Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานครูกลอนสุนทรภู่

ผลงานครูกลอนสุนทรภู่

Published by Library Horwang Pahtumthani, 2020-05-25 11:03:20

Description: วิชา : ภาษาไทย
เรื่อง : ผลงานครูกลอนสุนทรภู่
ระดับ : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จัดทำโดย : ครูนกพร ภูทรัพย์ทวีสุข
อัพโหลด : ห้องสมุด รร.หอวัง ปทุมธานี
*ห้ามนำไปใช้เชิงพานิชย์ อนุญาตสำหรับการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

จุดมุ่งหมายการเดนิ ทาง สนุ ทรภู่แต่งนิราศเรือ่ งนเ้ี พอื่ เลา่ เรื่องการเดินทางไป นมสั การพระประธม ในเดือน ๑๒ ปีขาล พ.ศ.๒๓๘๕ โดยมี หนตู าบและหนูนอ้ ยรว่ มเดินทางไปดว้ ย ขณะนน้ั หนตู าบมี อายุ ๒๑ ปี หนูนอ้ ยมีอายุ ๕ – ๖ ปี

เสน้ ทางการเดินทาง เส้นทางการเดินทาง เข้าใจว่าน่าจะเริ่มจากบริเวณ พระราชวังเดิม ผ่านวัดระฆัง คลองบางกอกน้อย พระราชวัง หลงั บางหว้าน้อย วัดทอง สวนหลวง เดินทางเรื่อยไปจนถึง บ้านศรีทอง วัดสัก บางม่วง บ้านลานตากฟ้า บ้านสา ประทวน บางแก้ว บ้านศาลเจ้า วัดท่า บ้านกล้วย เพนียด ช้าง แล้วพักแรมที่นี่ พอรุ่งเช้าก็ขึ้นบกเดินทางต่อไปจนถึง พระปฐมเจดยี ์

พระปฐมเจดีย์ พระประธมเจดีย์ หรือพระปฐมเจดีย์ในสมัยนั้น มิใช่องค์ที่เห็น ณ ปัจจุบันนี้ แต่เป็นเจดีย์รูปโอ ควา่ เหมือนสัญจเิ จดยี ใ์ นอนิ เดีย มีการบูรณะกัน มาหลายครั้งมาบูรณะเป็นองค์พระเจดีย์เช่น ปัจจุบันในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในนิราศเรื่องนี้ท่านสุนทรภู่ยังได้เล่า ถึงตานานของพระยากง พระยาพาน ตามที่ได้ ฟังจากชาวบ้านมาไว้ดว้ ย

๏ หนาวนา้ ค้างพรา่ งพรมจะห่มผา้ พออนุ่ อารมณร์ ะงับได้หลบั ใหล ถึงลมว่าวหนาวยิ่งจะผงิ ไฟ แต่หนาวใจจากเจ้าใหเ้ ศรา้ ซึม

๏ ช่ือโคบตุ รสรุ ิยาวราฤทธ์ิ จงประสิทธ์ิแก่กมุ ารชาญสนาม ทงั้ ตรีโลกโลกาสงา่ งาม เจริญความเกียรติยศปรากฏ ครนั

โคบุตร เป็นนิทานคากลอนเรื่องแรกและผลงานเรื่องแรกของสุนทรภู่ มีความยาว ๘ เล่ม สมุดไทย สุนทรภู่แต่งนิทานเรื่องน้ีในสมัย ร.๑ ก่อน พ.ศ.๒๓๔๙ ก่อนจะเดนิ ทางไปเยยี่ มบิดา ท่ีเมอื งแกลง สนั นษิ ฐานว่าแต่งถวายเจ้านายพระองค์ใดพระองคห์ นึ่งในพระราชวังหลัง

โคบุตร เป็นโอรสของพระอาทิตย์และนางอัปสร ซึ่ง จุติลงมาเกิดเป็นสามในดอกบัว เมื่ออยู่ในวัยเด็กนั้น นางราชสีห์เป็นผู้เลี้ยง จึงมีกาลังมาก มีเทพอาวุธ วิเศษหลายอย่าง โคบุตรได้ผจญภัยไปสถานที่ต่างๆ ต่อส้กู ับยักษ์ มมี เหสีซ้ายและขวา เกิดหงึ หวงกนั และ มีการทาเสน่ห์ จบลงด้วยการล้างเสน่ห์ และไล่ผู้ทา เสน่ห์ออกนอกเมือง

๏ โอ้ดวงนุชสดุ สายสวาทจิต สวาทเจา้ หรือจะคิดอางขนาง สวาทน้องอย่าหมองเลยน้องนาง สวาทโน้นหรอื จะรา้ งสวาทนุช ๏ สวาทไหนหรอื จะเปรียบสวาทม่ิง สวาทแม่นี่ แน่ ย่ิงเป็ นท่ีสดุ พี่หวงั เษกเป็นเอกอนงคน์ ุช อนงคไ์ หนมิได้สดุ สวาทเรียม

“พระอภยั มณี” พระโหยหวนครวญเพลงวงั เวงจิต ให้คนคิดถึงถ่ินถวิลหวงั ว่าจากเรอื นเหมอื นนกมาจากรงั อยขู่ ้างหลงั กจ็ ะแลชะแงค้ อย

การแตง่ พระอภยั มณี สันนิษฐานว่าเริ่มแต่งในขณะต้องโทษจาคุกใน รัชกาลที่๒ ลักษณะคาประพันธ์ เป็นนิทานคา กลอนที่มีความยาวมากถึง ๙๔ เล่มสมุดไทย เมื่อ พิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพัน สองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการ ระบไุ วอ้ ย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ ราวปี พ.ศ. ๒๓๖๔-๒๓๖๖ และแต่งๆ หยุดๆ ไป ตลอดเป็นระยะ สิ้นสุดการประพันธ์ราว พ.ศ. ๒๓๘๘ รวมเวลามากกว่า ๒๐ ปี

เมอื งผลกึ เมอื งรตั นา เมอื งรมจกั ร ท้าวสลิ าช + นางมณฑา ท้าวสทุ ศั น์ + นางประทุมเกสร ทา้ วทศวงศ์ + พระมเหสี นางสวุ รรณมาลี พระอภัยมณี ศรสี ุวรรณ นางเกษรา สร้อยสวุ รรณ นอกวงศก์ ษัตรยิ ์ จนั ทรส์ ุดา อรณุ รศั มี ผีเสื้อสมทุ ร สนิ สมุทร นอกวงศ์กษตั ริย์ หสั ไชย นางเงือก เสาวคนธ์ นางละเวงวัณฬา อศุ เรน สดุ สาคร เมืองการเวก เมอื งลงั กา พระสรุ ิโยทยั + นางจนั ทวดี เจา้ เมอื งลงั กา + พระมเหสี มงั คลา

เน้อื เรอ่ื งยอ่ พระอภัยมณี และศรีสุวรรณ ซึ่งเป็นโอรสของท้าวสุทัศน์และนาง ปทุมเกสร กษัตริย์เมืองรัตนาครั้นมีชันษาพอสมควรได้จากเมืองไปศึกษา ความรู้ พระอภัยมณีเรียนวิชาปี่ ศรีสุวรรณเรียนกระบี่กระบอง เพราะเรียน วชิ าดังกลา่ ว ท้งั สองพระองค์จงึ ถูกขับออกจากเมืองไปผจญภัย พระอภัยมณี พบนางผีเสื้อสมุทรและอยู่กินกันจนมีบุตรชายชื่อสินสมุทร ต่อมาได้หนีนาง ยกั ษแ์ ละได้นางเงอื กเปน็ ชายา มีโอรสชอื่ สดุ สาคร เหตกุ ารณ์บังคับทาให้เข้า อภิเษกสมรสกับนางสุวรรณมาลี มีพระธิดาฝาแฝด และในตอนท้ายได้นาง ละเวงเป็นชายา และในที่สุด ได้ออกบวชทั้งสุวรรณมาลี ละเวง เหตุการณ์ ต่างๆ ในเน้ือเร่อื งมีทงั้ การสู้รบ ชว่ งชิงต่อสู้ อย่างตื่นเต้น ไม่น่าเบอื่

