม้ ขน้ ที่สงู ขึน้ กวา่ แบบแอโรบคิ ทาใหใ้ นขณะออกกาลงั กายเราจะไม่ สามารถพดู คยุ กบั ผอู้ นื่ ได้ หรอื พดู ไดเ้ พียงไมก่ ี่คา ระยะเวลาในการออก กาลงั กายก็จะสนั้ กวา่ แบบแอโรบคิ เพราะเราตอ้ งใชพ้ ละกาลงั มาก

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) • 2. การแบง่ ตามลักษณะการใช้ออกซเิ จน (ตอ่ ) 2.1 การออกกาลังกายแบบแอนแอโรบคิ (Anaerobic) จะใชค้ ารโ์ บไฮเดรตเป็นหลกั และสรา้ งกรดแลคตคิ เป็นผลพลอยได้ กรดแลคตคิ (Lactic) สามารถนากลบั มาใชเ้ ป็น พลงั งานในกลา้ มเนือ้ ได้ แต่ถา้ มากเกินไปจะสง่ ผลใหป้ ระสทิ ธิภาพใน การออกกาลงั กายลดลงได้ นกั วจิ ยั บางทา่ นแนะนาวา่ การออกกาลงั กายแบบแอนแอโรบคิ (Anaerobic) ไม่มีประโยชนใ์ นเชิงการชว่ ยสลายไขมนั ในรา่ งกาย เนื่องจากใชค้ ารโ์ บไฮเดรตเป็นเชือ้ เพลงิ หลกั ในกระบวนการเผาผลาญ

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) • 2.2 การออกกาลงั กายแบบแอโรบกิ (Aerobic Exercise) หมายถงึ การออก กาลงั กายชนดิ ทตี่ อ้ งใชอ้ อกซเิ จน หรอื มีการหายใจ ในขณะออกกาลงั กาย เป็นการบรหิ ารใหร้ า่ งกาย เพ่ือความสามารถสงู สดุ ในการรบั ออกซเิ จน การออกกาลงั กายแบบแอโรบิค ไดแ้ ก่ การ ว่ายนา้ การเดนิ การว่ิง การป่ันจกั รยาน ทง้ั หมด คือไตรกีฬาน่นั เอง

การแบ่งประเภทของการออกกาลงั กาย (types of exercise) (ต่อ) • 2.2 การออกกาลังกายแบบแอโรบกิ (Aerobic Exercise) การออกกาลงั กายแบบแอโรบคิ ยงั มีผลดีต่อทางดา้ นรา่ งกายอีก หลายอยา่ ง คือ • ไดป้ รมิ าณอากาศเขา้ สปู่ อดมากขึน้ เพราะอตั ราการหายใจเพม่ิ ขึน้ • ประสทิ ธิภาพในการสบู ฉีดโลหิตเพิ่มขึน้ • ช่วยลดปรมิ าณไขมนั ในรา่ งกายไดเ้ ป็นอย่างดี • ชว่ ยลดปรมิ าณสารคอเลสเตอรอลในเลือดลงได้ • ช่วยเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพ • เพิ่มความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ และกระดกู • การออกกาลงั กายแบบแอโรบคิ นนั้ มีประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพโดยรวม และมี ประโยชนใ์ นการชว่ ยกาจดั ไขมนั ดว้ ย เพราะไขมนั เป็นแหลง่ เชือ้ เพลงิ หลกั ที่จะถกู ดงึ ไปใชเ้ ม่ือเราออกกาลงั กายในระดบั ความเขม้ ขน้ ต่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook