ประวัติศาสตร เอกสารประกอบคูมือครู 4ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาํ หรบั ครู ลักษณะเดน คูมือครู Version ใหม ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขนึ้ กวา เดมิ จดั แบงพน้ื ทอี่ อกเปนโซน เพอื่ คน หาขอ มูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดเู ปนระเบยี บ กระตนุ Enคgวagาeมสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore Explain Expand Evaluate Explore เปาหมายการเรยี นรู สมรรถนะของผเู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โซน 1 หนา หนา โซน 1 หนังสือเรียน หนังสือเรียน กระตนุ ความสนใจ Engage สาํ รวจคน หา Explore อธบิ ายความรู Explain ขยายความเขา ใจ Expand ตรวจสอบผล Evaluate ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT ขอสอบเนน กาNรTคิด เกร็ดแนะครู แนว นกั เรยี นควรรู ขอสอบ O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ โซน 2 โซน 2 โซน 3 โซน 3 บเศูรณราษกาฐรกิจพอเพียง กจิ กรรมสรา งเสรมิ กจิ กรรมทาทาย บรู ณาการอาเซียน No. คูม อื ครู มมุ IT คมู ือครู No. โซน 1 ขัน้ ตอนการสอนแบบ 5Es โซน 2 ชว ยครูเตรยี มสอน โซน 3 ชวยครเู ตรยี มนกั เรียน เพอื่ ใหครูเตรียมจดั กจิ กรรมการเรยี น เพ่อื ชว ยลดภาระครผู ูสอน โดยแนะนาํ เพอ่ื ใหค รสู ะดวกตอ การจดั กจิ กรรม โดยแนะนาํ การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ เกร็ดความรสู ําหรบั ครู ความรูเสริมสําหรบั กิจกรรมบูรณาการเช่ือมระหวางกลุมสาระ วิชา การจดั กิจกรรมแบบ 5Es อยา งละเอยี ด นกั เรียน รวมท้งั บูรณาการความรูสูอาเซยี น กจิ กรรมสรา งเสรมิ กจิ กรรมทา ทาย รวมถงึ เนอ้ื หา เพื่อใหนกั เรยี นบรรลุตามตวั ชวี้ ัด และมมุ IT ทเ่ี คยออกขอ สอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนน การคิด พรอมคาํ อธิบาย และเฉลยอยางละเอียด
แถบสีและสัญลักษณ ทีใ่ ชใ นคมู อื ครู 1. แถบสี 5Es แถบสีแสดงขนั้ ตอนการสอนและการจดั กิจกรรม แบบ 5Es เพือ่ ใหครทู ราบวา เปนขนั้ การสอนขั้นใด สีแดง สเี ขียว สีสม สีฟา สมี ว ง กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล 2เสร�ม Engage Explore Explain Expand Evaluate • เปน ขัน้ ที่ผูสอนเลือกใช • เปน ข้นั ที่ผสู อน • เปนขั้นท่ีผสู อน • เปนขัน้ ท่ผี ูสอน เทคนิคกระตุน ใหผ เู รียนสาํ รวจ • เปน ขั้นทผ่ี ูสอน ความสนใจ เพ่ือโยง ปญ หา และศึกษา ใหผ ูเ รียนคนหา ใหผ ูเรยี นนําความรู เขา สูบทเรียน ขอมูล คําตอบ จนเกดิ ความรู ไปคิดคนตอ ๆ ไป ประเมินมโนทัศน เชงิ ประจักษ ของผเู รียน 2. สัญลักษณ สญั ลกั ษณ วตั ถปุ ระสงค สญั ลกั ษณ วตั ถปุ ระสงค • แสดงเปา หมายการเรยี นรทู นี่ ักเรียน ขอ สอบ O-NET • ชแ้ี นะเนอื้ หาทเี่ คยออกขอ สอบ ตองบรรลุตามตัวชว้ี ัด ตลอดจนสมรรถนะ (เฉพาะวชิ า ชน้ั ทส่ี อบ O-NET) O-NET โดยยกตวั อยา งขอ สอบ ที่จะตอ งมี และคุณลักษณะทพี่ งึ เกิดขน้ึ พรอ มวเิ คราะหค าํ ตอบ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT อยา งละเอยี ด เปา หมายการเรียนรู กับนักเรียน • เปน ตวั อยา งขอ สอบทมี่ งุ เนน หลักฐานแสดง • แสดงรอ งรอยหลักฐานตามภาระงาน ผลการเรียนรู การคดิ ใหค รนู าํ ไปใชไ ดจ รงิ เกรด็ แนะครู ท่คี รูมอบหมาย เพือ่ แสดงผลการเรียนรู รวมถงึ เปน การเกง็ ขอ สอบ O-NET ตามตวั ชี้วดั ทจี่ ะออก มที ง้ั ปรนยั - อตั นยั พรอ มเฉลยอยา งละเอยี ด • แทรกความรูเ สริมสําหรับครู ขอ เสนอแนะ ขอ สอบเนน กาNรTคิด • แนวขอ สอบ NT ในระดบั ขอ ควรระวงั ขอ สังเกต แนวทางการจดั แนว กจิ กรรมและอน่ื ๆ เพอื่ ประโยชนในการ ประถมศกึ ษา มที ง้ั ปรนยั - อตั นยั จดั การเรียนการสอน พรอ มเฉลยอยา งละเอยี ด • ขยายความรเู พ่ิมเติมจากเนื้อหา เพอื่ ให (เฉพาะวชิ า ชน้ั ทส่ี อบ NT) นักเรียนควรรู ครูนาํ ไปใชอธิบายเพ่ิมเติมใหน ักเรยี น • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม ไดม ีความรูม ากข้นึ บรู ณาการเชอ่ื มสาระ เชอื่ มกบั กลมุ สาระ ชน้ั หรอื วชิ าอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ ง • กิจกรรมเสรมิ สรางพฤตกิ รรมและปลกู ฝง คานิยมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง บูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม • ความรหู รือกิจกรรมเสรมิ ใหค รสู รา ง กจิ กรรมสรา งเสรมิ ซอ มเสรมิ สาํ หรบั นกั เรยี น ความเขา ใจใหกับนกั เรียนเก่ียวกับการ ทย่ี งั ไมเ ขา ใจเนอื้ หา เปน สวนหนง่ึ ของประชาคมอาเซยี น • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม บรู ณาการอาเซยี น โดยบูรณาการกบั วิชาที่กาํ ลงั เรยี น ตอ ยอดสาํ หรบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นรู • แนะนาํ แหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให กิจกรรมทา ทาย เนอื้ หาไดอ ยา งรวดเรว็ และ ตอ งการทา ทายความสามารถ ครูและนกั เรยี นไดเ ขา ถึงขอมูลความรู ในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ มุม IT ทีห่ ลากหลาย ท้ังไทยและตา งประเทศ คมู อื ครู
5Es การจัดกจิ กรรมตามข้ันตอนวัฏจกั รการเรียนรู 5Es ข้ันตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนท่ีนิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซ่ึงผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขน้ั ตอนการเรียนรู ดงั นี้ ขั้นที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) เส3ร�ม เปน ขนั้ ทผี่ สู อนนาํ เขา สบู ทเรยี น เพอ่ื กระตนุ ความสนใจของผเู รยี นดว ยเรอื่ งราวหรอื เหตกุ ารณท นี่ า สนใจโดยใชเ ทคนคิ วธิ กี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเ ดิมของผูเ รยี น เพอ่ื เช่ือมโยงผเู รยี นเขา สูค วามรขู องบทเรียนใหม ชวยใหผเู รยี นสามารถ สรุปประเดน็ สําคญั ทเ่ี ปนหวั ขอ และสาระการเรียนรขู องบทเรยี นได จึงเปน ข้ันตอนการสอนทส่ี ําคญั เพราะเปนการเตรยี มความพรอม และสรางแรงจงู ใจใฝเ รยี นรูแกผูเรยี น ข้นั ที่ 2 สาํ รวจคน หา (Explore) เปน ขนั้ ทผี่ สู อนเปด โอกาสใหผ เู รยี นลงมอื ศกึ ษา สงั เกต หรอื รว มมอื กนั สาํ รวจ เพอ่ื ใหเ หน็ ขอบขา ยของปญ หา รวมถงึ วธิ กี ารศกึ ษา คนควา การรวบรวมขอ มูลความรูทีจ่ ะนําไปสูก ารสรา งความเขาใจประเดน็ ปญ หานัน้ ๆ เม่ือผเู รยี นทําความเขาใจในประเดน็ หัวขอทจ่ี ะ ศึกษาคนควาอยา งถองแทแลว กล็ งมอื ปฏบิ ตั ิเพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวธิ กี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคน ควา ขอมลู จากเอกสาร แหลง ขอ มลู ตา งๆ จนไดขอ มลู ความรตู ามทต่ี ้ังประเด็นศกึ ษาไว ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain) เปน ข้นั ทีผ่ ูสอนมปี ฏสิ ัมพนั ธกับผเู รยี น เชน ใหการแนะนาํ ตง้ั คาํ ถามกระตุนใหคิด เพ่ือใหผ ูเรยี นคนหาคาํ ตอบ และนําขอ มูล ความรูจากการศึกษาคนควาในข้ันที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลท่ีไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนน้ีฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สงั เคราะหอยางเปน ระบบ ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนข้นั ทผ่ี ูสอนเลอื กใชเทคนิควธิ กี ารสอนตา งๆ ที่สง เสริมใหผูเ รียนนาํ ความรทู ี่เกดิ ขนึ้ ไปคิดคน สบื คนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพ่ือคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูท่ีสรางข้ึนใหมไปเช่ือมโยง กบั ประสบการณเ ดมิ โดยนาํ ขอ สรปุ ทไ่ี ดไ ปใชอ ธบิ ายเหตกุ ารณต า งๆ หรอื นาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นสถานการณใ หมๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางย่ิงข้ึน ในข้ันตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเร่ิมสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรา งวสิ ยั ทัศนใหก วางไกลออกไป ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปน ขน้ั ทผี่ สู อนประเมนิ มโนทศั นข องผเู รยี น โดยตรวจสอบจากความคดิ ทเี่ ปลย่ี นไปและความคดิ รวบยอดทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพ่ือการ สรา งสรรคค วามรรู ว มกนั ผเู รยี นสามารถประเมนิ ผลการเรยี นรขู องตนเอง เพอ่ื สรปุ ผลวา มคี วามรอู ะไรเพม่ิ ขน้ึ มาบา ง เกดิ ความเขา ใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลาน้ันไปประยุกตใชในการเรียนรูเร่ืองอ่ืนๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรทู เี่ กดิ ขน้ึ ซ่งึ เปน การเรยี นรทู ม่ี คี วามสขุ อยางแทจ รงิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต ามข้นั ตอนวัฏจักรการสรางความรแู บบ 5Es จงึ เปน รูปแบบการเรียนการสอนท่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั อยา งแทจ รงิ เพราะสง เสรมิ ใหผ เู รยี นไดล งมอื ปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของกระบวนการสรา งความรดู ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุม อยางชาํ นาญ กอใหเ กิดทักษะชีวติ ทกั ษะการทํางานและทักษะการ เรยี นรทู ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สง ผลตอ การยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องผเู รยี น ตามเปา หมายของการปฏริ ปู การศกึ ษาทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทกุ ประการ คมู อื ครู
คําอธิบายรายวิชา กลุมสาระการเรียนรู สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรยี นท่ี 1-2 รายวชิ า ประวัตศิ าสตร ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4 เวลา 40 ชวั่ โมง/ป รหัสวิชา ส………………………………… เส4ร�ม ศกึ ษา วเิ คราะหน บั ชว งเวลาเปน ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ยคุ สมยั ในการศกึ ษาประวตั ขิ องมนษุ ยชาติ โดยสงั เขป ประเภทหลกั ฐานทใ่ี ชใ นการศกึ ษาความเปน มาของทอ งถนิ่ การตงั้ หลกั แหลง และพฒั นาการของมนษุ ย ยคุ กอ นประวตั ศิ าสตรแ ละยคุ ประวตั ศิ าสตรโ ดยสงั เขป ยกตวั อยา งหลกั ฐานทพ่ี บในทอ งถนิ่ ทแ่ี สดงพฒั นาการของ มนษุ ยชาตใิ นดนิ แดนไทย พฒั นาการของอาณาจกั รสโุ ขทยั ดา นการเมอื ง การปกครอง และเศรษฐกจิ โดยสงั เขป ประวัติและผลงานของบุคคลสาํ คัญสมยั สุโขทัย ภมู ิปญญาไทยทส่ี าํ คัญสมัยสโุ ขทยั ที่นา ภาคภูมิใจและควรคา แก การอนุรักษ โดยใชก ระบวนการคดิ กระบวนการสบื คน ขอ มลู กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการ กลุม กระบวนการเผชิญสถานการณแ ละแกป ญหา เพอ่ื ใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจ สามารถนาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงคใ นดา นรกั ชาติ ศาสน กษัตริย ซือ่ สตั ยส ุจริต มวี นิ ัย ใฝเรยี นรู รกั ความเปนไทย มจี ิตสาธารณะ ตัวช้วี ดั ส 4.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 4.2 ป.4/1 ป.4/2 ส 4.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 รวม 8 ตวั ช้ีวดั คมู อื ครู
กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×¹é °Ò¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô ª¹éÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·èÕ ô ¡ÅÁ‹Ø ÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢é¹Ñ ¾¹é× °Ò¹ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÂÕ ºàÃÂÕ § ÃÈ. ÇزԪÂÑ ÁÙÅÈÅÔ »Š ¼ŒµÙ ÃǨ ´Ã. ¡Ñ³°¡Ô Ò ÈÃÕÍØ´Á ¼È.´Ã. Çþà À‹Ù¾§È¾Ñ¹¸Ø ¹ÒÂÀÞÔ âÞ ÊØ»¡Òà ºÃóҸ¡Ô Òà ¼È. ÈÃÔ ¾Ô à ´Òºà¾ªÃ ¾ÁÔ ¾¤Ãéѧ·èÕ ññ Ê§Ç¹Å¢Ô Ê·Ô ¸µìÔ ÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ISBN : 978-616-203-540-1 ÃËÊÑ Ê¹Ô ¤ÒŒ ñôñóðñõ ¾ÁÔ ¾¤Ã§éÑ ·Õè 12 ÃËÊÑ Ê¹Ô ¤ÒŒ 1443043
กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ¤íÒ¹Òí ´ÇŒ ¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸¡Ô ÒÃä´ŒÁ¤Õ íÒÊѧè ãˌ㪌ËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢Ñé¹¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÂÕ ¹·ÇèÑ ä»·¨Õè ´Ñ ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹é× °Ò¹ã¹»¡‚ ÒÃÈ¡Ö ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒÇ¨Ô ÂÑ áÅе´Ô µÒÁ ¼Å¡ÒÃãªËŒ Å¡Ñ ÊµÙ Ã¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹×é °Ò¹ ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõôô ¨§Ö ¹Òí ä»Ê¡‹Ù Òþ²Ñ ¹ÒËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹×é °Ò¹ ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ «§èÖ Á¤Õ ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪ´Ñ ਹ à¾Íè× ãËÊŒ ¶Ò¹È¡Ö ÉÒä´¹Œ Òí ä» ãªàŒ »¹š ¡Ãͺ·ÈÔ ·Ò§ã¹¡Òè´Ñ ËÅ¡Ñ ÊµÙ ÃÊ¶Ò¹È¡Ö ÉÒáÅШ´Ñ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹à¾Íè× ¾²Ñ ¹Òà´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹ ·¡Ø ¤¹ã¹ÃдºÑ ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹é× °Ò¹ãËÁŒ ¤Õ ³Ø ÀÒ¾´ÒŒ ¹¤ÇÒÁÌ٠áÅз¡Ñ Éз¨Õè Òí ໹š ÊÒí ËÃºÑ ¡ÒôÒí çªÇÕ µÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁ¡Õ ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃŒÙà¾Í×è ¾Ñ²¹Òµ¹àͧÍÂÒ‹ §µ‹Íà¹Íè× §µÅÍ´ªÕÇÔµ ˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇµÑ ÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹é¨Õ ´Ñ ·íÒ¢é¹Ö ÊÒí ËÃºÑ ãªŒ»ÃСͺ¡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹ ª¹Ñé »ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ»·‚ Õè ô â´Â´Òí à¹¹Ô ¡Òè´Ñ ·Òí ãËÊŒ Í´¤ÅÍŒ §µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã·¡Ø »ÃСÒà ʧ‹ àÊÃÁÔ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡»Œ Þ˜ ËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹Áդس¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·èÕ¶Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒôÒí çªÇÕ Ôµã¹Ê§Ñ ¤Áä·Â ˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹éÕ ÁÕ ó ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂầ‹ ໹š º·ÂÍ‹ Âæ «èÖ§»ÃСͺ´ÇŒ  ñ. à»Ò‡ ËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ûŒÙ ÃШÒí ˹Nj  ¡Òí ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÌ٠¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ŒàÙ ÃÕ¹ Ç‹ÒàÁÍ×è àÃÂÕ ¹¨ºã¹áµÅ‹ Ð˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÍŒ §ºÃÃÅØÁҵðҹµÇÑ ªÇéÕ Ñ´·èÕ¡Òí ˹´äÇ㌠¹ËÅ¡Ñ Êٵâ͌ ã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊÒí ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁ÷ٌ èàÕ »š¹¤ÇÒÁÌ٤ÇÒÁà¢ÒŒ 㨤§·¹µ´Ô µÑǼÙàŒ ÃÂÕ ¹ ó. à¹é×ÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµÅ‹ ÐÃдѺª¹Ñé ô. ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹»¯ºÔ ÑµÔ áº‹§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Òí ÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒà¢ÒŒ ʺً ·àÃÕ¹à¾Íè× ¡ÃеŒ¹Ø ¤ÇÒÁʹã¨á¡¼‹ ÙŒàÃÂÕ ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ ã˼Œ ÙàŒ ÃÕ¹½¡ƒ »¯ºÔ µÑ Ôà¾èÍ× ¾²Ñ ¹Ò¤ÇÒÁÃŒáÙ ÅзѡÉлÃШíÒ Ë¹‹Ç (ó) ¡¨Ô ¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºµÑ àÔ ¾Í×è áÊ´§¾Äµ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÃ٠ǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁ¹Ô ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒµÙ ÒÁÁҵðҹµÑǪéÇÕ Ñ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹éÕ ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ ¼ŒÙàÃÂÕ ¹ã¹ª¹Ñé »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·èÕ ô «Öè§à»¹š ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒʧèÔ ·¼Õè ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂǢ͌ §ã¹¡ÒôÒí à¹Ô¹ªÇÕ Ôµ»ÃШíÒÇ¹Ñ â´ÂãªÀŒ Ò¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ÍŒ ÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡ÒùÒí àʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «§Öè ¨Ðª‹ÇÂã˼Œ ÙŒàÃÂÕ ¹ÊÒÁÒöàÃÂÕ ¹ÃÙŒ ä´Œ§‹Ò¢¹éÖ ¤³Ð¼¨ŒÙ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂè§Ô Ç‹Ò Ë¹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÈÔ Òʵà ».ô àÅ‹Á¹éÕ ¨Ð໚¹ Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·èÕÍíҹǻÃÐ⪹µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà à¾è×ÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÇÑ ªÇÕé Ñ´·Õè¡Òí ˹´äÇ㌠¹ËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢éѹ¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨´Ñ ·íÒ
กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate คำ� ช้แี จงในกำรใชส้ อื่ ñเวลา ชวงเวลา บทท่ี ñหนว ยการเรยี นรทู ี่ กจิ กรรมนำ� ส่กู ำรเรยี น และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร àÇÅÒáÅÐà˵ءÒó นำ�เข้�สบู่ ทเรยี น กิจกรรมนาํ สูการเรียน โดยใช้กระตุน้ คว�มสนใจ และวัดประเมนิ ผลก่อนเรียน à¾ÃÒÐà˵ãØ ´ àÃÒ¨Ö§µÍŒ §àÃÂÕ ¹ÃŒÙ ªÇ‹ §àÇÅÒáÅÐÂ¤Ø ÊÁÂÑ ·Ò§»ÃÐÇµÑ ÔÈÒʵà ภำพหนำ้ หน่วยกำรเรยี นรู้ เปน็ ภ�พประกอบขน�ดใหญ่ ช่วยกระตุน้ คว�มสนใจ ของผู้เรียน ๑เปา หมายการเรียนรปู้ ระจา� หน่วยท ่ี á¹Ç¤´Ô ÊÒí ¤ÑÞ เมอ่ื เรยี นจบหนว่ ยน ้� ผเู้ รยี นจะมคี วามรคู้ วามสามารถตอ่ ไปน้� àÇÅÒÁ¤Õ ÇÒÁÊÒí ¤ÞÑ áÅÐà¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ ¡ÒôÒí à¹¹Ô ªÇÕ µÔ ๑. นับชว่ งเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ¢Í§¤¹àÃÒ ã¹¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵë §Öè ໹š à˵¡Ø Òó ·¼Õè Ò‹ ¹ÁÒáÅÇŒ àÃҵ͌ §ºÍ¡àÅÒ‹ àÃ×èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵà [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๑] â´Â㪌¤Òí ·ÃèÕ ÐºØª‹Ç§àÇÅÒ àª¹‹ ·ÈÇÃÃÉ ÈµÇÃÃÉ ๒. อธิบายยคุ สมัยในการศึกษาประวตั ิของมนุษยชาติ ÊËÊÑ ÇÃÃÉ โดยสังเขป [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๒] 2 ๓. แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาประวตั ิ แนวคดิ สำ� คัญ ความเปน็ มาของท้องถิน่ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๓] แกน่ คว�มรู้ทเี่ ป็นคว�มเข้�ใจ เปำ้ หมำยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนตวั ช้ีวัด คงทนติดตัวผเู้ รียน กำ�หนดระดบั คว�มร้คู ว�มส�ม�รถ ระบตุ วั ชวี้ ัดทีก่ ำ�หนดไว้ กจิ กรรมพฒั นำกำรเรยี นรู้ ของผเู้ รียนเมื่อเรยี นจบหนว่ ย ในแตล่ ะหนว่ ย ให้ผูเ้ รียนฝกึ ปฏบิ ตั ิเพื่อพัฒน� เนอื้ หำ คว�มรแู้ ละทักษะประจำ�หนว่ ย ครบต�มหลกั สูตรแกนกล�งฯ ’๕๑ นำ�เสนอโดยใช้ภ�ษ�ทีเ่ ข้�ใจง่�ย เหม�ะสมกบั ก�รเรียนก�รสอน ๑) สมยั หนิ เปน็ สมยั ทม่ี นษุ ย์ใชห้ นิ ทา� เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ กิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้ที่ ๒ นกั โบราณคดนี ยิ มแบง่ ชว่ งเวลาสมยั หนิ อยา่ งละเอยี ด โดยจะแบง่ ออก เปน็ สมยั หนิ เกา่ สมยั หนิ กลาง และสมยั หนิ ใหม่ แตโ่ ดยทวั่ ไปจะแบง่ ๑. ร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ข้อดขี องการประดษิ ฐ์ตวั อักษรท่ีใช้ กว้างๆ เปน็ สมยั หินเก่า และสมยั หินใหม่ บนั ทึกเรอ่ื งราวตา่ งๆ สมัยหินเก่า มนุษย์ใน ๒. ดภู าพ แลว้ บอกว่า สงิ่ ของในภาพนา่ จะอยู่ในสมยั ใด สมัยหินเก่ามีความเป็นอยู่แบบ พร้อมทัง้ บอกเหตุผล เร่ร่อน อาศัยอยู่ตามบริเวณถ้�า ๑) ๒) และเพิงผา เก็บของปาและออก ลา่ สัตวเ์ ป็นอาหาร เครือ่ งมือหนิ ๓. แบ่งกลมุ่ ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั หลักเกณฑ์ ที่ใช้จะมีลักษณะหยาบๆ ใช้ทุบ การแบง่ ยุคสมัยที่ใชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย แล้วจดั ท�า ตัด หรือสบั เปน็ รายงาน ▲ ถา�้ ผีแมน จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ซึ่งเคยคน้ พบ หลกั ฐานสมยั หนิ เกา่ กิจกรรมรวบยอด สมัยหินใหม่ มนุษย์ใน ๑. เขียนอธิบายสมัยในการศึกษาประวตั ิศาสตร์มาโดยสงั เขป สมัยหินใหม่เร่ิมตั้งหลักแหล่ง ๒. เขียนอธิบายเกย่ี วกับความส�าคัญของการแบ่งสมยั ในการ อยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ โดยเรมิ่ ท�าการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ ศึกษาประวตั ิศาสตร์ เคร่ืองมือหินท่ีใช้มีการขัดให้คม ๓. รว่ มกันอภิปรายว่า “ถ้านักเรยี นพบโบราณวตั ถโุ ดยบงั เอิญ มีผิวเรียบ นอกจากน้ีมีการปัน ภาชนะดินเผาท่ีมีการตกแต่งให้ และไมท่ ราบวา่ เปน อะไร นกั เรยี นควรทําอย่างไร แลว้ นักเรียน สวยงามข้นึ ไวใ้ ช้ ภำพประกอบเนื้อหำ จะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่า โบราณวตั ถุชิน้ นอ้ี ยู่ในสมยั ใด” เป็นภ�พประกอบ ๔ สี ▲ ภาพจ�าลองการใช้ชวี ติ ของมนษุ ย์ในสมยั หินใหม่ ๔. รว่ มกันอภิปรายวา่ “หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรมีความสําคญั อย่างไรต่อการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร” ๑8 ๑๒ แทรกอยู่ตลอดเลม่ กิจกรรมรวบยอด ช่วยเสริมสร้�ง คว�มเข้�ใจ ใหผ้ ้เู รียนฝึกปฏบิ ัตเิ พื่อแสดงพฤติกรรมก�รเรียนรรู้ วบยอด และประเมินผลก�รเรยี นรตู้ �มม�ตรฐ�นตัวช้ีวดั ประจำ�หน่วย
กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate สารบญั หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ เวลาและเหตกุ ารณ ๑ บทที่ ๑ เวล� ช่วงเวล� และยุคสมยั ท�งประวตั ิศ�สตร ๒ บทท่ี ๒ ยคุ สมยั ท�งประวัติศ�สตร ๑๐ บทท่ี ๓ ก�รศึกษ�ประวตั ิศ�สตรท อ้ งถนิ� ๑๙ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การต้ังถ่ินฐานและพฒั นาการของมนษุ ย ๒๘ ในดนิ แดนไทย ๒ ๒๙ ๔๑ บทท่ี ๑ ก�รต้ังถ�นิ ฐ�นและก�รดำ�รงชีวิตของมนษุ ยใ นดินแดนไทย บทที่ ๒ พัฒน�ก�รของมนษุ ยส มัยประวัติศ�สตรในดนิ แดนไทย หนวยการเรยี นรูที่ ๓ ความเปนมาของชาติไทย ๕๑ บทท่ี ๑ พัฒน�ก�รของสมัยสโุ ขทยั ๕๒ บทท่ี ๒ บคุ คลส�ำ คัญสมัยสุโขทัย ๖๕ บทที่ ๓ ภูมิปญ ญ�สมยั สุโขทัย ๗๓ ● คาํ สาํ คญั ๘๓ ● บรรณานกุ รม ๘๔ ● อภธิ านศพั ท พ๑ิเศษ
กระตนุ้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Expore Explain Expand Evaluate Engaae กระตนุ้ ความสนใจ Engage ñหนวยการเรียนรูท่ี 1. ครนู าํ ภาพยนตรอิงประวตั ิศาสตรหรอื การตูน àÇÅÒáÅÐà˵¡Ø Òó องิ ประวตั ิศาสตรส ้ันๆ มาใหนกั เรียนดู แลวสงั เกตความสนใจของนกั เรยี น ๑เปาหมายการเรียนร้ปู ระจา� หนว่ ยท ี่ 2. ครถู ามนักเรยี นวา เมอ่ื เรยี นจบหนว่ ยน ้� ผเู้ รยี นจะมคี วามรคู้ วามสามารถตอ่ ไปน้� • ภาพยนตรห รือการตูนท่ีดู เปน เร่อื งราว ๑. นบั ชว่ งเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เก่ียวกับอะไร (แนวตอบ คาํ ตอบข้ึนอยูก ับสง่ิ ท่นี กั เรยี นด)ู [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๑] • จากภาพยนตรห รือการตูนทําใหนกั เรยี น ๒. อธบิ ายยุคสมัยในการศกึ ษาประวัตขิ องมนษุ ยชาติ รูอ ะไรบาง (แนวตอบ คําตอบขึน้ อยกู บั สิง่ ที่นกั เรียนด)ู โดยสงั เขป [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๒] • ทําไมนักเรียนตอ งเรยี นรูเ รือ่ งราวในอดีต ๓. แยกแยะประเภทหลกั ฐานท่ีใชใ้ นการศกึ ษาประวตั ิ (แนวตอบ เพอื่ ใหท ราบความเปนไปของ เหตกุ ารณตา งๆ ในอดตี ตามความเปน จรงิ ความเป็นมาของท้องถน่ิ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๓] และเขาใจถงึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากเหตกุ ารณใน อดีตซง่ึ สงผลมาถงึ ปจจุบนั และนาํ สง่ิ ท่ี เกิดข้นึ มาเปนบทเรยี นสอนใจเพอื่ นาํ มา ประยกุ ตใ ชใ นปจ จบุ นั และในอนาคตได) • นักเรยี นคดิ วา มอี ะไรทบ่ี อกเรื่องราวในอดีต ไดบ า ง (แนวตอบ มมี ากมายหลายอยา ง เชน จารึก โบราณสถาน โบราณวัตถุ พงศาวดาร เปน ตน) 3. ใหน กั เรยี นดูภาพจากหนังสอื หนา 1 แลวให นักเรียนรวมกันตอบวา จากภาพทาํ ให นักเรียนรูขอมลู ใดบา ง ซึ่งนักเรยี นอาจ ตอบรหู รอื ตอบไมร ูก ็ได มมุ IT ครูคนหาภาพยนตรห รือการตูนอิงประวตั ิศาสตร ไดจาก www. youtube.com โดยพมิ พช่อื ภาพยนตรหรอื การต นู อิงประวัติศาสตร ลงในชองคน หา เชน นเรศวร ขุนศกึ กานกลวย เปน ตน คูมือครู 1
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Explain Elaborate Evaluate Engaae Expore เปา หมายการเรยี นรู นบั ชว งเวลาเปน ทศวรรษ ศตวรรษ ñเวลา ชว งเวลา บทที่ และสหสั วรรษได (ส 4.1 ป.4/1) และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สมรรถนะของผเู รยี น กจิ กรรมนาํ สกู ารเรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค à¾ÃÒÐà˵ãØ ´ àÃÒ¨Ö§µÍŒ §àÃÂÕ ¹ÃŒÙ 1. ใฝเ รียนรู ªÇ‹ §àÇÅÒáÅÐÂ¤Ø ÊÁÂÑ 2. มุง มน่ั ในการทํางาน ·Ò§»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵà กระตนุ้ ความสนใจ Engage 1. ครเู ลา เรอ่ื งใหน กั เรยี นฟง โดยไมเรยี งลาํ ดบั á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÞÑ เหตกุ ารณแ ละไมร ะบุชว งเวลา แลว ซกั ถาม ความเขา ใจของนกั เรยี น àÇÅÒÁ¤Õ ÇÒÁÊÒí ¤ÞÑ áÅÐà¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ ¡ÒôÒí à¹¹Ô ªÇÕ µÔ ¢Í§¤¹àÃÒ ã¹¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵë §Öè ໹š à˵¡Ø Òó 2. ครูเลา เร่ืองเดิม แตเ รียงลาํ ดับเหตุการณและ ·¼èÕ Ò‹ ¹ÁÒáÅÇŒ àÃҵ͌ §ºÍ¡àÅÒ‹ àÃ×èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵà ระบคุ ําบอกชวงเวลา แลวซกั ถามความเขา ใจ â´Â㪌¤íÒ·ÕÃè кªØ Ç‹ §àÇÅÒ àª‹¹ ·ÈÇÃÃÉ ÈµÇÃÃÉ ของนกั เรียนอกี ครง้ั จากน้ันใหนักเรยี นรวมกนั ÊËÊÑ ÇÃÃÉ สรปุ วา การเลาเรือ่ งแบบใดทาํ ใหเ ขา ใจ เรอื่ งราวไดงา ยกวากัน ๒ 3. ใหน ักเรียนดูภาพจากหนังสือ หนา 2 แลวบอก วา เปนภาพสถานท่ีใด และคาดวา ถกู สรา งขน้ึ สมัยใด จากน้นั ครเู ฉลยคําตอบ (ตอบ ภาพน้ี คอื ปราสาทหินพนมรงุ จังหวัด บุรีรัมยถกู สรางขึ้นในชวงพทุ ธศตวรรษที่ 15-18) 4. ใหนักเรยี นลองคาดเดาความหมายของคาํ วา “4 ศตวรรษ” เกรด็ แนะครู ครจู ัดกระบวนการเรยี นรูโ ดยการใหนักเรียนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี • สบื คน ขอมลู เกย่ี วกบั การนบั ชว งเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ • วเิ คราะหจ ากประเด็นคาํ ถามและภาพเกี่ยวกบั ชวงเวลา การใชทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ • เช่ือมโยงประสบการณเกยี่ วกับการใชทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ในชีวติ ประจําวนั จนเกิดเปนความรูความเขา ใจวา ชวงเวลามคี วามสําคัญตอการเรียนรู เร่ืองราวตางๆ ทเ่ี กิดข้ึน การเรียนรเู รื่องชว งเวลาทําใหเ ขา ใจวา แตล ะเรอื่ งราว เกดิ ข้นึ เมอ่ื ไร เพ่ือใหเ ห็นถงึ การเปล่ียนแปลง 2 คมู อื ครู
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Explain Expand Evaluate Explore Explore สา� รวจคน้ หา ประววัตันิศาเสวตลร1า์คกือับกปารรศะึกวษัตาิศเารื่สองตรรา์มวีใคนวอาดมีตเขกอี่ยงวมขน้อุษงยก์ ันเราเศพึกรษาาะ 1. ใหน กั เรยี นศกึ ษาขอ มลู ความสาํ คญั ของเวลา ประวัติศาสตร์เพื่อให้รู้ว่ามนุษย์ในอดีตมีความคิด ความเชื่อ และ กบั ประวตั ศิ าสตร จากหนงั สอื หนา 3 การกระท�าอยา่ งไร และอะไรส่งผลใหม้ นษุ ยท์ �าเชน่ นนั้ ในทุกๆ วันมี เหตกุ ารณต์ า่ งๆ เกดิ ขน้ึ ตลอดเวลา เหตกุ ารณส์ า� คญั ในประวตั ศิ าสตร์ 2. ใหน กั เรยี นรว มกนั อภปิ รายวา จงึ มมี ากมายตลอดชว่ งเวลาหลายรอ้ ย หลายพนั ปี นกั ประวตั ศิ าสตร์ เวลามคี วามสาํ คญั ตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของ จงึ กา� หนดชว่ งเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ เพอ่ื ใหง้ า่ ยแกก่ าร คนเราอยา งไร แลว สรปุ ผลลงในสมดุ จดจ�าและเพื่อให้เกดิ ความเข้าใจเหตุการณ์ตรงกัน 3. ครยู กตัวอยา งสือ่ โฆษณาหรอื สื่อที่ระบุคําวา ๑. ความสา� คัญของเวลากับประวัตศิ าสตร์ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เชน เวลามีความส�าคัญและเก่ียวข้องกับการด�าเนินชีวิตของคนเรา “สดร. ชวนชมปรากฏการณแหง ศตวรรษ เวลาทา� ใหเ้ รารวู้ า่ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ เกดิ ขน้ึ เมอื่ ใด เหตกุ ารณ์ใดเกดิ ขน้ึ ดาวศุกรผา นหนาดวงอาทิตย” กอ่ นหลงั และทา� ใหเ้ ราสามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องเหตกุ ารณ์ได้ เชน่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ กอ่ นมผี ลตอ่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ทหี ลงั ในการศกึ ษา “กอนจะขึ้น ค.ศ. ใหม เปน ค.ศ. 2000 มี ประวัติศาสตร์เราต้องบอกเล่าเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์โดยใช้ค�า ความต่ืนเตน ทีจ่ ะไดล นุ วา ใครจะเปน ทารก ทร่ี ะบชุ ว่ งเวลา เพอ่ื ใหร้ วู้ า่ เหตกุ ารณน์ น้ั ๆ เกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาใด หรอื คนแรกแหงสหสั วรรษใหม” เพ่ือให้รู้ว่าในช่วงเวลานั้นๆ มีเหตุการณ์ส�าคัญใดเกิดขึ้น ดังนั้น เวลาและประวตั ิศาสตร์จงึ มีความเก่ียวข้องกัน แลว ใหนกั เรียนชวยกนั คน หาคาํ บอกชว งเวลา จากสื่อทีย่ กตัวอยา ง 4. ใหนกั เรียนรว มกนั แสดงความคิดเห็นวา เคยไดยนิ หรอื เคยเห็นคาํ บอกชว งเวลา เหลา นีจ้ ากแหลง ใดอกี บาง 5. ครูใหน ักเรยี นลองคาดเดาความหมายของ คําวา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ 6. ใหนกั เรียนศกึ ษาขอ มูล หนา 4-7 แลว ตรวจสอบวา ตนเองคาดเดาความหมาย ไดถูกตองหรอื ไม ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เกร็ดแนะครู คาํ บอกชว งเวลา มีประโยชนต อการศึกษาประวตั ศิ าสตรอยา งไร ใหน ักเรียนแบง กลุม แลวใหแตละกลมุ ไปสบื คนขา วหรอื ขอความโฆษณา ท่ีระบคุ ําบอกชว งเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ จากหนงั สือพมิ พ แนวตอบ คาํ บอกชว งเวลามปี ระโยชนต อ การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรอ ยา งยงิ่ นิตยสาร หรืออินเทอรเ นต็ แลว ออกมานาํ เสนอท่ีหนาช้ัน จากน้ันใหรวมกัน เพราะทาํ ใหร วู า เหตกุ ารณต างๆ เกดิ ขน้ึ เมือ่ ใด เหตุการณใ ดเกิดขน้ึ คาดเดาความหมายของคาํ บอกชวงเวลาทส่ี ืบคน มาได กอ นหรือหลงั ทําใหเราเขา ใจความสมั พนั ธข องเหตุการณต า งๆ ไดด ีขึน้ นักเรยี นควรรู 1 ประวัตศิ าสตร คอื History ในภาษาอังกฤษ มาจากคําภาษากรกี วา Histon ซ่ึงหมายความถงึ การถักหรอื ทอ ภายหลงั เฮโรโดตุส นกั ปราชญช าวกรกี ไดเรยี ก เรอ่ื งราวท่ีสืบสวน คน ควา รวบรวมขนึ้ วา Historiai อันเปน ที่มาของคาํ วา History ในปจ จุบัน คูมือครู 3
กระตุน้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Expore Elaborate Evaluate Engaae Explain Explain อธบิ ายความรู้ .1. ใหนักเรียนรวมกนั แสดงความคดิ เห็นและ ๒. ความรู้เก่ยี วกบั ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ1 สรุปวา คาํ บอกชว งเวลามีความสําคญั ตอ เหตุการณท ่ีเกดิ ขึ้น เพราะจะทําใหเ ราเขาใจ การกล่าวถึงเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งแล้วระบุเวลาท่ีชัดเจน ความสัมพันธข องเหตกุ ารณแ ตละเหตกุ ารณ หรือระบุช่วงเวลากว้างๆ ไว้ด้วย ท�าให้สามารถจดจ�าเหตุการณ์นั้น และทราบวา เหตกุ ารณใ ดเกดิ ขนึ้ กอ นหรอื หลงั ได้ง่ายขึ้น รวมทั้งท�าให้เรียงล�าดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง และท�าให้ เกิดความเขา้ ใจวา่ ในแตล่ ะช่วงเวลามเี หตุการณ์ส�าคัญใดเกิดขน้ึ บา้ ง 2. ใหนกั เรยี นชว ยกนั คิดวา • ถาพบบนั ทกึ เกา แตไมม กี ารระบชุ วงเวลา การกา� หนดชว่ งเวลามที งั้ ชว่ งเวลาทยี่ าว คอื รอบพนั ปี เรยี กวา่ ของเหตุการณ จะเกิดผลตอการตีความ สหัสวรรษ รอบร้อยปี เรียกว่า ศตวรรษ และช่วงเวลาส้ัน คือ หลกั ฐานอยางไร ในรอบสิบปี เรยี กวา่ ทศวรรษ (แนวตอบ ทําใหผ ศู กึ ษาไมท ราบวา เหตุการณ ในบนั ทกึ เกดิ ข้นึ ในชวงเวลาใด อาจทําให ทศวรรษ (๑๐ ป) เกิดการตีความเรอื่ งชวงเวลาคลาดเคลื่อนไป จากความเปน จรงิ ) ศตวรรษ (๑๐๐ ป) 3. ใหน ักเรียนรวมกันสรปุ ความหมายของคาํ วา สหัสวรรษ (๑,๐๐๐ ป) ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ จากนั้น ชว ยกนั เรียงลาํ ดับชว งเวลาจากส้นั ทีส่ ุดไปหา ▲ แผนภาพแสดงการเปรียบเทยี บช่วงเวลาทั้ง ๓ แบบ ยาวท่สี ุด ๒.๑ ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑๐ ป เริ่มนับจากปีที่ 4. ครูตงั้ ประเด็นคาํ ถามใหน กั เรยี นชวยกนั ตอบ ข้ึนตน้ ด้วยเลข ๐ เป็นปแี รกของทศวรรษ และไปสิน้ สุดที่ ๙ เช่น เชน • พ.ศ. 2536 อยใู นทศวรรษท่เี ทา ไร ทศวรรษท่ี ๑๙๘๐ หมายถงึ เวลาระหวา่ ง ค.ศ. ๑๙๘๐ - ๑๙๘๙ (ตอบ ทศวรรษท่ี 2530) ทศวรรษท ่ี ๒๕๕๐ หมายถึง เวลาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ • พ.ศ. ทอี่ ยใู นชวงทศวรรษที่ 2550 มีอะไรบาง ปัจจุบันเราอยู่ในทศวรรษที่ ๕๐ ทางพุทธศักราช2 หมายถึง (ตอบ พ.ศ. 2550, 2551, 2552, ..., 2559) ชว่ งเวลาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ • ปจจุบนั คอื พ.ศ. อะไร และอยใู นชว ง ทศวรรษท่เี ทาไร (แนวตอบ พ.ศ. 2556 อยใู นชว งทศวรรษที่ 2550) 4 นกั เรยี นควรรู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ชวงเวลาในขอ ใด มีชว งระยะเวลาสนั้ ทส่ี ุด 1 ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ คาํ วา “วรรษ” หมายถงึ ป เมอ่ื นาํ มารวมกับ 1. คนไทยกบั เจ็ดทศวรรษเพลงชาติไทย คําบอกจํานวน จึงหมายถึง รอบจาํ นวนปต ามคํานนั้ ๆ เชน 2. เฉลมิ ฉลองคร่ึงศตวรรษกบั เดอะบที เทิล ทศ (10) + วรรษ หมายถงึ รอบสิบป = ทศวรรษ 3. ชวนรําลกึ สบิ ทศวรรษ ครเู นรมติ ผชู นะสบิ ทศิ ศต (100) + วรรษ หมายถึง รอบรอ ยป = ศตวรรษ 4. ปราสาทสัจธรรม สถาปตยกรรมไมทย่ี ิง่ ใหญแหงศตวรรษ สหสั (1,000) + วรรษ หมายถึง รอบพนั ป = สหสั วรรษ วเิ คราะหค าํ ตอบ ทศวรรษ หมายถงึ รอบสบิ ป เจด็ ทศวรรษ หมายถงึ 70 ป 2 พุทธศักราช คือ การนับปศ กั ราชของพระพทุ ธศาสนา โดยเร่ิมนบั จากปท ี่ สิบทศวรรษ หมายถงึ 100 ป สว นศตวรรษ หมายถงึ รอบรอยป ดังน้นั พระพุทธเจา ปรินิพพานเปน พทุ ธศักราชท่ี 1 มคี าํ ยอ วา พ.ศ. คร่ึงศตวรรษ หมายถึง 50 ป ขอ 2. เปน คาํ ตอบที่ถกู ตอ ง 4 คมู ือครู
กระตุน้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain อธบิ ายความรู้ Explain ตวั อยา่ ง การใชท้ ศวรรษ 1. ใหน กั เรยี นศกึ ษาขอ มลู ทร่ี ะบเุ วลาเปน ทศวรรษ เมอ่ื สองทศวรรษท่แี ลว้ โทรศัพทม์ อื ถือยังมีราคาแพง จากแหลง ขอมูลตา งๆ แลว ออกมานําเสนอ ทหี่ นา ชน้ั จากนั้นใหเ พอ่ื นๆ รว มกันอธิบาย แต่ปจั จบุ ันมรี าคาถกู ลงมาก ความหมายของขอความเหลา นนั้ หมายถึง เมือ่ ๒๐ ปีทีแ่ ลว 2. ครูเขยี นขอความวา โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ ๕ ทศวรรษ - ทศวรรษท่ี 1980 - ทศวรรษที่ 2550 หมายถึง โรงเรียนจัดงานฉลองทีม่ อี ายุครบ ๕๐ ปี ลงบนกระดาน จากน้นั ตงั้ ประเดน็ คําถาม หนังสือพิมพร์ ายงานว่าในทศวรรษนร้ี าคาน�้ามันสงู ขึน้ ใหน ักเรียนชว ยกนั ตอบ เชน มากที่สุด • ทศวรรษที่ 1980 เปน การกลาวเจาะจง หมายถงึ ชวงเวลาของพุทธศกั ราชหรอื หมายถึง ในช่วง ๑๐ ปีน้ี ครสิ ตศ กั ราชหรือไม เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ ไมไ ดก ลาวเจาะจงถึงศักราชใด กิจกรรมพัฒนาการเรียนรทู้ ่ี ๑ (ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมขนึ้ อยกู ับดลุ ยพินิจของครผู ูสอน) จึงอาจทําใหสับสนไดว าเปน พุทธศักราช หรอื ครสิ ตศกั ราช ดงั นน้ั จงึ ควรเจาะจง สบื คน้ ขอ้ มลู ทร่ี ะบเุ วลาเปน็ ทศวรรษจากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ แลว้ นา� มา ลงไป เชน ทศวรรษท่ี 1980 ของครสิ ตศ กั ราช คัดลอกลงในสมดุ จากนนั้ ออกมาอา่ นให้เพือ่ นฟังท่หี นา้ ช้ัน เปน ตน ) • ทศวรรษท่ี 2550 เปน การกลา วเจาะจง ๒.๒ ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑๐๐ ป เริ่มนับจากปี หมายถงึ ชวงเวลาของพทุ ธศกั ราชหรือ ที่ข้ึนต้นด้วยเลข ๑ เป็นปีแรกของศตวรรษ จนถงึ ปที ี่ ๑๐๐ เชน่ ครสิ ตศักราชหรอื ไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ แมไ มไ ดก ลา วเจาะจงวา เปน ศตวรรษท ่ี ๑ คอื เวลาในช่วงปที ่ี ๑ - ๑๐๐ ชวงเวลาของศักราชใด กท็ ราบไดว า ศตวรรษท ี่ ๒ คือ เวลาในช่วงปที ี่ ๑๐๑ - ๒๐๐ เปนชว งเวลาของพุทธศักราช เพราะ ศตวรรษที ่ ๙ คือ เวลาในชว่ งปที ่ี ๘๐๑ - ๙๐๐ คริสตศ กั ราชในปจ จุบนั คือ ค.ศ. 2013) ศตวรรษท ่ี ๑๐ คือ เวลาในชว่ งปที ่ี ๙๐๑ - ๑๐๐๐ 3. ครนู าํ ขา วหรือเหตกุ ารณเดนในแตละรอบ ๕ ทศวรรษมาสนทนากบั นกั เรยี น เพอื่ ใหน ักเรยี น เหน็ ความเปลีย่ นแปลงของสิง่ ตา งๆ ในแตละ ชวงเวลา ขอ ใดไมอ ยูในชว งเวลาเดยี วกัน ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEิดT บูรณาการอาเซยี น 1. พ.ศ. 2556 2. ทศวรรษท่ี 2550 ครยู กตวั อยา งเหตกุ ารณส าํ คญั ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชว งทศวรรรษ ศตวรรษ หรอื สหสั วรรษ 3. ศตวรรษที่ 26 ในภมู ภิ าคอาเซยี น มาอธบิ ายใหน กั เรยี นฟง เพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหน กั เรยี นเขา ใจยงิ่ ขนึ้ เชน 4. สหสั วรรษที่ 2 • ประเทศไทยไดเ ปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย วเิ คราะหคาํ ตอบ พ.ศ. 2556 อยใู นชวงสหัสวรรษท่ี 3 ทศวรรษท่ี 2550 มาเปนระบอบประชาธปิ ไตย โดยมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ต้ังแต อยใู นชวงสหสั วรรษท่ี 3 และศตวรรษท่ี 26 อยใู นชวงสหสั วรรษท่ี 3 พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบนั (พ.ศ. 2556) รวมระยะเวลากวา 8 ทศวรรษ สว นสหัสวรรษท่ี 2 คือ ชว งเวลาระหวา งป พ.ศ. 1001-2000 ดังนั้น ขอ 4. เปน คําตอบทถ่ี ูกตอ ง • ในชว งพุทธศตวรรษท่ี 26 (พ.ศ. 2510) สมาคมประชาชาตแิ หงเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต มาจากภาษาองั กฤษวา The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) เปน สมาคมทถ่ี อื กาํ เนดิ จากการประกาศปฏญิ ญา กรงุ เทพ ในวันท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 เมอื่ เรมิ่ กอต้งั มสี มาชกิ เพียง 5 ประเทศ ไดแก อนิ โดนีเซยี ไทย มาเลเซีย ฟล ิปปน ส และสิงคโปร คมู ือครู 5
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ใหน กั เรียนรว มกันอธบิ ายความหมายของ เมอื่ จะกลา่ วถึงเหตุการณท์ างประวัติศาสตร์ที่ไม่ต้องการระบปุ ี คําวา ศตวรรษ พุทธศักราช (พ.ศ.) หรือปีคริสต์ศักราช (ค.ศ.) โดยละเอียดนั้น นักประวัติศาสตรจ์ ะใช้พุทธศตวรรษและครสิ ตศ์ ตวรรษก�ากับไวแ้ ทน 2. ครูต้งั ประเดน็ คาํ ถามใหนกั เรียนชวยกนั ตอบ รวมทั้งใช้ค�าว่าต้นศตวรรษ กลางศตวรรษ และปลายศตวรรษด้วย เชน เพอื่ ระบเุ วลาใหใ้ กล้เคียงยง่ิ ขึ้น ดังตวั อยา่ ง • ปจ จบุ ันอยใู นพุทธศตวรรษทเ่ี ทา ไร (แนวตอบ ปจ จบุ ันตรงกบั พ.ศ. 2557 ตัวอย่าง การใชศ้ ตวรรษ จงึ อยูใ นพุทธศตวรรษที่ 26) • ปจจบุ นั อยูในครสิ ตศตวรรษทีเ่ ทาไร ลายสอื ไท 1หรอื ตัวอักษรไทยประดษิ ฐ์ข้ึนในสมยั สุโขทยั (แนวตอบ ปจจบุ ันตรงกับ ค.ศ. 2014 ปัจจุบนั ตวั อกั ษรไทยมีอายกุ วา่ ๗ ศตวรรษ แลว้ จึงอยใู นคริสตศตวรรษท่ี 21) หมายถงึ ตวั อกั ษรไทยมอี ายมุ ากกวา่ ๗๐๐ ปี แล้ว 3. ใหน ักเรยี นยกตัวอยา งการใชศตวรรษ แลวรว มกนั อธบิ ายความหมายของขอ ความ กรุงสโุ ขทยั ตงั้ ขน้ึ ในชว่ งปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ และถกู รวม เหลา น้นั เป็นสว่ นหน่ึงของกรุงศรีอยธุ ยาในต้นพทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ 4. ใหนกั เรียนเขียนอธิบายเหตุการณที่กําหนดให หมายถงึ กรุงสุโขทยั ต้งั ข้ึนในราว พ.ศ. ๑๗๙๒ โดยดูขอ มูลเหตุการณจากกิจกรรมพฒั นาฯ (พุทธศตวรรษที่ ๑๘ คอื ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๗๐๑ - ๑๘๐๐) ที่ 2 หนา 7 วาอยูในชว งเวลาใด และรวมเปน็ สว่ นหนึง่ ของกรงุ ศรีอยธุ ยาใน พ.ศ. ๒๐๐๖ (พุทธศตวรรษที่ ๒๑ คอื ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๐๑ - ๒๑๐๐) กรุงเทพฯ ตั้งขึ้นในพทุ ธศตวรรษที่ ๒๔ หมายถึง กรงุ เทพฯ ซงึ่ ตั้งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๒๕ อยู่ใน พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ หรือ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๐๑ - ๒๔๐๐ ชาวยุโรปคน้ พบทวปี อเมรกิ า2เมอ่ื ๕ ศตวรรษ ทีแ่ ล้ว หมายถึง ชาวยุโรปค้นพบทวปี อเมริกาเม่อื ๕๐๐ ปี ทแี่ ล้ว 6 นักเรียนควรรู ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT ขอ ใดไมอยูในชวงพุทธศตวรรษท่ี 24 1 ลายสอื ไท พอ ขนุ รามคาํ แหง ทรงเปน ผูประดษิ ฐล ายสอื ไท เมอ่ื พ.ศ. 1826 1. พ.ศ. 2300 ซงึ่ ลายสือไทไดร บั อทิ ธิพลมาจากอกั ษรขอมหวัด อกั ษรมอญ และอกั ษรปลลวะ 2. พ.ศ. 2301 2 ชาวยโุ รปคน พบทวปี อเมรกิ า คอื ครสิ โตเฟอร โคลมั บสั นกั สาํ รวจชาวเจนวั 3. พ.ศ. 2359 (ปจ จบุ นั อยใู นเขตแดนของประเทศอติ าล)ี ซง่ึ เดนิ เรอื สาํ รวจมหาสมทุ รแอตแลนตกิ 4. พ.ศ. 2400 เพอื่ คนหาเสนทางไปยงั ทวีปเอเชีย เขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนอื เม่อื พ.ศ. วเิ คราะหค าํ ตอบ พทุ ธศตวรรษท่ี 24 คอื ชว งเวลาระหวา ง พ.ศ. 2301-2400 2035 โดยทเี่ ขา ใจวา ดนิ แดนทพี่ บนคี้ อื ทวปี เอเชยี ตอ มาอเมรโิ ก เวสปคุ ซี ไดเ ดนิ ทาง ดงั นั้น ขอ 1. เปน คาํ ตอบทถ่ี ูกตอ ง มายงั ดนิ แดนนีต้ ามเสน ทางของโคลมั บสั เพอ่ื สาํ รวจใหก ับสเปนและโปรตเุ กส รายงานของเขาไดถ กู ตีพมิ พแ ละเผยแพร ทําใหชาวยโุ รปรูเรอ่ื งราวเกย่ี วกับทวีป ใหมด ีขน้ึ และต้ังช่อื ทวปี วา “อเมริกา” เพือ่ เปน เกยี รติแก อเมรโิ ก เวสปุคซี 6 คมู อื ครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ต้งั แตก่ ลางคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ชาติตะวนั ตกขยายอา� นาจ 1. ใหน ักเรยี นรวมกันอธิบายความหมายของ ไปยังทวีปเอเชยี และแอฟรกิ าอยา่ งมาก คําวา สหสั วรรษ หมายถงึ ชว่ งเวลาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๕๐ - ๑๙๐๐ เพราะขอ้ ความ 2. ครสู อบถามนกั เรยี นวา • พ.ศ. ในปจจบุ ัน กับ ค.ศ. ในปจจุบัน อยใู น ระบุวา่ กลางคริสตศตวรรษ สหัสวรรษเดยี วกันหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ อยใู นสหัสวรรษเดียวกัน เพราะ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรทู้ ่ี ๒ ปจจุบัน คือ พ.ศ. 2557 ซ่งึ อยใู นชวงของ สหสั วรรษที่ 3 และ ค.ศ. 2014 ซ่งึ อยใู นชว ง -เขยี กนรองุ รธัติบนายโกวส่าเนิ หทตร1กุ ม์ าอี ราณย์ทุยก่ีนื า�ยหาวนกดวใ่าห้ อยู่ในช่วงเวลาใด ของสหสั วรรษท่ี 3 เชน เดยี วกนั ) ๒ ศตวรรษแลว้ - ศตวรรษหนา้ คาดว่าทุกครอบครวั จะมีคอมพิวเตอร์ใช้ 3. ใหน ักเรียนยกตวั อยา งการใชสหัสวรรษ แลว รว มกนั อธบิ ายความหมายของขอ ความเหลา นน้ั 4. ใหน กั เรยี นทาํ แบบฝก กจิ กรรม จากแบบวดั ฯ ประวตั ศิ าสตร ป.4 แลว นาํ เสนอหนา ชน้ั ๒.๓ สหสั วรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑,๐๐๐ ป เชน่ ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝก ฯ สหสั วรรษที ่ ๑ คือ ระหว่างปี ๑ - ๑๐๐๐ ประวัติศาสตร ป.4 แบบฝกกิจกรรม สหัสวรรษท่ ี ๒ คอื ระหวา่ งปี ๑๐๐๑ - ๒๐๐๐ ñเรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ สหสั วรรษท ี่ ๓ คือ ระหวา่ งปี ๒๐๐๑ - ๓๐๐๐ ˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ àÇÅÒáÅÐà˵¡Ø Òó ตัวอยา่ ง การใชส้ หัสวรรษ ๑บทที่ เวลา ชว งเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร เมือ่ ๕ สหสั วรรษทแี่ ล้ว โลกยังอยู่ในยคุ หนิ แบบฝก กจิ กรรม ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ หมายถงึ เม่ือ ๕๐๐๐ ปีทีแ่ ลว คาํ ชแ้ี จง : การเรยี นรเู รอ่ื งทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ทาํ ใหท ราบลาํ ดบั เหตกุ ารณท ่ีเกดิ ขนึ้ กอนหลงั ได พระพทุ ธศาสนามีอายุเกอื บ ๓ สหสั วรรษแล้ว ๑ ตอบคาํ ถามทกี่ าํ หนดให (แนวตอบ) หมายถึง พระพทุ ธศาสนามีอายุเกือบ ๓๐๐๐ ปแี ลว้ ๑) ทศวรรษ หมายถงึ อะไร (พ.ศ. ๒๕๕๑ หมายถงึ เป็นปท ่ี ๒๕๕๑ ของพระพทุ ธศาสนา) เ…ว…ล…า…ใ…น……ร…อ……บ……๑…๐………ป……เ…ร…ม่ิ …น……บั ……จ…า…ก…ป……ท …ล่ี……ง…ท…า…ย……ด…ว …ย…เ…ล…ข………๐……จ…น……ถ…งึ…ป……ท …ล่ี……ง…ท…า… ย…. ดว ยเลข ๙ เชน ทศวรรษ ๒๕๕๐ หมายถงึ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒) ศตวรรษ หมายถึงอะไร เฉฉบลับย เ…ว…ล……า…ใน……ร…อ……บ……๑……๐…๐……ป…… …เร……มิ่ …น……บั …จ……า…ก…ป…ท… …ลี่ …ง……ท…า…ย…ด……ว …ย…เ…ล…ข……๑………………………………………. จ……น…ถ……งึ …ป…ท……่ี …๑…๐…๐……เ…ช…น ………พ…ทุ ……ธ…ศ…ต……ว…ร…ร…ษ……ท…่ี…๒……๖……ห…ม……าย……ถ…งึ ……พ…….ศ…….…๒……๕…๐…๑……-……๒…๖…๐…๐…. ๓) สหัสวรรษ หมายถึงอะไร เ…ว…ล……า…ใน……ร…อ……บ………๑…,…๐…๐…๐………ป…… …เ…ร…ม่ิ …น……บั ……จ…า…ก…ป……ท …ลี่……ง…ท…า… ย……ด…ว…ย……เล……ข……๑………จ…น……ถ……งึ …ป…ท….ี่ ๑……,๐…๐……๐……เ…ช…น ……พ……ทุ ……ธ…ส…ห……สั …ว……ร…ร…ษ……ท…่ี…๓………ห…ม……า…ย…ถ…งึ………พ….…ศ….……๒…๐……๐…๑…-……๓…๐……๐…๐………………. ๔) ปจ จุบนั เราอยูในทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษทีเ่ ทา ไร ตามพุทธศกั ราช ต……วั …อ…ย…า…ง……เช…น………ถ…า …ป…จ……จ…บุ …น…ั …ต……ร…ง…ก……บั …ป…… พ…….ศ…….…๒……๕…๕……๔……อ…ย…ใู…น……ท…ศ……ว…ร…ร…ษ……ท…่ี…๒……๕…๕…๐…. ศตวรรษที่ ๒๖ และสหสั วรรษท่ี ๓……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) รอบทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษทีเ่ ราอยูในปจจบุ ัน ตรงกับ เวลาในชวงปที่เทา ใด รอบทศวรรษ ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ รอบครสิ ตศ ตวรรษ ๒๐๐๑ - ๒๑๐๐……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ร……อ…บ……พ…ทุ ……ธ…ศ…ต……ว…ร…ร……ษ……๒……๕…๐…๑……-…๒……๖…๐…๐………แ…ล…ะ…ร……อ…บ…ส……ห……สั …ว…ร……ร…ษ……๒……๐…๐…๑……-……๓…๐…๐…๐…. ๗ แนวตอบ - ควรตอบใหม ใี จความสาํ คญั ตามคาํ ตอบทกี่ าํ หนดสว นสาํ นวนภาษา หมายเหตุ : ใหขนึ้ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของครูผูสอนในการพิจารณา ๑ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT นักเรยี นควรรู ป พ.ศ. 2555 นบั เปน ปท ีเ่ ทา ไรในครสิ ตส หัสสวรรษท่ี 3 1 กรงุ รตั นโกสนิ ทร ไดร บั การสถาปนาเปนราชธานขี องไทยตอจากกรุงธนบุรี 1. ปท่ี 8 ใน พ.ศ. 2325 พระมหากษตั ริยผทู รงสถาปนากรงุ รัตนโกสินทร คือ พระบาท- 2. ปที่ 10 สมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) ซ่ึงเปนปฐมกษัตรยิ แหง 3. ปที่ 12 ราชวงศจ ักรี โดยมีกรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวง กรุงเทพมหานครมชี ื่อเต็มวา 4. ปท ี่ 14 กรงุ เทพมหานคร อมรรตั นโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดลิ กภพ นพรัตนร าชธานี วเิ คราะหค าํ ตอบ พ.ศ. 2555 ตรงกบั ป ค.ศ. 2012 ซง่ึ ครสิ ตส หสั วรรษที่ 3 บรุ ีรมย อดุ มราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถติ สกั กะทัตตยิ ะวษิ ณกุ รรม เร่มิ นบั ตง้ั แตป ค.ศ. 2001 ดังน้นั ป ค.ศ. 2012 จงึ อยูใ นชว งปที่ 12 ประสิทธิ์ ของคริสตสหสั วรรษท่ี 3 ดังน้นั ขอ 3. เปน คําตอบทถี่ กู ตอ ง เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรูท่ี 2 ตอบ - กรุงรตั นโกสนิ ทรมอี ายยุ ืนยาวกวา 200 ปมาแลว - 100 ป ขางหนา คาดวาทุกครอบครัวจะมีคอมพิวเตอรใช คมู อื ครู 7
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา้ ใจ 1. ใหนักเรยี นรว มกันอานตวั อยา งการใชค ําบอก ตวั อย่างการใชค้ า� บอกชว่ งเวลาในสื่อตา่ งๆ ชวงเวลา หนา 8 แลว รวมกนั อภปิ ราย ตวั อย่างจากปายโฆษณา ความหมายของขอ ความท่ีอา น ย่ิงใหญ่ท่ีสดุ ในศตวรรษ ! 2. ใหน ักเรียนแตล ะกลมุ สบื คน ขอ ความทม่ี ี คาํ บอกชวงเวลาที่พบจากสอ่ื ตางๆ เพม่ิ เตมิ ขอเชญิ ร่วมงานแสดงสินคา้ สง่ ออกครัง้ ใหญ่ แลวรวมกนั อภิปรายความหมายของขอความ ทีส่ ุดของประเทศไทย รวมผู้ประกอบการกว่าแสนราย สนิ ค้าทุกประเภท ทกุ รายการนบั ลา้ นชิน้ จัดตลอด ๒๔ ชั่วโมง 3. ใหน ักเรียนรว มกันแตงคาํ โฆษณาส้ันๆ ๙ วนั ๙ คืน ๑ - ๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ณ เมืองทองธานี ท่รี ะบุคาํ บอกชว งเวลา (ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ) 1 คําโฆษณาตอ 1 คําบอก ตัวอยา่ งจากหนงั สือ ชว งเวลา แลว นาํ เสนอผลงานหนา ชนั้ หนงั สือประวัตศิ าสตร์ ป.๔ หวั ขอ้ พฒั นาการของสโุ ขทยั 4. ใหน ักเรยี นทํากจิ กรรมรวบยอดที่ 1.1 สมยั พอ่ ขนุ รามคา� แหงมหาราช ระบวุ า่ เวลาเกอื บ ๒ ทศวรรษ จากแบบวัดฯ ประวตั ิศาสตร ป.4 ทีพ่ อ่ ขนุ รามคา� แหงมหาราชทรงครองราชสมบัติ กรงุ สุโขทยั แลว นาํ เสนอหนา ชน้ั มีความเจริญในด้านต่างๆ และมีความเข้มแข็งมากท่ีสุด ในสมัยสุโขทัย (พ่อขุนรามคําแหงมหาราช ครองราชย ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ ระหว่าง พ.ศ. ๑๘๒๒ - ๑๘๔๑ รวม ๑๙ ป) ประวตั ศิ าสตร ป.4 กิจกรรมรวบยอดท่ี 1.1 แบบประเมนิ ตัวช้วี ดั ส 1.1 ป.4/1 ตัวอย่างจากข่าวโทรทัศน์ แบบประเมินผลการเรียนรูตามตวั ชี้วดั ประจําหนวยที่ ๑ บทท่ี ๑ ผู้ประกาศขา่ วรายงานว่า รฐั บาลองั กฤษคาดว่าการจดั กฬี าโอลมิ ปก ทกี่ รุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ค.ศ. ๒๐๑๒ ทกี่ �าลังจะมาถึง จะช่วยให้ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ เศรษฐกิจอังกฤษเติบโตอย่างต่อเน่ืองตลอดทศวรรษ ๒๐๑๐ (ทศวรรษ ๒๐๑๐ คอื ช่วงระหว่าง ค.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๑๙) แบบประเมินตวั ชี้วดั ส ๔.๑ ป.๔/๑ นับชวงเวลาเปน ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ 8 ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑ เตมิ ขอมูลในชองวา งใหถ ูกตอ ง ๑) ทศวรรษที่ ๑๘๓๐ คอื ชว งเวลาระหวา งป ๑๘๓๐ - ๑๘๓๙………………………………………………………… ๒) พทุ ธศตวรรษที่ ๒๕ คอื ชว งเวลาระหวา ง พ.ศ.๒๔๐๑ - ๒๕๐๐……………………………………………. คริสตศ ตวรรษท่ี ๑๙ คือ ชวงเวลาระหวา ง ค.ศ. ๑๘๐๑ - ๑๙๐๐…………………………………….. ๓) พทุ ธสหสั วรรษที่ ๓……………………………………………………………………… คอื ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. ๒๐๐๑ - เฉฉบลับย ๔) พ.ศ. ๓๐๐๐ ๕) พุทธศตวรรษที่ ๑๓……………………………………………………………………… คือ ชว งเวลาระหวา ง พ.ศ. ๑๒๐๑ - พ.ศ. ๑๓๐๐ ตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ขอ ๑ õไดคะแนน คะแนนเต็ม ๒ อานขอความ และเขยี นอธบิ ายความหมายของขอความใหถกู ตอง ตวั อยา ง ● ในชว งสองทศวรรษที่ผา นมา บานเมืองมีการเปลยี่ นแปลงอยางรวดเร็ว ● ในชว งระยะเวลา ๒๐ ปท่ผี า นมา บานเมืองมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว ๑) ปจ จุบนั พระพุทธศาสนามีอายสุ ูพ ุทธศตวรรษที่ ๒๖ ปจ จุบันพระพุทธศาสนามีอายุสูชว ง พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๖๐๐……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓ เบศรู ณรากษารฐกิจพอเพยี ง ขอสอบ O-NET ขอสอบป ’53 ออกเก่ยี วกับเร่ือง คําบอกชวงเวลาทศวรรษ ศตวรรษ 1. นักเรียนแบงกลมุ สบื คนขอ ความทม่ี ีคาํ บอกชว งเวลา (ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ สหัสวรรษ) ท่พี บจากสื่อตางๆ เชน หนงั สอื พิมพ วารสาร นติ ยสาร เปนตน ชว งเวลาใดมรี อบปไมชดั เจน 1. ศตวรรษ 2. ตดั ขอ ความเหตุการณท่ีมีคําบอกชว งเวลา ไปตดิ ลงในสมุดโดยจดั เปน กลุมๆ 2. ศาสนวรรษ พรอ มทั้งระบแุ หลงขอมูลใหชัดเจน เพ่อื ใชเ ปนหลกั ฐานในการสบื คน ขอ มูล 3. ทศวรรษ ตอไป 4. สหสั วรรษ (วิเคราะหค ําตอบ จากตัวเลอื กจะตองพิจารณาวา คําบอกชว งเวลา 3. รว มกันคิดหาวธิ หี ารายไดจากหนังสอื พมิ พ วารสาร นติ ยสารที่ไมใชแลว เชน ในแตละขอ หมายถึงชว งเวลาใด ชัง่ ขาย นาํ ไปพับถงุ กระดาษขาย เปนตน 1. ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 100 ป 2. ศาสนวรรษ หมายถงึ ปในศาสนา ซงึ่ ไมไดร ะบุชัดเจนวา 4. นําเงนิ ทไี่ ดมารวบรวมเปนเงินของหอ ง เพือ่ นําไปซื้อวัสดุอปุ กรณท จ่ี ําเปน เปน ปของศาสนาใด สําหรับใชร วมกันในหอ งเรยี น เชน กระดาษโปสเตอร สี เปนตน 3. ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 10 ป 4. สหสั วรรษ หมายถงึ เวลาในรอบ 1,000 ป 5. ใหนักเรยี นอภิปรายรว มกนั วา จากการปฏบิ ตั ใิ นขอ 3 และ 4 ไดร บั ผลดี ดังนนั้ ขอ 2. เปนคาํ ตอบทีถ่ กู ตอง) อยางไร 8 คูมือครู
กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา ใจ Expand กิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ท่ี ๓ 1. ครตู ้ังประเดน็ คาํ ถาม เพื่อใหนักเรียนรว มกนั อภปิ รายวา ๑. หาค�าแสดงชว่ งเวลา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ • คําบอกชว งเวลามคี วามสําคัญตอ การศึกษา จากส่อื ตา่ งๆ จากนน้ั ออกมานา� เสนอท่ีหนา้ ชัน้ ประวัตศิ าสตรอ ยา งไร (แนวตอบ คาํ บอกชว งเวลาทําใหท ราบวา ๒. ร่วมกนั อภปิ รายว่า เวลามีความสา� คัญตอ่ การดา� เนนิ ชวี ติ เหตกุ ารณท ่ศี ึกษา เหตุการณใดเกิดขึน้ กอน ของคนเราอยา่ งไร หรอื หลัง และชวงเวลาท่ีเกิดเหตกุ ารณน ้ัน ยาวนานเทาใด) กิจกรรมรวบยอด 2. ใหนักเรยี นเขียนชว งเวลาที่กําหนดใหตาม กจิ กรรมรวบยอด หนา 9 โดยจดั ทาํ ลงในสมุด ๑. เขยี นชว่ งเวลาท่กี า� หนดใหล้ งในสมดุ ตรวจสอบผล Evaluate ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ 1. ครตู รวจสอบการเขยี นบอกชวงเวลาวาถูกตอง ๑) พ.ศ. ๓๔๖ ๑) ๕ ศตวรรษ ๑) ๔ สหสั วรรษ หรอื ไม ๒) พ.ศ. ๑๘๖๒ ๒) ต้นพุทธศตวรรษ ๒) สหัสวรรษท่ี ๒ 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดท่ี 1.1 จากแบบวดั ฯ ประวตั ิศาสตร ป.4 ที่ ๑๔ ของพุทธศกั ราช หลักฐานแสดงผลการเรียนรู ๓) พ.ศ. ๒๕๒๕ ๓) คริสตศ์ ตวรรษ ๓) สหัสวรรษที่ ๓ ที่ ๑๙ ของครสิ ต์ศกั ราช 1. ผลการเขยี นบอกชว งเวลาเปน ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๒. เขยี นแสดงความคิดเหน็ ในหวั ข้อ “หากไมม่ คี าํ กาํ หนดช่วงเวลา จะสง่ ผลอย่างไรตอ่ การศึกษาประวตั ิศาสตร” พรอ้ มอธิบาย 2. กจิ กรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ เหตุผลประกอบ ประวตั ิศาสตร ป.4 ๓. ยกตัวอย่างข้อความทีร่ ะบชุ ่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ หรือสหสั วรรษ มา ๒ ตวั อยา่ ง พรอ้ มเขยี นอธบิ ายช่วงเวลา ๙ ขอ สอบเนนการคดิ เฉลย กิจกรรมพฒั นาการเรียนรทู ี่ 3 คาํ วา คร่ึงสหัสวรรษ หมายถงึ ชว งเวลาก่ีป 1.- 2. แนวตอบ ข้ึนอยกู บั ดุลยพนิ จิ ของครูผสู อน 1. ชวงเวลา 5 ป 2. ชวงเวลา 15 ป เฉลย กิจกรรมรวบยอด 3. ชวงเวลา 50 ป 1. แนวตอบ ขึน้ อยกู ับดุลยพนิ ิจของครผู สู อน 4. ชว งเวลา 500 ป วเิ คราะหค ําตอบ สหัสวรรษ หมายถงึ ชว งเวลา 1,000 ป และครึง่ ของ 1) ทศวรรษท่ี 340 1) 500 ป 1) 4,000 ป ชว งเวลา 1,000 ป คือ 500 ป ดังนั้น ขอ 4. เปนคาํ ตอบทถ่ี ูกตอง 2) ทศวรรษที่ 1860 2) ประมาณ พ.ศ. 1301-1350 2) พ.ศ. 1001-2000 3) ทศวรรษท่ี 2520 3) ค.ศ.1801-1900 3) ค.ศ. 2001-3000 2. แนวตอบ ถาไมมีคําบอกชวงเวลา จะไมสามารถกําหนดกรอบเวลาในการศึกษา เรื่องราวทางประวัตศิ าสตรตา งๆ 3. แนวตอบ เชน • “เลนินสรางพรรคปฏิวัติขึน้ ในรสั เซยี ไดส าํ เร็จในทศวรรษ 1900” จากขอความนี้ อยใู นชว งเวลา ค.ศ.1900-1909 • “คริสตศตวรรษท่ี 19 มีลักษณะเดน คือ เปนชวงเวลาของการปรับเปลี่ยน ทางความคิดและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของโลก” จากขอความน้ีอยู ในชวงเวลา ค.ศ.1801-1900 คูม ือครู 9
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Explain Elaborate Evaluate Engaae Expore เปาหมายการเรยี นรู อธิบายยคุ สมยั ในการศกึ ษาประวตั ิของ òบทที่ มนษุ ยชาตโิ ดยสงั เขปได (ส 4.1 ป.4/2) ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร สมรรถนะของผูเรยี น กจิ กรรมนาํ สูการเรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป ญหา คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ ¤´Ô Ç‹Ò Ê¶Ò¹·ãèÕ ¹ÀÒ¾ 1. ใฝเ รยี นรู ÊíÒ¤ÞÑ µÍ‹ ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ 2. มงุ มั่นในการทํางาน »ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵà Í‹ҧäà กระตนุ้ ความสนใจ Engage 1. ครูนาํ ภาพหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร เชน á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÞÑ ศิลาจารึก ขวานหนิ ขัด หรอื หมอสามขา เปน ตน มาใหนักเรยี นดู และชวยกนั ตอบวา ¡ÒÃầ‹ Â¤Ø ÊÁÂÑ ·Ò§»ÃÐÇµÑ ÈÔ ÒʵÃá ÅСÒáÒí ˹´ • ส่ิงของในภาพคอื อะไร ª‹Ç§àÇÅÒ ·íÒãËŒàË繤ÇÒÁà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ ¤ÇÒÁµ‹Íà¹×Íè § (ตอบ คําตอบขึน้ อยูกบั ภาพท่ีครูนํามาให áÅФÇÒÁà»ÅÕÂè ¹á»Å§¢Í§»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵê´Ñ ਹ¢¹Öé นกั เรียนด)ู • ส่ิงของในภาพมีความสําคัญตอ การศกึ ษา ๑๐ ประวัติศาสตรอ ยางไร (แนวตอบ เปน หลักฐานแสดงวถิ กี ารดาํ เนิน ชวี ิตของคนในอดีต) 2. ใหนกั เรียนลองชวยกันจดั กลมุ ภาพหลกั ฐาน ทางประวัติศาสตรตามยุคสมัย โดยครสู งั เกต วธิ ีทีใ่ ชใ นการจัดกลุม ของนกั เรียน จากนนั้ ให นักเรยี นบอกเกณฑท่ตี นเองใชในการจดั กลุม 3. ครชู แี้ จงใหน ักเรียนทราบวา ในช่วั โมงน้ี จะศกึ ษาการแบงยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร เพอ่ื ใหเ ขา ใจพฒั นาการของมนษุ ยใ นแตล ะ ชวงเวลาไดถกู ตอ ง เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรยี นรโู ดยการใหนักเรยี นปฏบิ ัติ ดงั น้ี • สบื คนขอ มูลเกีย่ วกับการแบง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร • อภปิ รายขอ มลู เก่ยี วกบั การแบงยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร • เปรียบเทยี บขอมูลเก่ียวกับการแบงยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร จนเกดิ เปนความรคู วามเขาใจวา การแบงยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรย ดึ ตาม หลักฐานท่ีพบและการพบตวั อกั ษร ซง่ึ ทําใหเห็นความตอ เน่อื งของการเปล่ยี นแปลง ของประวตั ศิ าสตร 10 คูมอื ครู
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Explain Expand Evaluate Explore Explore สา� รวจคน้ หา เรื่องราวและประวัติความเป็นมาของมนุษย์เกิดข้ึนมานาน 1. ครสู นทนากบั นกั เรยี นวา การศกึ ษา หลายพนั ปแี ลว้ ดงั นนั้ จงึ มกี ารกา� หนดเกณฑก์ ารแบง่ ยคุ สมยั ในการ ประวตั ศิ าสตรเปนการศึกษาเรอ่ื งราวหรือ ศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจพฒั นาการของมนษุ ย์ใน เหตุการณในอดีต ซงึ่ มีอยหู ลายเรื่องราวหรือ แตล่ ะชว่ งเวลาได้อย่างชดั เจน รวมท้งั เกดิ ความเขา้ ใจทตี่ รงกัน และ หลายเหตุการณ ไมส่ ับสนเมอ่ื กลา่ วถึงยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ 2. ครูถามคําถาม แลวใหน กั เรียนชวยกนั ตอบ ๑. การแบ่งยุคสมัยในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร ์ • นักเรยี นสามารถรูเร่ืองราวในอดตี ไดอ ยา งไร ยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ จะแบ่งออกเป็น สมัยก่อน (แนวตอบ อา นจากหนังสือหรือบันทึก) ปปรระะววตััติศิศาาสสตตรร์์ยแึดลตะามสกมายั รปพรบะวตัตวั ิศอาักสษตรร1์ เกณฑ์การแบ่งยคุ สมยั ทาง • ในสมัยทีไ่ มม ีตัวอกั ษร เราจะรูเรือ่ งราว ดงั น้นั ในดนิ แดนแต่ละแหง่ ในอดตี ไดอ ยา งไร จึงเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน เพราะมนุษย์ในดินแดน (แนวตอบ ตคี วามจากภาพเขียนตามผนังถา้ํ แตล่ ะแหง่ มีตวั หนงั สอื ใชไ้ มพ่ ร้อมกนั และศกึ ษาลักษณะเครอ่ื งมือเครอ่ื งใชใ นอดตี ) • ถา ไมมีการแบงชวงเวลาในการศึกษา ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ เร่ืองราวในอดตี ใหชดั เจน จะทําใหเ กดิ ผลเสียอยางไร ไม่พบตัวอักษร พบตวั อกั ษร (แนวตอบ ทาํ ใหผ ศู ึกษาเกดิ ความสับสนวา เรอ่ื งราวน้เี กดิ ขึ้นเมือ่ ใดและทําใหเกดิ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ ความเขาใจไมตรงกนั ) 3. ใหน ักเรยี นแบงกลุม ใหแ ตละกลมุ สืบคนขอมลู การแบงยคุ สมยั ในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร จากหนงั สอื หนา 11-15 และจากแหลง เรียนรู อน่ื ๆ ทําจากหนิ สมยั หิน ทาํ จากโลหะ สมยั โลหะ ๑.๑ สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร ์ เปน สมยั ทม่ี นษุ ยย์ งั ไมม่ ตี วั อกั ษรใช้ สมัยก่อนประวัติศาสตร์แบ่งช่วงเวลาออกเป็นสมัยหินกับ สมัยโลหะ เกณฑ์การแบ่งสมัยข้ึนกับหลักฐานเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ที่ คน้ พบ ๑๑ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT นกั เรียนควรรู นักเรยี นคิดวา จากการแบงยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรเ ปน สมยั 1 พบตัวอักษร ประเทศไทยเขาสสู มัยประวตั ิศาสตรเม่อื ปลายพุทธศตวรรษ กอ นประวตั ิศาสตรก บั สมัยประวัตศิ าสตร ดนิ แดนแตล ะแหง จะเขา สู ที่ 12 โดยใชอายขุ องจารึกซง่ึ พบทปี่ ราสาทเขานอย จังหวดั สระแกว เปน เกณฑ สมัยประวัตศิ าสตรพ รอ มกันหรือไม เพราะอะไร ซงึ่ ระบศุ กั ราช 559 หรือ พ.ศ. 1180 แนวตอบ ดินแดนแตละแหง เขาสสู มัยประวตั ิศาสตรไมพรอ มกัน เพราะมนุษยใ นดนิ แดนแตล ะแหง มตี ัวอักษรใชไ มพ รอมกนั ซ่ึงการแบง ยุค เปนสมัยประวัตศิ าสตร ยดึ ตามการมีตัวอักษรใช คมู ือครู 11
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ใหนักเรียนแตละกลุมผลดั กันนําขอ มูล ๑) 1สมยั หนิ เปน็ สมยั ทมี่ นษุ ย์ใชห้ นิ ทา� เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ ทส่ี ืบคน มาอธิบายการแบง ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร นกั โบราณคดนี ยิ มแบง่ ชว่ งเวลาสมยั หนิ อยา่ งละเอยี ด โดยจะแบง่ ออก เปน็ สมยั หนิ เกา่ สมยั หนิ กลาง และสมยั หนิ ใหม่ แตโ่ ดยทว่ั ไปจะแบง่ 2. ใหน กั เรยี นรว มกันอธิบายความสําคัญของ กว้างๆ เป็นสมัยหินเก่า และสมยั หนิ ใหม่ หลกั ฐานท่คี นพบวา มีความสําคัญตอ การศกึ ษายุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร สมัยหินเก่า มนุษย์ใน เพราะหลกั ฐานทีค่ นพบจะแสดงวา แตละ สมัยหินเก่ามีความเป็นอยู่แบบ ยคุ สมยั มนษุ ยม วี ิถใี นการดาํ เนนิ ชีวติ อยา งไร เร่ร่อน อาศัยอยู่ตามบริเวณถ้�า และเพิงผา เก็บของปาและออก 3. ใหนักเรียนรว มกันสรปุ สมยั กอนประวัติศาสตร ล่าสตั วเ์ ปน็ อาหาร เคร่ืองมอื หนิ วา ยคุ สมัยกอนประวัตศิ าสตรจ ะแบง ยอ ยตาม ที่ใช้จะมีลักษณะหยาบๆ ใช้ทุบ วัสดุที่นาํ มาทําเครอื่ งมือเคร่ืองใช โดยแบง ออก ตดั หรือสบั เปน ยุคหินและยุคโลหะ ▲ ถ้�าผแี มน จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ซึ่งเคยค้นพบ หลักฐานสมยั หินเก่า 4. ใหนกั เรียนรวมกนั อภปิ รายวา • มนษุ ยสมัยหนิ เกา และสมัยหินใหม สมัยหินใหม่ มนุษย์ใน แตกตางกนั อยางไร สมัยหินใหม่เริ่มต้ังหลักแหล่ง (แนวตอบ อยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ โดยเรม่ิ - สมยั หนิ เกา มนษุ ยมีความเปน อยูแบบ ท�าการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เรร อ น อาศยั อยูตามถํ้า ใชเ ครอ่ื งมือหนิ เคร่ืองมือหินที่ใช้มีการขัดให้คม แบบหยาบๆ มีผิวเรียบ นอกจากนี้มีการปัน - สมยั หินใหม มนษุ ยเร่ิมตง้ั ถนิ่ ฐานอยู ภาชนะดินเผาที่มีการตกแต่งให้ รวมกันเปนกลมุ ใชเ คร่ืองมอื หนิ ทม่ี ี สวยงามข้ึนไว้ใช้ การขัดใหคม มผี ิวเรียบ) • ถานักเรียนพบเครื่องมือหนิ ในสมัยหิน จะสามารถบอกเบื้องตน ไดห รือไมวา เปน เคร่ืองมือหนิ ในสมยั ใด และบอกไดอยา งไร (แนวตอบ อาจบอกไดค รา วๆ โดยสงั เกตจาก ลกั ษณะของเครอื่ งมือหิน) ▲ ภาพจ�าลองการใชช้ ีวติ ของมนุษย์ในสมยั หนิ ใหม่ ๑๒ นักเรียนควรรู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ขอใดไมใชลักษณะของมนุษยย ุคหนิ เกา 1 นกั โบราณคดี คือ ผูทศี่ ึกษาเรือ่ งราวในอดตี ของมนษุ ย โดยผานการศกึ ษา 1. ลาสัตวเ ปน อาหาร หลักฐานทางโบราณคดที ่ไี ดจ ากการคน พบโบราณสถาน โบราณวตั ถุ 2. ตัง้ ถ่นิ ฐานอยถู าวร และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตรประเภทตา งๆ เชน ศิลาจารกึ 3. ดาํ รงชวี ิตอยกู บั ธรรมชาติ จดหมายเหตุ พงศาวดาร เปน ตน โดยนกั โบราณคดจี ะใชก ารสนั นษิ ฐาน 4. ใชเ ครื่องมือทที่ ํามาจากหนิ มาประกอบการอธิบายเรอ่ื งราวในอดีต วเิ คราะหค ําตอบ จากการศกึ ษาลักษณะของมนุษยสมยั ยุคหินเกา ทําให ทราบวา มนุษยย ุคหินเกามกั ดาํ รงชีวติ อยกู ับธรรมชาติ มคี วามเปนอยู แบบเรร อ น ไมตง้ั ถิน่ ฐานอยูเปนหลักแหลง อาศัยอยูตามถา้ํ และเพงิ ผา ลา สัตวเ ปนอาหาร และใชเ ครอื่ งมือทที่ าํ จากหนิ ดังน้นั ขอ 2. เปน คาํ ตอบ ทถี่ กู ตอ ง 12 คูมอื ครู
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู้ ๒) สมัยโลหะ เป็นสมัยท่ีมนุษย์เริ่มใช้โลหะท�าเป็น 1. ใหนักเรียนรว มกนั อภปิ รายวา เพราะเหตุใด เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ แบง่ เปน็ สมยั สา� รดิ และสมยั เหลก็ เกณฑก์ ารแบง่ จึงเรยี กยุคสมัยทตี่ อ จากสมัยหนิ วา สมยั โลหะ สมยั ขน้ึ กับหลกั ฐานเครือ่ งมือเครอ่ื งใชท้ พี่ บ ดังน้ี จนไดข อสรุปวา เมื่อมนุษยม คี วามเจริญข้นึ ก็รจู กั การนาํ เอาโลหะมาทาํ เปน เครื่องมือ สมยั สาํ ริด เป็นสมัยที่มนษุ ย์ใช้สา� ริดท�าเป็นเครือ่ งมอื เคร่ืองใช จึงทําใหน ักประวัตศิ าสตรเรียก เครื่องใช้และอาวุธ ส�าริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับโลหะ สมยั น้วี า สมยั โลหะ ตามหลกั ฐานทค่ี นพบ อ่นื ๆ เชน่ ตะกว่ั ดบี กุ สมยั นีม้ นษุ ย์ มีความก้าวหน้าในการหลอมโลหะ 2. ใหนกั เรียนรว มกันอภปิ รายวา จึงได้ผลิตเครื่องมือเคร่ืองใช้ที่มีความ • มนษุ ยส มยั สาํ รดิ และสมัยเหลก็ แตกตา งกนั แข็งแรงมากกว่าไม้หรือหิน ซ่ึงท�าให้ อยางไร การถางปา ตัดไม้ ขุดหรือพรวนดิน (แนวตอบ เพอื่ การเพาะปลูกมีความรวดเรว็ ขนึ้ - สมยั สาํ รดิ มนุษยใ ชเ คร่ืองมอื เครอ่ื งใชที่ ทําจากสําริด ▲ เครื่องใชส้ า� รดิ พบทบี่ า้ นเชียง - สมัยเหลก็ มนษุ ยเร่มิ รจู ักถลงุ และหลอม จังหวัดอุดรธานี เหลก็ จงึ ใชเ หล็กทีม่ ีความแขง็ แกรงกวา สํารดิ มาทาํ เปนเคร่อื งมอื เครื่องใช) มแลนะุษหยล์มอีคม2วเาหมสลมก็กั้ยาวเจหหึงลนน็ก�า้าเใหเนปลก็น็กาสมรมถาัยทลทุ�าง1่ี • การใชเ คร่อื งมอื เครื่องใชที่ทําจากโลหะ เครอื่ งมอื เครอื่ งใชแ้ ละอาวธุ เครอื่ งมอื ดกี วาเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท ี่ทําจากหนิ อยา งไร เหลก็ มคี วามแขง็ แรงทนทานกวา่ สา� รดิ (แนวตอบ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใชท ่ีทําจากโลหะ ท�าให้การเกษตรมีความก้าวหน้า มคี วามแข็งแรงและทนกวา หนิ จึงใชท ํางาน มากข้ึนเพราะมีเคร่ืองมือ เช่น ไถ ▲ ใบหอกเหล็ก พบทแ่ี หล่งโบราณคดี ไดด กี วา) จอบ มดี ทม่ี คี วามแขง็ แรง ไมห่ กั หรอื บา้ นเชียง อ�าเภอหนองหาน • ถา ในชมุ ชนของนกั เรียนมกี ารคนพบ จังหวัดอดุ รธานี หลักฐานในสมยั กอนประวตั ิศาสตร นักเรยี นจะนาํ ความรูเรอ่ื งยคุ สมัยไปใช พจิ ารณาไดอ ยางไร (แนวตอบ พจิ ารณาถงึ วัสดุท่ีนํามาทาํ เครือ่ งมอื เครื่องใช แลวอาจบอกไดครา วๆ วาเปน หลกั ฐานในสมัยใด) บิน่ ง่ายอยา่ งสา� ริด ๑๓ ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEดิT เกรด็ แนะครู นักเรยี นคิดวา เพราะเหตุใดในสมยั โลหะจงึ ไดมีการแบง สมัยยอยเปน ครอู ธิบายเพ่ิมเติมแกน ักเรียนวา ในสมยั โลหะมนุษยรจู ักหลอมโลหะสําริดขน้ึ สมัยสาํ รดิ และสมยั เหล็ก ใชกอ น เนอ่ื งจากเพราะหลอมไดงายกวา กอ นท่ีจะคน พบเทคนิคการหลอมเหล็ก แนวตอบ เพราะเกณฑก ารแบง สมยั ขนึ้ อยกู บั หลกั ฐานเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช ในภายหลัง ดงั น้นั หมขู องโลหะจึงสามารถนํามาใชเปน หลักในการบง บอกวา ทีค่ นพบ ซึ่งในสมัยโลหะมกี ารคน พบเครื่องมือเคร่ืองใชท่ที ําจากสาํ รดิ ใน ชมุ ชนใดมพี ัฒนาการเกาแกก วา ชุมใดได ชว งตน และคน พบเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท ที่ าํ จากเหลก็ ในระยะตอ มา ซง่ึ เหลก็ มีความคงทนกวา สาํ รดิ จึงใชง านไดดีกวา นกั เรียนควรรู 1 การถลุง เปน การใชค วามรอ นสุมสินแรเพอ่ื ไลขแ้ี รออก เหลอื เอาไวเ ฉพาะ เนอ้ื โลหะ 2 หลอม เปนการทําใหล ะลาย โดยใชค วามรอน คมู อื ครู 13
กระตนุ้ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Expore Elaborate Evaluate Engaae Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ครตู ้งั ประเด็นคําถามใหนกั เรียนรวมกนั แสดง การเพาะปลูก1มมนีพุษิธยีก์สรมรัยมโลเหชะ่นอยกู่ราวรมปกรันะเกปอ็นบชพุมิธชีฝนังศทพ�ากราวรมลท่าส้ังัตยวัง์ ความคดิ เห็นและตอบคาํ ถาม เชน มีการแลกเปล่ียนค้าขายกับชุมชนภายนอกท้ังบริเวณใกล้และไกล • มนุษยใ นสมยั หินและสมัยโลหะมีพัฒนาการ ดงั พบหลกั ฐานทเ่ี ปน็ สิ่งของจากชุมชนต่างถน่ิ เช่น บางชมุ ชนไมม่ ี แตกตางกันอยา งไร แหลง่ แรโ่ ลหะแตม่ เี ครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ เครอื่ งประดบั จากโลหะ และพบ (แนวตอบ ลกู ปดั สจี ากอนิ เดยี จงึ แสดงวา่ มกี ารแลกเปลย่ี นคา้ ขายกบั ชมุ ชนอน่ื - สมยั หนิ มนุษยม คี วามเปนอยอู ยางงายๆ อาศยั อยูตามถํ้า เพงิ ผา และประดิษฐ เครือ่ งมืองายๆ ทที่ ําจากหิน - สมยั โลหะ มนษุ ยเร่ิมรูจ กั นาํ โลหะมาทํา เครอื่ งมอื ทาํ ใหท าํ งานไดด ี เพราะ มเี ครอื่ งมอื ทแ่ี ขง็ แรงทนทาน และมี การตดิ ตอ กับชุมชนภายนอก จงึ ทาํ ให มคี วามเจรญิ มากกวา สมยั หนิ ) 2. ใหน ักเรยี นทาํ แบบฝกกิจกรรมที่ 1 ขอ 2-3 จากแบบวดั ฯ ประวัตศิ าสตร ป.4 ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝก ฯ ประวัตศิ าสตร ป.4 แบบฝกกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง การแบงยคุ สมัยในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร ๒ ขดี ✓หนา ขอ ทถ่ี กู และกา ✗ หนา ขอ ทผ่ี ดิ ✗…………………. ๑) สมัยกอนประวัติศาสตรเปนสมัยท่ีมนุษยใชหินทําเปน เครือ่ งมือเครื่องใชเทานั้น ✓…………………. ๒) สมัยหินใหมเปนสมัยที่มนุษยเร่ิมรูจักต้ังถิ่นฐานเปน หลกั แหลง ✗…………………. ๓) เกณฑการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรยึดตามการ สรา งทอี่ ยูอาศยั ▲ โครงกระดกู มนษุ ย์ใสเ่ ครื่องประดบั ส�ารดิ พบท่ี ▲ ตัวอยา่ ง เครอ่ื งประดับ พบท่แี หลง่ โบราณคดี ✓…………………. ๔) สํารดิ เปนโลหะผสมระหวา งทองแดงกับโลหะอนื่ ๆ เชน แหล่งโบราณคดีเนนิ อุโลก ต�าบลพลสงคราม หนองโน ตา� บลไร่หลักทอง อา� เภอพนสั นคิ ม อ�าเภอโนนสูง จงั หวดั นครราชสีมา จงั หวัดชลบุรี ตะก่ัว ดีบุก ✗…………………. ๕) สมยั เหลก็ เกดิ ขน้ึ กอ นสมยั สาํ รดิ กิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ท่ี ๑ ✓…………………. ✗…………………. ๖) เครอ่ื งมือหนิ ในสมัยหนิ เกาจะมีลกั ษณะหยาบๆ เฉฉบลบั ย ๗) อกั ษรทเ่ี กา แกท ส่ี ดุ คอื อกั ษรไฮโรกลฟิ ก ของชาวอยี ปิ ต โบราณ ✓…………………. ๘) มนุษยสมยั โลหะมีการคาขายแลกเปลี่ยนกับชมุ ชน ๑. รว่ มกนั อภปิ รายว่า การแบง่ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ ภายนอก ใชห้ ลักเกณฑก์ ารแบ่งอย่างไร ๓ เรยี งลาํ ดบั สมยั ทางประวตั ศิ าสตร โดยเขยี นเลข ๑ - ๕ ลงในชอ งวา งหนา ขอ ๒. เขยี นแผนผงั ความคิดแสดงสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ ๔…………………. ก) มนษุ ยน ําเหลก็ มาทาํ เครอ่ื งมอื เครือ่ งใช และอาวุธ ๑…………………. ข) มนุษยสมัยนี้มีความเปนอยูอยางเรรอน อาศัยอยูตาม ๑4 บรเิ วณถาํ้ และเพงิ ผา ๓…………………. ค) มนุษยน าํ สําริดมาทาํ เครอ่ื งมอื เคร่อื งใช และอาวธุ ๕…………………. ง) มนษุ ยร จู กั ใชตัวอักษรบันทกึ เรอ่ื งราวตางๆ ๒…………………. จ) มนษุ ยน าํ เครอ่ื งมอื หนิ มาขดั ใหค มและเรยี บ ๗ นกั เรยี นควรรู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ถามกี ารคนพบโครงกระดกู มนษุ ยโ บราณและมเี คร่อื งมือเครอื่ งใช 1 การเพาะปลกู ทาํ ใหม นษุ ยจ าํ เปน ตอ งลงหลกั ปก ฐานในทใี่ ดทหี่ นงึ่ เปน เวลานาน ทง้ั ทที่ าํ จากหนิ กะเทาะ สําริด และเหล็ก บรเิ วณแหงนใ้ี หข อ มูลอยางไร เพอื่ รอการเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ทาํ ใหม นษุ ยต อ งอยรู วมกนั เปน ชมุ ชน เพอื่ พงึ่ พาอาศยั กนั แนวตอบ แสดงวา บริเวณแหงนี้เคยเปนทอ่ี ยูอาศัยของมนษุ ยมาตั้งแต การทมี่ นุษยอ ยตู ดิ กบั ทด่ี ิน ทาํ ใหก ารสั่งสมและการถา ยทอดวัฒนธรรม สมยั หนิ เรือ่ ยมาจนถึงสมยั โลหะอยา งตอ เนอ่ื ง จากชนรนุ หนึง่ สูชนอีกรนุ หนึง่ จนสง ผลใหช ุมชนไดพ ัฒนากาวหนาเปน หมบู าน แวน แควน และเมอื งในท่ีสดุ เฉลย กิจกรรมพฒั นาการเรียนรูท่ี 1 1. แนวตอบ การแบงสมยั ทางประวัตศิ าสตรใชเกณฑก ารพบตวั อกั ษร จึงแบง เปน 2 สมัย คอื สมยั ที่ไมพ บตวั อกั ษร เรียกวา สมยั กอนประวตั ศิ าสตร และสมัยท่ีมกี ารคนพบตวั อักษร เรยี กวา สมัยประวัตศิ าสตร 2. แนวตอบ ข้ึนอยกู ับดุลยพินิจของครูผูสอน 14 คูมือครู
กระต้นุ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain อธบิ ายความรู้ Explain ๑.๒ สมยั ประวัติศาสตร ์ เปนสมยั ทม่ี นษุ ยม์ ีตวั อกั ษรใชแ้ ลว้ 1. ใหนักเรียนรวมกันอธิบายวา หลกั ฐานใด ดินแดนแต่ละแห่งของโลกเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์หรือ ท่ใี ชในการแบง วา เปน สมยั ประวตั ิศาสตร สมัยทีม่ ีตัวอกั ษรใชแ้ ลว้ ไมพ่ รอ้ มกนั 2. ครถู ามนกั เรียนวา อักษรคูนิฟตัวออรั์กมษรขทอ่ีคงช้นาพวบสวุเม่าเเกร่ีายแนก1ใน่ทภ่ีสูุมดิภคาคือ • นักเรยี นคิดวา ตวั อกั ษรทีพ่ บบนจารึกตา งๆ ตะวันออกกลาง มีอายุ ๔,๐๐๐ ปีก่อนคริสต์- มีลักษณะเหมือนกบั ตวั อักษรทีเ่ ราใชกันใน ศกั ราช ปจจบุ ันหรือไม (ตอบ ไมเหมอื น เพราะตวั อกั ษรที่เราใชก ัน ▲ อักษรคูนฟิ อร์มหรืออกั ษรลิ่ม ในปจ จบุ นั ไดม กี ารพัฒนามาอยางตอเนอ่ื ง ท่ีชาวสุเมเรยี นประดิษฐข์ ้นึ จงึ มีลักษณะท่ีตางไปจากเดมิ ) ทพ่ี บในดหนิ ลแักดฐนาไนทสยมัยคปอื ระศวลิ ัตาิศจาาสรตกึ 2รเข์ทาี่เนก่า้อแยก่ทพ่ีส.ศุด. 3. ครูอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา ๑๑๘๐ หรือตรงกับพุทธศตวรรษที่ ๑๒ พบท่ตี า� บล ในดินแดนแตละแหง อาจจะมตี วั อกั ษรใช คลองนา�้ ใส อ�าเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแก้ว ในชวงเวลาทต่ี างกัน ดังนัน้ ดนิ แดนแตละแหง จงึ เขา สสู มยั ประวตั ศิ าสตรใ นชว งเวลาทตี่ า งกนั ▲ ศิลาจารกึ เขาน้อย 4. ครูตัง้ ประเดน็ คาํ ถาม ใหน กั เรียนรว มกนั ตอบ การมีตัวอักษรใช้ ท�าให้มนุษย์บันทึก • การคนพบหลักฐานทบ่ี นั ทกึ เปนตัวอกั ษร เรอื่ งราวตา่ งๆ และทา� ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดร้ บั รเู้ รอ่ื งราว มีความสาํ คญั ตอการศึกษาประวัติศาสตร ในอดตี ตวั อกั ษรยงั ทา� ใหม้ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงาน อยางไร เช่น งานเขยี นตา่ งๆ (แนวตอบ ทาํ ใหร เู รื่องราวของคนในยคุ นน้ั ไดละเอียดและชัดเจนกวา การตคี วามจาก ▲ อกั ษรไฮโรกลิฟก ของชาวอียปิ ต์โบราณ เคร่ืองมอื เครอื่ งใชท ีค่ น พบ) ·Òí äÁ´¹Ô ᴹᵋÅÐá˧‹ ã¹âÅ¡¨§Ö ÁÕµÑÇÍÑ¡É÷èÕäÁ‹àËÁÍ× ¹¡¹Ñ ¹Ð ขยายความเขา้ ใจ Expand áÅŒÇà¾Íè× ¹æ ¤Ô´ÇÒ‹ µÑÇÍ¡Ñ ÉÃÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÞÑ µÍ‹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵÃÍ‹ҧäÃ¤ÃºÑ ใหน กั เรียนเขยี นแผนผังความคดิ แสดง สมัยกอนประวตั ศิ าสตร โดยจดั ทําลงในสมดุ ๑๕ แลว นําเสนอผลงานหนาช้ัน ตรวจสอบผล Evaluate ครูตรวจสอบความถกู ตองในการเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงสมยั กอนประวตั ศิ าสตร าผูภ กจิ กรรมสรา งเสรมิ นักเรยี นควรรู มสะามหเมาตดานขมพิ� เอรื หดล 1 ชาวสุเมเรียน เปนชนชาตแิ รกทเ่ี ริม่ สรา งอารยธรรมในดนิ แดนเมโสโปเตเมีย บริเวณแถบลุมแมน้ําไทกรีสและแมน้าํ ยูเฟรตสี ซงึ่ อยูใ นประเทศอิรักในปจ จุบัน ใหน กั เรียนนาํ แผนผังความคดิ แสดงสมยั กอ นประวัตศิ าสตร 2 ศิลาจารกึ ทเ่ี กาแกท ่ีพบในดินแดนไทยนี้ พบทป่ี ราสาทเขานอ ย จงั หวัด ที่ครูตรวจแลว ไปปรับปรุงแกไขขอบกพรอง แลว นาํ ไปตดิ ปา ยนิเทศ สระแกว มลี กั ษณะเปน แทง สเ่ี หลีย่ ม ทาํ จากหนิ ทราย ตวั อกั ษรที่ใชเปนแบบปล ลวะ ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร เนื้อหาทกี่ ลา วถงึ ในจารึก เชน กลา วสรรเสริญ กจิ กรรมทา ทาย พระวษิ ณแุ ละพระศรีภววรมัน เปน ตน ใหน กั เรยี นสบื คน ขอ มลู เกยี่ วกับศลิ าจารกึ ท่ีเกาแกทส่ี ดุ ทพ่ี บใน มุม IT ดนิ แดนไทย แลวออกมารายงานหนาชัน้ ครอู าจแนะนาํ ใหน ักเรียนสบื คนขอมลู เพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั ศลิ าจารึกเขานอ ย ซ่งึ เปน จารกึ ที่เกาแกทีส่ ดุ ที่พบในดนิ แดนไทย ไดจาก www.eighteggs.com/ sac_complete/inscriptions/index.php คมู อื ครู 15
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Explore Elaborate Evaluate Explain กระตนุ้ ความสนใจ Engage 1. ใหน กั เรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ อสิ ระวา ๒. ยุคสมัยท่ีใชใ้ นการศกึ ษาประวัตศิ าสตรไ์ ทย การเร่มิ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตรของไทยกับ ตามกอาารณแาบจง่ กัสรม1หยั รปือรระาวชตั ธศิ าานสี ตไดร์ใ้แนกด่ นิ แดนไทยนยิ มใชเ้ กณฑก์ ารแบง่ ประเทศอน่ื ๆ อยูในชวงเวลาเดยี วกันหรือไม เพราะเหตุใด ชว่ งสมยั ของไทย พ.ศ. 2. ครูถามวา สมัยอาณาจักรรนุ่ แรกๆ • นกั เรียนรหู รอื ไมว า สมัยประวัติศาสตรไทย ๑๕๐๐ นับช่วงเวลากอ่ นการตง้ั เรมิ่ ขึน้ ต้งั แตเ ม่อื ใด (แนวตอบ นักเรยี นอาจยงั ตอบไมไ ด แลวให ๑๖๐๐ อาณาจกั รสโุ ขทยั ก่อน ครูเฉลยวา สมยั ประวตั ศิ าสตรไ ทยเรม่ิ นับ สมัยสุโขทยั พ.ศ. ๑๗๙๒ จากหลักฐานทพ่ี บ คอืิ ศลิ าจารกึ ทีเ่ กา แก ที่สดุ เมื่อ พ.ศ. 1180) สา� รวจคน้ หา Explore ตงั้ แต่ พ.ศ. ๑๗๙๒ ๑๗๐๐ 1. ใหน ักเรยี นศึกษาขอมลู การแบงสมยั จนถึงกรงุ สุโขทยั ถูกรวม ๑๗๙๒ ๑๘๐๐ ประวัติศาสตรไ ทยจากหนงั สอื หนา 16-17 เข้ากับกรงุ ศรีอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๐๐๖ ๑๙๐๐ ๑๘๙๓ สมยั อยุธยา 2. ใหน กั เรยี นรว มกนั สนทนาวา เกณฑท ีใ่ ชแบง ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๙๓ - สมัยประวัตศิ าสตรไทยใชเกณฑใ ดในการแบง ๒๐๐๐ พ.ศ. ๒๓๑๐ อธบิ ายความรู้ Explain 1. ใหน กั เรยี นรว มกนั แสดงความคิดเหน็ และสรปุ ๒๑๐๐ วา การแบง สมยั ประวตั ศิ าสตรไ ทยใชเกณฑ การแบงไดหลายวิธี เชน สมยั ธนบรุ ี ๒๒๐๐ • แบง ตามการสถาปนาอาณาจกั รหรอื ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ - ราชธานี เชน สมัยสุโขทัย สมยั อยุธยา พ.ศ. ๒๓๒๕ ๒๓๑๐ ๒๓๐๐ สมยั รตั นโกสินทร์ • แบงตามราชวงศท ่ปี กครอง เชน สมัย ๒๓๒๕ ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ราชวงศอทู อง สมัยราชวงศปราสาททอง ๒๔๐๐ ปจั จุบัน • แบงตามลกั ษณะสําคญั ของประวัตศิ าสตร เชน สมยั การวางรากฐานและการสรา ง ๒๕๐๐ ความมั่นคง สมยั เสอ่ื มอาํ นาจ เปนตน ปจั จุบนั 2. ครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ขอมูลที่นกั เรยี นควรรู ๑6 เกี่ยวกบั พระมหากษตั ริยไ ทยผทู รงสถาปนา ราชอาณาจักรไทยในสมัยตา งๆ นักเรียนควรรู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เหตกุ ารณใดเกดิ ข้นึ ในชว งสมัยสุโขทยั 1 อาณาจกั ร พระมหากษตั ริยผูท รงสถาปนาราชอาณาจกั รไทยในสมัยตางๆ 1. ตัวอักษรไทยถูกประดษิ ฐข นึ้ ครั้งแรก ในป พ.ศ. 1826 ไดแ ก 2. นางแอนนา เลียวโนเวนส เขารับราชการครู สอนภาษาองั กฤษ ในราชสํานกั ในป พ.ศ. 2404 สมยั สโุ ขทยั - พอขุนศรอี ินทราทติ ย (พอขุนบางกลางหาว) 3. ไทยเกดิ ศกึ สงครามเกา ทพั ในป พ.ศ. 2328 สมัยอยุธยา - สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 (พระเจาอทู อง) 4. พระนเรศวรทรงประกาศอสิ รภาพทเ่ี มืองแครง ในป พ.ศ. 2127 สมยั ธนบรุ ี - สมเด็จพระบรมราชาท่ี 4 (สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช) วเิ คราะหค ําตอบ การแบงสมยั ประวตั ิศาสตรใ นดนิ แดนไทยทใ่ี ชเ กณฑ สมยั รตั นโกสนิ ทร - พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลท่ี 1) การตง้ั อาณาจักรหรอื ราชธานี มดี ังนี้ สมัยสุโขทัย ต้ังแต พ.ศ. 1792 - พ.ศ. 2006 มมุ IT สมัยอยธุ ยา ตั้งแต พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310 สมัยรัตนโกสนิ ทร ตงั้ แต พ.ศ. 2325-ปจ จบุ นั ครแู นะนาํ ใหนกั เรียนสืบคน ขอมูลการแบง ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรจาก ดงั นน้ั ขอ 1. เปน คําตอบทีถ่ กู ตอ ง เวบ็ ไซต www.trueplookpanya.com เพ่ือนํามาสนทนาแลกเปลย่ี นความรู ระหวางกันในหองเรียน 16 คมู อื ครู
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ นอกจากนี้ยังมีการแบ่งออกเป็นสมัยย่อยๆ โดยยึดหลักตาม 1. ครูอธบิ ายเพมิ่ เติมวา สมยั รตั นโกสนิ ทรม กี าร การเปลยี่ นแปลงของบ้านเมอื งและการปกครองร่วมกัน ดังน้ี เปลย่ี นแปลงของบา นเมอื งและการปกครองที่ เหน็ ไดช ดั เจน จึงมีการแบงสมัยน้ีใหยอ ยลงอีก ๑) สมัยรตั นโกสินทร์ตอนต้น ซ่ึงอาจแบงยอ ยแตละสมัยตามรชั กาล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๙๔ อยู่ในชว่ ง ๓ รัชกาลแรก 2. ใหน ักเรยี นแบง กลมุ ใหแตล ะกลมุ สรุปวา เป็นช่วงการฟน ฟูอาณาจักรในด้านการปอ งกันบ้านเมอื ง เศรษฐกิจ ในแตล ะสมัยของรัตนโกสินทรม ีลกั ษณะ ศิลปวฒั นธรรม และพระพทุ ธศาสนา การเมอื งการปกครองทเี่ ดน ชัดอยางไร ๒) สมยั รตั นโกสินทร์ยคุ ปรับปรงุ และปฏริ ปู ประเทศ ตั้งแต่ 3. ครตู ้ังประเดน็ คาํ ถามใหนักเรยี นรวมกนั ตอบ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๗๕ เป็นช่วงท่ีมีการติดต่อกับ • การแบง สมยั ประวัตศิ าสตรออกเปน สมยั ยอยๆ ทาํ ใหเกิดผลดอี ยางไร กตา่ารงเชปาลต่ยี ิ นมแีกปารลปงรกบั าปรปรงุกปครระอเงทเศปใ็นหร้ทะบันอสมบปยั แระบชบาชธาปิ ตไติตะย1วนั ตก จนถึง (แนวตอบ ทาํ ใหศ ึกษาขอมูลและเหตกุ ารณ ๓) สมัยประชาธิปไตย ทางประวตั ิศาสตรไ ดช ดั เจนและละเอยี ดขน้ึ ) ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ถึงปจั จุบนั เปน็ ช่วงท่ีมีการปกครอง 4. ใหนักเรียนทาํ แบบฝก กจิ กรรมที่ 2 แบบประชาธปิ ไตย จากแบบวัดฯ ประวตั ศิ าสตร ป.4 พ.ศ. ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝก ฯ ประวตั ิศาสตร ป.4 แบบฝก กิจกรรมท่ี 2 เร่อื ง ยุคสมัยที่ใช้ในการศกึ ษาประวัติศาสตรไทย ๒๓๐๐ แบบฝกกิจกรรมท่ี ๒ ยคุ สมยั ทใี่ ชใ นการศกึ ษา ประวตั ศิ าสตรไ ทย ๒๓๒๕ เริม่ ตน้ สมัย รตั นโกสนิ ทร์ คาํ ชแ้ี จง : การเรยี นรูเรือ่ งยคุ สมัยที่ใชในการศกึ ษาประวัติศาสตรไทย ทําใหม คี วามเขาใจและเรยี งลาํ ดบั เหตกุ ารณไดถ ูกตอ ง เตมิ คาํ หรอื ขอ ความลงในชอ งวา งใหถ กู ตอ ง การแบงสมัยประวัติศาสตรในดินแดนไทยนิยมใชเกณฑการแบง ตาม อาณาจักรหรือราชธานี(๑)……………………………………………………………………………………… ซึง่ เขยี นเปน แผนผัง ไดดงั นี้ (…๒…)…ส……ม……ยั …อ…า…ณ………า…จ…ัก……ร…ร……ุน …แ……ร…ก……ๆ…………………….นับชวงเวลากอน การตง้ั อาณาจักรสุโขทยั ๒๔๐๐ ๒๓๙๔ เขา้ ส่สู มัยรตั นโกสินทร์ เฉฉบลบั ย สมยั สุโขทยั(๓)……………………………………………………………. นบั ต้ังแต พ.ศ. ๑๗๙๒ จนถึง กรงุ สโุ ขทยั รวมเขากับกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๐๐๖ ยคุ ปรับปรงุ และปฏริ ปู (…๔…)……ส……ม…ยั …อ……ย…ธุ……ย…า… นับตัง้ แต พ.ศ. ๑๘๙๓ - พ.ศ. ๒๓๑๐ ประเทศ (…๕…)……ส……ม…ัย……ธ…น……บ……รุ …ี นบั ตั้งแต พ.ศ. ๒๓๑๐ - พ.ศ. ๒๓๒๕ ๒๔๗๕ เปล่ียนแปลงสสู่ มยั ๒๕๐๐ ประชาธปิ ไตย (…๖…)…ส……ม…ัย……ร…ัต……น……โ…ก…ส……นิ……ท……ร… นบั ตง้ั แต พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปจ จบุ นั ▲ อนสุ าวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย กรุงเทพฯ ซึ่งในสมัยนี้ยังมีการแบงออกเปนสมัยยอยๆ โดยยึด ตาม …ก…า…ร……เป……ล…ย…ี่ …น……แ…ป…ล……ง…ข…อ……ง…บ……า …น…เ…ม…อื……ง…แ…ล……ะ…ก…า…ร……ป…ก……ค…ร……อ…ง… ๑๗ ดังน้ี ส……ม…ยั …ร……ตั …น……โ…ก…ส……นิ …ท……ร…ต……อ…น……ต…น ….. ส……ม…ยั …ร…ตั……น……โ…ก…ส……นิ …ท……ร.. …ย…คุ ……ป…ร…บ…ั …ป……ร…งุ …แ……ล…ะ…ป……ฏ…ริ……ปู …ป……ร…ะ…เ…ท…ศ…… และ ส……ม…ยั …ป……ร…ะ…ช……า…ธ…ปิ ……ไ…ต…ย… ๘ กิจกรรมทาทาย เกร็ดแนะครู ใหนกั เรียนสบื คนเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกับเหตุการณสําคัญที่เกดิ ขน้ึ ในสมยั ครอู ธิบายเสรมิ กบั นกั เรียนวา การแบง ยุคสมยั ตามทีป่ รากฏในหนังสือเรียน ประวตั ศิ าสตรไทยสมยั ตางๆ แลวบันทึกขอมลู จากน้ันนํามาแลกเปลยี่ น เปน การแบง อยางกวางๆ ซ่ึงในแตละยุคสมยั นน้ั ยังมกี ารแบง แยกยอ ยลงไปอีก ความรูระหวางกนั ในช้นั เรยี น เพื่อจะไดเขา ใจเรอ่ื งราวทเี่ กดิ ขน้ึ ไดช ัดเจนขึน้ เชน สมยั ประชาธิปไตย กย็ ัง แบง ยอยเปนสมัยนายกรฐั มนตรแี ตละทานท่ขี ้ึนมาบรหิ ารประเทศ นักเรียนควรรู 1 การปกครองแบบประชาธปิ ไตย เม่อื วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรภายใตก ารนาํ ของพนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา (พจน พหลโยธนิ ) ไดท ําการปฏิวัติ และเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตย คมู อื ครู 17
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Expand Evaluate ขยายความเขา้ ใจ Expand 1. ใหน กั เรยี นเขยี นเสน เวลาแสดงชวงเวลา กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท้ ี่ ๒ ในสมัยประวัตศิ าสตรไทย ๑. ร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกับ ข้อดขี องการประดิษฐ์ตวั อักษรท่ีใช้ 2. ใหนกั เรยี นแบงกลมุ ใหแ ตล ะกลุมจัดทาํ บนั ทึกเร่ืองราวต่างๆ รายงานเร่ืองหลกั เกณฑก ารแบง ยคุ สมัยทใี่ ช ในการศึกษาประวัตศิ าสตรไทย แลวออกมา ๒. ดภู าพ แลว้ บอกว่า สงิ่ ของในภาพนา่ จะอยู่ในสมยั ใด นาํ เสนอหนาชนั้ เรียน พรอ้ มทง้ั บอกเหตุผล ๑) ๒) 3. ใหน กั เรยี นเขยี นอธบิ ายยคุ สมยั ทใ่ี ชใ นการศกึ ษา ประวัตศิ าสตรและความสาํ คัญของการแบง ๓. แบ่งกลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับหลกั เกณฑ์ ยุคสมัย โดยทาํ ลงในสมดุ การแบง่ ยคุ สมัยท่ีใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย แล้วจดั ท�า เปน็ รายงาน 4. ใหนักเรียนรวมกนั อภปิ รายตามหัวขอ ใน กิจกรรมรวบยอด ขอ 2-3 แลวสรปุ ผล กิจกรรมรวบยอด โดยบันทกึ ลงในสมดุ ๑. เขยี นอธิบายสมยั ในการศกึ ษาประวัติศาสตร์มาโดยสงั เขป ตรวจสอบผล Evaluate ๒. เขียนอธบิ ายเกยี่ วกบั ความส�าคัญของการแบ่งสมยั ในการ 1. ครตู รวจสอบความถกู ตองและชดั เจนของขอมลู ศึกษาประวัตศิ าสตร์ ทน่ี ักเรยี นเขียนอธิบาย ๓. รว่ มกันอภปิ รายวา่ “ถ้านักเรียนพบโบราณวัตถโุ ดยบงั เอิญ 2. ครตู รวจสอบความถูกตอ งของเสน เวลาแสดง และไมท่ ราบว่าเปนอะไร นกั เรยี นควรทําอยา่ งไร แลว้ นกั เรยี น ชวงเวลาในสมัยประวัตศิ าสตรไทย จะทราบได้อยา่ งไรว่า โบราณวัตถุชิ้นนีอ้ ยู่ในสมยั ใด” 3. ครตู รวจสอบความถูกตองของรายงานเรื่อง ๔. ร่วมกนั อภิปรายวา่ “หลกั ฐานทางประวัติศาสตรมคี วามสําคัญ หลกั เกณฑก ารแบงยุคสมัยท่ใี ชในการศึกษา อย่างไรต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร” ประวตั ิศาสตรไ ทย หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการเขียนอธิบายสมยั ในการศึกษา ประวตั ศิ าสตร 2. เสน เวลาแสดงชว งเวลาในสมยั ประวตั ศิ าสตรไ ทย 3. รายงานเรอื่ งหลกั เกณฑการแบงยคุ สมยั ทีใ่ ชใ น การศึกษาประวัติศาสตรไ ทย ๑8 เฉลย กิจกรรมพฒั นาการเรยี นรทู ี่ 2 ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT 1. แนวตอบ ทําใหค นรนุ หลงั ไดท ราบวถิ ีชวี ติ และเหตุการณใ นสมัยนนั้ การแบง ยคุ สมยั ในการศึกษาประวตั ศิ าสตรใ ชเ กณฑใ นขอ ใด 2. แนวตอบ 1. การพบตวั อกั ษร 2. การกําเนดิ ของศาสนา 1) สมัยหินใหม เพราะเปนเครือ่ งมือหินทม่ี ีการขัดใหม น 3. การพบโครงกระดูกมนษุ ย 2) สมัยสาํ ริด เพราะเปนเคร่อื งประดบั ทที่ าํ จากสาํ รดิ 4. การพบที่อยูอาศัยของมนุษยโบราณ 3. แนวตอบ ข้นึ อยกู บั ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูสอน วิเคราะหคําตอบ เกณฑก ารแบง ยคุ สมัยทางประวัติศาสตรยึดตาม การพบตวั อักษร และแบง ออกเปน 2 สมัย คอื สมยั กอนประวตั ิศาสตร เฉลย กิจกรรมรวบยอด (ไมพ บตวั อักษร) และสมัยประวตั ิศาสตร (พบตวั อกั ษร) ดังนั้น ขอ 1. 1-2. แนวตอบ ขนึ้ อยูกบั ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูส อน เปน คาํ ตอบท่ีถูกตอง 3. แนวตอบ ควรแจง ใหเ จาหนา ทข่ี องหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบเขา มาตรวจสอบ และ อาจสนั นษิ ฐานไดว า อยใู นสมยั ใดจากการดวู า โบราณวตั ถนุ ที้ าํ ขน้ึ จากวสั ดชุ นดิ ใด 4. แนวตอบ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร เปนสิง่ ทีพ่ สิ จู นไดวา เหตุการณทศ่ี กึ ษา คนควาเปนเรอื่ งจริง และเกดิ เหตุการณใดขนึ้ บางในชวงเวลาตา งๆ 18 คูมือครู
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธิบายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Expore Explain Engaae Expand Evaluate เปา หมายการเรยี นรู óบทท่ี แยกแยะประเภทหลกั ฐานทใี่ ชใ นการศกึ ษา ประวตั คิ วามเปน มาของทอ งถิ่นได (ส 4.1 ป.4/3) การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรทอ งถิน่ สมรรถนะของผเู รยี น กจิ กรรมนําสกู ารเรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´ÇÒ‹ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»ÃÐÇµÑ ÔÈÒʵà ·ÍŒ §¶Ôè¹ÁռŴÍÕ Â‹Ò§äà 1. ใฝเรียนรู 2. มุง ม่นั ในการทํางาน 3. รักความเปน ไทย กระตนุ้ ความสนใจ Engage á¹Ç¤´Ô ÊíÒ¤ÑÞ 1. ครูเลา ตาํ นานเกีย่ วกบั ทองถิน่ ตางๆ ใหนกั เรยี นฟง เชน พระนางสรอยดอกหมาก ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¤¹Œ ¤ÇÒŒ àÃ×èͧÃÒǢͧ¼¤ŒÙ ¹ã¹·ÍŒ §¶¹Ôè µ§éÑ áµ‹ กอ งขา วนอ ยฆาแม เปนตน จากนน้ั ใหน ักเรยี น ÊÁÂÑ Í´µÕ ªÇ‹ ÂãËàŒ ÃÒÁ¤Õ ÇÒÁÌ٠¤ÇÒÁà¢ÒŒ ã¨ã¹¤ÇÒÁ໹š ÁÒ รว มกนั บอกวา รขู อ มลู อะไรบางจากตํานาน ¢Í§·ŒÍ§¶èÔ¹¢Í§àÃÒ䴌͋ҧ¶Ù¡µŒÍ§ áÅÐÂѧ·íÒãËŒàÃÒ ทีค่ รเู ลา à¡Ô´¤ÇÒÁÀÒ¤ÀÙÁÔã¨ã¹·ŒÍ§¶è¹Ô ¢Í§µ¹ 2. ใหน กั เรียนต้งั คาํ ถามเกี่ยวกบั ประวตั ิ ความเปน มาของทองถ่ินคนละ 1 คาํ ถาม จากน้ันใหนกั เรยี นรว มกันคิดวา จะหา คําตอบจากคาํ ถามท่ตี งั้ ไวด วยวธิ ใี ดบา ง ๑๙ เกร็ดแนะครู ครจู ดั กระบวนการเรยี นรโู ดยการใหน ักเรียนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี • สาํ รวจและสงั เกตหลักฐานทางประวตั ิศาสตร • สืบคน ขอ มลู เก่ียวกบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตร • อภิปรายและสรปุ ผลการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร • วเิ คราะหจากประเด็นคําถามและภาพเก่ียวกับหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร จนเกดิ เปนความรูความเขาใจวา แตล ะทองถิน่ มปี ระวตั คิ วามเปนมาท่ีนา สนใจ การศึกษาประวัตทิ อ งถน่ิ ทาํ ใหเ ราเกิดความเขาใจและภูมใิ จในทองถ่ินของเรา มมุ IT ครศู กึ ษาตาํ นานพน้ื บา นของไทยเพอื่ นาํ มาเลา ใหน กั เรยี นฟง ไดจ ากเวบ็ ไซต ดงั น้ี กอ งขา วนอ ยฆา แม www.nithan.in.th/กอ งขา วนอ ยฆา แม พระนางสรอ ยดอกหมาก www.watphananchoeng.com/god/page2.html คูมือครู 19
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Explain Elaborate Evaluate Explore สา� รวจคน้ หา Explore 1. ใหนกั เรียนชวยกนั ตอบคาํ ถามวา แตล่ ะทอ้ งถน่ิ มปี ระวตั คิ วามเปน็ มาทนี่ า่ สนใจ หลกั ฐานเกย่ี วกบั • นกั เรยี นจะมวี ธิ กี ารในการสบื คน ประวตั ิ เรอื่ งราวของคนในทอ้ งถน่ิ ตง้ั แตอ่ ดตี ชว่ ยใหเ้ รามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ความเปนมาของทองถิน่ ไดอยา งไร ในความเปน็ มาของท้องถ่นิ ของเราไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และยงั ท�าใหเ้ กดิ (แนวตอบ ทาํ ไดห ลายวธิ ี เชน สมั ภาษณผูรู ความภาคภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ ของตน อา นบนั ทกึ ศกึ ษาจากสง่ิ ของในอดตี เปน ตน ) • นกั เรียนคิดวา หลกั ฐานใดบางทีส่ ามารถ ๑. หลกั ฐานเกย่ี วกบั ความเปนมาของท้องถ่นิ นํามาใชศ กึ ษาประวตั ิทอ งถ่นิ ได (แนวตอบ อนสุ าวรีย เครื่องใชส มัยโบราณ หปรละักเภฐทานข1อทง่ีเหกลี่ยกัวฐขา้อนง ก ับผู้คนในแต่ละท้องถ่ินมีจ�านวนมาก ภาพถา ย เปน ตน) โดยแบง่ ออกเปน็ หลกั ฐานชนั้ ตน้ และหลักฐานช้ันรอง • หลักฐานทน่ี าํ มาใชศึกษาประวัติทองถ่ิน ชนดิ ใด นา เชอื่ ถอื มากทีส่ ุด เพราะอะไร ๑) หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานในช่วงเวลาเดียวกับ (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยกู บั นกั เรียนแตละคน เหตุการณ์ เช่น บันทึกของผู้คนท่ีอยู่ในเหตุการณ์ หนังสือพิมพ์ เชน ภาพถา ย เพราะเปน สิ่งทส่ี ามารถเห็น รปู ถ่าย สงิ่ ของ เป็นต้น ไดจ รงิ ) 2. ใหนักเรยี นศึกษาขอ มูลเกยี่ วกับประเภทของ หลกั ฐานจากหนงั สอื หนา 20-21 ▲ ลูกปัดโบราณ พบทบ่ี า้ นเชียง จงั หวัดอุดรธานี ▲ เครอ่ื งปันดินเผาลายเขียนสแี ดง พบท่ีบ้านเชียง จังหวดั อดุ รธานี ¹Í¡¨Ò¡à¤Ã×èͧ»˜¹œ ´Ô¹à¼Ò à¾Íè× ¹æ ¤Ô´Ç‹Ò 处 ÁÍÕ ÐäÃÍ¡Õ ºŒÒ§·Õè໚¹ËÅ¡Ñ °Ò¹ªÑ¹é µ¹Œ ¤ÃѺ ๒๐ เกรด็ แนะครู ขอสแอนบวเนนมสOะกามห-าเมNาราตผดคาEภูนขดิTมพิ� เอรื หดล เพราะเหตใุ ดบทความทางวิชาการจงึ จัดเปน หลกั ฐานช้ันรอง ครูอาจนําภาพถายทองถ่ินในอดตี มาใหน ักเรยี นดู แลวรว มกนั สนทนาพูดคยุ แนวตอบ เพราะบทความทางวชิ าการเปน หลกั ฐานทเี่ ขยี นขน้ึ ในประเดน็ ตางๆ เชน ในภายหลงั โดยเขยี นขน้ึ มาจากขอ มูลที่สืบคนและรวบรวมไดจาก หลักฐานชั้นตน และหลักฐานช้นั รอง • ขอ มูลทีไ่ ดรบั จากภาพท่ีแสดงความแตกตางระหวางอดีตกบั ปจจบุ ัน (ความเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึ้น) • ขอมลู จากภาพจัดเปน หลกั ฐานประเภทใด พรอมใหเหตผุ ลประกอบ • ประโยชนท ่ีไดจ ากการศึกษาภาพถายในอดีตเหลานี้ นกั เรยี นควรรู 1 หลักฐาน การจัดแบง ประเภทของหลักฐาน นอกจากจดั แบง เปนหลกั ฐาน ชั้นตนกับหลกั ฐานชน้ั รองแลว ยงั แบง ออกไดเ ปน อีกแบบหน่ึง คอื หลกั ฐานท่ีเปน ลายลกั ษณอ ักษร กับหลกั ฐานที่ไมเปน ลายลกั ษณอักษร 20 คมู อื ครู
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ๒) หลกั ฐานชนั้ รอง หมายถงึ หลกั ฐาน 1. ใหน ักเรียนรวมกนั อธิบายวา การสบื คน ประวตั ิ ท่ีเขียนหรือรวบรวมขึ้นภายหลังเหตุการณ์ ความเปน มาของทอ งถน่ิ ทาํ ไดห ลายวธิ ี โดยตอ ง โดยผู้เขียนเขียนข้ึนจากการศึกษาหลักฐาน สืบคนจากสงิ่ ของ คน สถานท่ี ซ่งึ สิ่งเหลาน้ี ชนั้ ตน้ โดยหลกั ฐานชน้ั รองมคี วามนา่ เชอื่ ถอื นับเปนหลกั ฐานทช่ี ว ยในการใหขอมลู ของ นอ้ ยกวา่ หลักฐานชั้นต้น เพราะได้เขียนขน้ึ ทองถิ่น ภายหลงั เหตกุ ารณน์ นั้ ๆ แตห่ ลกั ฐานชน้ั รอง สามารถใช้ค้นคว้าได้สะดวกกว่า ตัวอย่าง 2. ใหนกั เรียนชว ยกนั ยกตัวอยางหลักฐานทใ่ี ช หลักฐานชั้นรอง เช่น หนังสอื ต่างๆ ในการสบื คน ประวตั ิทองถนิ่ มาคนละ 1 ชนดิ ▲ หนังสอื แผนที่ประวตั ศิ าสตร์ แลวครูเขยี นบนกระดาน ๒. ตวั อย่างหลกั ฐานเกย่ี วกบั ทอ้ งถ่ิน เปน็ หลักฐานชั้นรอง 3. ใหน กั เรียนชวยกนั แยกประเภทหลกั ฐานบน แต่ละท้องถิ่นมีหลักฐานที่บอกเล่าความเป็นมาของท้องถ่ิน กระดานวา หลกั ฐานใดเปน หลกั ฐานชั้นตน ตนเอง ทั้งหลักฐานชั้นต้น ได้แก่ แหล่งโบราณคดี โบราณสถาน และหลักฐานใดเปนหลกั ฐานชัน้ รอง พรอ มกบั โบราณวัตถุ สถานท่สี า� คญั ตา่ งๆ เช่น วดั อนุสาวรยี ์ ภาพถา่ ยของ บอกเหตุผลวา เพราะเหตุใดหลกั ฐานชนิดนจ้ี งึ เปน หลกั ฐานชัน้ ตน หรอื หลกั ฐานช้นั รอง 4. ใหนักเรียนอภิปรายและสรุปความสาํ คัญของ หลักฐานชนั้ ตนและหลกั ฐานชัน้ รอง 5. ใหน ักเรียนเขยี นสรปุ ความหมายของหลักฐาน ชน้ั ตน และหลกั ฐานชนั้ รอง โดยเขยี นลงในสมดุ ทอ้ งถิน่ ในอดีต และหลกั ฐานช้นั รอง เชน่ หนงั สือทเ่ี ก่ยี วกับประวัติ ความเปน็ มาของท้องถิน่ หนังสือประวัตบิ ุคคลส�าคญั ในท้องถิ่น นอกจากน้ีในหลายท้องถิ่นยังมีต�านานหรือเรื่องเล่าต่างๆ ท่ี เกยี่ วกับท้องถ่นิ เช่น ทีม่ าของชอื่ สถานท่ีในทอ้ งถ่นิ นทิ านพนื้ บ้าน และเพลงพื้นบ้านท่ีคนใช้บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ของท้องถ่ิน เช่น ความเป็นมาของท้องถิ่น ชีวิตความเป็นอยู่และอาชีพของผู้คนใน ท้องถ่ิน ในการศึกษาค้นควา้ เร่ืองราวในทอ้ งถน่ิ ของเรา แต่ละทอ้ งถ่ินมี ประวัตคิ วามเป็นมาท่ีแตกตา่ งกัน หลกั ฐานท่ีใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ จงึ อาจแตกต่างกนั ๒๑ ขอใดไมใชหลกั ฐานเกี่ยวกบั ทอ งถ่ิน ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT เกรด็ แนะครู 1. ตาํ นาน 2. นิทานพืน้ บาน ครอู าจนําภาพหลกั ฐานเกยี่ วกบั ทอ งถ่ินตางๆ มาใหน ักเรยี นดู แลว ใหช วยกนั 3. พระราชพงศาวดาร บอกวา เปนหลักฐานประเภทใด และเก่ยี วกบั ทองถน่ิ ใด 4. หนังสอื พิมพทอ งถน่ิ มมุ IT วิเคราะหค าํ ตอบ หลักฐานท่ใี หขอ มูลเกีย่ วกบั ทองถน่ิ เชน วัด อนสุ าวรยี ภาพถายทอ งถิ่น ตํานาน นิทานพื้นบาน หนังสอื พิมพท อ งถ่นิ เปนตน ครแู ละนกั เรยี นดูขอมลู เพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั ตาํ นาน ไดท่ี http://www.tarachai. เปน หลกั ฐานทองถน่ิ สว นพระราชพงศาวดารจะใหข อมลู ที่เปน เรอื่ งราว tripod.com ซึ่งจะมีตาํ นานพ้นื บา นทกุ ภาคของไทยใหอ า นมากมาย หรอื เหตกุ ารณเ กย่ี วกบั พระมหากษตั รยิ จงึ ไมเ ปน หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วกบั ทอ งถน่ิ ดงั น้นั ขอ 3. เปนคาํ ตอบทถี่ กู ตอง คมู ือครู 21
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ใหน ักเรียนชวยกนั ตอบคําถาม ตอไปนี้ ๒.๑ หลักฐานช้ันต้นในการค้นคว้าประวัติความเปนมาของ • ตํานานเปน หลักฐานประเภทใด เพราะอะไร ท้องถน่ิ เช่น (ตอบ หลักฐานช้นั รอง เพราะเปน เร่อื งที่ สถานที่สําคัญในท้องถิ่น เช่น อนุสาวรีย์ที่อยู่ในท้องถิ่น แตง ข้ึนในภายหลงั ) แหลง่ โบราณคดี สถานทีท่ างราชการ ศาสนสถาน เปน็ ต้น • นักเรียนคิดวา หลกั ฐานท่ใี ชใ นการศึกษา เรื่องราวในทอ งถน่ิ ยังมอี ะไรอีกบาง สถานที่บางแห่งมีแหล่งโบราณคดีของชุมชนสมัยก่อน (แนวตอบ คําตอบอาจมีหลากหลายข้นึ อยู ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ ใหข้ อ้ มลู ความรเู้ กย่ี วกบั การตงั้ ถนิ่ ฐานและการดา� รง กบั ความคดิ ของนักเรยี นแตล ะคน เชน ชวี ิตของมนษุ ย์ในสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ วดั อนุสาวรยี ภาพถาย สิ่งของเคร่อื งใช เปนตน) นอกจากนี้เราสามารถค้นคว้าหลักฐานเก่ียวกับท้องถ่ินได้ • หลักฐานประเภทใดนา เช่อื ถอื มากทส่ี ุด จากศาสนสถาน เชน่ วดั มสั ยดิ โบสถ์ ซงึ่ เปน็ ศนู ยก์ ลางในชมุ ชนและ เพราะเหตุใด ยังเป็นแหลง่ รวบรวมหลักฐานตา่ งๆ เช่น สิ่งของเครือ่ งใชส้ มัยต่างๆ (แนวตอบ หลกั ฐานช้นั ตน เพราะเกิดขึน้ หนังสือความรู้ต่างๆ วัดหลายแห่งจัดเป็นพิพิธภัณฑ์และห้องสมุด ในสมัยเดยี วกับเหตุการณ) ส่วนท้องถิ่นท่ีผู้คนนับถือศาสนาอิสลาม จะมีมัสยิดเป็นศูนย์กลาง • หลักฐานประเภทใดสบื คน ไดงายทส่ี ุด เราสามารถค้นคว้าหลักฐานเกี่ยวกับท้องถ่ินของเราได้จากมัสยิดใน เพราะเหตุใด ทอ้ งถ่ิน เป็นต้น (แนวตอบ หลักฐานช้ันรอง เชน ตาํ ราทมี่ ีคน เขยี นถงึ เพราะมมี าก และบางอยา งถกู ทาํ ขน้ึ ในสมยั เดยี วกบั ผูสืบคน) • ถานกั เรยี นสบื คนขอมลู แลวพบหลักฐานที่ ใหขอมูลไมต รงกนั นกั เรียนควรทําอยางไร (แนวตอบ พิจารณาจากความนา เชื่อถือของ หลกั ฐาน แลว ตรวจสอบขอ มลู ที่ตรงกัน) ▲ มสั ยดิ กลาง จงั หวัดปตั ตานี 1 ๒๒ ▲ พพิ ิธภณั ฑว์ ดั ม่วง จงั หวัดราชบรุ ี เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT ขอใดคอื หลกั ฐานทองถิน่ ในภาคอีสาน ครอู าจใหน กั เรยี นชวยกนั ศึกษา คนควา แนะนําแหลงเรยี นรูทางประวตั ิศาสตร 1. ถ้ําผีแมน ทส่ี าํ คญั ของทอ งถน่ิ โดยใหถ า ยภาพและแนะนาํ ขอ มลู สงั เขปของแหลง เรยี นรดู งั กลา ว 2. พระปฐมเจดีย โดยทาํ เปนปายนิเทศ 3. เมืองเวยี งกมุ กาม 4. แหลง โบราณคดบี า นเชยี ง นักเรยี นควรรู วเิ คราะหคําตอบ ถํ้าผีแมน อยทู ี่ จ.แมฮองสอน เปนหลักฐานทองถ่นิ ใน ภาคเหนอื พระปฐมเจดยี อยทู ี่ จ. นครปฐม เปน หลกั ฐานทอ งถนิ่ ในภาคกลาง 1 พพิ ธิ ภณั ฑวัดมว ง ต้งั อยทู ต่ี ําบลบานมวง อาํ เภอบานโปง จงั หวดั ราชบรุ ี เมอื งเวยี งกุมกาม อยูท่ี จ. เชยี งใหม เปน หลกั ฐานทอ งถนิ่ ในภาคเหนอื ภายในพพิ ธิ ภัณฑจ ดั แสดงเร่ืองราวทเ่ี ก่ียวกบั การตัง้ ถิ่นฐานของมนษุ ยตัง้ แตอ ดีต แหลง โบราณคดบี า นเชยี ง อยทู ่ี จ. อุดรธานี เปนหลักฐานทอ งถ่นิ ใน ถึงปจจุบนั ประวัตศิ าสตรช มุ ชนบานมว งและชมุ ชนใกลเคยี ง ภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ ภาคอสี าน ดังนัน้ ขอ 4. เปน คาํ ตอบที่ถกู ตอง และเรื่องราวเกีย่ วกับวิถีชวี ิตของชาวบานบา นมวง 22 คมู อื ครู
กระต้นุ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู้ รปู ถ่าย รปู ภาพท่ีบันทกึ สถานที่ในอดตี สภาพชวี ิตความ 1. ใหน ักเรียนยกตวั อยา งสถานที่สําคัญในทองถน่ิ เป็นอยูข่ องชาวบ้าน และเหตกุ ารณ์ส�าคัญของคนในชุมชน ช่วยให้ แลว รว มกนั อภปิ รายวา สถานทส่ี าํ คญั ในทอ งถนิ่ เราได้เห็นภาพชวี ติ จริงในอดตี ทย่ี กตวั อยา งมา ใหข อ มลู ในเรอ่ื งอะไรบา ง หนังสือพิมพ บางท้องถิ่นมีหนังสือพิมพ์ประจ�าชุมชน และเพราะเหตใุ ดจึงจัดเปน หลักฐานชั้นตน ประจ�าจังหวัด ซ่ึงข่าวหลักที่ได้น�าเสนอคือเร่ืองราวของท้องถ่ิน ซึ่งให้ข้อมูลรายละเอียดท่ีอาจหาไม่ได้จากหนังสือพิมพ์ส่วนกลาง 2. ใหนักเรยี นชว ยกนั ตอบคาํ ถาม หนังสือพิมพ์ท้องถ่ินอาจเก็บรักษาอยู่ที่ศาลากลางจังหวัด โรงเรียน • รปู ถา ยใหขอมูลอะไรบาง หรอื หอ้ งสมดุ ประชาชน (แนวตอบ สภาพชวี ติ ความเปน อยแู ละสภาพ สิ่งของต่างๆ เช่น จารึกโบราณ1 ภาพวาดในวัด ส่ิงของ ทองถิน่ ในสมัยนน้ั ท้ังนข้ี นึ้ อยูกับวา เปน เครอื่ งใชใ้ นอดตี และสง่ิ ของตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วกบั ศาสนา เชน่ พระพทุ ธรปู รูปถายอะไร) ธรรมจกั ร ตู้พระธรรมส�าหรับเก็บพระไตรปฎ ก • หนังสอื พิมพใหขอ มูลอะไรบาง (ตอบ ขอ มลู หรือภาพเรือ่ งราวหรือเหตกุ ารณ 㹪ÁØ ª¹¢Í§à¾èÍ× ¹æ ที่เกิดขน้ึ ในสมัยนน้ั ) ÁÕËÅÑ¡°Ò¹ªÑ¹é µ¹Œ • สงิ่ ของตา งๆ ในทอ งถิ่นใหขอมูลอะไรบาง (แนวตอบ เรื่องราวท่ีแสดงถึงวถิ ชี ีวติ ·èºÕ Í¡¶§Ö ความเช่ือของคนในสมัยนน้ั ) »ÃÐÇµÑ ÔÈÒʵê ÁØ ª¹ • หนงั สือพมิ พท อ งถ่ินเปน หลักฐานช้ันตน หรอื หลักฐานชน้ั รอง เพราะเหตุใด ºÒŒ §äËÁ¤ÃѺ (แนวตอบ หนังสอื พมิ พทอ งถิ่นเปน หลักฐาน ชน้ั ตน เพราะเปน เรือ่ งทีเ่ ลา ถงึ เหตกุ ารณจริง ที่เกิดขน้ึ โดยตรง) • หนงั สือประวตั ิเมอื งลบั แลเปน หลกั ฐาน ชัน้ ตนหรอื หลักฐานชั้นรอง เพราะเหตุใด (แนวตอบ หนงั สอื ประวัติเมืองลบั แลเปน หลกั ฐานชนั้ รอง เพราะเปนเร่อื งท่พี ิมพ ขึ้นจากการสืบคนขอ มูลจากแหลงอน่ื ๆ มานําเสนอใหม) ▲ ภาพถ่ายคลองบางลา� พูในกรุงเทพฯ สมัยรชั กาลที่ ๕ ๒๓ าผภู นกั เรียนควรรู มสะามหเมาตดานขมพิ� เอืรหดล 1 จารึกโบราณ เปนเอกสารโบราณประเภทหน่ึง เปนการจารกึ รูปอกั ษรลง ในเนือ้ วัตถตุ า งๆ เชน รูปอกั ษรทปี่ รากฏบนแผนไม เรยี กวา จารกึ บนแผน ไม ขอ สแอนบวเนนOก-าNรคEิดT รูปอกั ษรท่ีปรากฏบนแผนศลิ า เรยี กวา ศลิ าจารกึ เปนตน การศึกษาความเปน มาของทองถน่ิ มผี ลดอี ยางไร มุม IT 1. นาํ ไปเลา อวดคนอ่ืนได 2. ทําใหมเี รอ่ื งพดู กับคนอ่นื ดขู อ มลู เกยี่ วกบั จารกึ ในประเทศไทย ไดท ่ี http://www.sac.or.th ซงึ่ เปน 3. ทําใหเกดิ ความภูมใิ จในทองถ่นิ เวบ็ ไซตของศูนยม านษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร 4. ทาํ ใหเ ปนทน่ี ับถอื ของคนตางถ่นิ วิเคราะหคําตอบ การศกึ ษาความเปนมาของทองถ่ินมีผลดีมากมาย และทีส่ ําคัญคือทําใหเกดิ ความภมู ิใจในทองถ่นิ ของตน ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบทถ่ี กู ตอง คูมอื ครู 23