ข้อคิดทีไ่ ดจ้ ากเรอื่ ง ➢ ดา้ นคติธรรม มนั แสนสุดลึกลา้ เหลอื กาหนด แล้วสอนว่าอยา่ ไว้ใจมนษุ ย์ กไ็ มค่ ดเหมอื นหน่งึ ในนา้ ใจคน บดิ ามารดารักมกั เป็นผล ถึงเถาวลั ยพ์ ันเก่ยี วท่ีเลย้ี วลด. เกดิ เป็นคนคดิ เห็นจง่ึ เจรจา มนษุ ย์น้ที ่ีรักอยู่สองสถาน ให้รอบคอบคดิ อ่านนะหลานหนา ทีพ่ ึง่ หนึง่ พึง่ ไดแ้ ตก่ ายตน รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี แมน้ ใครรกั รกั ม่ังชังชังตอบ รสู้ ่ิงใดไม่สรู้ ูว้ ิชา

“สงิ หไกรภพ” เป็นนิทานคากลอนที่มีความยาวรองลงมาจาก เรื่องพระอภัยมณี คือมีความ ยาว ๑๕ เล่มสมุด ไทย บางคนกล่าวว่าสุนทรภู่แต่งเรื่องนี้เพื่อ ประชันกับเรื่องไกรทองพระราชนิพนธ์ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่เริ่มแต่งนิทานเรื่องนี้ ตอนปลายสมัย รัชกาลที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๖๕-๒๓๖๗) เพื่อถวายเจ้า ฟา้ อาภรณ์ (ขณะนนั้ ยงั ทาหนา้ ที่ถวายพระอักษร เจา้ ฟา้ อาภรณ์อยู่) แล้วมาแต่งต่อในสมัยรัชกาล ที่ ๓ เข้าใจว่าแต่งถวายกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ แตเ่ รอ่ื งค้างอยู่ แตง่ ไมจ่ บ

เนอ้ื เรอื่ งย่อ ท้าวอินณุมาศครองเมืองโกญจา มีนางจันทรเป็นมเหสี ไม่มีโอรสหรือธิดา ต่อมาเอาลูก โจรมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมให้ชื่อว่าคงคาประลัย คงคาประลัยชิงราชสมบัติของท้าว อินณุมาศ พระอินทร์ช่วยอุ้มท้าวอินณุมาศและนางจันทรมาอยู่ป่า สองกษัตริย์ปลอม พระองค์เป็นคนสามัญ ไปอาศัยอยู่กับพรานป่าชื่อเพิก จนกระทั่งนางจันทรคลอดโอรส แล้วโอรสองค์นี้ถูกพราหมณ์เทพจินดาขโมยไปเลี้ยงไว้ ยักษ์พินทุมารจับพราหมณ์เทพ จินดาและพระโอรสนั้นได้เอาไปเลี้ยงไว้ ตั้งชื่อพระโอรสว่าสิงหไกรภพ เมื่อโตขึ้น พราหมณ์เทพจินดาและสิงหไกรภพขโมยยาวิเศษของยักษ์ แล้วพากันหนีจากไป พราหมณ์เทพจนิ ดาพาสิงหไกรภพไปอย่ทู บี่ า้ นตน สิงหไกรภพทราบว่าตนเป็นลูกกษัตริย์ ก็หนพี ราหมณ์เทพจนิ ดาออกตามหาบิดามารดา

เนอ้ื เร่ืองย่อ ได้นางสร้อยสุดาธิดาของท้าวจตุรพักตร์ กษัตริย์แห่งเมืองมารันเป็นชายา จน นางตั้งครรภ์แล้วพากันหนีมา ท้าวจตุรพักตร์ตามมาชิงนางสร้อยสุดาคืนไป พราหมณ์ เทพจินดาตามสิงหไกรภพกลับไปครองเมืองโกญจา ท้าวจตุรพักตร์ยกทัพมาตีเมือง โกญจา ถูกสงิ หไกรภพฆ่าตาย สิงหไกรภพรับนางสรอ้ ยสุดามาอยู่ดว้ ยกันทีเ่ มอื งโกญจนา แลว้ ใหพ้ ราหมณ์เทพจินดาครองเมอื งมารันต่อมารามวงศ์โอรสของสิงหไกรภพซึ่งอยู่กับ ยายที่เมืองมารันเติบโตขึ้นได้ลายายมาเยี่ยมสิงหไกรภพ แต่หลงทางเข้าไปในเมืองยักษ์ ได้นางแกว้ กินรีแลว้ พลัดพรากจากกัน สิงหไกรภพออกติดตามรามวงศ์ ได้นางเทพกินรา เป็นชายา ต่อมานางเทพกินราทาเสน่ห์เพื่อให้สิงหไกรภพหลงใหลตน พราหมณ์เทพ จนิ ดาแก้เสน่หใ์ ห้ ต่อจากน้ีรามวงศไ์ ด้ติดตามหาสิงหไกรภพ แต่ไมท่ นั ได้พบกัน และเรื่อง ก็จบเพียงเท่าน้ัน

เป็นทกุ ขังอนจิ จงั อนตั ตา อันเกดิ มาเปน็ บคุ คลไม่พ้นตาย สขุ กับโศกเหมือนหน่ึงโรคสาหรบั ร่าง ราพึงพลางหักให้พระทยั หาย กลับคนเขา้ แทน่ สุวรรณพรรณราย ตรสั สอนสายสดุ สวาทนาฏอนงค์ สงวนครรภข์ วญั เนตรเถดิ นอ้ งรกั โหราทักทกุ ข์แทบจะผยุ ผง เรายึดยดุ พทุ ธคุณใหม้ นั่ คง เป็นทางตรงตราบส้นิ ชีวาลา

“พระไชยสรุ ยิ า” มีความยาวประมาณ ๑ เล่มสมุดไทย แต่งด้วยคา ประพันธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ สุนทรภู่แต่ง เรื่องนี้ขึ้นราว พ.ศ. ๒๓๖๘ ขณะจาพรรษาอยู่ท่ี จังหวัดเพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่ ๓ จุดประสงค์ใน การแต่งเรื่องนี้เพื่อใช้เทียบสอน อ่านภาษาไทยคือ เป็นการสอนอา่ นหนงั สือไทยให้แก่เดก็ ๆ

เน้อื เรื่องยอ่ พระไชยสุริยาเป็นกษัตริย์ ครองเมือง สาวัตถี มีมเหสีชื่อสุมาลี บ้านเมืองอุดม สมบูรณ์และเป็นสุขมาช้านานจนกระทั่ง เมื่อข้าราชบริพารและผู้มีอานาจพากัน ลุ่มหลงในอบายมุข และเที่ยวข่มเหง ราษฎรจนเดอื ดรอ้ นไปทั่ว

เน้อื เรอ่ื งยอ่ ในที่สุดน้าป่าก็ไหลบ่าท่วมเมืองจนผู้คน ล้มตาย ผู้ที่มีชีวิตรอดก็หนีออกจากเมือง ไป ทิ้งเมืองสาวัตถีกลายเป็นเมืองร้าง พระไชยสุริยาจึงพามเหสีและข้าราช บริพารหนีลงเรือสาเภาออกจากเมืองแต่ ถูกพายุใหญ่ พัดเรือแตก พระไชยสุริยา กับพระนางสุมาลี ว่ายน้าไปขึ้นฝั่งแล้ว รอนแรมไปในปา่

เนอ้ื เร่อื งย่อ พระดาบสรูปหนึ่งเข้าฌานเห็นพระไชย สุริยากับพระนางสุมาลีต้องทนทุกข์ ทรมานก็เวทนา เพราะเห็นว่าพระไชย สุริยาทรงเป็นกษัตริย์ที่ดี แต่ประสบ เคราะห์กรรมเพราะหลงเชื่อเสนา อามาตย์ จึงเทศนาโปรดจนทั้งสอง ศรัทธาและบาเพ็ญธรรมจนได้ไปเกิดบน สวรรค์