กระตุน้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลมุ อา นตาํ นาน ๒.๒ หลักฐานช้ันรองในการค้นคว้าประวัติความเปนมาของ เก่ียวกบั พระปฐมเจดยี จ ากหนังสือ หนา 25 แลว รว มกันแสดงบทบาทสมมุติ ท้องถนิ่ เชน่ 2. ใหนกั เรียนรว มกนั สรุปวา ไดร ับขอ มลู อะไร ตาํ นาน ตา� นานเปน็ เรอื่ งทเี่ ลา่ ตอ่ ๆ กนั มา รายละเอยี ดของ จากการศึกษาตาํ นานพระปฐมเจดียบาง เรอ่ื งราวจงึ เปลยี่ นแปลงไปตามการแตง่ เตมิ หรอื ตามความทรงจา� ของ ผเู้ ลา่ บางตา� นานอาจถกู บนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรหลงั การแตง่ ขนึ้ 3. ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถาม นบั สบิ นบั รอ้ ย หรอื นบั พนั ปี นอกจากนต้ี า� นานไมม่ กี ารระบชุ ว่ งเวลา • ตํานานนี้มคี วามนาเชือ่ ถือหรือไม ทีแ่ นน่ อน เรอ่ื งทีอ่ ยู่ในตา� นานมกั มเี รือ่ งของส่งิ เหนอื ธรรมชาติ เช่น เพราะอะไร เทวดา ภูตผีปีศาจ ส่ิงศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ปรากฏอยู่ด้วย นักเรียนจึง (แนวตอบ นาเชอื่ ถอื บาง เพราะมีการอา งถึง ไม่ควรเชื่อเร่ืองราวทั้งหมดที่เกิดในต�านาน แต่ควรตรวจสอบกับ สถานท่ที ม่ี อี ยจู รงิ ) หลักฐานอนื่ ๆ ดว้ ย • ตาํ นานนีน้ ํามาเปน หลักฐานในการศึกษา ประวตั ทิ องถนิ่ ไดห รือไม เพราะอะไร ตา� นานเปน็ เรอื่ งเลา่ เกยี่ วกบั ความเปน็ มาของบรรพบรุ ษุ ใน (แนวตอบ ได เพราะมกี ารอา งถงึ สถานที่ ทอ้ งถน่ิ สงิ่ ของสา� คญั และสถานท่ี เชน่ บอกทม่ี าของชอ่ื สถานทหี่ รอื ทม่ี ีอยูจรงิ และเปน เร่อื งทคี่ นทองถนิ่ ทมี่ าของสถานที่ ก�าเนดิ ของส่ิงของต่างๆ เลา ตอๆ กนั มา) หนังสอื ประวัตศิ าสตรข์ องทอ้ งถ่นิ หลายแห่งได้ถูกบนั ทึก 4. นักเรียนรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ รวบรวมเป็นหนังสือ มีทั้งที่เขียนโดยหน่วยงานราชการและบุคคล และสรุปวา ตํานานเปนหลักฐานชั้นรอง ทั่วไป หนงั สือเก่ียวกับท้องถิน่ ท�าใหเ้ ราสามารถค้นควา้ ได้สะดวก เพราะเปน เรือ่ งเลา ตอ ๆ กันมา มคี วาม นา เชือ่ ถอื นอยเม่อื เทียบกับหลกั ฐานอนื่ ๆ เชน จดหมายเหตุ พระราชพงศาวดาร เปนตน แตตาํ นานกเ็ ปน อีกหลักฐานหนึง่ ท่ีมี ความสาํ คญั ในการศกึ ษาประวัติศาสตร ๒4 ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ขอ ใดเปน หลักฐานที่ทําใหเ ราทราบถงึ สภาพความเปนอยใู นอดตี เกรด็ แนะครู ไดชัดเจนทส่ี ุด 1. ตาํ นาน ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจวา ตํานานเปน เรือ่ งทเี่ ลาตอ ๆ กันมา และอาจมี 2. จารกึ โบราณ การเสรมิ แตงเรือ่ ง จงึ อาจทาํ ใหมกี ารคลาดเคล่ือนของขอมูล ดงั นนั้ การนําตาํ นาน 3. สรอยลูกปด โบราณ มาศกึ ษาทางประวตั ศิ าสตรจ งึ ตอ งประกอบกบั หลกั ฐาน แตค ณุ คา ของตาํ นานอยทู ่ี 4. ภาพถา ยสภาพชมุ ชนในอดีต การสะทอนความคดิ ความเชื่อ คานิยมของคนในอดตี ทาํ ใหคนในปจจบุ ันเกิด วเิ คราะหคาํ ตอบ หลกั ฐานท่ที าํ ใหท ราบถึงสภาพความเปนอยูในอดตี ความเขา ใจในวิถชี วี ติ ของคนในสมัยนน้ั ๆ ไดช ดั เจนท่ีสุด คือ ภาพถา ยสภาพชมุ ชนในอดตี เพราะสามารถเหน็ ได ดว ยตา โดยไมต องสนั นษิ ฐานหรือตีความจากหลกั ฐานอ่ืนๆ ดังนั้น มุม IT ขอ 4. เปน คาํ ตอบทถี่ ูกตอง ครูและนักเรยี นดขู อ มูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั ตาํ นาน ไดท ี่ http://www.tarachai. tripod.com ซ่งึ จะมีตํานานพืน้ บา นทกุ ภาคของไทยใหจ ํานวนมาก 24 คูม ือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา้ ใจ ตัวอย่าง ต�านานเกยี่ วกบั สถานท่ี คือ พระปฐมเจดีย1์ และ 1. ใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ สบื คน ตาํ นานหรอื เรอ่ื งเลา ทีใ่ หขอ มูลประวัตขิ องทอ งถ่นิ ตนเอง ในจงั หวัดนครปฐมน้ันมีพระเจดียอ์ งค์ใหญ่ จากนนั้ ออกมาเลา ใหเ พอ่ื นๆ ฟง พระประโทนเจดีย์ ตามเร่ืองเล่าท่ีอยู่ในต�านานพระยากง พระยาพาน เลา่ วา่ พระยากงเปน็ ผปู้ กครองเมอื งนครปฐมโบราณ มโี อรสชอื่ พระยาพาน 2. ใหน ักเรียนรวมกันสรุปขอมูลทีไ่ ดจากตาํ นาน เพราะหน้าผากกระทบกับพานที่รองรับเม่ือแรกเกิดจนท�าให้เกิดแผลเป็น หรอื เรอ่ื งเลา ในทอ งถนิ่ แลวบันทึกขอ มูล โหรทา� นายวา่ พระยาพานจะเปน็ ผูม้ บี ญุ แต่จะฆ่าพ่อของตนเอง พระยากง พรอมกับวาดภาพประกอบ แลวนําเสนอ จงึ ใหน้ า� พระยาพานไปทงิ้ ในปา แตช่ าวบา้ นชอ่ื ยายหอมมาพบจงึ นา� ไปเลยี้ ง ทห่ี นาช้นั 3. ใหน กั เรียนทาํ กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวดั ฯ ประวัตศิ าสตร ป.4 เมื่อพระยาพานโตข้ึนก็ได้ออกเดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ ต่างๆ จนไปถึงเมอื งสุโขทัย พระยาพานได้ปราบช้างทกี่ า� ลงั ตกมนั ท�าให้ ประวตั ิศาสตร ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมนิ ตัวชว้ี ดั ส 4.1 ป.4/3 เจ้าเมืองสุโขทัยชอบใจจึงน�าพระยาพานไปเลี้ยงเป็นลูกบุญธรรม และส่ง พระยาพานไปรบกับเมืองของพระยากง พระยาพานฆ่าพระยากงตายใน แบบประเมนิ ผลการเรียนรตู ามตัวช้วี ัด ประจําหนวยที่ ๑ บทท่ี ๓ การรบและน�าทหารเข้ายึดเมือง พระยาพานได้ครอบครองเมือง ทรัพย์ สมบัติและผู้คน รวมท้ังมเหสีของพระยากงท่ีเป็นแม่ของตน เทวดาจึง กิจกรรมรวบยอดท่ี ๑.๓ แบบประเมนิ ตัวชว้ี ดั ส ๔.๑ ป.๔/๓ แยกแยะประเภทหลกั ฐานท่ีใชใ นการศกึ ษาประวัตคิ วามเปน มาของทอ งถ�นิ ชุดท่ี ๑ ๑๐ คะแนน แปลงกายเปน็ แมวแมล่ ูกอ่อนพูดกันใหพ้ ระยาพานได้ยนิ เร่ืองแมก่ ับลูก จําแนกหลักฐานท่ีใชในการศึกษาประวัติความเปนมาของทองถ่ินท่ีกําหนดใหวาเปนหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตรป ระเภทใด โดยขีด ✓ลงในตาราง พระยาพานซง่ึ ไมเ่ คยพบพอ่ แมแ่ ทๆ้ เกดิ ความสงสยั หลกั ฐานเกีย่ วกบั ทอ งถนิ� ประเภทของหลกั ฐาน หลกั ฐานช้ันตน หลกั ฐานชัน้ รอง เรอ่ื งชาตกิ า� เนดิ พระยาพานจงึ อธษิ ฐานวา่ ถา้ มเหสขี อง ๑) ตูเก็บพระไตรปฎก ✓ ✓ เฉฉบลับย พระยากงเป็นแม่ของตนเองขอให้มีน้�านมไหลออกมา ๒) ตํานานทอ งถ�ินภาคเหน�อ ๓) เตารดี ถา น ✓ ซง่ึ คา� อธษิ ฐานไดก้ ลายเปน็ ความจรงิ พระยาพานโกรธ ๔) เครือ่ งเลนแผนเสียง ✓ ๕) รูปถา ยบา นเมอื งในอดีต ✓ เพราะคดิ วา่ ยายหอมปกปด เรอื่ งชาตกิ า� เนดิ จนทา� ให้ ๖) หนงั สือประวตั ิเมืองลับแล ✓ ๗) หนังสือพมิ พทอ งถิ�น ✓ ตนฆา่ พอ่ ตนเอง พระยาพานจงึ ฆา่ ยายหอม ตอ่ มา ๘) อนสุ าวรยี ช าวบานบางระจนั ✓ ๙) ศลิ าจารึก ✓ รู้ส�านึกผิดจึงได้สร้างพระปฐมเจดีย์เพ่ืออุทิศให้ ๑๐) หนังสือประวตั บิ ุคคลสําคญั ✓ พระยากง และสร้างพระประโทนเจดีย์เพ่ือ ตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ขอ ๓ ñð ๑๓ไดค ะแนน คะแนนเตม็ อทุ ศิ ใหย้ ายหอม ๒๕ กิจกรรมทาทาย นกั เรยี นควรรู ใหนักเรียนรวบรวมขอมูลและผลงานทไ่ี ดจ ากการศกึ ษาเรอ่ื งการศกึ ษา 1 พระปฐมเจดยี ตง้ั อยทู ่ีอําเภอเมือง จังหวดั นครปฐม สนั นิษฐานวา เปน ประวตั ศิ าสตรท อ งถนิ่ ตนเองมาจดั ปา ยนเิ ทศ เพอ่ื เผยแพรค วามรใู หก ับ พระเจดยี เ กา แกท ่ีสดุ ในประเทศไทย สรา งขน้ึ ในสมัยทวารวดี ภายในพระเจดยี คนอนื่ ๆ ไดท ราบเกย่ี วกับเร่อื งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรต อไป เปนทบ่ี รรจพุ ระบรมธาตุและพระทันตธาตุ (พระเขย้ี วแกว ) ของพระพุทธเจา มคี วามสงู จากพนื้ ดนิ ถงึ ยอดมงกฎุ ประมาณ 120 เมตร พระปฐมเจดยี อ งคท เ่ี หน็ อยู บูรณาการเชือ่ มสาระ ในปจจุบันไดมกี ารปฏิสังขรณครัง้ ใหญ สรางเปน เจดยี ท รงระฆงั คว่ําแบบลงั กา ครอบพระเจดยี องคเ ดมิ ซึ่งเริ่มสรางนับตั้งแตส มยั รัชกาลที่ 4 ตอ เนอื่ งมาจนถึง ใหนักเรยี นบูรณาการตํานานเกยี่ วกับสถานทีก่ บั กลมุ สาระภาษาไทย สมัยรัชกาลท่ี 5 จนแลวเสร็จสมบูรณใ นสมยั รชั กาลที่ 6 โดยเขยี นเรยี งความเกย่ี วกบั ตาํ นานหรือประวัติความเปน มาของทอ งถิ่น หรือจังหวัดท่นี กั เรียนอาศัยอยู แลว นาํ สงครูผสู อน คูมือครู 25
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธิบายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา้ ใจ 1. ใหน กั เรียนรวมกันสืบคนและรวบรวมหลกั ฐาน ตแวั หอลย่งา่ โงบ ราหณลคักดฐที าี่บนา้ ชนั้นเชตีย้นงข1ออา�งเทภอ้องหถนน่ิ องหาน จังหวัดอดุ รธานี ทใี่ ชใ นการศกึ ษาประวตั คิ วามเปน มาของทอ งถนิ่ ตนเอง แลว จดั กลมุ หลกั ฐานท่ีรวบรวมมาไดวา ศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลกั ที่ ๑ หรอื ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคา� แหงมหาราช ชิ้นใดเปนหลักฐานชั้นตน ช้ินใดเปนหลักฐาน โบราณสถานที่อุทยานประวตั ิศาสตร์สโุ ขทยั จงั หวดั สุโขทยั รูปถา่ ย ชนั้ รอง พรอ มทง้ั บอกเหตุผลประกอบ เมืองเชียงใหม่ในอดีต หนังสือพิมพ์เก่า ของเก่า เช่น โทรศัพท์ ในยคุ แรกๆ 2. ครูอาจพานักเรยี นไปทัศนศึกษาแหลงขอมูล ในทองถ่ิน แลวใหน กั เรียนจดบนั ทกึ ขอมลู 3. ใหน กั เรยี นรวบรวมภาพโบราณสถานหรือ โบราณวัตถขุ องทอ งถ่นิ มาตดิ ลงในสมดุ แลวเขยี นอธิบายภาพ 4. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลมุ จัดทํา รายงานเกี่ยวกับประวตั ิความเปนมาของ ทอ งถ่นิ ของตน แลว สง ตัวแทนออกมา รายงานหนาชั้น ภาพถ่ายเมืองลําปางในอดีต สงิ่ ของเครือ่ งใชส้ มัยก่อน ที่เก็บรักษาในพิพิธภณั ฑ ▲ ภาพถ่ายและสิ่งของเคร่ืองใชใ้ นอดีต จัดเปน็ หลักฐานช้นั ตน้ ตัวอยา่ ง หลักฐานชั้นรองของท้องถิ่น ▲ หนังสอื ท่ีเขียนเกี่ยวกบั เรื่องราวในแต่ละทอ้ งถนิ่ จดั เป็นหลักฐานชนั้ รอง ๒6 เบศรู ณรากษารฐกจิ พอเพียง ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ขอ ใดเปน ขอ ดขี องหลักฐานช้ันรอง ใหนกั เรยี นสืบคนขอ มูลเกยี่ วกบั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรทมี่ ใี นชุมชนหรอื 1. ใชคนควา ไดสะดวก ทอ งถนิ่ ของตน แลว คดิ หาวธิ สี รา งรายไดจ ากการเผยแพรค วามรู เชน เปน มคั คเุ ทศก 2. ระบุชวงเวลาท่ีแนน อน นาํ เทยี่ วใหกบั นกั ทอ งเท่ยี ว ผลิตสนิ คาทรี่ ะลึกเพือ่ จาํ หนา ยใหก ับนักทอ งเทีย่ ว 3. มคี วามนาเชือ่ ถือมากกวา เปนตน แลวนาํ เงนิ มาเปนสวนกลางของหองเรียนเพือ่ ซือ้ อุปกรณการเรียนของหอ ง 4. ระบุท่มี าของขอมลู ชัดเจน วเิ คราะหค าํ ตอบ หลกั ฐานชน้ั รองเปน หลกั ฐานทเ่ี ขยี นขน้ึ ภายหลงั แมจ ะ นักเรยี นควรรู มีความนาเช่ือถอื นอ ยกวา หลักฐานช้นั ตน แตหลักฐานชัน้ รองสามารถใช คน ควา ไดสะดวกกวา หลกั ฐานชัน้ ตน ดงั น้นั ขอ 1. เปนคาํ ตอบท่ถี กู ตอง 1 แหลง โบราณคดที ่ีบานเชียง อยหู างจากตัวจงั หวดั อุดรธานีไปทาง ทศิ ตะวนั ออก ประมาณ 60 กิโลเมตร บา นเชียงเปนแหลง โบราณคดใี นสมัย กอ นประวัตศิ าสตรทส่ี ําคญั แหง หน่งึ ของประเทศไทย ตงั้ อยูบนเนินดินสงู รปู ยาวรี ตามแนวตะวนั ออกถึงตะวนั ตก ครอบคลมุ พืน้ ท่ี ประมาณ 400 ไร แหลง โบราณคดบี า นเชยี งไดรบั การประกาศข้นึ ทะเบียนเปน มรดกโลก เมอ่ื ป พ.ศ. 2535 26 คูม ือครู
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate กิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ 1. ครตู รวจสอบความถกู ตองของการจาํ แนก ประเภทของหลักฐานประเภทตา งๆ ๑. เขยี นอธิบายความหมายของหลกั ฐานชน้ั ต้นและหลกั ฐาน ชั้นรองลงในสมดุ พร้อมท้ังยกตวั อยา่ งประกอบ 2. ครพู จิ ารณาจากรายงานวา นักเรยี นสามารถ สืบคน ขอมลู ไดจ ากหลักฐานตา งๆ ๒. ร่วมกนั อภิปรายความสา� คญั ของหลักฐานชั้นตน้ และหลักฐาน ชนั้ รอง 3. ครตู รวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ ประวัตศิ าสตร ป.4 ๓. แบง่ กลมุ่ สบื คน้ หลกั ฐานทสี่ ามารถนา� มาใชใ้ นการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ท้องถน่ิ ของตน แลว้ นา� มาจา� แนกวา่ เปน็ หลักฐานประเภทใด หลักฐานแสดงผลการเรียนรู ๔. ครพู านักเรียนไปทศั นศกึ ษาตามแหลง่ ขอ้ มูลในท้องถน่ิ เชน่ 1. การจําแนกประเภทของหลกั ฐานในการศกึ ษา วัด พิพิธภัณฑ์ เป็นตน้ จากนน้ั จดบนั ทกึ ขอ้ มูลที่ไดเ้ รยี นรู้ ประวตั คิ วามเปน มาของทอ งถน่ิ แล้วออกมารายงานที่หน้าชัน้ 2. รายงานประวตั คิ วามเปน มาของทองถิ่น 3. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ ประวตั ิศาสตร ป.4 (ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมขน้ึ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน) กิจกรรมรวบยอด ๑. รวบรวมภาพโบราณสถานหรือโบราณวตั ถุของทอ้ งถ่ินของ ตนเองมาติดลงในสมดุ พรอ้ มทง้ั เขยี นอธิบายเกยี่ วกบั รปู ภาพ ๒. แบง่ กลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มาของทอ้ งถนิ่ ของตน จากนั้นจัดท�าเป็นรายงาน แล้วส่งตัวแทนออกมา รายงานทห่ี นา้ ช้ัน ๒๗ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู 1. แนวตอบ ขอ ใดกลา วไมถูกตอ งเกยี่ วกบั หลักฐานทางประวัติศาสตร 1. หนังสอื กรุงเทพฯ มาจากไหน จดั เปนหลกั ฐานชน้ั ตน หลกั ฐานช้นั ตน หมายถงึ หลกั ฐานท่เี กิดขนึ้ ในชว งเวลาเดยี วกบั 2. แหลง โบราณคดีบา นเชียง จดั เปน หลกั ฐานชน้ั ตน เหตกุ ารณ เชน หนงั สอื พมิ พ รปู ถาย เปนตน 3. หลักฐานช้ันรองเปน หลกั ฐานทเ่ี ขยี นข้นึ ในภายหลัง 4. พงศาวดารเปน หลกั ฐานที่เปนลายลกั ษณอ ักษร หลกั ฐานชนั้ รอง หมายถงึ หลกั ฐานท่เี ขียนหรือรวบรวมขึ้นในภายหลงั วเิ คราะหค าํ ตอบ หนงั สอื กรงุ เทพฯ มาจากไหน จดั เปน หลกั ฐานชน้ั รอง เชน ตําราวชิ าการ หนังสือ เปน ตน เพราะเปนหลกั ฐานทีเ่ ขยี นข้ึนจากขอ มูลทสี่ ืบคน ไดในภายหลงั ดังน้นั 2. แนวตอบ หลักฐานช้ันตน เปน หลักฐานท่ใี ชอ างอิงกบั เหตุการณหรอื สมัย ขอ 1. เปนคําตอบทถ่ี ูกตอ ง ไดโดยตรง สว นหลักฐานช้นั รอง เปน หลกั ฐานทีใ่ ชอ างองิ กับเหตกุ ารณ โดยตองมีการตคี วามหรือวเิ คราะหข อเท็จจริงกอ นนาํ ไปใช 3.-4. แนวตอบ ขึน้ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของครผู ูสอน คูม อื ครู 27
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธิบายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Expore Explain Elaborate Evaluate Engaae Engage กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครสู นทนากับนักเรียนวา ในสมยั กอน òหนวยการเรยี นรูที่ ประวัตศิ าสตรเ ปน สมยั ทมี่ นษุ ยย งั ไมม ี ¡Òõé§Ñ ¶èÔ¹°Ò¹áÅо²Ñ ¹Ò¡Òà ตวั อกั ษรใช ดงั นน้ั ในการเลาเรอื่ งราวตา งๆ ¢Í§Á¹ÉØ Âã ¹´Ô¹á´¹ä·Â จึงใชวธิ วี าดภาพเพือ่ บอกเลาเรอื่ งราว ทเ่ี กดิ ขนึ้ 2. ใหนักเรียนดภู าพจากหนังสือ หนา 28 แลวชวยกันคาดเดาวาเปน ภาพอะไร 3. ครถู ามนักเรียนวา • นกั เรยี นอาศัยอยบู านทต่ี ั้งอยใู นปจจบุ ัน ตงั้ แตเ ม่ือใด และทราบไดอยางไร (แนวตอบ คาํ ตอบขึ้นอยูกบั นกั เรียน แตล ะคน เชน - มดตอบวา ตงั้ แตเ กดิ โดยดจู ากทะเบยี นบา น - แกมตอบวา ยายมาอยตู อนขึน้ ป.1 โดยทราบจากการสอบถามพอแม เปน ตน ) 4. ใหน กั เรยี นรว มกนั คาดเดาวา ชมุ ชนทเี่ ราอาศยั อยูมีคนมาตง้ั ถ่นิ ฐานตงั้ แตเ มอื่ ใด และทราบ ไดอ ยา งไร ซึ่งการตอบคาํ ถามนีน้ ักเรียนอาจใช การแสดงความคดิ เหน็ ในการตอบคาํ ถาม ๒เปา หมายการเรียนรู้ประจา� หน่วยท่ ี เมอ่ื เรยี นจบหนว่ ยน ้� ผเู้ รยี นจะมคี วามรคู้ วามสามารถตอ่ ไปน้� ๑. อธบิ ายการต้งั หลักแหลง่ และพัฒนาการของมนุษย์ ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ และยคุ ประวตั ศิ าสตร์โดยสงั เขป [มฐ. ส ๔.๒ ป.๔/๑] ๒. ยกตวั อยา่ งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ พี่ บในทอ้ งถนิ่ ท่ีแสดงพฒั นาการของมนุษยชาติในดนิ แดนไทย [มฐ. ส ๔.๒ ป.๔/๒] เกร็ดแนะครู ครูนําภาพหลักฐานทางประวตั ิศาสตร เชน หินขดั กาํ ไลโลหะ ภาพเขยี นสี ตามผนงั ถาํ้ เปน ตน มาใหน ักเรยี นดู แลว ใหน ักเรียนรวมกันแสดงความคิดเหน็ วา สิ่งท่ีอยใู นภาพเกย่ี วขอ งกับการศึกษาการตัง้ ถน่ิ ฐานทางประวัตศิ าสตรอยา งไร 28 คมู อื ครู
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Expore Explain Engaae Expand Evaluate เปาหมายการเรียนรู การตัง้ ถนิ่ ฐานและการดาํ รงชีวิต บทท่ี 1. อธบิ ายการต้งั หลักแหลงและพัฒนาการ ของมนษุ ยยุคกอนประวตั ศิ าสตรและ ñของมนษุ ยใ นดินแดนไทย ยคุ ประวัตศิ าสตรโ ดยสังเขปได (ส 4.2 ป.4/1) กจิ กรรมนาํ สกู ารเรียน 2. ยกตวั อยางหลักฐานทางประวตั ิศาสตรทีพ่ บ ในทองถิ่นทแ่ี สดงพฒั นาการของมนุษยชาติ ในดนิ แดนไทยได (ส 4.2 ป.4/2) สมรรถนะของผเู รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป ญหา คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเรยี นรู 2. มงุ มน่ั ในการทาํ งาน กระตนุ้ ความสนใจ Engage á¹Ç¤´Ô ÊÒí ¤ÞÑ ¹¡Ñ àÃÕ¹¤Ô´ÇÒ‹ 1. ใหน กั เรยี นจินตนาการวา ถา นกั เรียน à¾ÃÒÐà˵ãØ ´ ตอ งการต้งั บานเรอื น นักเรียนจะเลือก ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒà¡ÕèÂǡѺ¾Ñ²¹Ò¡ÒâͧÁ¹ÉØ ÂÊÁÑ¡‹Í¹ ¨Ö§ÁÕ¡Òõé§Ñ ¶¹èÔ °Ò¹ ต้ังบานเรอื นในสภาพแวดลอมอยา งไร »ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵ÷ Òí ãË·Œ ÃÒºÇÒ‹ ·¡Ø ÀÁÙ ÀÔ Ò¤ã¹´¹Ô á´¹ä·Â ã¹´¹Ô á´¹ä·Â เพราะเหตุใด ÁÕÁ¹ØɵéѧËÅÑ¡áËÅ‹§ÁÒ¹Ò¹áÅŒÇ «Öè§áµ‹ÅÐáË‹§ÁÕ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞäÁ‹àËÁ×͹¡Ñ¹ ¾Ñ²¹Ò¡ÒâͧªÁØ ª¹¢éÖ¹ÍÂÙ‹ ๒๙ 2. ครูต้งั ประเด็นคาํ ถามใหนักเรียนชว ยกันตอบ ¡Ñº»˜¨¨Ñµ‹Ò§æ ઋ¹ ÁÕ·èÕµÑ駷èÕ´Õ ÁÕ¤ÇÒÁÍØ´ÁÊÁºÙó • เพราะเหตใุ ด จงึ มกี ารตงั้ ถนิ่ ฐานในดนิ แดนไทย ÁÕ¡ÒõԴµ‹Í¡ÑºªÁØ ª¹ÀÒ¹͡ ¡ÒõԴµ‹Í¡ÑºªÁØ ª¹ (แนวตอบ เพราะดนิ แดนไทยมที รพั ยากรที่ ·Õèà¨ÃÔÞ¡Ç‹Ò‹ÍÁ·íÒãËŒÁÕ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞµ‹Ò§æ ࢌÒÁÒ´ŒÇ อดุ มสมบูรณ มแี มนํ้าทีใ่ ชในการดาํ รงชีวิต ªÁØ ª¹¡‹Í¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃËÅÒÂáË‹§ä´Œ¾Ñ²¹Òµ‹Íà¹×Íè § มีสภาพอากาศท่ีเหมาะสม จึงมีคนเขา มา ÁÒ¨¹µ§éÑ à»¹š ºÒŒ ¹àÁÍ× § Á¼Õ »ŒÙ ¡¤Ãͧ ÁÈÕ ÒÊ¹Ò ÁÀÕ ÒÉÒ ตงั้ ถ่นิ ฐานในดินแดนไทยมาชา นาน) áÅÐÁÕÇѲ¹¸ÃÃÁ «è֧ʋ§¼Åµ‹Í¾Ñ²¹Ò¡Òâͧä·Âã¹ ÊÁѵ‹ÍÁÒ¨¹¶§Ö »¨˜ ¨ØºÑ¹ เกรด็ แนะครู ครูจดั กระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรยี นปฏิบตั ิ ดังนี้ • อภิปรายเกยี่ วกับการตั้งถนิ่ ฐานและการดาํ รงชวี ิตของมนุษยใ นดินแดนไทย • คน ควา ขอ มลู เกยี่ วกบั การตงั้ ถน่ิ ฐานและการดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ยใ นดนิ แดนไทย • แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับการตัง้ ถน่ิ ฐานและการดํารงชีวิตของมนุษย ในดนิ แดนไทย • สรุปขอมลู เกี่ยวกบั การต้งั ถิน่ ฐานและการดาํ รงชีวติ ของมนษุ ยใ นดนิ แดนไทย จนเกิดเปน ความรคู วามเขาใจวา ดนิ แดนไทยมีมนุษยเขา มาต้ังถ่นิ ฐานอยู นานแลว และมีพฒั นาการมาอยา งตอเนอื่ งจนเปนชาตไิ ทยในปจจบุ นั คมู อื ครู 29
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Elaborate Evaluate Explore Explain สา� รวจคน้ หา Explore 1. ใหน กั เรียนรว มกนั สนทนาแสดงความคดิ เห็น ดินแดนไทยท่ัวทุกภูมิภาคเคยมีผู้คนอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัย วา มปี จจยั ใดบางทที่ ําใหคนเลือกตง้ั ถิน่ ฐาน หินเก่า มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้รวมกันตั้งหลักแหล่งถาวร ที่ใดที่หนงึ่ เมอ่ื เขา้ สสู่ มยั หนิ ใหม่ และมพี ฒั นาการตอ่ เนอ่ื งกนั มา ชมุ ชนโบราณ บางแหง่ มหี ลกั ฐานว่า เติบโตเป็นบ้านเมอื งและเจริญเป็นแควน้ เมื่อ 2. ใหน กั เรยี นอา นขอ มูลปจจัยในการต้ังถ่ินฐาน เข้าสู่สมัยประวัตศิ าสตร์ ปัจจัยทีท่ า� ใหช้ มุ ชนเหลา่ นี้มพี ฒั นาการคือ ของมนษุ ย และการตงั้ หลกั แหลง ของมนษุ ย มที �าเลทต่ี งั้ ท่ีดี มที รพั ยากร และมกี ารตดิ ต่อกบั ภายนอก ท�าใหร้ ับ สมยั กอนประวตั ิศาสตรในดินแดนไทย วฒั นธรรมทม่ี ีความเจรญิ กว่าเข้ามาปรบั ใช้ จากหนงั สือ หนา 30-36 เพอ่ื นาํ มาสนทนา แลกเปลี่ยนความรูระหวางกนั ในหอ งเรยี น ๑. ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ การตั้งถนิ่ ฐานของมนษุ ย์ 3. ใหน กั เรยี นลองคาดเดาดวู า ในดนิ แดนไทย มมี นุษยอ าศยั อยูต ้ังแตเ ม่ือใด เพราะเหตใุ ด จงึ คิดเชนนัน้ อธบิ ายความรู้ Explain การตั้งถ่ินฐานและการด�ารงชีวิตของผู้คนในแต่ละช่วงเวลามี 1. ใหน กั เรียนแบง กลุม กลมุ ละ 5-6 คน ความแตกตา่ งกัน ในอดตี การเลือกท่ตี ้ังถน่ิ ฐานของมนษุ ยข์ ้นึ อยู่กับ ใหแตละกลมุ แสดงบทบาทสมมตุ ิเปน มนุษย สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เพราะการด�ารงชีวิตของคนในอดีต ในสมัยกอ นประวตั ิศาสตร แสดงวธิ กี ารเลอื ก ขน้ึ อยกู่ บั ธรรมชาตเิ ปน็ หลกั โดยมนษุ ย์ในสมยั หนิ ดา� รงชวี ติ ดว้ ยการ ตง้ั ถิน่ ฐาน การดาํ รงชวี ติ แลวใหเพื่อนๆ เก็บหาของปา ลา่ สตั ว์มาเปน็ อาหาร จึงมชี ีวิตอยูอ่ ยา่ งเรร่ ่อนไปตาม ชวยกนั ตรวจสอบวา เปน การแสดงท่ีถกู ตอ ง ปา เขาซง่ึ เป็นแหลง่ อาหาร และอาศยั อยตู่ ามถา้� ตามเพิงผา ซ่ึงอยู่ หรอื ไม เพราะอะไร ในท่ีสูงเพอ่ื ปอ งกันอันตรายจากสัตวป์ า 1 2. ใหนกั เรียนรวมกนั ตอบคาํ ถามท่ีกาํ หนดให ภาพเขยี นสี พบทผ่ี าแต้ม จงั หวัดอบุ ลราชธาน� เชน • มนุษยในสมยั หินมกั อาศยั อยูในบริเวณใด (แนวตอบ ในถ้ําและเพงิ ผา เพอื่ ปองกัน อนั ตรายจากสตั วราย) • การตั้งถนิ่ ฐานของมนุษยใ นยคุ แรกๆ ขนึ้ อยูก บั ส่งิ ใด (แนวตอบ สภาพแวดลอมทางภมู ิศาสตร เชน อาศยั อยใู กลแหลง อาหาร อาศยั อยูใ นถํา้ เพื่อปองกนั สัตวรา ย เปน ตน ) เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT อะไรคอื ปจ จัยสําคญั ท่ีมนุษยในอดีตเลอื กตั้งถ่นิ ฐานอยตู ามแหลงนํา้ ครูอธบิ ายใหน กั เรียนเขา ใจวา ปจ จยั ความสมบูรณของท่ดี นิ แหลงนํา้ แนวตอบ เพราะมนษุ ยใ นอดตี ตอ งอาศยั แหลง นาํ้ ในการดาํ รงชวี ติ เชน ทรพั ยากรธรรมชาติ เปน ปจ จยั สาํ คญั ทด่ี งึ ดดู ใหผ คู นเขา มาตง้ั ถนิ่ ฐานในบรเิ วณนนั้ ใชในการดื่มกนิ อาบ ชําระลา ง ใชในการหาอาหารประเภท กงุ หอย ปู ขณะเดียวกันการทผ่ี คู นเขา มาอยูร วมกันเปน หมมู าก ทาํ ใหชุมชนจาํ เปนตองสรา ง ปลา ใชใ นการเกษตร และใชในการเดินทาง เปน ตน ระเบยี บ กฎเกณฑต างๆ ขึ้นมา เพ่อื ทาํ ใหก ารอยรู วมกันเปนไปอยางปกตสิ ขุ ตวั อยางเชน การมตี าํ แหนงผูนาํ การลงโทษผูกระทําความผิด เปน ตน นกั เรยี นควรรู 1 ผาแตม มีพนื้ ท่ีประมาณ 140 ตารางกโิ ลเมตร อยูในเขตอําเภอโขงเจียม อาํ เภอศรีเมืองใหม และอาํ เภอโพธไ์ิ ทร ไดรบั การประกาศเปน อุทยานแหงชาติ เมอ่ื วันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 มีสถานท่นี าสนใจทางประวัติศาสตร เชน เสาเฉลยี ง ลายหินแตก ภาพเขยี นสียุคกอ นประวัตศิ าสตร เปนตน 30 คมู อื ครู
กระต้นุ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู้ ต่อมามนษุ ย์ร้จู ักการนา� พันธข์ุ ้าวปา มาเพาะปลกู น�าสัตวป์ ามา 1. ครตู งั้ ประเดน็ คาํ ถามใหน กั เรยี นชว ยกนั ตอบ เชน เลย้ี งเพอื่ ใชแ้ รงงาน เพอื่ ใชเ้ ปน็ อาหาร และเปน็ สตั วเ์ ลยี้ ง การเพาะปลกู • มนษุ ยสมยั กอ นประวตั ศิ าสตรมพี ัฒนาการ ท�าให้มนุษย์ต้องสร้างที่พักอาศัยเพื่อรอคอยผลผลิต ท�าให้เร่ิมอยู่ ดา นชีวิตความเปนอยมู าโดยตลอดหรือไม เป็นหลักแหล่งและอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยเร่ิมสร้างท่ีพักอยู่ ทราบไดอยางไร ตรงบริเวณทร่ี าบ ใกลก้ ับแหลง่ น้�า จงึ คน้ พบรอ่ งรอยการต้งั ถนิ่ ฐาน (แนวตอบ มนุษยในสมัยกอ นประวตั ศิ าสตร ของชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บริเวณริมน้�าท้ังแม่น้�าและทะเล มพี ัฒนาการดานชีวิตความเปนอยูมาโดย ในหลายพ้นื ที่ในดนิ แดนไทย ตลอด ซงึ่ เหน็ ไดจ ากรองรอยการตงั้ ถนิ่ ฐาน การตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งท�าให้มนุษย์ รองรอยการพัฒนาเคร่ืองมอื เครือ่ งใช มีการพัฒนาในด้านชีวิตความเป็นอยู่ กล่าวคือ ท่ีขดุ คนพบในทตี่ า งๆ เปน ตน ) ช่วงเวลาหลายเดือนที่ต้องรอคอยผลผลิตทาง • เพราะเหตุใด มนษุ ยใ นสมยั หินใหมจงึ ตั้ง การเกษตร มนุษย์จึงได้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ถิ่นฐานอยูเปนหลักแหลง เช่น ท�าเครื่องปันดินเผาไว้ใช้งาน ท�าอาวุธไว้ (แนวตอบ เพราะมนษุ ยส มยั นเ้ี รม่ิ รจู กั เพาะปลกู ล่าสัตว์และทอผ้าไว้ใช้ เม่ือได้ผลผลิตก็น�าไป จึงตอ งต้ังถิน่ ฐานเปนหลักแหลงเพ่ือรอคอย แลกเปล่ียนกับชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง ชุมชนท่ีอยู่ ผลผลิต) ในบริเวณท่ีอุดมสมบูรณ์ก็มีความมั่งค่ังข้ึนและ • มนษุ ยใ นสมัยหนิ ใหมเ ลือกตง้ั ถิ่นฐาน พฒั นาเปน็ บา้ นเมอื ง การตง้ั ชมุ ชนอยรู่ มิ นา�้ กเ็ ปน็ ▲ เครือ่ งมอื เหลก็ 1 ใกลแ หลงน้าํ เพราะเหตุใด พบทเี่ นนิ อโุ ลก (แนวตอบ เพอื่ สะดวกในการนาํ นา้ํ มาใชใ น จังหวดั นครราชสีมา การเพาะปลกู และใชดํารงชีวติ ) • การทีม่ นษุ ยเ ร่ิมรูจักต้งั ถน่ิ ฐานเปน ส่วนส�าคัญท่ีท�าให้ชุมชนใกล้น�้ามีพัฒนาการมากกว่าชุมชนท่ีอยู่ หลักแหลง ทําใหเกดิ ผลดีอยา งไร หา่ งไกลแหลง่ นา้� เพราะมคี วามอดุ มสมบรู ณ์ และตดิ ตอ่ กบั ชมุ ชนอนื่ (แนวตอบ ทําใหม นุษยร จู กั สรางเคร่ืองมือ เครื่องใช มกี ารตดิ ตอ กับชมุ ชนอน่ื และรจู ัก พฒั นาชุมชนของตนใหเจรญิ รุงเรือง) 2. ใหน ักเรยี นเขยี นสรุปปจ จยั ทีม่ ีผลตอ การต้งั ถนิ่ ฐานของมนษุ ยล งในสมดุ แลว นาํ เสนอหนา ชนั้ ไดส้ ะดวก โดยเฉพาะการตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ชมุ ชนภายนอก เชน่ ตดิ ตอ่ ค้าขายกับชุมชนพนื้ เมอื งอื่นๆ ตดิ ตอ่ คา้ ขายกับพอ่ คา้ ต่างชาติ ¶ÒŒ à¾Íè× ¹æ µŒÍ§ãªŒªÇÕ ÔµÍÂÙ‹ã¹Âؤ¡‹Í¹»ÃÐÇµÑ ÈÔ Òʵà à¾×Íè ¹æ ¨Ð»ÃдÔÉ°à¤Ã×èͧÁ×Íà¤Ã×èͧ㪌Ẻã´ã¹¡ÒôíÒçªÕÇÔµ áÅÐà¾ÃÒÐÍÐäè֧»ÃдÔÉ°à ¤Ã×èͧ㪌¹Ñ¹é ¢Öé¹ÁÒ¤ÃѺ ๓๑ ขอ สแอนบลวเดนหรอืนเพO�ิมกขภน-าาูผดNตารามคเEหมิดTาะสม เกร็ดแนะครู ขอ ใดไมใชเ หตผุ ลหลกั ของการตั้งบานเรอื นใกลแมน า้ํ ของคนในอดตี ครูควรอธิบายใหน ักเรยี นเขาใจวา ชมุ ชนท่ีมกี ารติดตอ สมั พนั ธกบั ชมุ ชนอืน่ ๆ 1. เดินทางสะดวก จะทําใหไดรบั วัฒนธรรม วทิ ยาการ เขามาผสมผสานกับความรูและวฒั นธรรม 2. มีความปลอดภยั ด้ังเดิมของชุมชน ทําใหชุมชนมพี ฒั นาการเจรญิ กาวหนา ไดอ ยางรวดเรว็ เพราะได 3. ติดตอ กับชุมชนอ่ืนไดงาย เห็นแบบอยางที่ดี ซึ่งตา งจากชุมชนท่ตี ง้ั อยอู ยางโดดเด่ียว ดว ยเหตนุ ้ชี มุ ชนท่เี ปน 4. มคี วามสะดวกในการใชน้าํ ศนู ยกลางการคาจึงมคี วามเจริญกา วหนา และขยายตัวอยางรวดเร็ว วเิ คราะหคําตอบ คนในอดีตมักตงั้ บานเรือนอยใู กลแ มน ํา้ เพราะใชใน การเดินทางไดส ะดวก ติดตอ กับชุมชนอืน่ ไดงา ย และมคี วามสะดวกใน นักเรยี นควรรู การใชนา้ํ เพอื่ อปุ โภคบรโิ ภค สว นความปลอดภยั ไมใ ชเ หตผุ ลของการตง้ั บา นเรอื นใกลแ มน า้ํ ของคนในอดตี ดงั นนั้ ขอ 2. เปน คาํ ตอบทถี่ กู ตอ ง 1 เนนิ อโุ ลก เปน แหลง โบราณคดกี อ นประวตั ศิ าสตรท สี่ าํ คญั แหง หนงึ่ ของไทย อยทู จ่ี งั หวดั นครราชสมี า มอี ายรุ ะหวา ง 2,400-1,500 ปก อ น จากหลกั ฐานพบวา พนื้ ทบี่ รเิ วณนมี้ กี ารตงั้ ถนิ่ ฐานและการใชพ นื้ ทนี่ มี้ าอยา งตอ เนอื่ งโดยกลมุ ชนเดยี วกนั ตลอดระยะเวลายาวนานถงึ 900 ป คูมอื ครู 31
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ครตู ั้งประเดน็ คาํ ถามใหน กั เรยี นชวยกันตอบ ชุมชนพื้นเมืองได้มีการแลกเปล่ียนค้าขายกับพ่อค้าต่างแดน เชน และรบั วัฒนธรรมบางอย่างมา เช่น ความเช่ือทางศาสนาพราหมณ์ พระพุทธศาสนา ภาษาเขียน รูปแบบการปกครองท่ีมีกษัตริย์ทรง • หลกั ฐานสาํ คัญทีบ่ งบอกใหเรารูว า เป็นผู้นา� ซ่ึงรบั มาจากอนิ เดยี มอญ เขมรโบราณ ทา� ให้หลายชุมชน ในดินแดนตา งๆ ของไทยไดม ีการต้ัง แสมละยั เกปอ่ ็นนแปครวะน้ วทตั ศม่ีิ ากี สษตตั รร์ใยิน1เ์ดปนิ ็นแผดู้ปนกไคทรยอพงฒั นาเปน็ บา้ นเมอื งท่ีใหญข่ นึ้ ถ่ินฐานอาศยั อยขู องมนษุ ยในสมัยตา งๆ คืออะไร ๒. การตงั้ หลกั แหล่งของมนษุ ย์สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ (แนวตอบ เคร่อื งมือเครือ่ งใชท ่ีขดุ คน พบ ในดนิ แดนไทย เชน เครื่องมอื หนิ กะเทาะท่ีคน พบท่จี ังหวัด หลักฐานการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์และ เชยี งใหม เปนหลกั ฐานแสดงวา ดนิ แดน สมัยประวัติศาสตร์พบกระจายอยู่ท่ัวทุกภาคในดินแดนไทย แสดง บริเวณจงั หวดั เชียงใหม เคยมมี นษุ ยสมัย ใหเ้ หน็ วา่ ดนิ แดนไทยทกุ ภมู ภิ าคมมี นษุ ยอ์ าศยั อยมู่ านานหลายพนั ปี หินเกา ตงั้ ถ่นิ ฐานอาศยั อยมู ากอน ปลองแขน และอยตู่ อ่ เนอ่ื งกนั มาโดยตลอด บางชมุ ชนพฒั นาการเปน็ บา้ นเมอื ง สํารดิ ที่พบทบี่ านเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี เปน มนุษย์ท่ีตั้งถ่ินฐานในช่วงเวลาต่างๆ ได้ส่ังสมความเจริญ ซึ่งส่งผล หลกั ฐานแสดงวา ดนิ แดนบริเวณบานเชียง ตอ่ พฒั นาการไทยสมยั ต่อมา จงั หวัดอดุ รธานี เคยมีมนุษยส มยั สาํ ริด ๒.๑ แหลง่ ชุมชนสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ในดินแดนไทย ตั้งถนิ่ ฐานอาศยั อยมู ากอน เปน ตน ) ๑) ชุมชนสมัยหินเก่า มนุษย์ • ถามกี ารขุดพบโครงกระดกู มนุษยโ บราณ ในสมัยหินเก่าอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ และสง่ิ ของเคร่ืองใชตา งๆ ที่ทําจากสําริด เปน จํานวนมาก เชน ขวานสาํ รดิ ใบหอก สาํ รดิ เปนตน นักเรยี นคดิ วา เปน หลกั ฐาน ในยคุ ใด (แนวตอบ เปน หลักฐานในยคุ กอน ประวตั ิศาสตร สมัยสาํ รดิ เพราะพบ หลกั ฐานมากมายเกีย่ วกบั เครื่องมอื เครือ่ งใช ที่ทาํ จากสาํ ริด) ไมม่ กี ารตัง้ หลักแหลง่ ทแ่ี นน่ อน แตอ่ าศยั อยู่ตามถ�้า เพิงผา ใช้หินเป็นเคร่ืองมือ หลักฐานของมนุษย์สมัยหินเก่าพบอยู่ทั่ว ทกุ ภาคในดนิ แดนไทย ตัวอย่างหลกั ฐาน ▲ เครือ่ งมือหนิ กะเทาะ พบท่ีจังหวดั ของมนุษยส์ มยั หนิ เก่า เช่น เชยี งใหม่ ๓๒ เกร็ดแนะครู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEิดT ถามีการขุดพบหลกั ฐานทางประวัติศาสตรในชมุ ชน คอื เครอ่ื งมอื ครแู นะนาํ ใหนักเรยี นเขาใจวา การทม่ี นุษยน าํ หนิ มาสรางเปน เครอ่ื งมือ หนิ กะเทาะเปน จํานวนมาก สนั นิษฐานไดว าบรเิ วณชมุ ชนนเี้ คยมมี นษุ ย เคร่ืองใช อาวธุ เครอื่ งประดบั ตกแตง กอนวัสดอุ น่ื ๆ เพราะเปนวสั ดทุ ่ีหา ตัง้ ถ่ินฐานอยูตัง้ แตส มัยใด ไดง ายรอบตวั มคี วามแขง็ แรงทนทาน รวมท้งั ไมเ สียเวลาปรับแตงมาก 1. สมัยหนิ เกา 2. สมัยหนิ ใหม นักเรยี นควรรู 3. สมัยสํารดิ 4. สมัยเหลก็ 1 กษตั รยิ เปน คาํ ในภาษาสนั สกฤต สว นภาษาบาลี ใชค ําวา “ขตั ติยะ” วิเคราะหค าํ ตอบ บริเวณชมุ ชนน้ีมผี คู นตง้ั ถ่นิ ฐานอยตู ัง้ แตสมยั หนิ เกา หมายถึง นกั รบหรอื นกั ปกครอง แนวคิดเกี่ยวกบั เรอ่ื งกษตั รยิ เ ปนผูนําของแควน เพราะเคร่อื งมือหินกะเทาะเกิดข้ึนในสมยั หินเกา ดงั นั้น ขอ 1. เมอื ง ไดร ับอทิ ธิพลมาจากอนิ เดยี ผา นทางศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดู เปนคําตอบท่ถี ูกตอ ง 32 คูมือครู
กระตนุ้ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ภาคเหนือ พบเคร่ืองมือหินท่ีเป็นเคร่ืองมือขุด สับ 1. ครสู นทนาพดู คยุ กบั นกั เรยี นวา ในดนิ แดนไทย บรเิ วณริมแม่น้า� โขง เขตอ�าเภอเชยี งแสน จังหวดั เชียงราย ค้นพบ เคยเปนทอ่ี ยูอาศัยของมนุษยม าตง้ั แตสมยั กระดูกสัตว์ ซากพชื และเมล็ดพืช เช่น ข้าว หมาก ถัว่ ชนิดตา่ งๆ กอนประวัติศาสตร ซ่งึ มหี ลักฐานปรากฏอยู ที่ถ้�าผีแมน อ�าเภอปางมะผ้า และถ้�าปุงฮุง อ�าเภอเมือง จังหวัด ท่วั ไปในภมู ภิ าคตา งๆ ของประเทศไทย แมฮ่ ่องสอน ภาคกลาง พบเครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ1ทบี่ า้ นเกา่ ตา� บล จากน้นั ครูใหนักเรียนชวยกนั ยกตัวอยา ง จระเข้เผอื ก อา� เภอเมอื ง จังหวดั กาญจนบรุ ี พบโครงกระดูกมนุษย์ หลกั ฐานทขี่ ุดคน พบ สมัยหินท่ถี ้�าพระ เขตอา� เภอไทรโยค จังหวดั กาญจนบรุ ี ซ่งึ แสดงถึง การมพี ธิ กี รรมในการฝงั ศพ เพราะมแี ผน่ หนิ วางทบั ลา� ตวั มดี นิ สแี ดง 2. ใหนกั เรียนแบง กลุม ใหแตละกลมุ เขียนแผนท่ี โรยท่ศี รี ษะและหน้าอก ประเทศไทย พรอ มทงั้ เขยี นบอกตาํ แหนงท่พี บ หลกั ฐานการตั้งหลกั แหลง ของมนษุ ยใ นสมัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบเครื่องมือหินในเขต กอนประวตั ิศาสตร กลมุ ละ 1 สมยั โดยใช อา� เภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย และทอี่ า� เภอดอนตาล จงั หวดั มกุ ดาหาร ขอ มูลจากหนงั สอื หนา 32-36 ภาคใต้ ค้นพบเครื่องมือหินท่ีถ้�าหลังโรงเรียนบ้าน 3. ใหนักเรยี นแตละกลมุ สง ตวั แทนออกมา ทับปลิก จังหวดั กระบ่ี และทจี่ งั หวัดพงั งา จังหวัดนครศรีธรรมราช นาํ เสนอผลงานหลกั ฐานการตัง้ หลกั แหลง ของมนษุ ยในสมัยกอ นประวตั ิศาสตร 4. ครตู ง้ั คาํ ถามและใหน ักเรียนชวยกันตอบ • หลกั ฐานสวนใหญทแ่ี สดงถงึ การต้ังถน่ิ ฐาน ของมนษุ ยในสมยั หนิ เกาคืออะไร (แนวตอบ เครอื่ งมือหนิ ) • เพราะเหตุใด จงึ ไมพบเคร่อื งมือที่ทาํ จาก โลหะในสมยั หนิ เกา (แนวตอบ เพราะคนในสมยั นน้ั ยังไมมคี วามรู เรอื่ งการถลุงและหลอมโลหะ จึงไมส ามารถ ทาํ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชท ่ีทาํ จากโลหะ) ▲ โครงกระดกู มนษุ ย์สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ พบทบ่ี รเิ วณบา้ นเกา่ จังหวัดกาญจนบรุ ี ๓๓ บรู ณาการเชอ่ื มสาระ นักเรยี นควรรู ครบู รู ณาการความรใู นสาระสงั คมศกึ ษาฯ วชิ าประวตั ศิ าสตรก บั สาระศลิ ปะ 1 เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ เกิดขึ้นจากมนษุ ยในสมัยหินนําเศษหนิ มากะเทาะกัน วิชาทศั นศิลป เรื่องการวาดภาพ โดยใหนักเรียนนาํ ความรเู รอ่ื งการวาดภาพ ใหเกิดรอยแตกทมี่ คี วามคม แลว นํามาทาํ เปน เครอื่ งมือใชส อยหรืออาวุธ ท่ถี กู ตอ ง เพ่ือนาํ มาใชในการวาดภาพแผนทีป่ ระเทศไทย พรอมใหขอมลู ทาง โดยเครอื่ งมือหนิ ในยคุ แรกๆ จะเปน เครอื่ งมอื หินกะเทาะหนาเดยี วอยางหยาบๆ ประวัตศิ าสตรทถี่ กู ตองและเหมาะสม ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT การคน พบเคร่ืองมือหินอยทู ว่ั ทุกภาคของประเทศไทยสามารถสรุปผลได วา อยา งไร แนวตอบ ดินแดนไทยเปนดนิ แดนเกาแกแ หงหนงึ่ ซ่ึงมีมนุษยอาศัยอยู อยางตอเนอ่ื งมาตงั้ แตครงั้ สมยั โบราณ คมู ือครู 33
กระตุ้นความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Elaborate Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ใหน กั เรยี นชว ยกันตอบคาํ ถามเกี่ยวกบั ชมุ ชน ๒) ชุมชนสมัยหนิ ใหม่ มนษุ ย์ในสมัยหนิ ใหมเ่ ริ่มรจู้ กั ตง้ั สมยั หนิ ใหม บ้านเรือนอยูต่ ามรมิ แม่น้า� ท่นี า้� ท่วมไมถ่ งึ หรอื ใกลเ้ ชิงเขา รจู้ ักการ • การพบเครือ่ งมือหนิ ขดั ทําใหส ันนษิ ฐาน เล้ียงสตั ว์ เพาะปลูก ทอผ้า มีพธิ ีกรรมการฝงั ศพ เชน่ ฝังเคร่ืองใช้ วา เคร่อื งมือนเี้ กดิ ขน้ึ ในชวงสมยั หินใหม และเครือ่ งประดบั ลงไปด้วย มเี คร่ืองมือหนิ ท่ีไดข้ ดั จนคม มกี ารทา� เพราะเหตใุ ด เคร่ืองประดับต่างๆ เช่น ก�าไล ตุ้มหู ท�าเคร่ืองปันดินเผาท่ีมีลาย (แนวตอบ เพราะสมัยหนิ ใหม มนษุ ยรูจักนาํ เขียนสี มรี ูปรา่ งต่างๆ และวาดภาพตามผนงั ถา�้ ตวั อยา่ งหลกั ฐาน หนิ มาขดั จนคม เพอื่ ทาํ เครอ่ื งมอื หรอื อาวธุ ) ของมนษุ ย์สมัยหนิ ใหม่ เช่น • การขดุ พบเนินหอยทบ่ี า นโคกพนมดี ทําให ภาคเหนอื ค้นพบเครื่องมอื หนิ ท่ีแสดงว่า มนุษย์อยู่ สนั นิษฐานไดว า อยา งไร ต่อเน่ืองกันมาต้ังแต่สมัยหินเก่าที่ลุ่มแม่น้�าเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน (แนวตอบ มนุษยใ นสมัยน้นั รูจักนําอาหาร เชียงใหม่ ลา� ปาง น่าน เปน็ ตน้ ทะเลมาประกอบอาหารรับประทาน) ภาคกลาง ได้ค้นพบเคร่ืองมือหิน เครื่องปันดินเผา • การดํารงชีวติ ของมนุษยสมัยหินใหม เคร่ืองประดบั ทีบ่ ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี ทถ่ี า�้ พระ ในเขตอ�าเภอ มักจะมีลักษณะอยา งไร ไทรโยค จงั หวดั กาญจนบุรี และบริเวณรมิ แม่น้�าแควน้อย แควใหญ่ (แนวตอบ มนษุ ยในสมยั หนิ ใหมเ ร่มิ รูจ กั จงั หวดั กาญจนบรุ ี พบรอ่ งรอยการตงั้ ชมุ ชนและขดุ พบเนนิ หอยทบี่ า้ น ตั้งบา นเรอื นอยูต ามริมแมนาํ้ ทนี่ า้ํ ทวม โคกพนมดี อา� เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี แสดงวา่ มนษุ ย์ในสมยั น้ี ไมถ งึ หรือใกลเ ชงิ เขา เพ่อื ความสะดวก รู้จักการนา� อาหารทะเลมารบั ประทาน และปลอดภัยในการดาํ รงชีวติ รจู กั เล้ยี งสตั ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ค้นพบหลักฐานในการ เพาะปลูกพชื เปนอาหาร ทอผาใชเ อง และใชเ ครื่องมือหนิ ทข่ี ัดจนคม เปน ตน ) 2. ครอู ธบิ ายขอ มลู เก่ียวกับชุมชนสมยั หินใหม เพิ่มเตมิ จากหนังสอื เชน บานเกา จงั หวดั กาญจนบรุ ี โคกพนมดี จงั หวัดชลบุรี โนนนกทา จงั หวัดขอนแกน เปน ตน เพาะปลกู เลี้ยงสตั ว์ ท�าภาชนะดินเผา และทอผ้าในหลายพื้นที่ เช่น ทบี่ า้ นเชียง อ�าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ภาคใต ้ พบภาชนะ หมอ้ ๓ ขา1 ขวานหนิ ขดั ทจ่ี งั หวดั กระบ่ีและพังงา ▲ เบ็ดตกปลาท�าจากกระดูกสัตว์ และขวานหิน ๓4 พบที่โคกพนมดี จังหวดั ชลบรุ ี นกั เรยี นควรรู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ถานักเรียนขดุ พบหลกั ฐานสมัยหนิ ใหมใ นชมุ ชน ควรปฏิบัตอิ ยางไร 1 หมอ 3 ขา เปน เครื่องปนดนิ เผาท่มี ขี ารองรับ 3 ขา ขามีลกั ษณะ 1. นํามาเกบ็ รักษาที่บา น เปน รูปกรวย กลวง ปลายเรียวเลก็ แหลม ขาติดอยูกับสวนกน ของหมอ 2. นาํ ไปจดั นิทรรศการทีบ่ า น 3. นาํ ไปขายใหห นวยงานของรัฐ มุม IT 4. แจงเจา หนาท่ีใหมาตรวจสอบ วิเคราะหค าํ ตอบ หลักฐานสมัยโบราณเปนส่งิ ที่มคี ณุ คา ตอสว นรวม ครสู บื คน ขอมูลเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั ชมุ ชนหินใหม ไดจ ากเวบ็ ไซต ดังน้ัน จึงไมค วรเกบ็ มาเปนของตนเอง หรอื นาํ ไปขาย แตควรแจง www.prapayneethai.com เปน ตน เจา หนาท่ใี หมาตรวจสอบ ดงั นั้น ขอ 4. เปน คาํ ตอบที่ถกู ตอ ง 34 คมู อื ครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Expand Evaluate Explain Explain อธบิ ายความรู้ ๓) ชุมชนสมัยส�าริด มนุษย์สมัยส�าริดมีพัฒนาการที่ 1. ครูซกั ถามนักเรียนเกย่ี วกบั ชมุ ชนสมัยสําริด ต่อเน่ืองจากสมัยหินใหม่ แต่มีความก้าวหน้าด้านการน�าโลหะ คือ และสมัยเหลก็ วา สา� ริด มาทา� เครื่องมือเครอื่ งใช้ เชน่ ขวาน มีด หอก หม้อ ขัน กา� ไล • สาํ รดิ คอื อะไร เป็นต้น ตัวอย่างแหล่งชมุ ชนสมยั สา� ริดในดนิ แดนไทย เช่น (ตอบ สาํ รดิ คอื โลหะทม่ี สี ว นผสมของ ภาคเหนือ พบเคร่ืองมือเคร่ืองใช้สมัยส�าริดในเขต ทองแดงและดบี กุ ) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน เชยี งราย เชียงใหม่ นา่ น เปน็ ต้น หลกั ฐานท่ี • การพบหลกั ฐานในสมัยสาํ ริดในทุกภาคของ พบแสดงวา่ เปน็ ชมุ ชนทที่ า� การเพาะปลกู เลยี้ งสตั ว์ และมกี ารตดิ ตอ่ ดินแดนไทย ทําใหท ราบขอ มลู ใดบา ง กับชมุ ชนภายนอก (แนวตอบ ดนิ แดนไทยมีการต้ังถ่นิ ฐาน ภาคกลาง พบร่องรอยชุมชนสมัยส�าริดที่บ้านเก่า ของมนุษยใ นอดีตมาอยา งตอเนอ่ื ง และ และบ้านดอนตาเพชร อ�าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี บ้าน มีพฒั นาการในดา นตา งๆ เชน เครื่องมอื โคกพนมดี จังหวดั ชลบรุ ี และทีจ่ ังหวัดลพบรุ ี เครื่องใชท ่ที าํ จากสําริด เปนตน ) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค้นพบหลักฐานที่ใช้ใน • การใชเครอื่ งมือท่ที าํ จากเหลก็ ทาํ ใหท ํางาน การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ท�าภาชนะ ไดด กี วาเคร่ืองมอื ท่ีทําจากหินและสํารดิ ดนิ เผา ทอผ้า โดยพบใยของผ้าท่ีท�า เพราะเหตใุ ด จากใยกญั ชา และการทา� สา� รดิ ในหลาย (แนวตอบ เพราะเหลก็ มีความแข็งแรงทนทาน พน้ื ท่ีเชน่ ทบ่ี า้ นเชยี งอา� เภอหนองหาน กวาหนิ และสาํ รดิ จึงทําใหเครื่องมอื ท่ีทาํ จาก บา้ นนาดี จงั หวดั อดุ รธานี บา้ นโนนนกทา เหล็กใชง านไดดกี วา ) อา� เภอภูเวยี ง จงั หวดั ขอนแก่น • เพราะเหตุใด ชุมชนสมยั เหล็กจงึ เปน ชุมชน ▲ ปล้องแขนส�าริด พบท่ีบา้ นเชียง เกษตรขนาดใหญ จงั หวัดอุดรธานี (แนวตอบ เพราะมนุษยสมยั น้นั นาํ เหลก็ มาใช ภาคใต้ พบร่องรอย ทาํ เครือ่ งมอื ท่ีชวยในการถางปา เพอื่ ขยาย ของชมุ ชนบริเวณอา่ วริมทะเล ทกีจ่ลังอหงมวดัโหสรงะขทลึกา1ทกี่คระลบ้ายี่ พกังับงชาุมเปชน็นอตื่นน้ เปน พ้ืนท่ีเพาะปลูกไดง า ย จงึ ทําใหมพี ื้นที่ พบขวานหินขัด หม้อดินเผา เกษตรเพ่ิมขนึ้ และนําเครอ่ื งมือเกษตร จากเหลก็ มาใชท าํ การเกษตร ทาํ ให ทําการเกษตรไดงายขนึ้ ) 2. ใหน กั เรยี นรว มกนั สรุปลกั ษณะของชุมชนใน แตล ะสมยั โดยเขยี นลงในสมุด แลว นําเสนอ หนา ชัน้ นอกดนิ แดนไทย แสดงให้เหน็ ว่ามกี ารตดิ ต่อกบั ต่างชมุ ชนกันแล้ว ๓๕ กิจกรรมทาทาย นกั เรียนควรรู ใหนักเรยี นสบื คน ขอ มลู เกี่ยวกบั หลักฐานท่แี สดงการตงั้ ถิน่ ฐานของ 1 กลองมโหระทกึ เปนกลองชนดิ หนึง่ ทําดว ยโลหะ เปน กลองหนาเดยี ว มนษุ ยสมยั สําริดในภาคตา งๆ ของประเทศไทย 1-2 หลกั ฐาน แลว เขียน รูปทรงกระบอก ตรงกลางคอดเลก็ นอ ย มหี ลายขนาด สว นฐานกลางมหี หู ลอ ตดิ อธิบายขอมูล พรอมวาดภาพหรือติดภาพประกอบ จากน้นั ออกมานาํ เสนอ ขา งตวั กลอง 2 คู สาํ หรบั รอ ยเชอื กหามหรอื แขวนกบั หลัง ทหี่ นากลองเปน ผลงานหนาชัน้ แผน เรียบ มีลวดลายท่บี งบอกถงึ ความอุดมสมบรู ณ เชน ลายปลา ลายคลื่นน้าํ หรือมีประติมากรรมรูปกบประดบั ตามมมุ ซึง่ เปน สญั ลักษณข องนาํ้ หรือฝน มมุ IT นกั เรยี นดขู อมูลแหลงโบราณคดีบา นเชียง ไดท ี่ http://www.thaiwhic.go.th ซ่งึ เปน เวบ็ ไซตข องศูนยขอมลู มรดกโลก คมู อื ครู 35
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Expand Evaluate Expand ขยายความเขา้ ใจ 1. ใหนักเรียนรว มกันอภปิ รายวา เพราะเหตใุ ด ๔) ชุมชนสมัยเหล็ก ชุมชนสมัยเหล็กเป็นชุมชนเกษตร มนษุ ยจึงตัง้ ถิน่ ฐานกระจายอยูตามภาคตา งๆ ของประเทศไทย แลวสรปุ ผลลงในสมุด ขนาดใหญ่ เพราะการรูจ้ ักน�าเหลก็ มาหลอมเปน็ เครอ่ื งใช้ซึ่งมีความ ทนทาน ทา� ใหก้ ารหกั รา้ งถางปา เพอ่ื ขยายพนื้ ทเี่ พาะปลกู งา่ ยขน้ึ และ 2. ใหน กั เรยี นสรปุ วา หลกั ฐานทพ่ี บในดนิ แดนไทย มากขึ้น ตวั อยา่ งชมุ ชนสมัยเหล็กในดนิ แดนไทย เช่น มคี วามสําคญั อยา งไรตอการศกึ ษาเรื่องการตง้ั ถนิ่ ฐานในดินแดนไทย โดยทําลงในสมดุ ภาคเหนือ พบเคร่ืองมือเหลก็ และโครงกระดกู มนษุ ย์ สมยั เหลก็ ตามชมุ ชนโบราณในลมุ่ แมน่ �า้ ตา่ งๆ ในเขตจังหวัดลา� พูน 3. ใหนกั เรียนทาํ กิจกรรมรวบยอดที่ 2.2 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.4 ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝก ฯ เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน น่าน เปน็ ต้น ประวัตศิ าสตร ป.4 กจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.2 ภาคกลาง พบร่องรอยชุมชนที่มีการใช้เหล็กและ แบบประเมินตัวชีว้ ัด ส 4.2 ป.4/2 กจิ กรรมรวบยอดที่ ๒.๒ ร่องรอยถลุงเหล็กท่ีบ้านดอนตาเพชร อ�าเภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบุรี บา้ นหลมุ ข้าว เนินมะกอก อ�าเภอโคกสา� โรง จงั หวดั แบบประเมนิ ตัวชว้ี ดั ส ๔.๒ ป.๔/๒ ลพบุรี ยกตัวอยางหลักฐานทางประวัติศาสตรที่พบในทองถิ�นท่ีแสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ได้ค้นพบหลักฐานในการ ในดนิ แดนไทย เพาะปลกู เลีย้ งสตั ว์ ท�าภาชนะดนิ เผา ทอผา้ ในหลายพนื้ ที่ เช่น ทบี่ า้ นเชยี ง อา� เภอหนองหาน จงั หวดั ชุดที่ ๑ ๒๐ คะแนน อดุ รธานี ๑ ดภู าพ แลว นาํ คําทีก่ าํ หนดใหเติมลงในชอ งวา งใหถูกตอง สมยั ภาค หนิ เหน�อ สํารดิ ตะวันออกเฉ�ยงเหน�อ เหล็ก กลาง ๑)เฉฉบลับย ๒) ภาคใต้ คน้ พบรอ่ งรอย เคร่ืองมือทองแดง จากแหลงโบราณคดี แมพิมพหินทรายแบบประกบคู สําหรับ ชุมชนในสมัยเหล็กที่บริเวณอ�าเภอ อา งเก็บน้าํ นลิ กาํ แหง จ.ลพบุรี หลอหัวธนสู ํารดิ ท่บี า นนาดี จ.อดุ รธานี เปนหลกั ฐานสมยั สาํ ริด………………………………………….. เปนหลกั ฐานสมยั สํารดิ………………………………………….. คลองท่อม จงั หวัดกระบี่ นอกจากนี้ ▲ มีดทา� ดว้ ยเหล็ก ท่ีเนนิ อโุ ลก ยงั พบทจี่ งั หวดั พงั งา จงั หวัดสงขลา จงั หวัดนครราชสมี า …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… เป็นต้น ที่พบในภาค กลาง………………………………………………………… ทีพ่ บในภาค …ต……ะ…ว…นั ……อ…อ……ก……เฉ……ยี …ง……เห……น……อื … กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรูท้ ี่ ๑ ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ๒๒ ตรวจสอบผล Evaluate ร่วมกันอภิปรายว่า เพราะเหตุใด มนุษย์จึงมีการกระจายการตั้ง ถนิ่ ฐานอยูต่ ามภมู ิภาคต่างๆ ของประเทศไทย 1. ครสู งั เกตการใหเ หตผุ ลของนกั เรยี นและความ ตงั้ ใจในการเขา รว มกิจกรรม ๓6 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการสรปุ ขอ มลู ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT 3. ครตู รวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดท่ี 2.2 จากแบบวดั ฯ ประวตั ศิ าสตร ป.4 เกร็ดแนะครู ขอใดกลาวถูกตอ งเก่ียวกับการต้งั ถนิ่ ฐานของมนุษยสมัยกอน ประวัตศิ าสตรในดนิ แดนไทย ครอู าจนาํ ภาพหลักฐานทางประวัตศิ าสตรส มัยหินใหมท พ่ี บในประเทศไทย มาแสดงใหน ักเรยี นดเู พ่ิมเติม เชน 1. ดนิ แดนไทยในอดีตเคยมีผูค นต้ังถน่ิ ฐานมากอ น 2. ดินแดนไทยในอดีตไมมคี วามอดุ มสมบรู ณ 3. รอ งรอยการต้ังถ่ินฐานของมนุษยใ นสมัยกอ นประวัติศาสตร ในดินแดนไทยมเี ฉพาะในภาคอีสานเทาน้นั หมอ 3 ขา ภาชนะดนิ เผา เครอื่ งมอื หนิ เครอื่ งประดับสําริด 4. ภาคเหนือเปน ภาคที่มีรองรอยการตงั้ ถนิ่ ฐานของมนุษยสมยั กอน ประวัตศิ าสตรม ากท่สี ุด เฉลย กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรทู ี่ 1 วเิ คราะหคําตอบ ดนิ แดนไทยในอดตี เคยมผี ูคนตง้ั ถิน่ ฐานอาศัยอยใู นทุก แนวตอบ เพราะในดนิ แดนไทยในแตล ะพนื้ ทม่ี สี ภาพภมู ปิ ระเทศและสภาพภมู อิ ากาศ ภาคของไทย เนอื่ งจากเคยเปน ดนิ แดนทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ จงึ พบรอ งรอย ท่ีเหมาะสมตอ การตั้งถิน่ ฐาน จึงมมี นษุ ยเขา มาต้ังถิ่นฐานกระจายอยูท่ัวไป การตงั้ ถนิ่ ฐานของมนษุ ยส มยั กอ นประวตั ศิ าสตรก ระจายอยทู ว่ั ไปในทกุ ภาค ของประเทศไทย ดงั น้ัน ขอ 1. เปน คาํ ตอบทีถ่ กู ตอง 36 คูมือครู
กระตนุ้ ความสนใจ สา� รวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Explore Evaluate Explain Expand Engage กระตนุ้ ความสนใจ ๒.๒ พัฒนาการของชมุ ชนสมัยกอ่ นประวัติศาสตร ์ ครนู าํ ภาพหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรมาให นักเรยี นดู ประมาณ 5-10 ภาพ แลว ใหน ักเรยี น หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในท่ีต่างๆ แสดง ชว ยกันบอกขอ มลู ของภาพเหลานั้น จากนัน้ ครู พฒั นาการของมนุษย์ในดนิ แดนไทย ดงั นี้ เฉลยขอ มูลที่ถูกตองใหน ักเรยี นฟง ๑) ชุมชนก่อนประวัติศาสตร์มีพัฒนาการต่อเน่อื งกัน สา� รวจคน้ หา Explore มาเปนระยะ 1. ใหนักเรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา สมยั หนิ เกา่ มนษุ ย์มีความเปน็ อยู่อย่างง่ายๆ ไม่ได้ตัง้ จากหลักฐานทพ่ี บในชุมชนกอ นประวตั ศิ าสตร ถิ่นฐานท่อี ยกู่ ันอย่างถาวร แต่อาศัยอยตู่ ามถ้�าและเพิงผา เลี้ยงชพี ทาํ ใหทราบพฒั นาการของชมุ ชนดานใดบา ง ดว้ ยการเกบ็ ของปา ลา่ สตั ว์ และใชห้ นิ ทา� เปน็ เครอื่ งมอื เพอื่ หาอาหาร 2. ใหน ักเรียนอานขอมลู พัฒนาการของชุมชน สมยั กอ นประวตั ศิ าสตรจ ากหนงั สอื หนา 37-39 ลา่ สัตว์ อธบิ ายความรู้ Explain สมัยหินใหม่จนถึงสมัยส�าริดมนุษย์เริ่มรู้จักเพาะปลูก 1. ใหนักเรยี นรว มกันสรปุ วา การพบหลกั ฐานของ เลี้ยงสัตว์ มีการสร้างบ้านอยู่อาศัยและมีระเบียบแบบแผนในการ มนษุ ยใ นสมยั กอ นประวตั ศิ าสตร ทาํ ใหท ราบวา ใชช้ วี ิตมากขึ้น เช่น มีพธิ กี รรมในการฝงั ศพ มีผู้นา� ชุมชน มีการน�า มนุษยรูจักการตั้งถ่นิ ฐานมานานแลว และมี การพัฒนาชวี ิตความเปนอยูใ หเจรญิ ข้นึ เร่อื ยๆ ใยพชื มาทอเปน็ ผา้ ท�าลวดลายลงบนเครือ่ งปันดนิ เผา และรูจ้ ักนา� อยา งตอเนอื่ ง ดังจะเหน็ ไดจ ากการพบ โลหะ เชน่ สา� รดิ เหลก็ มาทา� เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ และมกี ารตดิ ตอ่ กบั หลกั ฐานในสมัยตา งๆ ท่ัวทุกภาคของไทย ชุมชนอื่นเพื่อแลกเปลี่ยนสิ่งของจ�าเป็นในชีวิต เช่น บางชุมชนน�า 2. ใหน กั เรยี นชว ยกนั ตอบคําถามดังตอไปนี้ เกลือ ขา้ ว ไปแลกกบั เครื่องมือเหล็ก • ชุมชนสมยั กอนประวตั ิศาสตรมีพฒั นาการ หรอื ภาชนะสา� รดิ จากชมุ ชนอน่ื และได้ ท่ตี อเน่ืองกนั มาอยา งไร มกี ารตดิ ต่อกับดินแดนภายนอก เช่น (แนวตอบ มนษุ ยส มัยหินเกามคี วามเปน อยู มพา่อขคา้ายอินแเลดะียซนือ้ �าขหอินงปสีา 1เคขรอื่องพงปน้ื รเะมดอื ับง เรร อ น ใชเ ครอื่ งมอื ทท่ี ําจากหนิ กะเทาะ ตอ มา กลบั ไป ▲ ลูกกล้ิงดนิ เผาแบบต่างๆ ทีเ่ ชอื่ วา่ จะใช้ เร่มิ รจู กั ทําการเพาะปลูก จึงมกี ารสรา งที่อยู สา� หรับทา� ลวดลายบนผ้าในวัฒนธรรม อาศัยเพ่ือรอผลผลติ และเรม่ิ รจู กั ทาํ เครอ่ื งมอื บ้านเชียง หินขัด ตอมารูจกั นําโลหะมาถลงุ เพอ่ื ทําเปน เครื่องมอื เคร่อื งใช และอาวุธ แลว เร่ิมมี การติดตอกบั ชมุ ชนภายนอก) • เพราะเหตใุ ดจงึ มีการคน พบหลกั ฐานจาก สมยั ทแ่ี ตกตา งกนั ในชุมชนเดยี วกนั ๓๗ (แนวตอบ เพราะชมุ ชนเหลาน้ีมีมนษุ ยต ั้ง ถิน่ ฐานอาศัยอยูมาอยางตอ เนอื่ ง จึงคน พบ หลักฐานจากสมัยตา งๆ ในทเ่ี ดยี วกนั ) ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEดิT เกร็ดแนะครู เพราะเหตใุ ดจงึ กลา ววา ชมุ ชนท่ใี ชเคร่อื งมอื เหลก็ มีพัฒนาการมากกวา ครหู าภาพสงิ่ ของเครอ่ื งใชใ นสมยั กอ นประวตั ศิ าสตร ไดจ าก www.google.com ชุมชนทใี่ ชเครื่องมือหนิ และสําริด โดยพมิ พค าํ คนวา หลักฐานสมัยกอ นประวัตศิ าสตร และเลือกที่คน รปู จะปรากฏ แนวตอบ เพราะเหล็กมีความแขง็ แกรง กวา หนิ และสาํ รดิ เม่ือนําไปผลิต ขอมูลรปู ภาพเกย่ี วกบั หลักฐานสมัยกอ นประวตั ิศาสตร เปนเครอื่ งมอื เคร่ืองใชจะมีประสิทธภิ าพกวาและใชง านไดดกี วาเครื่องมือ หนิ และสําริด เชน นําไปผลิตอาวุธในการตอสูกับขา ศึกศัตรู เพ่ือปองกนั ชุมชนหรือขยายดินแดน นาํ ไปผลติ เครื่องมอื เพื่อใชใ นการทํางาน ทําให นักเรยี นควรรู ทาํ งานไดม ากและสะดวกขน้ึ เปนตน 1 ของปา เปนผลผลติ ทีห่ าไดจากปา เปนสินคา หลกั ท่ที าํ รายไดใ หก ับชมุ ชน หลายแหง ในสวุ รรณภูมิ ตวั อยา งของปา ท่ีเปนที่ตองการมาก เชน ไมฝ าง ครัง่ น้าํ ผึง้ หนงั สัตว ไมก ฤษณา นา้ํ มันสน สมนุ ไพร เปนตน คมู ือครู 37
กระตุน้ ความสนใจ สา� รวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Expore Elaborate Evaluate Engaae Explain Explain อธบิ ายความรู้ 1. ใหน กั เรียนชว ยกันตอบคําถามดงั ตอ ไปนี้ การเติบโตของชมุ ชนและรับวฒั นธรรมภายนอก1 เชน่ • ชุมชนท่ใี ชเครือ่ งมอื เหลก็ มพี ัฒนาการทาง ชุมชนเติบโตขึ้นเป็นเมือง การเปลี่ยนจากผู้น�าชุมชนเปลี่ยนฐานะ ดา นการเกษตรท่ดี ีมากกวาชุมชนทีไ่ มใ ช มาเปน็ ผปู้ กครองรฐั หรอื กษัตรยิ ์ การรับความเช่ือทางศาสนา ทา� ให้ เคร่ืองมือเหล็กอยางไร ชุมชนทีม่ คี วามพร้อมได้พัฒนาเป็นบ้านเมือง (แนวตอบ เครอ่ื งมอื เหลก็ ชว ยทาํ ใหก ารหกั รา ง ถางปาทาํ ไดง ายขึ้น จงึ ทําใหม กี ารหกั ราง ๒) ชุมชนในแต่ละแหง่ มีพัฒนาการทีแ่ ตกตา่ งกนั ถางปา เพือ่ ขยายพ้ืนทีใ่ นการทําเกษตรได จากหลักฐานที่ค้นพบแสดงว่าชุมชนแต่ละแห่งมี มากขึน้ ดงั นน้ั ชุมชนท่ีใชเคร่ืองมอื เหล็กจึง สามารถทําการเกษตรไดมากกวาชมุ ชน พัฒนาการท่ีต่างกัน เช่น ชุมชนท่ีใช้เครื่องมือเหล็ก มีพัฒนาการ ท่ไี มใ ชเ คร่อื งมอื เหลก็ ) มากกว่าชุมชนท่ียังไม่ได้ใช้เคร่ืองมือเหล็ก เพราะเหล็กมีความคม • เพราะเหตุใด มนุษยสมัยกอ นประวตั ศิ าสตร และทนทาน ทา� ใหก้ ารหกั รา้ งถางพง หรอื ฟันต้นไม้ใหญ่ทา� ไดด้ กี ว่า จงึ มกี ารติดตอ กับมนุษยจ ากดนิ แดนอื่น เคร่อื งมอื ส�ารดิ อาวธุ ท่ที �าจากเหลก็ มีประสิทธิภาพดีกวา่ อาวธุ สา� ริด (แนวตอบ เพราะมคี วามตอ งการแลกเปลยี่ น สนิ คา ซง่ึ กนั และกนั ) ๓) ชุมชนมีขนาดใหญ่ข้ึนและมีการติดต่อกับชุมชน • เราทราบไดอ ยางไรวาชมุ ชนนี้มกี ารตดิ ตอ ภายนอก จากหลุมฝังศพท่ีได้ขุดพบในแหล่งโบราณคด2ีแสดง กับชุมชนภายนอก ให้เห็นว่าสมัยหลังมีโครงกระดูกมนุษย์ฝังอยู่ จึงอาจเป็นไปได้ว่า (แนวตอบ มกี ารคน พบเครอื่ งมอื เคร่อื งใช หรอื แหล่งโบราณคดีหลายๆ แห่งมี สิ่งของทส่ี รา งจากตางถิ่น จงึ สันนิษฐานวา ความคล้ายคลึงกันและพบของ ชมุ ชนแหง น้ีไดเรียนรวู ธิ กี ารทาํ เครอ่ื งมือ ที่มาจากตา่ งแดน แสดงว่ามกี าร เคร่อื งใชห รือมกี ารตดิ ตอ คา ขายกับชมุ ชน ติดต่อกับชุมชนภายนอก ท�าให้ ตางถนิ่ ) ได้รับวิธีการท�าหรือมีการซ้ือขาย • ชุมชนทองถ่นิ ไดรบั ความเจรญิ ดานใดบาง แลกเปล่ียนสิ่งของเครื่องใช้จาก จากการติดตอ กับชมุ ชนภายนอก ชมุ ชนตา่ งถ่นิ (แนวตอบ เชน มีการใชว สั ดทุ ี่มคี ุณภาพใน การทาํ เครื่องมือเครอื่ งใช มกี ารประดษิ ฐ ▲ เครอ่ื งปนั ดินเผาลายเขียนสี พบท่ีบา้ นเชยี ง รปู แบบและลวดลายใหมๆ เพ่ือใหส ิ่งของ จังหวดั อุดรธานี มีความสวยงามข้นึ มีการประดษิ ฐส่งิ ของ ตางๆ มาใชในการดาํ รงชีวิต) ๓8 2. ครอู ธบิ ายขอ มลู เกยี่ วกบั พฒั นาการของชุมชน สมัยกอ นประวัตศิ าสตรเพ่ิมเติมใหน กั เรียน เขาใจย่งิ ขึ้น นักเรยี นควรรู ขอสแอนบวเนนOก-าNรคEดิT ถา มกี ารคน พบเครอ่ื งมือหนิ ทีข่ ัดจนคมในทอ งถิ่น สนั นิษฐานไดวา 1 วฒั นธรรมภายนอก วฒั นธรรมทมี่ บี ทบาทอยา งมากตอพัฒนาการของชุมชน ทอ งถนิ่ น้ันมคี นตงั้ ถน่ิ ฐานอยตู ั้งแตสมัยใด ในสวุ รรณภูมิ คือ วฒั นธรรมอนิ เดีย ไมวาจะเปน การปกครอง การนับถือศาสนา 1. สมัยหนิ เกา ขนบธรรมเนยี มประเพณี วรรณคดี เปนตน โดยหลายประเทศจะมีรากฐานทาง 2. สมยั หนิ ใหม วัฒนธรรมคลา ยคลงึ กนั เนอื่ งจากรบั วัฒนธรรมมาจากแหลงเดียวกนั 3. สมัยสาํ รดิ 2 โบราณคดี คือ วิชาทว่ี าดว ยการศกึ ษาเร่อื งราวในอดตี ของมนษุ ย โดยผาน 4. สมัยเหลก็ การศึกษาหลักฐานทางโบราณคดีที่ไดมาจากการขุดพบ การขุดแตง และการศกึ ษา วิเคราะหค าํ ตอบ สันนิษฐานไดวา ทอ งถิน่ นน้ั มีคนต้ังถน่ิ ฐานอยูต้งั แต เอกสารทางประวตั ิศาสตรประเภทตางๆ เชน ศลิ าจารกึ จดหมายเหตุ พงศาวดาร สมยั หินใหม เพราะเครอ่ื งมอื หนิ ทข่ี ดั จนคมเกิดข้นึ ในสมยั หินใหม ดังนั้น เปน ตน และนอกจากน้อี าจใชศ าสตรด า นอืน่ ๆ เชน ธรณวี ทิ ยา สตั ววิทยา ขอ 2. เปน คาํ ตอบทถี่ ูกตอง พฤกษศาสตร เปน ตน ประกอบดวย เพ่อื ใหเ รอ่ื งราวในอดีตของมนุษยชดั เจน มากยงิ่ ข้ึน 38 คูมอื ครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธบิ ายความรู้ ขยายความเขา้ ใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา้ ใจ ๔) ชุมชนท้องถิ่นได้รับความเจริญจากภายนอก และ 1. ครตู ัง้ ประเดน็ คําถามใหน ักเรียนรว มกนั ตอบ ไดพ้ ัฒนาความกา้ วหนา้ ด้านต่างๆ • การคนพบหลักฐานการต้งั ถนิ่ ฐานใน ดินแดนไทยตั้งแตสมัยกอ นประวัตศิ าสตร จากอายุหลักฐานแสดงว่าชุมชนบ้านเชียง จังหวัด มีความสาํ คญั อยางไร อุดรธานีได้ใช้ส�าริดก่อนท่ีอื่นๆ ต่อมาเครื่องมือส�าริดได้กระจายไป (แนวตอบ ทาํ ใหทราบวา ดินแดนไทยมมี นุษย ยังชุมชนใกล้เคียง จึงสันนิษฐานว่าชุมชนอ่ืนได้รับการใช้ส�าริดจาก ตั้งถิ่นฐานมานานแลว และมีการพัฒนา ชุมชนบ้านเชียง และแสดงถึงความก้าวหน้าในการด�ารงชีวิตของ ความเจริญมาจนถงึ ปจจบุ ัน) มนษุ ยท์ ร่ี บั สง่ิ ใหมๆ่ มาใช้ รจู้ กั พฒั นาเครอื่ งมอื เครอื่ งใชใ้ หม้ คี ณุ ภาพ • ถา นกั เรียนคน พบหลักฐานท่แี สดงถงึ ทดี่ กี วา่ ของเดมิ เชน่ ใชส้ า� รดิ แทนหนิ ใชเ้ หลก็ แทนสา� รดิ รวมทง้ั รจู้ กั การตั้งถ่ินฐานในชมุ ชนของตน นกั เรียน ประดบั ตกแตง่ ใหม้ คี วามสวยงาม เชน่ การทา� ภาชนะดนิ เผารปู แบบ ควรทาํ อยา งไร และลวดลายต่างๆ การท�าลวดลายลงบนขันน�้าส�าริด การประดิษฐ์ (แนวตอบ ควรแจงเจาหนาทท่ี เี่ ก่ียวขอ ง เครื่องประดบั เช่น กา� ไล ตา่ งหู เปน็ ต้น ใหท ราบ) ในพิธีกรรมทานงศอากสจนากานท้ีสี่พงิ่ ขบอทง่ีชจุมากชอนินบเ้าดนียดเอชน่นตภาเาพชชนระ1ใชใน้ปจระังกหอวบัด กาญจนบรุ ี แสดงวา่ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ไดร้ บั คตคิ วามเชอื่ ทางศาสนาจาก 2. ใหนักเรียนเขยี นอธิบายความหมายของ อินเดยี มาต้งั แต่สมยั กอ่ นประวัติศาสตรแ์ ลว้ ประโยควา “มนษุ ยส มัยหินเกามีความเปนอยู อยางงายๆ” ลงในสมดุ 3. ใหนักเรยี นเขยี นแผนผังความคิดแสดงการตั้ง ถิน่ ฐานของมนษุ ยส มยั กอนประวัตศิ าสตรใ น ดนิ แดนไทยตามภาคที่ตนเองอยู จากน้นั นํา เสนอผลงานหนา ชัน้ 4. ใหนกั เรียนเขยี นแสดงความคดิ เหน็ วา ปจจัยสําคัญท่ีทําใหม นุษยเขา มาต้งั ถิ่นฐาน ในดนิ แดนไทยคอื อะไร แลว ออกมานําเสนอ ท่ีหนาชน้ั 5. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลมุ สบื คน วา ในจังหวดั ของตนมหี ลกั ฐานที่แสดงการตั้ง ถิน่ ฐานของมนษุ ยส มัยกอนประวัตศิ าสตร ดวยหรือไม อยา งไร แลว ออกมานําเสนอ ท่ีหนา ชน้ั ▲ ชิ้นส่วนของภาชนะส�าริดท�าลวดลายเป็นใบหน้า ▲ ต่างหูหนิ พบทบี่ ้านดอนตาเพชร ๓๙ ผหู้ ญงิ และลายเรขาคณติ พบทบ่ี า้ นดอนตาเพชร จงั หวัดกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี กิจกรรมทา ทาย นกั เรยี นควรรู ใหนักเรียนรวบรวมภาพหลกั ฐานการต้ังหลกั แหลง ของมนุษยสมยั กอน 1 บานดอนตาเพชร ทอ่ี ําเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ี เปน แหลงโบราณคดี ประวตั ศิ าสตรใ นดินแดนไทย จากนัน้ จัดทาํ เปน สมุดภาพ แลว นําเสนอ ทีส่ าํ คัญแหงหนง่ึ ของไทย เพราะเปน แหลง โบราณคดีทีม่ กี ารคน พบหลกั ฐานวา ผลงานหนา ช้ัน เปน ชุมชนโบราณท่ีมีการตดิ ตอ สัมพันธกบั ภายนอกทางทะเลทั้งกบั อินเดียและทาง ตะวนั ออก แหลง โบราณคดบี า นดอนตาเพชรถกู คน พบครง้ั แรกเมอื่ วนั ที่ 25 กนั ยายน ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT พ.ศ. 2518 มอี ายุอยทู ่ีประมาณ 2,500 ปม าแลว หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรท ่ี ขุดคน พบ เชน เคร่อื งมอื เหลก็ ชนดิ ตางๆ ลูกปดหนิ สี เครือ่ งใชส าํ ริด และเคร่ือง จากการพบหลกั ฐานภาชนะดนิ เผาท่มี รี ูปแบบและลวดลายตางๆ ประดับสําริด เชน กาํ ไลสํารดิ ขอ มือสาํ ริด ขอเทาสาํ ริด และแหวนสํารดิ เปนตน ทาํ ใหท ราบขอ มูลอยางไร แนวตอบ ชมุ ชนตา งๆ มีการถา ยทอดวฒั นธรรมไปยังชุมชนท่ีอยู คมู ือครู 39 ใกลเคยี ง และแตล ะชุมชนไดมกี ารพฒั นาเครือ่ งมอื เคร่อื งใชใ นชุมชน ของตนเองใหด ขี ึน้ กวา เดิม ซง่ึ เห็นไดจากรูปแบบและลวดลายตา งๆ ในภาชนะดินเผาในแตละยคุ สมัย
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครพู จิ ารณาความถกู ตอ งและสมบรู ณข องขอ มูล กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ที่ ๒ ในแผนผงั ความคดิ ๑. จา� แนกปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ พัฒนาการการตั้งถ่นิ ฐานวา่ มีอะไรบา้ ง 2. ครตู รวจสอบความถูกตอ งของการเขียนอธบิ าย จากน้นั บันทึกลงในสมดุ ความหมายของประโยควา “มนุษยส มัยหนิ เกา มคี วามเปน อยอู ยางงายๆ” ๒. เขยี นอธิบายวา่ หลกั ฐานที่คน้ พบในดนิ แดนไทยมคี วาม สา� คัญอย่างไรตอ่ การศึกษาเรือ่ งการต้งั ถิน่ ฐาน หลักฐานแสดงผลการเรียนรู ๓. แบง่ กลมุ่ รว่ มกันอภิปรายวา่ เพราะเหตุใดมนษุ ย์ในสมัยกอ่ น 1. แผนผังความคดิ แสดงการต้งั ถิ่นฐานของมนุษย ประวัตศิ าสตร์มีการติดต่อกบั คนจากดินแดนอ่นื ในสมัยกอ นประวตั ศิ าสตรใ นดนิ แดนไทย ๔. แบ่งกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายว่า มนษุ ยส์ มัยก่อนประวัตศิ าสตร์ 2. ผลงานการสรปุ เรื่องการตั้งถน่ิ ฐานของมนษุ ย ส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ใด พรอ้ มทั้งบอกเหตผุ ล สมยั กอนประวตั ิศาสตรในดนิ แดนไทย กิจกรรมรวบยอด 3. กิจกรรมรวบยอดที่ 2.2 จากแบบวดั ฯ ประวตั ิศาสตร ป.4 (ขอ 2,4,5 ผลการปฏิบัติกจิ กรรมขึ้นอยกู ับดุลยพนิ จิ ของครูผูส อน) ๑. เขยี นอธิบายประโยคท่ีวา่ “มนุษยสมัยหนิ เก่ามคี วามเปน อยู่ อยา่ งงา่ ยๆ” ๒. เขียนแผนผังความคิดแสดงการตัง้ ถน่ิ ฐานของมนษุ ย์สมัยกอ่ น ประวตั ิศาสตร์ในดนิ แดนไทยตามภาคท่ีตนเองอยู่ ๓. เขียนแสดงความคดิ เห็นวา่ ปจั จยั สา� คญั ทท่ี า� ใหม้ นุษย์สมัยก่อน ประวัติศาสตรม์ าตง้ั ถิ่นฐานอยู่ในดนิ แดนไทยคืออะไร ๔. แบง่ กลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มลู วา่ ในจงั หวดั ของตนมหี ลกั ฐานทแ่ี สดงถงึ การตั้งถน่ิ ฐานของมนุษยส์ มัยก่อนประวัติศาสตรห์ รือไม่ และอยา่ งไรบา้ ง แลว้ บนั ทึกขอ้ มลู ลงในสมดุ 4๐ เฉลย กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรทู ี่ 2 1. แนวตอบ ปจจัยทีม่ ผี ลตอ พฒั นาการการตั้งถ่นิ ฐาน ไดแก 1) สภาพแวดลอมทางภมู ิศาสตร 2) ความอุดมสมบรู ณข องทรัพยากร 3) การประกอบอาชีพ 4) ความสะดวกในการติดตอกับชมุ ชนอ่ืน 2. แนวตอบ หลักฐานท่ีพบในดินแดนไทย แสดงใหเ ห็นวา มนษุ ยม ีการตงั้ ถ่ินฐานในดินแดนไทยมานานแลว และมกี ารพฒั นาความเจรญิ มาอยา งตอ เน่อื ง 3. แนวตอบ เพราะมีการแลกเปล่ยี นความรแู ละสนิ คา กัน 4. ตอบ ขึ้นอยูกับดุลยพินจิ ของครูผสู อน เฉลย กิจกรรมรวบยอด 1. แนวตอบ มนษุ ยสมยั หินเกาดํารงชีวิตดว ยการเก็บหาของปา ลา สัตวปา มาเปนอาหาร ไมมที ่อี ยูเปน หลักแหลง อาศยั อยตู ามถํ้าและเพิงผา 3. แนวตอบ ความอุดมสมบูรณข องทรพั ยากรเปนปจ จัยสาํ คญั ที่ทาํ ใหมนษุ ยเขามาตง้ั ถิ่นฐานในดนิ แดนไทย 40 คูม ือครู
กระตนุ้ ความสนใจ ส�ารวจคน้ หา อธบิ ายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล Expore Explain Engaae Expand Evaluate เปา หมายการเรยี นรู òพฒั นาการของมนุษยสมยั บทท่ี 1. อธิบายการตั้งหลกั แหลงและพฒั นาการ ของมนษุ ยยคุ กอนประวตั ศิ าสตรและยุค ประวัตศิ าสตรในดนิ แดนไทย ประวตั ศิ าสตรโดยสังเขปได (ส 4.2 ป.4/1) กจิ กรรมนาํ สกู ารเรยี น 2. ยกตัวอยา งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท ีพ่ บ ในทองถิน่ ทแ่ี สดงพฒั นาการของมนษุ ยชาติ ในดินแดนไทยได (ส 4.2 ป.4/2) ¨Ò¡ÀÒ¾ สมรรถนะของผูเ รยี น ¤×Íʶҹ·Õèã´ áÅе§éÑ Í·ً èÕ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร ¨§Ñ ËÇ´Ñ ã´ 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเ รยี นรู 2. รกั ความเปนไทย 3. มจี ติ สาธารณะ á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÞÑ กระตนุ้ ความสนใจ Engage ·Ø¡ÀÙÁÔÀҤ㹴Թᴹä·ÂÁÕ¡ÒâÂÒµÑǢͧªÁØ ª¹ ใหนักเรียนดูภาพในหนา นี้ แลว ตอบคาํ ถาม âºÃҳ໚¹ºŒÒ¹àÁ×ͧ áÅоѲ¹ÒÍ‹ҧµ‹Íà¹×Íè §¨¹ • จากภาพคอื สถานท่ใี ด ต้งั อยทู ่ไี หน àµºÔ âµà»š¹á¤Ç¹Œ ·ÁèÕ ÃÕ »Ù Ẻ㹡Òû¡¤Ãͧ ÁÕÈÒÊ¹Ò ÁÕÀÒÉÒ ÁÇÕ Ñ²¹¸ÃÃÁ àÁ×ͧâºÃҳʋǹãËÞµ‹ §Ñé Í‹Ùã¹ (ตอบ พระธาตุดอยสุเทพ ตง้ั อยทู ี่จงั หวัด ºÃÔàdz¾¹×é ·ÃÕè ÒºÅÁ‹Ø ËÃ×͵§éÑ ÍÂË٠ÔÁáÁ¹‹ Òíé ã¡Å·Œ ÐàÅ á¤Ç¹Œ เชยี งใหม) âºÃÒ³àËÅ‹Ò¹éÁÕ Õ¡ÒÃÊÌҧÊÃä¤ÇÒÁà¨ÃÔ Þ¢Í§µ¹ • สถานท่ีในภาพมีความสาํ คัญอยางไร áÅÐÃѺÇѲ¹¸ÃÃÁ¨Ò¡ÀÒ¹͡ÁÒ»ÃѺ㪌 ÃÇÁ·éѧÁÕ ตอการศกึ ษาประวัติศาสตร ¡Òö‹Ò·ʹÇѲ¹¸ÃÃÁä»ÂѧáÇ‹¹á¤ÇŒ¹Í×è¹ á¤ÇŒ¹ (แนวตอบ เปนโบราณสถานซงึ่ เปนหลักฐาน âºÃÒ³ËÅÒÂáË‹§ä´Œ¾Ñ²¹Ò໚¹ÍҳҨѡÃÊíÒ¤Ñޢͧ อยา งหนง่ึ ในการศกึ ษาประวตั คิ วามเปน มา ¤¹ä·Â ઋ¹ Ōҹ¹Ò ÊØ⢷ÂÑ ¹¤ÃÈÃÕ¸ÃÃÁÃÒª áÅÐ ¡Ã§Ø ÈÃÕÍÂظÂÒ 4๑ ของทอ งถน่ิ ) เกร็ดแนะครู ครจู ัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหนกั เรียนปฏิบตั ิ ดงั น้ี • สบื คนขอ มูลเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษยส มัยประวัติศาสตรใ นดินแดนไทย • อภิปรายเก่ยี วกับพัฒนาการของมนษุ ยสมยั ประวตั ิศาสตรใ นดนิ แดนไทย จนเกดิ เปนความรูความเขาใจวา ชมุ ชนโบราณในดนิ แดนไทยมพี ัฒนาการ ความเจรญิ อยางตอเนอื่ งและถายทอดสคู นรุนหลัง จึงทาํ ใหช มุ ชนโบราณหลายแหง ไดพ ัฒนามาเปนแควน และตอมากลายเปน อาณาจักรท่มี คี วามเจรญิ รุงเรือง คูมอื ครู 41
Search