๏ ขนึ้ กกตกทกุ ยาก แสนลาบากจากเวียงไชย มนั เผอื กเลอื กเผาไฟ กินผลไม้ได้เป้นแรง ๏ รอนรอนอ่อนอสั ดง พระสรุ ิยงเยน็ ยอแสง ช่วงดงั น้าครงั่ แดง แฝงเมฆเขาเงาเมรธุ ร ฯลฯ ๏ วนั นัน้ จนั ทร มีดารากร เป็นบริวาร เหน็ สิ้นดินฟ้า ในป่ าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอร ชน

“ลกั ษณวงศ”์

ประวตั กิ ารแต่ง ลักษณวงศ์ มีความยาว ๓๙ เลม่ สมุดไทย แต่เป็นสานวนสุนทรภู่เพียง ๙ เล่มสมุด ไทย คอื ตัง้ แต่ต้นเรื่องจนถึงม้าตามไปพบ ศพนางเกสร นอกนั้นเป็นส่วนของผู้อื่น แต่งเป็นกลอนสุภาพ ๗ เล่มสมุดไทย แล้วแต่งเป็นบทละครอีก ๒๒ เล่มสมุด ไทย เรื่องนี้สุนทรภู่คงจะเริ่มแต่งในสมัย รัชกาลที่ ๒ แลว้ มาแตง่ ตอ่ ในสมัยรัชกาล ที่ ๓ ตอนตกยาก หลักจากพระองค์เจ้า ลักขณานุคุณสิ้นพระชนม์ และศึกจาก พระครงั้ แรกแล้ว

พรหมทตั ตามกวาง

ยกั ษ์จาแลง

ฆา่ นางววุ รรณอาภา

นางววุ รรณอาภาตอ้ งพรากลกั ษณวงศ

ทา้ วพรหมทตั ไดธ้ ดิ ากบั นางยกั ษ์

ลกั ษณวงศพ์ บทพิ เกสรลาตามหาพระมารดา

ลกั ษณวงศอ์ อกตามหาพระมารดา

ลกั ษณวงศพ์ บพระมารดา

ลกั ษวงศฆ์ า่ วริ ญุ มาศ

ทพิ ยเ์ กสรมาอยกู่ บั นางกนิ รี

ลกั ษณวงศต์ ามนางทพิ ยเ์ กสรไดน้ างกนิ รี

นางทพิ เกสรพลดั พระลกั ษณวงศ์

นางทพิ เกสรแปลงเป็นพราหมณ์

ลกั ษณวงศไ์ ดน้ างยส่ี นุ่

พราหมณ์เกสรถวายตวั

ลกั ษณวงศห์ ลงพราหมณ์เกสร

นางยส่ี นุ่ คดิ ทาลายพราหมณ์เกสร

ทรมานพราหมณ์เกสร

ฆา่ พราหมณ์เกสร เจ้าพราหมณ์น้อยนึกพรนั่ ให้หวนั่ วาบ แลดดู าบเศียรพองสยองขน

ทาศพพราหมณ์เกสร

“สวสั ดริ กั ษา” ที่มาของเรือ่ ง สวัสดิรักษา มีความยาวครึ่งเล่มสมุดไทย แต่งระหว่าง พ.ศ. ๒๓๖๕-๒๓๖๗ ขณะรับราชการเป็นอาลักษณ์ และทาหน้าที่ถวายพระอกั ษรแดเ่ จา้ ฟ้าอาภรณ์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง แต่งถวายสมเด็จเจ้าฟ้าอาภรณ์พระเจ้าลูกยาเธอ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ เนอ่ื งจากพระองค์ทรงมอบสมเด็จเจ้าฟ้าอาภรณ์ให้เป็น ศิษยศ์ ึกษาอักษรในสานกั ของสนุ ทรภู่

เนื้อเร่ือง เนื้อเรื่องเป็นหลักความเชื่อของคนไทยสมัยก่อน การปฏิบัติตนให้ เป็นสิริมงคล ทั้งหลักทางพระพุทธศาสนาและหลักทางศาสนาพราหมณ์ สะท้อนให้เห็นว่าวิถีชีวิตอย่างไทยส่วนใหญ่ ซึ่ง พุทธ กับ ไสย และการ ดดู วงชะตาจะไปด้วยกัน สวสั ดิรักษาจึงเป็นสุภาษิตโบราณที่นิยมสั่งสอน สืบต่อกันมา เพื่อให้ชนรุ่นหลังปฏิบัติ เพื่อความเจริญทั้งส่วนตนและ ส่วนรวม และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ซึ่งชวนให้สังคมของมนุษย์ มี ความเป็นระเบียบ งดงาม เพราะการได้รู้และทาในสิ่งอันควร ย่อมเป็น มงคล แก่ตนและสงั คม

สนุ ทรภูก่ ลา่ วถงึ สขี องเครือ่ งแตง่ กายว่าต้องให้เป็นสีประจาวนั จงึ จะ มีมงคล คือ วนั อาทิตยส์ ทิ ธโิ ชคโฉลกดี เอาเคร่อื งสีแดงทรงเปน็ มงคล เครื่องวนั จันทรน์ ัน้ ควรสีนวลขาว จะยืนยาวชันษาสถาผล องั คารมว่ งช่วงงามสคี รามปน เปน็ มงคลขตั ตยิ าเขา้ ราวี เครอ่ื งวนั พธุ สุดดีดว้ ยสแี สด กับเหลอื บแปดปนประดับสลับสี วนั พฤหสั จัดเครือ่ งเขียวเหลอื งดี วันศุกรส์ เี มฆหมอกออกสงคราม วนั เสารท์ รงดาจึงล้าเลศิ แสนประเสรฐิ เสี้ยนศึกจะนึกขาม หน่ึงพาชขี ่ขี บั ประดับงาม ให้ตอ้ งตามสสี ันจงึ กนั ภัย

เพลงยาวถวายโอวาท มีความยาวประมาณ ๑ เล่มสมุด ไทย แต่งเมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๓ ใน ร.๓ ขณะบวชอยู่ที่วัดราชบูรณะ อายุ ๔๕ ปี โดยแต่งเป็นเรื่องถวาย โอวาทและกราบทลู ลาเจ้าฟา้ กลาง และเจ้าฟ้าปิ๋ว ผู้เป็นอนุชาเจ้าฟ้า อาภรณ์ และพระราชโอรส ร.๒

สุนทรภู่ชใ้ี หเ้ หน็ ความสาคญั ของการพดู วา่ ต้องร้จู กั ใช้วาจาออ่ นหวาน อันออ้ ยตาลหวานล้นิ แลว้ สิ้นซาก แต่ลมปากหวานหไู มร่ หู้ าย แมน้ เจ็บอนื่ หม่ืนแสนจะแคลนคลาย เจบ็ จนตายกไ็ มเ่ หนบ็ ให้เจบ็ ใจ จะรกั ชังทง้ั ส้นิ เพราะลิ้นพรอด เปน็ อย่างยอดแล้วพระองค์อยา่ สงสยั อนั ช่างปากยากทจี่ ะมใี คร เขาชอบใชช้ า่ งมือออกออื้ อึง

สภุ าษิตสอนหญิง สุนทรภู่เห็นจะแต่งเมื่อราว พ.ศ. ๒๓๘๐ จน พ.ศ. ๒๓๘๓ ในเวลา เมื่อสึกกลับออกมาเป็นคฤหัสถ์ แล้วต้องตกยากจนถึงลงลอยเรือ อยู่ สนุ ทรภู่แต่งเพื่อหารายได้ และ แตง่ เพื่อเป็นสุภาษิตสอนใจให้สตรี สมัยนั้นในเรื่องของการประพฤติ และปฏบิ ัติตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook