Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

Published by ครูสดใส ใจจริง, 2022-03-17 09:52:06

Description: คู่มือครู วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

Search

Read the Text Version

คมู่ ือครู Teacher Script วิทยำศำสตร์ ป.4 ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 4 เลม่ 1 ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวัด กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร ์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ผเู้ รยี บเรยี งหนงั สอื เรียน ผ้ตู รวจหนังสอื เรียน บรรณาธกิ ารหนังสือเรยี น ดร. เพญ็ พักตร ์ ภู่ศิลป  ดร. รกั ซอ้ น รตั น์วจิ ติ ต์เวช นายฐาปกรณ ์ คา� หอมกลุ ดร. พลอยทราย โอฮาม่า นางศรนิ ภัสร์ เพ็งมีศร ี นายวนั เฉลิม กล่ินศรีสขุ นางวชริ าภรณ์ ปัถว ี ผูเ้ รียบเรยี งคมู่ ือคร ู บรรณาธกิ ารคู่มอื ครู นางสาวสุวภิ า วงษแ์ สง นายวันเฉลมิ กลิ่นศรีสขุ นางสาวอภิญญา อนิ ไรข่ ิง นางสาวอัญชลี คา� เหลอื ง พมิ พค รง้ั ที่ 1 สงวนลิขสทิ ธ์ติ ามพระราชบัญญตั ิ รหสั สินคา 1448046

ค�ำแนะน�ำกำรใช้ ค่มู ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ์ ป.4 จดั ท�าขึ้นสา� หรับให้ ครผู สู้ อนใชเ้ ปน็ แนวทางวางแผนการจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื พฒั นา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและการประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบาย ของสา� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) เพิม่ คาํ แนะนําการใช้  ช่วยสร้างความเข้าใจ  เพื่อใช้คู่มือครูได้ อย่างถกู ต้องและเกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด นาํ นาํ สอน โซน 1สรปุ ประเมนิ เพิ่ม คําอธิบายรายวชิ า แสดงขอบขา่ ยเนื้อหาสาระของรายวชิ า  ขนั้ นาํ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี ขคอวงาสมง่ิ หมลชี าวี กติ หลาย ซงึ่ ครอบคลมุ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ตามทหี่ ลกั สตู ร สง่ิ มชี วี ติ รอบตวั เรามหี ลายชนดิ และแตล่ ะชนดิ จะ กระตนุ ความสนใจ มลี กั ษณะสำ� คญั บำงอยำ่ งเหมอื นกนั หรือแตกตำ่ งกนั ก�าหนด 1. ครทู กั ทายกบั นกั เรยี น แลว แจง ผลการเรยี นรทู ่ี ซงึ่ เรำสำมำรถใชเ้ ปน็ เกณฑ ์  ในกำรจดั กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ เปน็ กลมุ่ พชื  กลมุ่ สตั ว ์ และกลมุ่ ท ่ีไม ่ใชพ่ ชื และสตั ว ์ได้ เพม่ิ Pedagogy ช่วยสร้างความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ จะเรียนในวันนใี้ หน ักเรียนทราบ   พชื ดอกมีโครงสรำ้ งภำยนอกทส่ี ำ� คญั หลำยสว่ น การจัดการเรียนการสอนแบบ  Active  Learning  ได้อย่างมี 2. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อวัด ซึ่งโครงสรำ้ งแตล่ ะสว่ นของพชื ดอกทำ� หนำ้ ทต่ี ำ่ งกนั ประสิทธิภาพ เพื่อให้พืชสำมำรถด�ำรงชีวิตและขยำยพันธุ์ต่อได้ ความรูเดมิ ของนักเรียนกอ นเขาสกู จิ กรรม เพิ่ม Teacher Guide Overview ช่วยใหเ้ หน็ ภาพรวมของการ 3. ครูกระตุนความสนใจโดยนําลูกอมท่ีมีสีตางๆ ตัวชีว้ ัด จัดการเรียนการสอนท้ังหมดของรายวิชาก่อนท่ีจะลงมือ 1. บรรยายหน้าทข่ี องราก ลา� ต้น ใบ และดอก ของพชื ดอกโดยใชข้ อ้ มูลทีร่ วบรวมได้ (มฐ. ว 1.2 ป.4/1) สอนจริง คละกนั มาแจกนกั เรยี นคนละ 1 เมด็ 2. จา� แนกสงิ่ มชี วี ติ โดยใชค้ วามเหมอื นและความแตกตา่ งของลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ ออกเปน็ กล่มุ พืช กลุ่มสัตว์ และกลุม่ ทไี่ มใ่ ชพ่ ชื 4. ครูสุมเลือกสีของลูกอมโดยใหนักเรียนยกมือ เพิ่ม Chapter Overview ชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจและเหน็ ภาพรวม และสัตว์ (มฐ. ว 1.3 ป.4/1) ในการออกแบบแผนการจดั การเรียนรแู้ ต่ละหนว่ ย ชลู ูกอมที่ตนเองไดร ับ จากน้นั ครูเลอื กสลี กู อม 3. จ�าแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไมม่ ีดอก โดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ (มฐ. ว 1.3 ป.4/2) ทม่ี จี าํ นวนนกั เรยี นอยใู นสนี น้ั นอ ยทส่ี ดุ ออกมา 4. จา� แนกสัตว์ออกเปน็ สัตวม์ กี ระดูกสันหลังและสตั วไ์ มม่ ีกระดกู สนั หลัง โดยใชก้ ารมกี ระดกู สันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ เพม่ิ Chapter Concept Overview ช่วยให้เห็นภาพรวม  หนาชน้ั เรียน Concept และเนื้อหาส�าคัญของหน่วยการเรยี นรู้ 5. ครูต้ังคําถามวา หากตองการจัดกลุมหรือ (มฐ. ว 1.3 ป.4/3) จําแนกเพ่ือนที่อยูหนาช้ันเรียนออกเปนกลุม 5. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทีส่ งั เกตไดข้ องสัตวม์ ีกระดูกสันหลังในกลมุ่ ปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนา้� สะเทินบก กลมุ่ สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน กลุ่มนก นักเรียนจะใชเกณฑใดบาง แลวใหนักเรียน ชวยกันระดมความคิดในการตอบคาํ ถาม และกลมุ่ สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนา�้ นม และยกตวั อยา่ งสง่ิ มชี วี ติ ในแตล่ ะกลมุ่ (มฐ. ว 1.3 ป.4/4) 6. ครขู ออาสาสมคั รนกั เรยี น 2 คน กาํ หนดเกณฑ ที่ใชสําหรับจัดกลุมเพ่ือนหนาช้ันเรียนคนละ 1 เกณฑ แลว เพอ่ื นในหอ งชว ยกนั ตรวจสอบวา สามารถจัดกลุมเพ่อื นตามเกณฑน ้นั ไดห รอื ไม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ขนั้ สอน สาํ รวจคน หา 1. ครใู หน กั เรยี นอา นสาระสาํ คญั และดภู าพหนว ย การเรยี นรูที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.4 เลม 1 หนา นี้ จากนนั้ ถามนกั เรยี นวา ภาพนม้ี สี ง่ิ มชี วี ติ อะไรบาง นักเรียนรูจักหรอื ไม แลวใหนกั เรียน ชว ยกนั ตอบคาํ ถามอยา งอสิ ระ (แนวตอบ ผเี สื้อ กบั ดอกไม) เพม่ิ ข้อสอบเน้นการคิด/ข้อสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม เกร็ดแนะครู ความพร้อมของผู้เรยี นส่กู ารสอนในระดับต่าง ๆ ในการเรียนหนวยการเรียนรูท่ี 1 นี้ ครูควรจัดกระบวนการเรียนรูโดยให เพ่มิ กจิ กรรม 21st Century Skills กจิ กรรมทีจ่ ะช่วยพฒั นาผู้ นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมรว มกนั ดังน้ี โซน 3 เรียนให้มีทักษะที่จ�าเปนส�าหรับการเรียนรู้และการด�ารงชีวิตใน • จาํ แนกกลุม สิง่ มีชีวติ โลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 • จาํ แนกพืชออกเปน พืชดอก พืชไมมีดอก • จาํ แนกพืชดอกออกเปนพืชใบเลีย้ งเด่ยี ว และพืชใบเล้ยี งคู เพิม่ STEM Project แนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิด • สังเกต อธิบาย และจําแนกสัตวโดยใชการมีกระดกู สนั หลงั เปน เกณฑ การเรียนรู้และสามารถบูราการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ • อธิบายหนาทข่ี องสวนตางๆ ของพชื โดยครคู วรใหน กั เรยี นไดล งมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว ยตนเอง จนเกดิ เปน ความรู ความเขาใจท่ีถูกตอง รวมท้ังสามารถนําวิธีการทางวิทยาศาสตรและทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรมาใชคนหาคาํ ตอบเก่ียวกบั ประเด็นทีส่ งสยั ได โซน 2 T8 เทคโนโลย ี  กระบวนการทางวศิ วกรรม   และคณติ ศาสตร์ไปใช้ เช่ือมโยงและแก้ปญ หาในชีวติ จรงิ โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ชว่ ยครูเตรียมสอน กำรเรยี นกำรสอน โดยประกอบด้วยองค์ประกอบส�าคัญต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน สา� หรับครู เพอ่ื น�าไปประยกุ ต์ใชจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน โดยแนะน�าขัน้ ตอนการสอน และการจัดกจิ กรรมอยา่ งละเอยี ด เพ่อื ให้นักเรยี นบรรลผุ ลสมั ฤทธิต์ ามตัวชี้วัด เกร็ดแนะครู น�ำ สอน สรปุ ประเมนิ ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด กจิ กรรมและอนื่ ๆ เพอื่ ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน นกั เรยี นควรรู้ ความรู้เพิ่มเติมจากเน้ือหา ส�าหรับอธิบายเสริมเพิ่มเติมให้ กบั นักเรยี น

โดยใช ้ หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 และแบบฝก หดั รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 ของบรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น ์ อจท. จา� กดั เปน็ สอ่ื หลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อใหส้ อดคลอ้ ง กบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร ์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซงึ่ ค่มู ือครเู ลม่ นมี้ อี งค์ประกอบทง่ี ่ายต่อการใชง้ าน ดงั น้ี โซน 1 นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 3 ช่วยครูเตรยี มนักเรยี น 1บทที ่ กลØม่ สิง่ มชี ีวติ Key words ขน้ั สอน ประกอบด้วยแนวทางการส�าหรับจัดกิจกรรมและ เสนอแนะแนวขอ้ สอบ เพอ่ื อา� นวยความสะดวกใหแ้ กค่ รผู สู้ อน ส่ิงมีชวี ติ • organism สาํ รวจคน หา • plant 2. ใหน กั เรยี นดูภาพในหนาบทท่ี 1 กลุมส่งิ มชี ีวติ กิจกรรม 21st Century Skills (organism) • animal • fungus จากหนงั สอื เรยี น หนา 3 แลว ถามคาํ ถามสาํ คญั กิจกรรมท่ีให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้ท่ีเรียนรู้มาสร้าง พชื ประจําบท จากนั้นใหนักเรียนชวยกันอธิบาย ชิ้นงาน หรือท�ากิจกรรมรวบยอดเพื่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็น ¹Ñ¡àÃÕ¹ คําตอบ โดยครูช้ีแจงเพ่ิมเติมวา ใหนักเรียน ในศตวรรษท ี่ 21 (plant) ÊÒÁÒö㪌ࡳ±ã´ นกึ ถงึ กจิ กรรมทม่ี กี ารจดั กลมุ เพอื่ นหนา ชน้ั เรยี น ที่ผานมา ข้อสอบเนน้ การคิด ?㹡ÒèíÒṡ (แนวตอบ ลกั ษณะของส่ิงมีชวี ติ การกนิ อาหาร การสรางอาหาร การยอยสลายส่ิงมีชีวิตอื่น ตัวอย่างข้อสอบท่ีมุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม ¡ÅØ‹ÁÊèÔ§ÁÕªÕÇÔµ เปน อาหาร เปนตน ) เฉลยอย่างละเอยี ด ä´ŒºŒÒ§ 3. นักเรียนเรียนรูคําศัพทท่ีเก่ียวของกับการเรียน ในบทที่ 1 โดยครูเปน ผอู านนาํ และใหน กั เรียน ขอ้ สอบเนน้ การคิดแนว O-NET อา นตาม 4. นักเรียนวาดภาพหรือติดภาพส่ิงมีชีวิตตางๆ ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ ทนี่ กั เรยี นรจู กั 5-10 ภาพ ลงในสมดุ แลว จดั กลมุ แนวข้อสอบ O-NET มีท้ังปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง ส่ิงมีชีวิตเหลานั้น โดยใชเกณฑที่กําหนดเอง ละเอยี ด หรือทํากิจกรรมนําสูการเรียนในแบบฝกหัด วิทยาศาสตร ป.4 เลม 1 หนา 2 กิจกรรมทา้ ทาย (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบคุ คล) เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอื่ ตอ่ ยอดสา� หรบั นกั เรยี น ทเี่ รยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ้ งการทา้ ทายความสามารถใน เห็ดรา สตั ว์ ระดบั ทสี่ ูงข้นึ (fungus) (animal) กิจกรรมสรา้ งเสริม กจิ กรรม นา� ส¡‹ู ารเรีÂน เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ สา� หรบั นกั เรยี นที่ ควรไดร้ ับการพัฒนาการเรียนรู้ 3 นักเรียนควรรู ครฝู ก ใหน ักเรยี นเรยี นรูและอา นคาํ ศัพทว ิทยาศาสตร ดงั น้ี โซน 3 Organism (‘ออกะนิซึม) สิ่งมชี วี ติ Plant (พลานท) พชื Animal (‘แอ็นนมิ ลั ) สตั ว Fungus (‘ฟงกสั ) เหด็ รา โซน 2 T9 บรู ณาการอาเซยี น ส่อื Digital ความรู้เสริมหรือการเช่ือมโยงในเรื่องที่เก่ียวข้องกับประชาคม การแนะนา� แหลง่ เรยี นรแู้ ละแหลง่ คน้ ควา้ จากสอ่ื Digital ตา่ ง ๆ อาเซียน ห้องปฏิบัตกิ าร (วิทยาศาสตร) แนวทางการวดั และประเมินผล การอธบิ ายหรือข้อเสนอแนะส่งิ ทีค่ วรระมัดระวงั หรือขอ้ ควรปฏิบตั ิ ตามเนอื้ หาในบทเรียน เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นกั เรยี นตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ทห่ี ลกั สตู รกา� หนด

ค�ำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 80 ชั่วโมง / ปี วทิ ยาศาสตร ์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต การจ�ำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจ�ำแนกสัตว์ มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง หน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกผลของแรงโน้มถ่วงของโลก การใช้เครื่องช่ังสปริงวัดน้�ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง การเคล่ือนท่ีของวัตถุ การจ�ำแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง สมบัติทางกายภาพด้าน ความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การน�ำความร้อน และการน�ำไฟฟ้าของวัสดุ การน�ำสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใช้ใน ชวี ติ ประจำ� วนั สมบตั ขิ องสสารทงั้ 3 สถานะ จากขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตมวล การตอ้ งการทอ่ี ยู่ รปู รา่ ง และปรมิ าตรของสสาร รวมทง้ั การใชเ้ ครือ่ งมอื เพอื่ วดั มวลและปรมิ าตรของสสารท้งั 3 สถานะ สรา้ งแบบจำ� ลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุริยะ และคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจ�ำลอง แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ สร้างแบบจ�ำลองท่ี อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์ โดยมุ่งหวังใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนร้วู ิทยาศาสตร์ท่สี ามารถนำ� ไปใชอ้ ธบิ าย แกไ้ ขปญั หา หรอื สรา้ งสรรคพ์ ัฒนางานในชีวิต จรงิ ได้ ซ่ึงเนน้ การเชือ่ มโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี กบั กระบวนการทางวศิ วกรรมศาสตร์ และ ใหม้ ที กั ษะสำ� คญั ในการค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาทห่ี ลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน รวมทั้งส่งเสริมให ้ ผู้เรยี นเกิดจติ วิทยาศาสตรแ์ ละมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ตวั ชว้ี ดั ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหนา้ ท่ีของราก ลำ� ตน้ ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใชข้ อ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ ว 1.3 ป.4/1 จ�ำแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช และสัตว์ ว 1.3 ป.4/2 จำ� แนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพืชไมม่ ดี อกโดยใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ ว 1.3 ป.4/3 จ�ำแนกสัตว์ออกเปน็ สตั ว์มีกระดกู สนั หลังและสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั โดยใชก้ ารมีกระดูกสนั หลงั เป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ ว 1.3 ป.4/4 บ รรยายลกั ษณะเฉพาะทส่ี งั เกตไดข้ องสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ในกลมุ่ ปลา กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก กลมุ่ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน กลมุ่ นก และ กลุม่ สัตวเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนำ้� นม และยกตวั อย่างสงิ่ มีชีวติ ในแตล่ ะกล่มุ ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทยี บสมบัติทางกายภาพดา้ นความแขง็ สภาพยืดหยุน่ การนำ� ความรอ้ น และการนำ� ไฟฟา้ ของวัสดุโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ จากการทดลองและระบุการน�ำสมบัตเิ ร่อื งความแขง็ สภาพยืดหย่นุ การนำ� ความรอ้ น และการน�ำไฟฟา้ ของวสั ดุไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วัน ผา่ นกระบวนการออกแบบชนิ้ งาน ว 2.1 ป.4/2 แ ลกเปลย่ี นความคิดกบั ผอู้ ืน่ โดยการอภปิ รายเกย่ี วกบั สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมเี หตุผลจากการทดลอง ว 2.1 ป.4/3 เปรยี บเทียบสมบัตขิ องสสารทง้ั 3 สถานะ จากขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการสงั เกตมวล การตอ้ งการที่อยู่ รูปรา่ งและปริมาตรของสสาร ว 2.1 ป.4/4 ใชเ้ คร่ืองมอื เพือ่ วดั มวล และปรมิ าตรของสสารท้งั 3 สถานะ ว 2.2 ป.4/1 ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงที่มตี ่อวัตถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ว 2.2 ป.4/2 ใช้เครอื่ งชัง่ สปรงิ ในการวัดน้ำ� หนักของวตั ถุ ว 2.2 ป.4/3 บรรยายมวลของวัตถทุ ่มี ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ว 2.3 ป.4/1 จำ� แนกวัตถเุ ป็นตัวกลางโปร่งใส ตวั กลางโปร่งแสง และวตั ถุทบึ แสง โดยใช้ลกั ษณะการมองเห็นสงิ่ ตา่ ง ๆ ผา่ นวตั ถุนั้นเป็นเกณฑจ์ าก หลักฐานเชิงประจักษ์ ว 3.1 ป.4/1 อธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการข้นึ และตกของดวงจนั ทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ว 3.1 ป.4/2 สร้างแบบจ�ำลองท่ีอธบิ ายแบบรปู การเปล่ียนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร ์ ว 3.1 ป.4/3 สร้างแบบจำ� ลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสรุ ิยะ และอธบิ ายเปรยี บเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจ�ำลอง รวม 16 ตัวชว้ี ัด

Pedagogy คมู่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน ว ทิ ย ำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 รวมถึงสอื่ การเรยี นรรู้ ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ์ ชนั้ ป.4 ผ้จู ดั ทา� ไดอ้ อกแบบ การสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนท่ีเปยมด้วยประสิทธิภาพและมี ความหลากหลายใหก้ บั ผเู้ รยี น เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถบรรลผุ ลสมั ฤทธต์ิ ามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั รวมถงึ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�าหนดไว้ โดยครูสามารถน�าไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชาน้ีผู้จัดท�าได้น�ารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้ใน การออกแบบการสอน ดงั น้ี รปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย กรEะeตnnggุ้นaคg1วeาmมeสnนt ใจ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ สาํ รวeExจpแlลorะaคt้นioหnา คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Elaขยาย ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จดั ท�าจึงได้เลือกใช้ ตeEvรaวluจaสtiอoบnผล รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความร ู้ (5Es Instructional Model) าม ้รูtion ซึ่งเป็นข้ันตอนการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์ 5 5Es 2 ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญเพื่อการพัฒนา ควาbมoเrขa4้าtioใจn Exอ3pธlaิบnาaยคว ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง ศตวรรษท่ ี 21 วิธีสอน (Teaching Method) ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชว้ ธิ สี อนทห่ี ลากหลาย เชน่ การทดลอง การสาธติ การอภปิ รายกลมุ่ ยอ่ ย เปน็ ตน้ เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เน่ืองจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย การคดิ และการลงมอื ท�าด้วยตนเอง อันจะชว่ ยให้ผู้เรียนมคี วามรู้และเกิดทกั ษะทางกระบวนการวิทยาศาสตรท์ คี่ งทน เทคนคิ กำรสอน (Teaching Technique) ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชเ้ ทคนคิ การสอนทหี่ ลากหลายและเหมาะสมกบั เรอ่ื งทเ่ี รยี น เพอื่ สง่ เสรมิ วธิ สี อนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ เชน่ การใชค้ �าถาม การเล่นเกม การยกตัวอยา่ ง เป็นต้น ซึ่งเทคนคิ การสอนตา่ ง ๆ จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้อย่างมี ความสุขในขณะทีเ่ รียนและสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั ไดพ้ ัฒนาทักษะในศตวรรษท่ ี 21 อกี ด้วย

Teacher Guide Overview วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม1 หนว่ ย ตัวชว้ี ัด ทักษะท่ีได้ เวลาที่ใช้ การประเมนิ สอ่ื ท่ีใช้ การเรียนรู้ 1. บ รรยายหน้าที่ของราก ล�ำต้น ใบ และ - ทักษะการส�ำรวจค้นหา - ต รวจแบบทดสอบ - ห นังสือเรยี น 1 ดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวม - ทกั ษะการจำ� แนกประเภท กอ่ นเรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป. 4 ได้ (มฐ.ว 1.2 ป.4/1) - ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล - ต รวจการทำ�กิจกรรม เลม่ 1 ความ 2. จ�ำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและ - ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ในสมุดหรอื ในแบบ - แบบฝกึ หัด หลากหลาย ความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต - ทักษะการสังเกต ฝึกหัดวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ป.4 ของสง่ิ มชี ีวติ ออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ - ทกั ษะการสรุปอ้างองิ - การนำ�เสนอผลการ เล่ม 1 ไม่ใช่พืชและสตั ว์ (มฐ.ว 1.3 ป.4/1) - ทักษะการเชอ่ื มโยง ทำ�กิจกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3. จ�ำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มี - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบหลงั เรยี น ดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ - ทักษะการระบุ - ตรวจชน้ิ งาน/ผลงาน - บัตรภาพ ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ (มฐ.ว 1.3 ป.4/2) - ทักษะการต้งั สมมตฐิ าน - ก ารนำ�เสนอช้ินงาน/ - ใบงานท่ี 1.1-1.9 4. จำ� แนกสตั วอ์ อกเปน็ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั - ทกั ษะการทดสอบ 27 ผลงาน - ใบความรทู้ ี่ 1.1 และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การ สมมติฐาน - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint ชวั่ โมง มีกระดกู สันหลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมลู - ทักษะการต้งั ค�ำถาม การทำ�งานรายบคุ คล - QR Code ทร่ี วบรวมได้ (มฐ.ว 1.3 ป.4/3) - ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ - สังเกตพฤตกิ รรม - ตวั อย่างต้นพชื 5. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของ - ทกั ษะการท�ำงานกลมุ่ การทำ�งานกลมุ่ - ตัวอยา่ งดอกไม้ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ในกลมุ่ ปลา กลมุ่ สตั ว์ - สงั เกตคุณลกั ษณะ - กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ สะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก กลมุ่ สตั ว์ เลอ้ื ยคลาน อันพึงประสงค์ - วัสดุ-อปุ กรณ์การ กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยนำ้� นม - ตรวจแบบทดสอบ ทดลอง และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม หลงั เรียน (มฐ.ว 1.3 ป.4/4) 2 1. ระบุผลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวัตถุจาก - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ (มฐ.ว 2.2 ป.4/1) - ทักษะการระบุ ก่อนเรียน วิทยาศาสตร์ ป. 4 แรงโน้มถว่ ง 2. ใช้เคร่ืองช่ังสปริงในการวัดน�้ำหนักของ - ทักษะการสรุปอ้างองิ - ต รวจการทำ� กิจกรรม เล่ม 1 ของโลก วตั ถุ (มฐ.ว 2.2 ป.4/2) - ทักษะการให้เหตผุ ล ในสมุดหรือในแบบ - แบบฝกึ หดั 3. บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อการ - ทกั ษะการต้งั สมมตฐิ าน ฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 และตัวกลาง เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก - ทักษะการทดสอบ - ก ารน�ำเสนอผล เล่ม 1 ของแสง หลกั ฐานเชิงประจักษ์ (มฐ.ว 2.2 ป.4/3) สมมตฐิ าน การท�ำกิจกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 4. จำ� แนกวตั ถเุ ปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลาง - ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบหลังเรยี น โปรง่ แสงและวัตถทุ ึบแสง โดยใชล้ กั ษณะ - ทักษะการเชือ่ มโยง - ตรวจชิน้ งาน/ผลงาน - บัตรภาพ การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุน้ันเป็น - ทกั ษะการส�ำรวจค้นหา 13 - การน�ำเสนอชน้ิ งาน/ - ใบงานที่ 2.1 เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ - ท กั ษะการจำ� แนกประเภท ผลงาน - PowerPoint (มฐ.ว 2.3 ป.4/1) - ทักษะการรวบรวมข้อมูล ชวั่ โมง - สงั เกตพฤตกิ รรม - QR Code - ทักษะการท�ำงานกลุ่ม การท�ำงานรายบุคคล - วสั ดุ-อุปกรณ์การ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - สังเกตพฤตกิ รรม ทดลอง - ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ การท�ำงานกลมุ่ - หนงั สือจุดประกาย - สังเกตคุณลักษณะ ความคิด อนั พึงประสงค์ - เครื่องช่ังสปริง - ต รวจแบบทดสอบ แบบแขวน หลงั เรยี น - เครอื่ งช่ังสปรงิ แบบตั้ง

สำรบัญ Chapter Title Chapter Chapter Teacher Overview Concept Script Overview หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ควำมหลำกหลำยของสิง่ มีชีวิต T2 T8 T6 T9 - T39 บทที่ 1 กลมุ่ ส่ิงมชี ีวติ T40 - T57 บทท ่ี 2 หนา้ ทขี่ องส่วนตา่ ง ๆ ของพืช T59 T60 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและ T58 ตัวกลำงของแสง T61 - T75 T76 - T83 บทที่ 1 แรงโน้มถว่ งของโลก บทท่ ี 2 ตวั กลางของแสง STEM Project T84 - T85 ภำคผนวก (เรียนรูว้ ิทยำศำสตร์) T86 - T89 บรรณำนุกรม T90

Chapter Overview แผนการจัด ส่อื ที่ใช้ จดุ ประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะท่ีได้ คุณลักษณะ การเรยี นรู้ อนั พึงประสงค์ แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. สังเกตและบรรยาย แบบสืบเสาะ - ต รวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสังเกต - มวี นิ ัย การจดั กลุ่ม - หนงั สอื เรียน ลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ หาความรู้ ก่อนเรียน - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝเ่ รยี นรู้ ส่ิงมีชวี ติ วิทยาศาสตร์ ป.4 แตล่ ะกลมุ่ ได้ (K) (5Es - ตรวจใบงานท่ี 1.1 ค้นหา - มุ่งมัน่ ใน เล่ม 1 2. เปรียบเทยี บความเหมอื น Instructional จำ� แนกสิง่ มชี ีวิต - ท กั ษะการรวบรวม การท�ำงาน 2 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ และความแตกตา่ งของ Model) - ตรวจการท�ำกิจกรรม ข้อมลู ป.4 เล่ม 1 ลักษณะตา่ ง ๆ ของ ในสมดุ หรอื แบบฝึกหดั - ท ักษะการจ�ำแนก ชวั่ โมง - ใบงานท่ี 1.1 ส่งิ มชี วี ิตแต่ละกลุม่ ได้ (P) วทิ ยาศาสตร์ ประเภท - PowerPoint 3. จ�ำแนกสง่ิ มีชีวติ ออกเปน็ - การน�ำเสนอผล - ลูกอมสตี า่ ง ๆ กลมุ่ โดยใช้ความเหมือน การท�ำกิจกรรม - สมุดประจำ� ตัวนักเรียน และความแตกต่างของ - สงั เกตพฤตกิ รรม ลักษณะส่งิ มชี วี ติ เป็น การท�ำงานกลุม่ เกณฑไ์ ด้ (P) - สงั เกตพฤติกรรม 4. ม คี วามสนใจใฝเ่ รียนรูแ้ ละ การท�ำงานรายบุคคล มุ่งม่นั ในการทำ� งาน (A) - ส ังเกตคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แผนฯ ที่ 2 - หนังสอื เรียน 1. สงั เกตและอธบิ ายลักษณะ แบบสืบเสาะ - ต รวจการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสังเกต - มีวินัย ความหลากหลาย วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ภายนอกของพืช หาความรู้ ในสมดุ หรอื แบบฝึกหดั - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรยี นรู้ ของพืช เลม่ 1 ชนิดตา่ ง ๆ ได้ (K) (5Es วิทยาศาสตร์ ค้นหา - มงุ่ มั่นใน 3 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. จ�ำแนกพชื ออกเป็น Instructional - ต รวจใบงานที่ 1.2 - ท ักษะการรวบรวม การท�ำงาน ป.4 เล่ม 1 พ ชื ดอกและพชื ไม่มดี อก Model) จ�ำแนกพชื ดอกและ ข้อมูล ชว่ั โมง - ใบงานที่ 1.2 โดยใชก้ ารมดี อก พืชไม่มีดอก - ทกั ษะการจ�ำแนก - PowerPoint เปน็ เกณฑไ์ ด้ (P) - ก ารนำ� เสนอผล ประเภท - บัตรภาพ 3. ป ฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพอ่ื การท�ำกิจกรรม - ทกั ษะการสงั เกต - มีวินัย - กระดาษแขง็ จ�ำแนกพชื ชนิดตา่ ง ๆ - ส ังเกตพฤติกรรม - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้ - สมุดประจำ� ตวั นกั เรยี น ออกเปน็ กล่มุ ได้ครบถว้ น การท�ำงานรายบุคคล ทกุ ขัน้ ตอน (P) - สังเกตพฤตกิ รรม คน้ หา - ม่งุ ม่ันใน 4. ม คี วามสนใจและ การท�ำงานกลุ่ม - ท ักษะการรวบรวม การทำ� งาน กระตือรือร้นใน - สงั เกตคุณลักษณะ ขอ้ มลู การเรยี นรู้ (A) อนั พงึ ประสงค์ - ท กั ษะการจ�ำแนก ประเภท แผนฯ ท่ี 3 - หนงั สือเรียน 1. สังเกตและอธบิ ายลักษณะ แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกจิ กรรม ศึกษากล่มุ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ภายนอกของพืชดอกได้ หาความรู้ ในสมดุ หรอื แบบฝึกหดั พชื ดอก เล่ม 1 (K) (5Es วทิ ยาศาสตร์ - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ 2. จ�ำแนกพชื ดอกเปน็ พืช Instructional - ตรวจใบงานที่ 1.3 4 ป.4 เล่ม 1 ใบเลีย้ งเดยี่ วและพืช Model) พืชใบเล้ยี งเด่ยี วและ - ใบงานที่ 1.3 ใบเลีย้ งคู่ โดยใชล้ ักษณะ พืชใบเลย้ี งคทู่ ่ชี อบ ช่วั โมง - PowerPoint ภายนอกของพชื - สงั เกตพฤติกรรม - ตวั อยา่ งใบพชื เปน็ เกณฑ์ได้ (P) การท�ำงานรายบุคคล - แผนภาพ 3. ป ฏิบัตกิ ิจกรรมเพ่อื - ส ังเกตพฤติกรรม - สมดุ ประจำ� ตวั นักเรยี น เปรยี บเทยี บลักษณะ การท�ำงานกลมุ่ ภายนอกของพืชดอก - สงั เกตคุณลักษณะ แต่ละชนิดได้ครบทุก อันพงึ ประสงค์ ขัน้ ตอน (P) 4. มีความสนใจในการเรยี นรู้ และมีความรบั ผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A) T2

แผนการจดั สอ่ื ท่ีใช้ จดุ ประสงค์ วิธสี อน ประเมิน ทักษะท่ีได้ คณุ ลกั ษณะ การเรยี นรู้ อันพึงประสงค์ แผนฯ ท่ี 4 - ห นงั สอื เรยี น 1. สังเกตและบรรยาย แบบสบื เสาะ - ตรวจการท�ำกจิ กรรม - ทักษะการสงั เกต - มีวินยั ความหลากหลาย วิทยาศาสตร์ ป.4 ลักษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ หาความรู้ ในสมดุ หรือแบบฝกึ หัด - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝเ่ รยี นรู้ ของสัตว์ เล่ม 1 ของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลัง (5Es วทิ ยาศาสตร์ ค้นหา - มุ่งมนั่ ใน 6 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ได้ (K) Instructional - ต รวจใบงานที่ 1.4 - ท กั ษะการรวบรวม การท�ำงาน ป.4 เล่ม 1 2. จ�ำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์ Model) จ�ำแนกสัตวม์ กี ระดูก ขอ้ มลู ชัว่ โมง - ใบงานที่ 1.4-1.6 ม กี ระดูกสันหลงั และสัตว์ สนั หลงั - ท ักษะการจ�ำแนก - วดี ิทศั นส์ ารคดเี กยี่ วกบั ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั โดย - ต รวจใบงานที่ 1.5 สัตวม์ ีกระดกู สนั หลังและ ใช้การมีกระดกู สันหลัง วเิ คราะห์ลักษณะของ ประเภท สัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง เป็นเกณฑไ์ ด้ (P) สัตวม์ กี ระดกู สนั หลงั - ทักษะการสรปุ - PowerPoint 3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพอ่ื - ตรวจใบงานท่ี 1.6 อ้างอิง - บตั รภาพ จำ� แนกสัตวอ์ อกเป็นกลุ่ม จ�ำแนกสตั วม์ ีกระดกู - ท ักษะการให้ - กระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ ไดถ้ ูกตอ้ งตามขัน้ ตอน สนั หลังและสัตว์ไมม่ ี เหตุผล - วัสด-ุ อุปกรณ์กิจกรรม (P) กระดกู สนั หลัง - ทักษะการคิด สรา้ งสรรคผ์ ลงาน 4. ม คี วามสนใจและ - ก ารน�ำเสนอผล วเิ คราะห์ - สมุดประจำ� ตวั นกั เรยี น กระตือรือรน้ ใน การท�ำกิจกรรม การเรียนรู้ (A) - ต รวจชน้ิ งาน/ผลงาน (โมบายการจ�ำแนก กล่มุ พืช) - ก ารน�ำเสนอชิน้ งาน/ ผลงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม การท�ำงานรายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรม การท�ำงานกลุ่ม - สงั เกตคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ แผนฯ ที่ 5 - หนงั สอื เรยี น 1. สังเกตและบรรยายหน้าท่ี แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกจิ กรรม - ท กั ษะการสังเกต - มวี นิ ัย หนา้ ท่ขี อง วิทยาศาสตร์ ป.4 ของสว่ นตา่ ง ๆ ของ หาความรู้ ในสมดุ หรอื แบบฝึกหดั - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้ สว่ นต่าง ๆ เลม่ 1 พชื ดอกได้ (K) (5Es วทิ ยาศาสตร์ คน้ หา - มงุ่ มนั่ ใน ของพืชดอก - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. เปรยี บเทยี บพืชดอกทมี่ ี Instructional - ตรวจใบงานท่ี 1.7 - ทักษะการระบุ การทำ� งาน ป.4 เล่ม 1 ลักษณะโครงสรา้ งเหมือน Model) คำ� ศัพท์โครงสร้างสว่ น - ท ักษะการสรปุ 2 - ใบงานที่ 1.7 กนั และแตกต่างกนั ได้ (P) ต่าง ๆ ของพชื ดอก อา้ งองิ - PowerPoint 3. มีความสนใจและ - ก ารน�ำเสนอผล ชวั่ โมง - ภาพโครงสรา้ งภายนอก กระตือรอื ร้นใน การท�ำกจิ กรรม ของพชื การเรยี นรู้ (A) - สงั เกตพฤตกิ รรม - กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ การท�ำงานรายบุคคล - สมดุ ประจำ� ตัวนกั เรียน - ส ังเกตพฤติกรรม การท�ำงานกลุ่ม - ส ังเกตคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ T3

แผนการจดั สอ่ื ที่ใช้ จดุ ประสงค์ วิธสี อน ประเมนิ ทกั ษะท่ีได้ คณุ ลกั ษณะ การเรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ แผนฯ ท่ี 6 - ห นงั สอื เรยี น 1. สงั เกตและบรรยายหน้าที่ แบบสบื เสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสังเกต - มวี ินัย ศึกษาท่อลำ� เลยี ง วทิ ยาศาสตร์ ป.4 รากและลำ� ต้นของ หาความรู้ ในสมดุ หรือแบบฝึกหดั - ทักษะการตั้ง - ใฝเ่ รียนรู้ ของพืช เล่ม 1 พชื ดอกได้ (K) (5Es วิทยาศาสตร์ สมมติฐาน - ม่งุ ม่ันใน - ทกั ษะการทดสอบ การท�ำงาน 3 - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ 2. สังเกตและอธิบายเก่ียวกับ Instructional - การนำ� เสนอผล สมมตฐิ าน ป.4 เลม่ 1 โครงสรา้ งของทอ่ ล�ำเลียง Model) การท�ำกจิ กรรม - ทักษะการให้ ช่ัวโมง - PowerPoint ภายในต้นพืชได้ (K) - สงั เกตพฤติกรรม เหตุผล - บตั รภาพ 3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมการ การท�ำงานรายบุคคล - ทกั ษะการรวบรวม - สมุดประจำ� ตวั นกั เรียน ทดลองเพอ่ื อธิบายหนา้ ที่ - สงั เกตพฤตกิ รรม ขอ้ มูล ท่อลำ� เลยี งของพืชไดค้ รบ การท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการสรปุ ทุกขน้ั ตอน (P) - สงั เกตคณุ ลักษณะ อา้ งอิง 4. รับผิดชอบต่อหน้าท่ี อันพงึ ประสงค์ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย (A) แผนฯ ที่ 7 - ห นังสือเรียน 1. สงั เกตและบรรยายหน้าท่ี แบบสืบเสาะ - ตรวจการทำ� กจิ กรรม - ทักษะการสงั เกต - มีวินัย การคายน�ำ้ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ใบของพืชดอกได้ (K) หาความรู้ ในสมุดหรอื แบบฝึกหัด - ทกั ษะการตั้ง - ใฝ่เรยี นรู้ ของพชื เลม่ 1 2. ป ฏบิ ัติกิจกรรมเพอื่ (5Es วทิ ยาศาสตร์ - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ อธบิ ายการคายน�ำ้ ของ Instructional - ตรวจใบงานท่ี 1.8 สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน 2 ป.4 เล่ม 1 พืชได้ครบถว้ นตาม Model) ใบของพชื - ทักษะการทดสอบ การท�ำงาน - ใบงานที่ 1.8 ขั้นตอน (P) - การน�ำเสนอผล สมมติฐาน ชว่ั โมง - PowerPoint 3. ให้ความรว่ มมอื ในการทำ� การท�ำกจิ กรรม - ทักษะการสรุป อ้างองิ - Q R Code การคายน�ำ้ กจิ กรรมและรับผิดชอบ - สงั เกตพฤติกรรม - ทกั ษะการให้ ของพชื ต่องานทีไ่ ด้รับมอบหมาย การท�ำงาน เหตผุ ล - ต้นพืชขนาดไมใ่ หญ่ (A) รายบคุ คล - ภาพรูปร่างลักษณะของ - ส ังเกตพฤติกรรม ใบ การท�ำงานกลมุ่ - สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรียน - สังเกตคุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ แผนฯ ที่ 8 - หนังสอื เรยี น 1. สงั เกตและอธิบายเก่ยี วกับ แบบสบื เสาะ - ตรวจการทำ� กจิ กรรม - ทักษะการสงั เกต - มวี นิ ยั การสรา้ งอาหาร วิทยาศาสตร์ ป.4 กระบวนการสรา้ งอาหาร หาความรู้ ในสมดุ หรอื แบบฝกึ หดั - ทกั ษะการตงั้ - ใฝเ่ รียนรู้ ของพืช เลม่ 1 ของพืชได้ (K) (5Es วิทยาศาสตร์ สมมตฐิ าน - ม่งุ มัน่ ใน 2 - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ 2. ป ฏิบตั ิกรรมการทดลอง Instructional - ต รวจรายงาน เร่อื ง - ท ักษะการทดสอบ การท�ำงาน ป.4 เล่ม 1 เพอื่ ตรวจสอบวา่ พืชสะสม Model) ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ สมมตฐิ าน ช่ัวโมง - ใบงานที่ 1.3 อาหารประเภทแป้งได้ การเจริญเติบโตและ - ทกั ษะการสรปุ - PowerPoint (P) การสงั เคราะหด์ ้วยแสง อ้างอิง - ตวั อย่างใบพชื 3. ใหค้ วามรว่ มมอื ในการท�ำ ของพืช - ทกั ษะการเชอ่ื มโยง - แผนภูมิ กจิ กรรมตลอดเวลา (A) - ก ารน�ำเสนอผล - แผนภาพ การท�ำกจิ กรรม - สมุดประจำ� ตัวนักเรียน - สังเกตพฤติกรรม การท�ำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรม การท�ำงานกลมุ่ - สงั เกตคุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ T4

แผนการจัด สอื่ ท่ีใช้ จดุ ประสงค์ วิธสี อน ประเมนิ ทกั ษะท่ีได้ คุณลักษณะ การเรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ แผนฯ ที่ 9 ส่วนประกอบ - ห นังสอื เรยี น 1. สงั เกต ระบุ และบรรยาย แบบสบื เสาะ - ต รวจแบบทดสอบ - ทักษะการสงั เกต - มวี นิ ัย ของดอก วทิ ยาศาสตร์ ป. 4 สว่ นประกอบและหนา้ ที่ หาความรู้ หลงั เรียน - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝเ่ รียนรู้ เลม่ 1 ของสว่ นประกอบของดอก (5Es - ต รวจการท�ำกจิ กรรม 3 - แบบฝึกหัด ได้ (K) Instructional ในสมดุ หรือแบบฝกึ หดั ค้นหา - มุง่ มน่ั ใน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพอื่ สังเกต Model) วิทยาศาสตร์ - ทักษะการระบุ การท�ำงาน ชัว่ โมง เล่ม 1 ส่วนประกอบของดอก - ตรวจใบงานท่ี 1.9 - ทักษะการใหเ้ หตผุ ล - ใบงานท่ี 1.9 ตามขนั้ ตอนได้ (P) ความแตกตา่ งของส่วน - ทักษะการคิด - PowerPoint 3. มคี วามสนใจ ประกอบของดอกไม้ วเิ คราะห์ - บัตรภาพ - ตัวอยา่ งดอกไม้ และกระตอื รอื ร้นใน - ต รวจชนิ้ งาน/ผลงาน - ใบความรทู้ ่ี 1.1 การเรียนรู้ (A) (สมดุ ภาพดอกของพชื - กระดาษแขง็ และส่วนประกอบของ - วัสดุ-อุปกรณก์ จิ กรรม ดอก) สรา้ งสรรค์ผลงาน - ก ารน�ำเสนอชิน้ งาน/ - สมุดประจำ� ตัวนกั เรยี น ผลงาน - แบบทดสอบหลงั เรยี น - สังเกตพฤตกิ รรม การท�ำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรม การท�ำงานกลุม่ - สังเกตคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ T5

Chapter Concept Overview 1. กลุมสง่ิ มชี ีวิต เมอื่ ใชล้ กั ษณะความเหมอื นกนั หรอื ความแตกตา่ งกนั ของสง่ิ มชี วี ติ เปน็ เกณฑใ์ นการจดั กลมุ่ สงิ่ มชี วี ติ สามารถจดั กลมุ่ สงิ่ มชี วี ติ ได ้ 3 กลมุ่ ดงั นี้ กลุ่มส่ิงมชี ีวติ กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสตั ว์ พชื ไมม่ ดี อก 2. ความหลากหลายของพืช • ไมม่ ดี อกตลอดการดา� รงชีวติ เมื่อใชเ้ กณฑก์ ารมดี อก สามารถจดั กลมุ่ พืชได ้ 2 กลมุ่ ใหญ ่ ดงั น้ี ถึงแม้มกี ารเจรญิ เตบิ โตเต็มที่ แลว้ ก็ตาม กล่มุ พืช • สว่ นใหญส่ บื พันธ์ุด้วยสปอร์ พชื ดอก • ม สี ่วนประกอบ คือ ราก ลา� ตน้ • เ มื่อเจริญเตบิ โตเตม็ ท่ีแลว้ และใบ แตไ่ มม่ ีดอก จะสรา้ งดอกขน้ึ เพอ่ื ใช้ใน การสืบพันธุ์ • ม สี ่วนประกอบ คือ ราก ล�าต้น ใบ และดอก เมอื่ ใชล้ ักษณะของราก ล�าตน้ และใบของพืช มาเปน็ เกณฑร์ ว่ มกันสามารถจัดกลมุ่ พชื ดอกได้ 2 ประเภท ดงั น้ี พืชดอก พืชใบเลยี้ งเดี่ยว พชื ใบเลยี้ งคู่ • กลบี ดอกมจี �านวน 3 หรอื • ก ลบี ดอกมจี า� นวน 4-5 หรอื ทวคี ณู ของ 3 ทวคี ณู ของ 4-5 • ใบเรยี วแคบ เสน้ ใบขนาน • ใบกวา้ ง เสน้ ใบเป็นร่างแห • ล�าต้นเป็นขอ้ ปลอ้ งชัดเจน • ล�าต้นเปน็ ข้อปลอ้ งไมช่ ัดเจน • มใี บเลย้ี ง 1 ใบ ในระยะที่งอกออก • ม ีใบเล้ยี ง 2 ใบ ในระยะท่ีงอก จากเมล็ด ออกจากเมล็ด • มีระบบรากฝอย • มรี ะบบรากแก้ว T6

3. ความหลากหลายของสัตว์ หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี 1 นกั วิทยาศาสตรไ์ ด้จัดกล่มุ สตั ว ์ โดยใช้ลกั ษณะการมกี ระดกู สนั หลังของสัตว์เปน็ เกณฑ์ ดงั นี้ สตั ว์มกี ระดกู กลมุ่ สตั ว์ สตั วไ์ มม่ ี สนั หลงั กระดกู สันหลงั กล่มุ ปลา ฟองน�้า กล่มุ สัตวส์ ะเทนิ น�า้ สะเทินบก สัตวท์ ม่ี ลี า� ตัวกลวงหรือลา� ตวั มโี พรง กลุม่ สัตว์เล้อื ยคลาน หนอนตัวแบน กลุ่มนก หนอนตัวกลม กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�า้ นม สตั วท์ ี่มลี �าตัวเปน็ ปล้อง สัตวท์ ะเลผวิ ขรขุ ระ หอยและหมกึ ทะเล สตั ว์ท่ีมขี าเป็นขอ้ 4. หน้าทีข่ องสว นตาง ๆ ของพืช ดอกมหี น้าทใ่ี นการสบื พันธุ ์ ส่วนประกอบของดอก มีดังนี้ - เกสรเพศเมยี ทา� หนา้ ทสี่ ร้างเซลลส์ บื พนั ธุเ์ พศเมยี - เกสรเพศผู้ ท�าหน้าทสี่ ร้างเซลลส์ บื พนั ธ์เุ พศผู้ - กลีบดอก ทา� หน้าทหี่ ่อห้มุ เกสรขณะท่ีเกสรยังอ่อนอยู่ และ ช่วยล่อแมลงให้มาผสมเกสร - กลีบเลยี้ ง ท�าหนา้ ท่หี ่อหมุ้ สว่ นของดอกในขณะทย่ี งั ตมู อยู่ ใบมีหน้าทห่ี ลกั คือ สร้างอาหาร หายใจ และคายน้�า ลาํ ต้นเปน็ ทางล�าเลียงน�้าและแร่ธาตุขน้ึ ไปสูส่ ่วนตา่ ง ๆ ของพืช และล�าเลียงอาหารทส่ี รา้ งจากใบไปสสู่ ว่ นตา่ ง ๆ ของล�าตน้ รากมีหน้าทีด่ ดู น�า้ และแรธ่ าตทุ อี่ ยใู่ นดินขน้ึ ไปเลย้ี ง ส่วนต่าง ๆ ของพชื T7

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ 1 ความหลากหลายหน่วยการเรียนรู้ท่ี ของสงิ่ มชี วี ติ กระตนุ ความสนใจ สง่ิ มชี วี ติ รอบตวั เรามหี ลายชนดิ และแตล่ ะชนดิ จะ 1. ครทู กั ทายกบั นกั เรยี น แลว แจง ผลการเรยี นรทู ี่ มลี กั ษณะสำ� คญั บำงอยำ่ งเหมอื นกนั หรือแตกตำ่ งกนั จะเรยี นในวันน้ใี หน ักเรยี นทราบ ซงึ่ เรำสำมำรถใชเ้ ปน็ เกณฑ ์  ในกำรจดั กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ เปน็ กลมุ่ พชื  กลมุ่ สตั ว ์ และกลมุ่ ท ่ีไม ่ใชพ่ ชื และสตั ว ์ได้ 2. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพ่ือวัด   พชื ดอกมีโครงสรำ้ งภำยนอกทสี่ ำ� คญั หลำยสว่ น ความรเู ดมิ ของนักเรยี นกอ นเขาสูกิจกรรม ซึ่งโครงสรำ้ งแตล่ ะสว่ นของพชื ดอกทำ� หนำ้ ทตี่ ำ่ งกนั เพ่ือให้พืชสำมำรถด�ำรงชีวิตและขยำยพันธุ์ต่อได้ 3. ครูกระตุนความสนใจโดยนําลูกอมที่มีสีตางๆ คละกันมาแจกนกั เรยี นคนละ 1 เมด็ ตวั ชว้ี ดั 1. บรรยายหนา้ ที่ของราก ล�าตน้ ใบ และดอก ของพืชดอกโดยใช้ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ (มฐ. ว 1.2 ป.4/1) 4. ครูสุมเลือกสีของลูกอมโดยใหนักเรียนยกมือ 2. จ�าแนกส่งิ มีชีวิตโดยใชค้ วามเหมือนและความแตกตา่ งของลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ ออกเปน็ กล่มุ พชื กล่มุ สตั ว์ และกล่มุ ท่ไี มใ่ ช่พชื ชูลูกอมที่ตนเองไดร บั จากนัน้ ครเู ลอื กสลี กู อม ทม่ี จี าํ นวนนกั เรยี นอยใู นสนี น้ั นอ ยทส่ี ดุ ออกมา และสตั ว์ (มฐ. ว 1.3 ป.4/1) หนาชนั้ เรียน 3. จ�าแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไมม่ ีดอก โดยใชก้ ารมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ (มฐ. ว 1.3 ป.4/2) 4. จ�าแนกสตั ว์ออกเปน็ สัตวม์ กี ระดกู สนั หลังและสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลงั โดยใช้การมีกระดกู สันหลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มูลทร่ี วบรวมได้ 5. ครูตั้งคําถามวา หากตองการจัดกลุมหรือ จําแนกเพื่อนที่อยูหนาช้ันเรียนออกเปนกลุม (มฐ. ว 1.3 ป.4/3) นักเรียนจะใชเกณฑใดบาง แลวใหนักเรียน 5. บรรยายลักษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ องสัตว์มกี ระดกู สนั หลังในกลุ่มปลา กลุ่มสตั ว์สะเทนิ น้า� สะเทนิ บก กลมุ่ สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน กล่มุ นก ชวยกนั ระดมความคดิ ในการตอบคาํ ถาม และกลมุ่ สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนา้� นม และยกตวั อยา่ งสง่ิ มชี วี ติ ในแตล่ ะกลมุ่ (มฐ. ว 1.3 ป.4/4) 6. ครขู ออาสาสมคั รนกั เรยี น 2 คน กาํ หนดเกณฑ ท่ีใชสําหรับจัดกลุมเพื่อนหนาชั้นเรียนคนละ 1 เกณฑ แลว เพอื่ นในหอ งชว ยกนั ตรวจสอบวา สามารถจดั กลุมเพอื่ นตามเกณฑน น้ั ไดห รือไม (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล) ขน้ั สอน สาํ รวจคน หา 1. ครใู หน กั เรยี นอา นสาระสาํ คญั และดภู าพหนว ย การเรียนรูที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ิต จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.4 เลม 1 หนา น้ี จากนนั้ ถามนกั เรยี นวา ภาพนมี้ สี งิ่ มชี วี ติ อะไรบา ง นกั เรยี นรจู ักหรอื ไม แลว ใหน กั เรยี น ชวยกันตอบคําถามอยางอิสระ (แนวตอบ ผเี สอื้ กับดอกไม) เกร็ดแนะครู ในการเรียนหนวยการเรียนรูท่ี 1 น้ี ครูควรจัดกระบวนการเรียนรูโดยให นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมรวมกัน ดังนี้ • จาํ แนกกลมุ ส่ิงมชี ีวิต • จําแนกพืชออกเปนพชื ดอก พชื ไมมดี อก • จาํ แนกพืชดอกออกเปน พชื ใบเล้ยี งเดย่ี ว และพืชใบเลีย้ งคู • สงั เกต อธิบาย และจาํ แนกสตั วโดยใชการมกี ระดกู สันหลังเปน เกณฑ • อธิบายหนา ทีข่ องสว นตางๆ ของพืช โดยครคู วรใหน กั เรยี นไดล งมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว ยตนเอง จนเกดิ เปน ความรู ความเขาใจที่ถูกตอง รวมทั้งสามารถนําวิธีการทางวิทยาศาสตรและทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรม าใชค นหาคาํ ตอบเก่ียวกับประเด็นทส่ี งสัยได T8

1บทท ่ี กลØม่ สง่ิ มชี วี ิต นาํ สอน สรปุ ประเมนิ สง่ิ มชี วี ติ Key words ขน้ั สอน (organism) • organism สาํ รวจคน หา • plant พชื • animal 2. ใหน ักเรยี นดภู าพในหนาบทที่ 1 กลมุ สง่ิ มชี วี ติ • fungus จากหนงั สอื เรยี น หนา 3 แลว ถามคาํ ถามสาํ คญั (plant) ประจําบท จากน้ันใหนักเรียนชวยกันอธิบาย ¹Ñ¡àÃÕ¹ คําตอบ โดยครูชี้แจงเพิ่มเติมวา ใหนักเรียน นกึ ถงึ กจิ กรรมทม่ี กี ารจดั กลมุ เพอ่ื นหนา ชนั้ เรยี น ?ÊÒÁÒö㪌ࡳ±ã´ ที่ผา นมา 㹡ÒèíÒṡ (แนวตอบ ลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวติ การกนิ อาหาร ¡ÅØ‹ÁÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ การสรางอาหาร การยอยสลายสิ่งมีชีวิตอ่ืน ä´ŒºŒÒ§ เปนอาหาร เปน ตน ) 3. นักเรียนเรียนรูคําศัพทที่เก่ียวของกับการเรียน ในบทที่ 1 โดยครูเปนผอู านนําและใหน ักเรียน อา นตาม 4. นักเรียนวาดภาพหรือติดภาพสิ่งมีชีวิตตางๆ ทน่ี กั เรยี นรจู กั 5-10 ภาพ ลงในสมดุ แลว จดั กลมุ ส่ิงมีชีวิตเหลานั้น โดยใชเกณฑที่กําหนดเอง หรือทํากิจกรรมนําสูการเรียนในแบบฝกหัด วทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 1 หนา 2 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล) เหด็ รา สัตว์ (fungus) (animal) กิจกรรม นา� ส¡‹ู ารเรีÂน 3 นักเรียนควรรู ครูฝกใหน กั เรยี นเรยี นรแู ละอานคําศพั ทวทิ ยาศาสตร ดงั นี้ Organism (‘ออกะนิซมึ ) สงิ่ มชี วี ติ Plant (พลานท) พชื Animal (‘แอ็นนมิ ลั ) สตั ว Fungus (‘ฟง กสั ) เหด็ รา T9

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน 1. การจัดกลØม่ สงิ่ มีชวี ติ สาํ รวจคน หา สิ่งมีชีวิตท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเรามีมากมาย นักวิทยาศาสตร์ได้ส�ารวจและเก็บ รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตเพ่ือน�ามาศึกษาและจ�าแนกประเภทโดย 5. ครใู หน ักเรยี นเลน เกมผงึ้ สรา งรัง เพื่อแบง กลุม ใช้ความเหมอื นและความแตกต่างจากลกั ษณะต่าง ๆ ของส่งิ มีชวี ิต เชน่ ลกั ษณะ นักเรยี นออกเปนกลมุ กลมุ ละ 4-5 คน โดยครู ภายนอก การเคลื่อนที่ หรือการกินอาหาร เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต อธิบายวิธีการเลนใหนักเรียนฟง จากนั้นให เปน็ กลุม่ พืช กลุม่ สตั ว์ และกลุม่ ที่ไมใ่ ช่พืชและสัตว์ นกั เรยี นเลน เกม 2-3 ครงั้ จนไดก ลมุ ครบทกุ คน ภาพที่ 1.1 ส่ิงมีชีวติ ชนดิ ตา่ ง ๆ 6. แตละกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและรูปภาพใน หวั ขอ ที่ 1 การจดั กลมุ สงิ่ มชี วี ติ จากหนงั สอื เรยี น หนา น้ี 7. ครเู ปด PPT เรื่อง กลุมสิง่ มีชีวติ ใหนักเรยี นดู จากน้ันถามคําถามกระตุนความคิดโดยให นักเรียนแตละกลุมอภิปรายและหาคําตอบ รวมกันวา สิ่งมีชีวิตแตละกลุมน้ันมีลักษณะ เหมือนกันหรอื แตกตางกนั อยา งไร (แนวตอบ มลี กั ษณะแตกตางกนั เชน บางชนดิ สรางอาหารได บางชนิดสรางอาหารไมได บางชนิดกินส่ิงมีชีวิตอื่นเปนอาหาร บางชนิด ยอ ยสลายส่ิงมชี วี ติ อนื่ ได เปน ตน) ÊèÔ§ÁÕªÕÇԵᵋÅÐ¡ÅØ‹Á¹éѹÁÕÅѡɳРàËÁÍ× ¹¡¹Ñ ËÃÍ× áµ¡µÒ‹ §¡¹Ñ ÍÂÒ‹ §äà 4 เกร็ดแนะครู กอนการทํากิจกรรมที่ 1 เร่ือง การจัดกลุมสิ่งมีชีวิต ครูอาจเตรียมภาพ สงิ่ มีชวี ติ ชนิดตา งๆ มาใชในการทาํ กิจกรรมเพ่อื ใหนกั เรยี นเขา ใจไดดีย่งิ ขึ้น สื่อ Digital ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับกลุมสิ่งมีชีวิตเพิ่มเติมจากสื่อ PowerPoint เรอื่ ง กลมุ สงิ่ มีชีวิต ดังภาพตัวอยา ง T10

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ กจิ กรรมท่ี 1 1หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ขน้ั สอน การจดั กลุมส่ิงมีชีวติ ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวิต สาํ รวจคน หา ทกั ษะกระบวนการ จุดประสงค ทางวิทยาศาสตร์ท่ีใช้ 8. ครูแจงวาจะใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม 1. การสังเกต การสํารวจและจัดกลุมส่ิงมีชีวิตในกิจกรรมท่ี 2. การจา� แนกประเภท 1 เร่ือง การจดั กลมุ ส่ิงมีชีวิต ตอนท่ี 1-2 จาก 3. การลงความเห็นจากขอ้ มลู หนังสือเรียน หนาน้ี โดยครูแจงจุดประสงค 4. การตคี วามหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรุป ของการทํากจิ กรรมใหน ักเรียนทราบกอ น 1. สา� รวจและสบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส�าคญั ของสิ่งมชี วี ติ ตา่ ง ๆ 9. แตละกลุม รว มกนั ทํากจิ กรรมท่ี 1 ตอนที่ 1-2 2. จ�าแนกส่ิงมีชวี ติ โดยใชล้ ักษณะความเหมือนและความแตกตา่ งของสง่ิ มชี วี ิตเปน็ เกณฑ์ โดยปฏิบตั ิกจิ กรรม ดังน้ี 1) ศกึ ษาขนั้ ตอนการทาํ กจิ กรรมอยา งละเอยี ด ตองเตรียมตองใช หากมีขอ สงสัยใหสอบถามครู 2) ชวยกันกําหนดปญหาและตั้งสมมติฐานใน 1. แผนภาพกลุ่มพชื กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มทไี่ ม่ใช่พืชและสตั ว์ (ครูเตรยี มให)้ การทาํ กิจกรรม 2. แหลง่ ข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้ 3) รว มกนั ทาํ กจิ กรรมตามขน้ั ตอนใหค รบถว น และถกู ตอ งทกุ ขน้ั ตอน แลว บนั ทกึ ผลลงใน ลองทําดู ตอนท ่ี 1 สมดุ หรอื ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 4 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช 1. แบง่ กลุ่ม แล้วร่วมกนั ศกึ ษาแผนภาพลกั ษณะส�าคญั ของกลมุ่ สง่ิ มีชีวิตท่ีครูเตรยี มไว้ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ) 2. ช่วยกนั สืบคน้ ข้อมลู เพมิ่ เติมเกย่ี วกบั ลักษณะสา� คัญของกลมุ่ สิ่งมีชวี ติ กลมุ่ ต่าง ๆ 3. นา� ขอ้ มลู จากการศกึ ษาแผนภาพและการสบื คน้ ขอ้ มลู มาอภปิ รายและลงความเหน็ รว่ มกนั อธบิ ายความรู แลว้ บนั ทึกผลลงในสมุด 1. นกั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั อภปิ รายและสรปุ ผล จากการทํากจิ กรรมภายในกลมุ ตอนที่ 2 2. แตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงาน 1. ส�ารวจสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในบริเวณบ้าน โรงเรียน หรือชุมชน แล้วบันทึกผลโดยวาดภาพ หนา ชนั้ เรยี น โดยครสู มุ จบั สลากเลอื กทลี ะกลมุ ส่งิ มีชวี ติ และอธิบายลกั ษณะส�าคัญท่ีสังเกตได้ 3. นกั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ เสนอผลงานหนา ชนั้ เรยี น 2. ช่วยกันจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตท่ีส�ารวจพบ โดยใช้ลักษณะความเหมือนและความแตกต่างของ จากน้ันรวมกันอภิปรายและสรุปผลเก่ียวกับ กลุ่มสง่ิ มีชีวติ เป็นเกณฑ์ การจัดกลุมส่ิงมีชีวิต โดยใชลักษณะของ สิง่ มีชวี ติ ท่สี ังเกตไดเ ปน เกณฑ 3. นา� เสนอผลการจดั กล่มุ ส่ิงมชี ีวติ หน้าชั้นเรียน เพ่ือเปรียบเทียบผลกบั กลุม่ อืน่ ๆ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) หนูตอบได 1. เราสามารถจัดกลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ ไดก้ ี่กลุม่ อะไรบ้าง 2. กลมุ่ ส่งิ มชี ีวติ แต่ละกลมุ่ มีลกั ษณะเหมอื นกันหรอื แตกต่างกัน อยา่ งไรไร 3. หากต้องการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิตกลุ่มสัตว์และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ออกจากกัน เราควรใช้ เกณฑ์ใดจึงเหมาะสมที่สุด ระหว่างการย่อยสลายสิ่งมีชีวิตอ่ืนหรือลักษณะการกินอาหาร เพราะอะไร 5 (หมายเหตุ : คาํ ถามขอสุดทายของหนูตอบได เปน คาํ ถามท่อี อกแบบใหผูเรียนฝกใชท กั ษะการคิดขัน้ สงู คอื การคิดแบบใหเ หตผุ ล และการคดิ แบบโตแยง ซง่ึ ผูเรียนอาจเลือกตอบอยา งใดอยางหน่งึ กไ็ ด ใหค รู พจิ ารณาจากเหตผุ ลสนบั สนุน) กิจกรรม 21st Centurey Skills แนวตอบ หนตู อบได 1. ใหน กั เรยี นแบง กลุมตามความสมัครใจ กลมุ ละ 3-4 คน ขอ 3. 2. ใหชวยกันออกแบบจําลองกลุมพืช กลุมสัตว และกลุมที่ไมใช • การยอยสลายส่ิงมีชีวิตอ่ืน เพราะกลุมที่ไมใชพืชและสัตว สวนใหญเปน พืชและสัตว โดยใชวัสดอุ ปุ กรณทมี่ ีในทองถ่ิน ส่ิงมีชีวิตท่ียอยสลายซากส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ เพ่ือเปนอาหาร สวนกลุมสัตวเปนกลุม 3. สรางแบบจําลองโดยแบงหนาท่ีความรับผิดชอบของสมาชิก ท่ีไมสามารถยอยสลายซากส่ิงมีชีวิตอ่ืนได สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 กลุม จึงมีลักษณะ แตกตางกนั แตล ะคนใหช ดั เจน 4. นาํ เสนอแบบจาํ ลองหนา ชนั้ เรยี นดว ยวธิ กี ารสอ่ื สารทห่ี ลากหลาย • ลักษณะการกินอาหาร เพราะกลุมที่ไมใชพืชและสัตว สวนใหญเปน สงิ่ มชี วี ติ ทย่ี อ ยสลายซากของสง่ิ มชี วี ติ อนื่ เปน อาหาร สว นกลมุ สตั ว เปน กลมุ ทกี่ นิ เพอ่ื ใหผอู น่ื เขา ใจผลงานไดด ขี ้ึน สิ่งมีชีวิตอ่ืนเปนอาหาร ส่ิงมีชีวิตทั้ง 2 กลุม จึงมีลักษณะการกินอาหารท่ี แตกตา งกนั T11

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สรปุ ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้างและการด�ารงชีวิตแตกต่างกันไป สงิ่ มชี วี ติ ทจี่ ดั อยใู่ นกลมุ่ เดยี วกนั จะมลี กั ษณะบางประการทเ่ี หมอื นกนั จงึ สามารถ ขยายความเขา ใจ ใชล้ กั ษณะความเหมอื นหรอื ความแตกตา่ งของสง่ิ มชี วี ติ เปน็ เกณฑใ์ นการจดั กลมุ่ สง่ิ มีชีวิตเป็น 3 กลมุ่ ใหญ่ ดังน้ี 1. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาลักษณะ ของสิ่งมีชีวิตกลุมตางๆ จากหนังสือเรียน กล่มุ พชื หนา 6-7 แลว ครสู มุ เลอื กตวั แทนของแตล ะกลมุ ใหส รุปเน้อื หาท่ีศกึ ษาใหเพือ่ นในหองฟง ด้วยแสพงชื โเดปยน็ ใกชล้รมุ่งสคง่ิวมตั ชีถวีสุ ติ ีเขทยีสี่ วาทมาีพ่ รืชถสสรร้าา้ งงขอ้ึนาหาเรรยีไดกเ้ วอา่งจคากลกอรโะรบฟวลนลก1์ าพรืชสงสั เาคมราาระหถ์ เคล่ือนไหวไดแ้ ตเ่ คล่อื นทีด่ ้วยตนเองไม่ได้ สง่ิ มชี ีวิตท่ีจัดอย่ใู นกลุ่มพืช เชน่ พริก 2. ครขู ออาสามาสมคั รนกั เรยี น 3 คน ใหย กตวั อยา ง ดาวเรือง กหุ ลาบ มะนาว มะมว่ ง มอสส์ ผักแว่น ผักกดู เป็นต้น สิง่ มีชีวิตทีอ่ ยใู นแตละกลุม ดงั นี้ • คนท่ี 1 ใหยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตกลุมพืช ภาพท่ี 1.2 มะนาว ภาพท่ี 1.3 พริก ภาพท่ี 1.4 ผกั แว่น 3 ตัวอยา ง • คนท่ี 2 ใหยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตกลุมสัตว กลมุ่ สัตว์ 3 ตัวอยาง • คนท่ี 3 ใหย กตวั อยางส่ิงมีชีวิตกลุมทีไ่ มใช สัตว์ เปน็ กล่มุ สงิ่ มชี ีวิตทไ่ี ม่สามารถสรา้ งอาหารได้เองจงึ ตอ้ งกนิ สิ่งมีชวี ติ พืชและสตั ว 3 ตัวอยา ง อื่นเป็นอาหารเพ่ือให้ได้พลังงานในการด�ารงชีวิต แต่สัตว์ชนิดต่าง ๆ สามารถ เคล่อื นไหวร่างกายและเคลอื่ นทีไ่ ด้ สิง่ มีชีวิตทจี่ ัดอยูใ่ นกลุ่มสตั ว์ เชน่ สุนขั แมว 3. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมเก่ียวกับ ลิง ไก่ ปลา งู กบ ไฮดรา ดาวทะเล กิ้งกือ แมลงต่าง ๆ เปน็ ต้น จุลินทรียจากเกร็ดวิทยนารู ในหนังสือเรียน หนา 7 4. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก หนังสือเรียน หนา 5 ลงในสมุดหรือทําใน แบบฝกหัดวทิ ยาศาสตร หนา 5 5. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมพัฒนาการ เรียนรทู ี่ 1 จากหนงั สอื เรียน หนา 7 ไปทาํ เปน การบา น โดยใหท าํ ลงในสมดุ หรอื ทาํ ในใบงาน ท่ี 1.1 เรื่อง จาํ แนกสิ่งมีชีวติ ท่คี รแู จกให แลว นาํ มาสง ในช่ัวโมงถัดไป (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล) ภาพท่ี 1.5 ไฮดรา ภาพที่ 1.6 กงิ้ กอื ภาพท่ี 1.7 เต่าทอง 6 เกร็ดแนะครู ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง จาํ แนกสง่ิ มชี วี ติ ครสู ามารถหยบิ ใชไ ดจ ากแผนการจดั การ เรยี นรทู ่ี 1 เรอื่ ง การจดั กลมุ สงิ่ มชี วี ติ ของหนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 ความหลากหลาย ของสง่ิ มชี ีวิต นักเรียนควรรู 1 คลอโรฟลล (chlorophyll) เปน สารสเี ขยี วทพ่ี บมากในใบพชื ซง่ึ ทาํ หนา ท่ี ดดู กลนื พลังงานแสงจากดวงอาทิตยเขามาใชเปนแหลงพลังงานในการเปล่ียน น้าํ และแกส คารบ อนไดออกไซดใ หเ ปนนํ้าตาล และแกสออกซเิ จน T12

นาํ สอน สรปุ ประเมิน 1หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ขนั้ ประเมนิ ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ิต ตรวจสอบผล กลมุ่ ที่ไม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ 1. ครูใหนักเรียนสรุปความรูจากการเรียนจนได ขอสรุปรวมกันวา ส่ิงมีชีวิตตางๆ บนโลกมี สิ่งมีชีวิตที่ไมใ่ ชพ่ ืชและสตั ว์ เปน็ กลมุ่ ของสงิ่ มชี ีวิตนอกเหนอื จากกลมุ่ พืช หลายชนิด ซึ่งสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีลักษณะ และกลุ่มสัตว์ ซึ่งส่ิงมีชีวิตบางชนิดสร้างอาหารได้ บางชนิดสร้างอาหารไม่ได้ ตางๆ ท่ีแตกตางกันไป นักวิทยาศาสตรจึง บางชนิดช่วยย่อยสลายส่ิงมีชีวิตชนิดอ่ืน บางชนิดสามารถเคล่ือนไหวร่างกาย ใชลักษณะความเหมือนและความแตกตาง และเคล่อื นทีไ่ ด้ แต่บางชนิดไม่สามารถเคลอ่ื นที่ได้ ของสิ่งมีชีวิตตางๆ มาจัดกลุมส่ิงมีชีวิตได เปน 3 กลมุ ใหญ คือ กลมุ พชื กลมุ สัตว และ นอกจากน้ี สง่ิ มชี วี ติ บางชนิดในกล่มุ นอี้ าจก่อใหเ้ กิดโรคกบั คน สตั ว์ หรอื กลมุ ทไี่ มใ ชพืชและสตั ว พชื ได้ สิง่ มชี วี ิตทจ่ี ัดอยู่ในกลุ่มนี้ เช่น แบคทีเรีย เหด็ รา ไวรัส เปน็ ตน้ 2. ครตู รวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอ นเรยี น ภาพท่ี 1.8 เหด็ ภาพที่ 1.9 ราขนมปงั ภาพท่ี 1.10 แบคทีเรยี 3. ครูตรวจการวาดภาพหรือติดภาพส่ิงมีชีวิต เกรด็ วทิ ยน์ า่ รู้ ตางๆ ท่ีนักเรียนรูจักในสมุดหรือตรวจผล การทํากิจกรรมนําสูการเรียนในแบบฝกหัด จลุ ินทรีย์ (Microorganism) เชน่ รา แบคทเี รยี ยสี ต์ เปน ตน้ เปน สง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ท่ี วทิ ยาศาสตร หนา 2 4. ครูตรวจสอบผลการทาํ กิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง การ มองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่ ตอ้ งใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ นการสอ่ งดู จลุ นิ ทรยี บ์ างชนดิ มปี ระโยชน์ จัดกลุมสิ่งมีชีวิต ในสมุดหรือในแบบฝกหัด สามารถนา� ไปใชผ้ ลติ ยารกั ษาโรค หรอื ใชห้ มกั อาหารตา่ ง ๆ ได้ และจลุ นิ ทรยี บ์ างชนดิ อาจ วทิ ยาศาสตร หนา 4 กอ่ ใหเ้ กิดโรคต่าง ๆ กบั คน สัตว์ และพืชได้ 5. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมหนูตอบได ในสมุดหรือในแบบฝก หดั วิทยาศาสตร หนา 5 1กจิ กรรม พฒั นาการเรยี นรทู้ ่ี 6. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมพัฒนาการ เรยี นรูท ี่ 1 ในสมดุ หรอื ในใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง จําแนกส่งิ มชี วี ติ ให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ แล้วร่วมกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ดงั นี้ 1) พจิ ารณาลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ โดยใชค้ วามเหมอื นและความแตกตา่ งเปน็ เกณฑ์ 2) จ�าแนกสงิ่ มชี วี ติ เป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลมุ่ ท่ีไมใ่ ชพ่ ืชและสัตว์ 3) น�าเสนอหนา้ ชนั้ เรียนเพ่ืออภิปรายรว่ มกัน ชมพู่ ราดา� แบคทีเรยี เสือ หญา้ หอยทาก มอสส์ ววั เหด็ ฟาง หนนู า พรกิ มะลิ ไส้เดอื นดิน มด ยสี ต์ 7 แนวทางการวัดและประเมินผล ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน รายบุคคล การทํางานกลมุ และการนําเสนอผลการทาํ กจิ กรรมหนาชน้ั เรยี นได โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบทายแผนการจัดการเรียนรู ของหนว ยการเรียนรทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวติ ดังภาพตวั อยาง T13

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ 2. ความหลากหลายของพ×ช กระตนุ ความสนใจ พืชรอบตวั เรามมี ากมายหลายชนดิ พชื บางชนิดมลี �าต้นใหญ่ พชื บางชนิด มีลา� ต้นขนาดเล็ก พืชบางชนดิ มดี อก พชื บางชนดิ ไมม่ ีดอก ซ่ึงเราจะเหน็ ได้ว่า 1. ครูเตรียมตัวอยางตนพืชมาอยางนอ ย 2 ชนิด พชื แต่ละชนิดมีลกั ษณะบางอย่างต่างกัน และอาจมีลกั ษณะบางอยา่ งเหมอื นกัน (เชน มอสส มะเขอื เทศ) มาใหน ักเรียนสงั เกต ดงั นนั้ เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การศกึ ษาเกยี่ วกบั ชวี ติ ของพชื นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ จดั กลมุ่ พชื แลวใหรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ ออกเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ ได้แก่ พืชดอก และพืชไมม่ ดี อก นอกจากน้ี หากจัดกลุ่ม ลักษณะภายนอกของพืชทส่ี งั เกตได พชื ดอกโดยใชล้ กั ษณะภายนอกของพชื เปน็ เกณฑ์ เราสามารถแบง่ พชื ดอกไดเ้ ปน็ พืชใบเล้ียงเด่ียว และพชื ใบเลย้ี งคู่ 2. ครูถามคําถามนักเรียนเพื่อกระตุนความคิด โดยใหน กั เรยี นตอบคาํ ถามไดอ ยางอสิ ระ ดงั น้ี กุหลาบ บวั • พืชท้ัง 2 ชนดิ มีลกั ษณะภายนอกแตกตา ง กนั หรอื ไม อยา งไร มะระ เฟร์นขา้ หลวง (แนวตอบ แตกตางกัน เชน ตนหน่ึงมีดอก อีกตน หนึ่งไมม ดี อก เปน ตน) มอสส์ ภาพท่ี 1.11 ตัวอยา่ งพชื ชนิดต่าง ๆ (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล) ¾ª× ´Í¡áÅоª× äÁÁ‹ ´Õ Í¡ ÁÕÅ¡Ñ É³Ðᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäà 3. ครูแจงช่ือเรื่องท่ีจะเรียนรูในวันน้ีและผลการ 8 เรียนรใู หนกั เรยี นทราบ ขนั้ สอน สาํ รวจคน หา 1. นกั เรยี นอา นขอ มลู และดภู าพจากหนงั สอื เรยี น หนานี้ ในหวั ขอที่ 2 ความหลากหลายของพืช จากนนั้ ครสู มุ นกั เรยี นตามลาํ ดบั เลขท่ี 2-3 คน ใหตอบคําถาม ดังนี้ • นักเรยี นรจู กั พชื ท่ีอยใู นรูปภาพหรอื ไม (แนวตอบ ข้ึนอยูกับคําตอบของนักเรียน ใหอยูกับดุลยพินิจของครผู สู อน) • นกั เรยี นคดิ วา พชื ในภาพใดเปน พชื ดอก และ พืชในภาพใดเปน พืชไมมดี อก (แนวตอบ กหุ ลาบ บวั และมะระ เปน พชื ดอก เฟร นขา หลวง และมอสส เปน พชื ไมม ีดอก) (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) ขอสอบเนน การคดิ ตารางการสํารวจอวยั วะภายนอกของพชื 4 ชนิด ชนิดของพืช ราก อวัยวะภายนอกของพืช ผล จากขอ มูลในตารางพืชชนดิ ใด ลําตน ใบ ดอก เปนพืชมีดอก ชนิดท่ี 1 ✓ ✓ ✓ ก. ชนิดที่ 2 เทาน้นั ข. ชนดิ ที่ 2 และ 3 ชนิดท่ี 2 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ค. ชนิดที่ 1 และ 4 ชนดิ ที่ 3 ✓ ✓ ✓ ✓ ง. ชนิดท่ี 2 และ 4 ชนดิ ท่ี 4 ✓ ✓ ✓ (วิเคราะหคําตอบ พืชมีดอก คือ พืชท่ีเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แลวจะมีดอกเพื่อใชในการสืบพันธุ ดงั น้นั ขอ ข. จึงเปนคําตอบทถ่ี กู ตอง) T14

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ·èÕ 2 1หนว ยการเรยี นรทู ่ี ขน้ั สอน การจัดกลมุ พชื ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ¢ͧÊÔ§è ÁÕªÕÇÔµ สาํ รวจคน หา ทักษะกระบวนการ 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ ทางวทิ ยาศาสตรท ใ่ี ช กลุม ละ 4 คน แลวใหต ง้ั ช่ือกลุม เปนชอื่ ตนพชื 1. การสังเกต ท่แี ตล ะกลมุ ชอบหรือสนใจ 2. การจําแนกประเภท 3. การลงความเห็นจากขอ มูล 3. แตละกลุมชวยกันเขียนช่ือพืชมีดอกและ จดุ ประสงค 4. การจดั กระทําและส่ือความหมายขอ มูล พืชไมมีดอกลงในกระดาษของกลุมใหไดมาก 5. การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป ท่สี ดุ โดยใหครูจับเวลา 5 นาที หากหมดเวลา 1. สังเกตและอธิบายลกั ษณะภายนอกของพืชชนดิ ตา ง ๆ ใหครูสงสัญญาณเพื่อใหทุกกลุมหยุดเขียน 2. อธิบายการจัดกลุม พชื โดยใชล กั ษณะภายนอกของพืชเปน เกณฑ จากน้ันใหแตละกลุมชวยกันตรวจสอบวา กลุมใดเขียนไดถ ูกตอ งมากที่สุดจะเปน ผชู นะ ตองเตรียมตองใช (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ) 1. กระดาษแข็งแผน ใหญ 1 แผน 2. แหลงขอ มูล เชน หนงั สอื อนิ เทอรเน็ต เปน ตน 4. ครมู อบรางวลั หรอื ของขวญั แกก ลมุ ทช่ี นะ เพอื่ 3. ตน พชื 2 ชนดิ ไดแ ก พรกิ และเฟรน (ครูเตรยี มให) เปน การเสริมแรงในการทาํ กจิ กรรม 4. บตั รภาพตนพชื ตาง ๆ เชน ขา วโพด มอสส ใบบัวบก เปนตน (ครูเตรียมให) 5. ครูต้ังคําถาม แลวใหนักเรียนชวยกันตอบได ลองทําดู µÍ¹·Õè 1 อยา งอิสระ ดังน้ี • พชื ดอก และพชื ไมม ดี อก มลี กั ษณะแตกตา ง 1. ใหแบงกลุม กลมุ ละ 3 - 4 คน แลว รบั บัตรภาพตนพืชชนดิ ตา ง ๆ จากครกู ลมุ ละ 1 ชดุ กนั อยางไร (ชดุ ละ 8 - 10 ใบ) (แนวตอบ พืชมีดอกจะประกอบดวย ราก ลําตน ใบ และดอก สวนพืชไมมีดอกนั้น 2. ชวยกันสงั เกตลกั ษณะภายนอกของตน พชื ในบัตรภาพ และบนั ทกึ ผลลงในสมุด ประกอบดวย ราก ลําตน และใบ แตจะไมมี 3. รวมกนั แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับผลการสังเกต จากนัน้ ชวยกนั จัดกลมุ พืชโดยใชล กั ษณะ ดอกตลอดชวี ิต) • พืชมดี อกจะเรม่ิ มีดอกเมื่อใด ภายนอกของพืชเปนเกณฑ (แนวตอบ เม่อื พืชดอกเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ีแลว 4. จดั ทาํ แผนผัง แผนภาพ หรือตารางการจัดกลุมพชื ลงในกระดาษแขง็ เพือ่ นําเสนอขอมูล จะออกดอกเพอ่ื ใชใ นการสบื พนั ธ)ุ หนา ช้นั เรียน และรวมกนั อภิปรายผลการจัดกลมุ พชื 6. นักเรียนแตละกลุมรวมกันทํากิจกรรมท่ี 2 เรอื่ ง การจดั กลมุ พชื ตอนที่ 1 จากหนงั สอื เรยี น การจัดก ุลมพืช หนา น้ี ใหค รบทกุ ขอ แลว บนั ทึกผลลงในสมุด ืพช ีมดอก พืชไมมีดอก หรอื ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 8 จากนน้ั รวมกนั อภปิ รายและสรุปผลการทํากิจกรรม ภาพที่ 1.12 9 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม) เกร็ดแนะครู ครใู หค วามรกู บั นกั เรยี นเพม่ิ เตมิ วา พชื ดอก (angiosperm) จดั เปน พชื ชน้ั สงู ทม่ี สี ว นประกอบตางๆ ครบสมบูรณ คือ ราก ลาํ ตน ใบ และดอก พชื ดอกอาศยั ดอกในการสืบพันธุ โดยดอกเปนท่ีเกิดการปฏิสนธิระหวางไขกับเกสรเพศผู แลวเกิดเปนตัวออนข้ึนภายในเมล็ด พืชดอกสวนใหญเปนพืชท่ีพบไดท่ัวไป เชน กุหลาบ มะลิ ขา ว มะมว ง มงั คุด เปน ตน แตม พี ืชดอกบางชนิดที่เราอาจจะ ไมเคยเห็นดอกเลย เน่ืองจากมีดอกขนาดเล็กมาก หรือใชเวลาหลายปกวาจะ ออกดอก เชน ตะไคร โกสน เปน ตน T15

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ตอนที ่ 2 สาํ รวจคน หา 1. สงั เกตลกั ษณะภายนอกของตน้ พริกและเฟร์น วาดภาพและบันทกึ ผล 2. สบื คน้ เพ่ิมเติมจากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ เก่ยี วกบั ลักษณะภายนอกของพืชท้งั 2 ชนดิ น้ี 7. ครูขออาสาสมคั รนกั เรียน 2 คน โดยคนหนึง่ ใหยกตวั อยางพืชดอก 3 ชนิด และอีก 1 คน แลว้ บนั ทึกผล ใหย กตัวอยางพชื ไมม ดี อก 3 ชนดิ จากนนั้ ให 3. เปรยี บเทยี บลักษณะท่เี หมอื นกนั และลกั ษณะท่ีแตกต่างกันของพชื ทงั้ 2 ชนิด นักเรียนท้ังหองชวยกันตรวจสอบวาถูกตอง 4. อภปิ รายผลการสังเกต และสรุปผลการทา� กจิ กรรมรว่ มกันภายในชั้นเรยี น หรอื ไม แลวครใู หค าํ ชมเชยเพอื่ เปน กาํ ลงั ใจ พรกิ เฟร น 8. นักเรียนจับกลุมเดิมจากตอนที่ 1 จากน้ัน ชว ยกนั ทํากิจกรรมท่ี 2 เร่ือง การจัดกลุมพืช ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียนหนานี้ แลว บันทึกผลลงในสมุดหรือทําลงในแบบฝกหัด วทิ ยาศาสตร หนา 9 จากนั้นรว มกันอภปิ ราย และสรปุ ผลการทํากจิ กรรม (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ ) 9. นกั เรียนดู PPT เรือ่ ง ความหลากหลายของพชื และศึกษาขอมูลเก่ียวกับพืชดอกและพืชไมมี ดอกเพม่ิ เตมิ จากหนงั สอื เรยี น หนา 11-12 เพอ่ื ใชเปนขอมูลในการนํามาสรุปรวมกับผลการ ทํากิจกรรม ตอนที่ 1-2 โดยครูคอยอธิบาย และตอบคําถามใหกับนกั เรยี นทมี่ ขี อ สงสยั (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ) แนวตอบ หนูตอบได หนตู อบได ภาพท่ี 1.13 ขอ 4. 1. ยกตัวอย่างพชื ดอกกบั พชื ไมม่ ดี อกท่พี บในทอ้ งถิ่นมา 2 ชนิด • ทานตะวัน เพราะเปนพืชดอก สามารถ 2. พชื ดอกกบั พชื ไมม่ ีดอกมีลกั ษณะภายนอกแตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร 3. หากนักเรียนต้องการขยายพันธุ์พืชเพ่ือจ�าหน่าย นักเรียนจะเลือกขยายพันธุ์ทานตะวัน ขยายพันธุโดยใชเมล็ด ทําใหเรามองเห็นเมล็ดได ดว ยตาเปลา และสามารถหยิบจับไดง าย และวสั ดุ หรอื เฟร น์ เพราะอะไร อปุ กรณที่ใชในการขยายพนั ธุหาไดง าย 10 ค(หอื มกายารเหคตดิ ุแ: คบาํบถใหามเหขตอุผสลดุ ทแาลยะขกอางรหคนดิ ตูแอบบบไโดตแ เปยงน คซํางึ่ ถผาูเรมยี ทนี่อออากจแเลบือบกใหตผอบูเรอียยนา ฝงกใดใชอทยกัางษหะนกึง่ากรค็ไดดิ  ขใหน้ั คสรูงู • เฟรน เพราะเปนพชื ไมม ดี อก สามารถขยาย- พันธุโดยใชสปอร ซ่ึงสปอรของเฟรนมีจํานวนมาก พจิ ารณาจากเหตุผลสนบั สนนุ ) เม่ือนําไปเพาะในดินหรือวัสดุปลูกจะทําใหได ตน กลา จํานวนมาก เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET ครูอาจสุมเรียกนักเรียนทีละคนใหยกตัวอยางพืชที่รูจัก และใหบอกวา พชื ในขอ ใด เปนพชื ไมม ดี อกท้ังหมด เปนพืชดอกหรือพืชไมมีดอก พรอมกับอธิบายเหตุผลประกอบ เพื่อเปนการ ก. ชมพู เฟรน ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน และใหเกิดการแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน ข. มะละกอ ขนุน ภายในชนั้ เรยี น ค. มะนาว ฟก ทอง ง. เฟรน ชายผาสีดา ส่ือ Digital (วิเคราะหคําตอบ เฟรนและชายผาสีดา จัดเปนพืชไมมีดอก ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับความหลากหลายของพืชเพิ่มเติมจากส่ือ เน่ืองจากเม่ือเจริญเติบโตเต็มท่ีแลวพืชทั้ง 2 ชนิด จะไมมีดอก PowerPoint เร่ือง ความหลากหลายของพชื ดังภาพตัวอยา ง ดังนั้น ขอ ง. จงึ เปน คําตอบท่ีถกู ตอง) T16

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ขนั้ สอน ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ิต อธบิ ายความรู 2.1 พชื ดอก และพชื ไมม่ ดี อก 1. ครูใชวิธีการสุมวันเกิดของนักเรียน เพื่อเลือก ตวั แทนกลมุ นกั เรยี นใหอ อกมานาํ เสนอผลงาน พชื เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทส่ี รา้ งอาหารเองได้ แตเ่ คลอ่ื นทเี่ องไมไ่ ด้ พชื ตา่ ง ๆ รอบตวั หนา ช้นั เรียน ดงั นี้ มหี ลายชนดิ พชื แตล่ ะชนิดมีโครงสรา้ งและสว่ นต่าง ๆ แตกตา่ งกัน เมื่อใช้เกณฑ์ 1) นาํ เสนอแผนผงั แผนภาพ หรอื ตาราง ทไ่ี ด การมีดอก สามารถจดั กลมุ่ พชื ได้ 2 กลมุ่ ใหญ่ ไดแ้ ก่ พืชดอก และพืชไมม่ ดี อก จากการทาํ กิจกรรมท่ี 2 ตอนท่ี 1 จากน้นั รว มกันอภิปรายผลการจัดกลุม พืช พชื ดอก พืชไมม่ ีดอก 2) นําเสนอผลการทํากิจกรรมท่ี 2 ตอนที่ 2 จากนั้นใหรวมกันอภิปรายผลการสังเกต พืชดอกทุกชนิดเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว เปน็ พชื ทไี่ มม่ ดี อกตลอดการดา� รงชวี ติ ถงึ แม้ ความแตกตา งของลกั ษณะภายนอกของพชื จะสรา้ งดอกขนึ้ เพอ่ื ใชใ้ นการสบื พนั ธ์ุ ทา� ให้ มีการเจรญิ เตบิ โตเต็มทแี่ ล้วกต็ าม (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียนโดยใช เกดิ เป็นพชื ตน้ ใหมไ่ ด้ พืชไม่มีดอกส่วนใหญ่ จะสืบพันธุ์โดยการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ) พชื ดอกจะมสี ว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ ราก ลา� ตน้ สร้างสปอร์ ซึ่งจะงอกเป็นพืชต้นใหม่ได้ ใบ และดอก เช่น เฟร์น มอสส์ ปรง หางสิงห์ ผกั กดู 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม พืชบางชนิดมีดอกมองเห็นได้ชัดเจน เช่น ผักแว่น กระแตไตไ่ ม้ ชายผา้ สีดา เป็นต้น จนไดขอสรุปวา พืชบางชนิดมีโครงสรางสวน กุหลาบ กลว้ ยไม้ มะลิ ทานตะวัน เป็นต้น พืชไมม่ ดี อกจะมีสว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ ราก ตางๆ ภายนอกท่ีสําคัญ ไดแก ราก ลําตน พืชบางชนิดมดี อกขนาดเลก็ เชน่ พลูด่าง ลา� ตน้ และใบ แตจ่ ะไมม่ ดี อก ผล และเมลด็ ใบ และดอก เหมือนกัน จึงจัดเปนกลุมพืช จอก แหน สาหร่ายหางกระรอก เปน็ ตน้ ดอก สว นพืชบางชนิดทมี่ โี ครงสรางสวนตา งๆ ภายนอกท่สี าํ คัญ ไดแ ก ราก ลําตน และใบ เม่ือใช้ลักษณะของราก ล�าต้น และใบ แตไมมีดอกตลอดการดํารงชีวิตเหมือนกัน ของพืชเป็นเกณฑ์ สามารถจัดกลุ่มพืชได้ จดั เปน กลุม พชื ไมม ีดอก เปน็ พชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว และพชื ใบเล้ยี งคู่ ขนั้ สรปุ ขยายความเขา ใจ 1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก หนังสือเรียน หนา 10 ลงในสมุดหรือทําใน แบบฝก หดั วิทยาศาสตร หนา 10 ภาพที่ 1.14 ตัวอย่างพืชดอก 1 ภาพที่ 1.15 ตวั อยา่ งพชื ไมม่ ีดอก 11 ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET ขอใดเปนพืชดอกท้งั หมด ก. หวายทะนอย มะมวง ข. ดาวเรอื ง มะละกอ ค. เฟร น ชองนางคล่ี ง. เฟอ งฟา ผักกดู (วิเคราะหคําตอบ พืชดอก คือ พืชท่ีเจริญเติบโตเต็มท่ีแลว มีดอก เชน กหุ ลาบ มะมว ง ดาวเรอื ง ชมพู มะละกอ มะลิ เปนตน ดังน้นั ขอ ข. จึงเปนคําตอบท่ถี กู ตอง) T17

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สรปุ พืชดอก และพืชไม่มีดอก จะมีโครงสร้างภายนอกแตกต่างกัน พืชดอก มีโครงสรา้ งภายนอกทีส่ า� คญั ได้แก่ ราก ลา� ตน้ ใบ และดอก ส่วนพชื ไม่มดี อก ขยายความเขา ใจ เป็นพชื ทีม่ ีโครงสร้างภายนอก ไดแ้ ก่ ราก ล�าต้น และใบ แต่จะไม่มีดอก ผล และ เมล็ด ดงั นี้ 2. ครถู ามคาํ ถามทา ทายการคดิ ขน้ั สงู จากหนงั สอื เรยี น หนา 12 แลว ใหน กั เรยี นชว ยกนั นาํ ความรู โครงสร้างภายนอกของพชื ดอก โครงสร้างภายนอกของพืชไม่มดี อก ท่ีไดจากทํากิจกรรมมาตอบคําถามวาพืชดอก เปนพืชที่มีดอกสําหรับใชในการสืบพันธุ ดอก ใบ นักเรียนคิดวา พืชดอกสามารถสืบพันธุหรือ ใบ ขยายพนั ธดุ วยวธิ กี ารอ่ืนไดห รอื ไม อยา งไร ผลและเมลด็ (แนวตอบ ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน ยกตัวอยางเชน พืชดอกสามารถขยายพันธุ ลา� ตน้ ดว ยวิธอี น่ื ได เชน การตอนกงิ่ การเสยี บยอด การปก ชาํ การติดตา การทาบกงิ่ เปน ตน) ล�าต้น (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช ราก ราก แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ภาพที่ 1.16 ภาพท่ี 1.17 3. แตละคนทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท่ี 2 จากหนังสือเรยี น หนา 12 ไปทําเปน การบาน ¤Ó¶ÒÁ·ÒŒ ·Ò¡Òä´Ô ¢é¹Ñ ʧ٠โดยทําลงในสมุด หรือทําในใบงานท่ี 1.2 เรื่อง จําแนกพืชดอกและพืชไมมีดอก ที่ครู พชื ดอกเปน็ พืชทมี่ ีดอกส�าหรับใช้ในการสบื พนั ธ์ุ นักเรยี นคดิ วา่ พชื ดอกสามารถสบื พนั ธ์ุหรอื แจกให แลว นาํ มาสง ในชัว่ โมงถดั ไป ขยายพันธุ์ด้วยวิธอี นื่ ได้อีกหรือไม่ อยา่ งไร ขน้ั ประเมนิ 2กิจกรรม พฒั นาการเรยี นรูท้ ่ี ตรวจสอบผล ดภู าพ แลว้ บอกชอื่ พชื จากนนั้ จา� แนกวา่ พชื ใดเปน็ พชื ดอก และพชื ใดเปน็ พชื ไมม่ ดี อก 123 4 1. ครูสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากน้ัน ใหนักเรียนแตละคนอธิบายความรูเกี่ยวกับ 12 ภาพที่ 1.18 ภาพที่ 1.19 ภาพท่ี 1.20 ภาพที่ 1.21 ความหลากหลายของพืชการจัดกลุมพืชดอก จากน้ันใหน กั เรียนทัง้ หองสรุปความรูรว มกัน 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมท่ี 2 เร่ือง การจดั กลมุ สง่ิ มชี วี ติ ในสมดุ หรอื ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 8-9 3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดใน สมดุ หรือในแบบฝกหดั วิทยาศาสตร หนา 10 4. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมพัฒนาการ เรยี นรทู ่ี 2 ในสมดุ หรอื ในใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง จําแนกพชื ดอกและพืชไมมดี อก เกร็ดแนะครู ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง จําแนกพชื ดอกและพืชไมมดี อก ครูสามารถหยบิ ใชได จากแผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 2 เรอ่ื ง ความหลากหลายของพชื หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิต แนวทางการวัดและประเมินผล ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน รายบุคคล การทํางานกลุม และการนาํ เสนอผลการทํากิจกรรมหนา ชน้ั เรยี นได โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลท่ีแนบทายแผนการจัดการเรียนรู ของหนวยการเรยี นรทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ติ T18

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ กิจกรรมที่ 3 1หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ขน้ั นาํ การจดั กลมุ พชื ดอก ความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต กระตนุ ความสนใจ ทกั ษะกระบวนการ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรูเดิม ทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ใี ช้ เกีย่ วกับพืชดอกและพืชไมมดี อก 1. การสงั เกต 2. การจา� แนกประเภท 2. ครูติดบัตรภาพตนขาวโพดและตนทานตะวัน 3. การลงความเห็นจากข้อมูล ไวท่ีกระดาน จากน้ันต้ังประเด็นคําถามถาม จดุ ประสงค 4. การจัดกระทา� และสอ่ื ความหมายขอ้ มูล นักเรียนวา นักเรียนคิดวาพืช 2 ชนิดนี้ มี ลักษณะภายนอกเหมือนกันหรือแตกตางกัน 1. สา� รวจ สังเกต และอธบิ ายลกั ษณะภายนอกของพืชดอก 5. การตีความหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรปุ หรอื ไม อยา งไร โดยครใู หน กั เรยี นตอบคาํ ถาม 2. จดั กล่มุ พืชดอก โดยใชล้ กั ษณะของราก ลา� ตน้ และใบ เป็นเกณฑร์ ว่ มกนั อยา งอสิ ระ และครยู งั ไมเ ฉลยคําตอบ (แนวตอบ ขน้ึ อยูก ับคาํ ตอบของนักเรยี น ใหอ ยู ตอ งเตรียมตองใช ในดุลยพนิ ิจของครูผสู อน) 1. แว่นขยาย 1 อนั ขน้ั สอน 2. แผนภาพลกั ษณะภายนอกของต้นขา้ วโพด (ครเู ตรียมให)้ 3. แผนภาพลักษณะภายนอกของตน้ ทานตะวัน (ครูเตรยี มให้) สาํ รวจคน หา 4. แหลง่ ขอ้ มูล เช่น หนงั สอื อินเทอรเ์ นต็ เป็นต้น 1. ครูใชเทคนิคคูคิดสี่สหายในการจัดกิจกรรม ลองทาํ ดู ตอนท ่ี 1 การเรียนรู โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลมุ ละ 4 คน ใหมคี วามสามารถคละกนั 1. ศกึ ษาแผนภาพลกั ษณะภายนอกของต้นขา้ วโพด และตน้ ทานตะวนั 2. สงั เกตราก ลา� ต้น และใบ ของตน้ ขา้ วโพดและตน้ ทานตะวันว่า มลี ักษณะเหมอื นกนั หรือ 2. สมาชิกแตละกลุมรวมกันกําหนดปญหาและ ตง้ั สมมตฐิ านเกย่ี วกบั การทาํ กจิ กรรมท่ี 3 เรอื่ ง แตกตา่ งกัน อยา่ งไร จากนนั้ วาดภาพและบันทกึ ผลลงในสมุด การจดั กลมุ พชื ดอก ตอนท่ี 1 จากหนงั สอื เรยี น หนา 13-14 จากน้ันสมาชิกแตละคนของ ภาพที่ 1.22 13 กลุมไปทํากิจกรรม แลวบันทึกลงในสมุดหรือ ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 13 3. เม่ือแตละคนทํากิจกรรมเสร็จแลว ใหจับคู กบั เพอื่ นทอี่ ยใู นกลมุ เดยี วกนั แลว นาํ คาํ ตอบที่ ไดมาผลัดกันอธบิ ายคาํ ตอบ 4. นักเรยี นทั้ง 2 คู กลับมารวมกลุมเหมอื นเดมิ แลวรวมกันอธิบายคําตอบของตนเองใหเพื่อน ในกลุมฟง และสรุปผลรว มกัน 5. นักเรียนดู PPT เรื่อง พชื ใบเลีย้ งเดยี่ วและพชื ใบเลยี้ งคู แลว นกั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั ศกึ ษา และปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3 เรื่อง การจัดกลุม พชื ดอก ตอนที่ 2 จากหนงั สือเรียนหนาน้ี เกร็ดแนะครู ครูอาจยกตัวอยางพืชใบเลี้ยงเด่ียวชนิดอ่ืนเพ่ิมเติม เชน มะพราว เปนพืช ใบเลย้ี งเดย่ี ว ในเมลด็ มใี บเลยี้ งขนาดเลก็ เพยี งใบเดยี วทไ่ี มม คี วามสาํ คญั เพราะ อาหารสําหรับการเจริญเติบโตของตนออนในพืชใบเล้ียงเด่ียวไมไดสะสมใน ใบเลยี้ ง แตส ะสมอยูในเน้ือเยื่อเอนโดสเปรม คือ เนือ้ และน้าํ ในลูกมะพรา ว ส่ือ Digital ครูใหนักเรียนเรียนรูเก่ียวกับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเล้ียงคูเพ่ิมเติม จากสอื่ PowerPoint เรื่อง พชื ใบเลี้ยงเดีย่ วและพชื ใบเลยี้ งคู ดังภาพตัวอยาง T19

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน 3. สบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั ลกั ษณะของ ภาพที่ 1.23 ราก ลา� ตน้ และใบ ของพืชทัง้ 2 ชนิด สาํ รวจคน หา แล้วบันทึกผล 6. แตละกลุมกําหนดปญหาและต้ังสมมติฐาน 4. ร่วมกันเปรียบเทียบความแตกต่างของ แลว ทํากิจกรรมตามขน้ั ตอน และบันทึกผลใน ราก ลา� ต้น และใบ ของพืชทั้ง 2 ชนดิ สมดุ หรอื ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร หนา 14 แลว้ สรปุ ผลวา่ เปน็ พืชดอกประเภทใด 7. แตละกลุมนําขอมูลที่รวบรวมไดมาอภิปราย ตอนที ่ 2 และสรุปรวมกัน แลวชวยกันกําหนดเกณฑ ท่ีใชในการจําแนกชนิดพืชวา เปนพืชดอก 1. แบง่ กล่มุ กลุ่มละ 3 - 4 คน ให้แต่ละกลมุ่ ประเภทพืชใบเลีย้ งเดย่ี ว หรือพชื ใบเลย้ี งคู ส�ารวจพืชดอกภายในบริเวณบ้านและ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช โรงเรยี นมา 8 - 10 ชนิด แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ) 2. สงั เกตลกั ษณะของราก ลา� ตน้ และเสน้ ใบ อธบิ ายความรู ของพืชแตล่ ะชนดิ แล้วบนั ทึกผล 1. แตล ะกลมุ สง ตวั แทนออกมานาํ เสนอผลการทาํ 3. พจัดืชกใบลเุ่มลพี้ยืงช1เทด่ีพ่ียวบวห่าเรปือ็นพพืชืใชบดเอลกี้ยปงครู่ะเแภลทะ กิจกรรมท่ี 3 ตอนที่ 1 แลวรวมกันอภิปราย บอกลักษณะทใี่ ช้ในการจา� แนก จนไดข อ สรปุ วา ตน ขา วโพดและตน ทานตะวนั เปนพืชดอกท่ีโครงสรางสวนตางๆ ภายนอก หนตู อบได ภาพที่ 1.24 มีลักษณะแตกตางกัน สังเกตไดจากลักษณะ ของราก ลําตน และใบ ดังนั้น โครงสราง 1. ยกตวั อย่างพชื ใบเล้ยี งเด่ียวและพืชใบเลยี้ งคทู่ ่ีรูจ้ กั มาอยา่ งละ 1 ชนิด วาดภาพประกอบ สวนตางๆ ภายนอกของพืชดอกแตละชนิด และอธิบายลักษณะพอสงั เขป มลี กั ษณะแตกตา งกัน 2. หากต้องการทราบว่า พืชที่ปลูกภายในบริเวณบ้านเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือพืชใบเลี้ยงคู่ แนวตอบ หนตู อบได นกั เรียนจะเลอื กสงั เกตสว่ นประกอบใดของพืช ระหวา่ งใบกับล�าตน้ เพราะอะไร ขอ 4. 14 (หมายเหตุ : คาํ ถามขอ สุดทายของหนตู อบได เปน คําถามท่อี อกแบบใหผ เู รียนฝก ใชท ักษะการคิดขน้ั สูง • ใบ เพราะพชื สวนใหญเ มอื่ เจรญิ เตบิ โต จะมี คอื การคิดแบบใหเหตผุ ล และการคดิ แบบโตแยง ซง่ึ ผเู รยี นอาจเลือกตอบอยา งใดอยางหนึง่ กไ็ ด ใหครู พิจารณาจากเหตผุ ลสนับสนนุ ) ใบหลายใบ ซง่ึ สามารถสงั เกตเสน ใบของพชื ไดอ ยา ง ชัดเจน จึงทําใหจําแนกไดวาพืชชนิดใดเปนพืช ใบเล้ยี งเดยี่ วหรือพืชใบเลีย้ งคูไดง าย • ลําตน เพราะลําตนของพืชใบเล้ียงเด่ียวกับ พืชใบเลีย้ งคูมคี วามแตกตา งกนั คือ ลาํ ตนของพชื ใบเลี้ยงเดี่ยวมีขอปลองมองเห็นไดชัดเจน สวน ลาํ ตน ของพชื ใบเลย้ี งคมู ขี อ ปลอ งมองเหน็ ไมช ดั เจน จงึ ทาํ ใหจ าํ แนกไดว า พชื ชนดิ ใดเปน พชื ใบเลยี้ งเดย่ี ว หรือพชื ใบเล้ยี งคไู ดงา ย นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET 1 ใบเลี้ยง (cotyledon) เปน ใบของตน พืชท่ยี ังอยใู นระยะตน ออน ทําหนาท่ี ขอใดเปนลักษณะสาํ คญั ของพืชใบเลีย้ งเด่ยี ว สะสมอาหารไวเล้ยี งตน ออ น แลวจะงอกออกจากเมลด็ และเจริญขน้ึ กลายเปน ก. มีรากแกว ใบไมท่ีสมบูรณ แตใบเล้ียงนี้จะไมทําการสังเคราะหดวยแสง เน่ืองจากมันจะ ข. มเี สนใบขนาน หลุดรวงไปหลังจากท่ีตนพืชมีใบแทเกิดข้ึนมา ใบเล้ียงของพืชที่ทําหนาท่ีสะสม ค. ลาํ ตน เปน ขอ ปลองไมช ัดเจน อาหาร เชน ถั่วชนดิ ตา งๆ มะขาม บวั เปน ตน ง. มีใบเล้ยี งงอกออกจากเมลด็ 2 ใบ (วิเคราะหคําตอบ พชื ใบเลี้ยงเดี่ยวมใี บเลย้ี ง 1 ใบ มเี สน ใบขนาน ลาํ ตนเปน ขอปลองชดั เจน มีรากฝอย ไมมรี ากแกว ดงั น้ัน ขอ ข. จงึ เปนคาํ ตอบท่ถี กู ตอง) T20

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี ขนั้ สอน ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ อธบิ ายความรู 2.2 พชื ใบเลี้ยงเดยี่ ว และพชื ใบเลย้ี งคู่ 2. ใหนักเรียนจับคูกับเพ่ือนที่อยูในกลุมเดียวกัน จากน้ันนําคําตอบที่ไดจากการทํากิจกรรม นกั เรยี นทราบแล้วว่า พืชแบ่งออกเปน็ พชื ดอกและพืชไมม่ ีดอก ถ้าสา� รวจ ท่ี 3 ตอนท่ี 2 แลว ผลดั กันอธิบายคําตอบ พืชในท้องถิ่นของเราจะพบว่า พืชส่วนใหญ่เป็นพืชดอก เน่ืองจากพืชดอกเป็น กล่มุ พืชทมี่ ีจ�านวนมากทส่ี ุด 3. ใหนักเรียนทั้ง 2 คู กลับมารวมกลุม 4 คน เหมือนเดมิ จากนั้นอธบิ ายคําตอบของตนเอง ดังนัน้ เพอื่ ใหก้ ารศกึ ษาพชื ดอกท�าได้งา่ ยขน้ึ จงึ ใชล้ กั ษณะของราก ล�าตน้ ใหเ พือ่ นในกลมุ ฟง แลวสรุปคําตอบรวมกัน และใบของพชื มาเปน็ เกณฑร์ ว่ มกนั ในการจดั กลุ่มพชื ดอกได้ 2 ประเภท ได้แก่ พชื ใบเลย้ี งเด่ียว และพืชใบเลยี้ งคู่ 4. ครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียนแตละกลุมใหออก มานําเสนอผลการทํากิจกรรม โดยวิธีการจับ 1. พืชใบเล้ียงเดี่ยว เป็น ภาพท่ี 1.25 ขา้ ว เปน็ พชื ใบเล้ยี งเด่ยี ว สลากหมายเลข จากนน้ั ตวั แทนของแตล ะกลมุ พืชที่เมื่อเมล็ดเริ่มงอก จะมีใบเลี้ยง ภาพที่ 1.26 พรกิ เปน็ พืชใบเลยี้ งคู่ ออกมานําเสนอผลการทํากิจกรรมจนครบทุก ใบเดียวงอกออกมาเป็นใบแรกของพืช กลมุ แลว ทกุ กลมุ รว มกนั อภปิ รายจนไดข อ สรปุ ลักษณะใบของพืชใบเล้ียงเดี่ยวมักเป็น วา เราสามารถใชลกั ษณะของราก ลําตน และ ใบแคบและตงั้ ตรง เสน้ ใบจะเรยี งตวั กนั ใบของพืชดอกชนิดตางๆ เปนเกณฑรวมกัน แบบขนาน เชน่ หญา้ ขา้ ว ข้าวโพด เพื่อใชในการจัดกลุมพืชดอก ซ่ึงแบงพืชดอก มะพรา้ ว ขิง ข่า ตะไคร้ เปน็ ตน้ ไดเปน 2 กลุม คอื กลุมพชื ใบเลยี้ งเดี่ยว และ กลุมพชื ใบเลย้ี งคู 2. พืชใบเล้ียงคู่1 เป็นพืช (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ท่ีเมื่อเมลด็ เร่ิมงอก จะมใี บเล้ียง 2 ใบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม ) งอกออกมาเป็นใบคู่แรก ลักษณะใบ ของพืชใบเลี้ยงคู่ มีใบกว้างและอยู่ใน ขน้ั สรปุ แนวนอน เส้นใบเรียงตัวเป็นร่างแห เชน่ มะเขอื มะเขอื เทศ มะมว่ ง กหุ ลาบ ขยายความเขา ใจ มะนาว ถ่วั พริก เปน็ ตน้ 1. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเก่ียวกับพืช 15 ใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคูเพ่ิมเติมจาก หนงั สอื เรยี น หนา 15-16 2. ครสู มุ เลือกนกั เรียน 4-5 คน จากลาํ ดบั เลขที่ จากนั้นใหนักเรียนแตละคนบอกช่ือพืชคนละ 1 ชนิด และอธิบายวาเปนพืชใบเล้ียงเดี่ยว หรือพชื ใบเล้ียงคู เพราะเหตุใด (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคาํ ตอบของนกั เรียน ใหอ ยู ในดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน) 3. ครูชูบัตรภาพพืชดอกทีละใบ แลวใหนักเรียน ผลัดกันตอบวา เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือ พชื ใบเล้ยี งคู นักเรียนควรรู 1 พืชใบเลี้ยงคู (dicotyledon) ในเมล็ดมใี บเลย้ี งขนาดใหญ 2 ใบประกบกัน เต็มเน้ือที่สว นใหญข องเมลด็ ใบเลี้ยงคูท ่มี ขี นาดใหญและหนาน้ี ทาํ หนาทีส่ ะสม อาหารสําหรับการเจริญเติบโตของตนออน ขณะเมล็ดงอกจะมองเห็นใบเลี้ยง 2 ใบ โผลพ น ดินและคอยๆ เหยี่ วไปเม่ือตน ออนเจริญเตบิ โตข้นึ จนสรา งอาหาร ไดเ อง T21

นาํ สอน สรุป ประเมิน ขนั้ สรปุ พืชใบเลี้ยงเด่ียวและพืชใบเลี้ยงคู่ เป็นพืชดอกที่มีลักษณะของส่วนต่าง ๆ แตกต่างกัน เช่น ราก ล�าต้น ใบ จึงท�าให้สามารถจ�าแนกพืช 2 ประเภทนี้ ขยายความเขา ใจ ออกจากกันได้ และเพ่อื ให้เขา้ ใจรายละเอยี ดของส่วนต่าง ๆ ของพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว และพืชใบเลย้ี งคไู่ ด้งา่ ยขึ้น นักเรียนสามารถศกึ ษาไดจ้ ากแผนภาพตอ่ ไปน้ี 4. นักเรียนวาดภาพและระบายสีตัวอยางพืช 1 ชนิด ทช่ี อบหรอื สนใจลงในสมุด พรอ มบอกวา พืชใบเลยéี งเดี่ยว พืชใบเลéียงค่Ù พืชชนิดน้ันช่ืออะไร และจดั เปน พืชประเภทใด (พืชใบเล้ียงเดี่ยวหรือพืชใบเล้ียงคู) หรือให กหลีบรือดทอวกีคมณู จี า�ขนอวงน33 กหลีบรอืดทอวกคี มณู จี �าขนอวงน44--55 ทําใบงานท่ี 1.3 เร่ือง พืชใบเลี้ยงเด่ียวและ พชื ใบเลี้ยงคูท่ชี อบ ล�าต้นเชปดั น็ เจขน้อปล้อง ลา� ตน้ไมเปช่ น็ ดั ขเจอ้ นปลอ้ ง 5. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก เใสบ้นเรใยีบวขแนคาบน เส้นใบใบเปกว็น้ารงา่ งแห หนังสือเรียน หนา 14 ลงในสมุดหรือทําใน ใบเลยี้ ง แบบฝก หัดวทิ ยาศาสตร หนา 15 มีใทบี่งเอลกย้ี องอ1กจใบากใเนมรละด็ ยะ มีใทบงี่ เอลกย้ี องอ2กจใบากใเนมรละ็ดยะ ขน้ั ประเมนิ ตรวจสอบผล 1. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับการจัดกลุม พืชดอก (พืชใบเล้ียงเดี่ยวและพืชใบเล้ียงคู) จากนั้นใหครูอธิบายเสริมเพิ่มเติมในสวนที่ บกพรอ ง 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 3 เร่ือง การจดั กลมุ พืชดอก ในสมดุ หรือในแบบฝกหัด วิทยาศาสตร หนา 13-14 3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดใน สมดุ หรือในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 15 4. ครูตรวจสอบผลการยกตัวอยางพืชดอกที่ นักเรียนชอบในสมุดหรือในใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง พืชใบเลี้ยงเดย่ี วและพชื ใบเลี้ยงคูท่ชี อบ มรี ะบบรากฝอย มรี ะบบรากแกว้ ภาพที่ 1.27 แผนภาพแสดงการจา� แนกประเภทของพชื ดอก 16 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง พชื ใบเลี้ยงเดย่ี วและพชื ใบเลย้ี งคูท ่ชี อบ ครูสามารถหยบิ รากฝอย พบในพืชชนิดใด ใชไ ดจ ากแผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 3 เรอ่ื ง ศกึ ษากลมุ พชื ดอก หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 ก. ตะไคร มะลิ ลาํ ไย ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ิต ข. หญา ออ ย ขาวโพด ค. ขาว มะพรา ว มะเขอื แนวทางการวัดและประเมินผล ง. วา นหางจระเข มะขาม ขนนุ (วิเคราะหคําตอบ พืชที่มีระบบรากเปนรากฝอย จะพบได ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน รายบุคคล การทาํ งานกลมุ และการนาํ เสนอผลการทาํ กจิ กรรมหนา ช้นั เรยี นได ในพืชใบเลี้ยงเดีย่ ว เชน ขาว มะพรา ว หญา ออย ขาวโพด ไผ โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลท่ีแนบทายแผนการจัดการเรียนรูของ ตะไคร เปน ตน ดงั นนั้ ขอ ข. จึงเปน คาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง) หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ิต T22

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี ขนั้ นาํ ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ติ กระตนุ ความสนใจ 3. ความหลากหลายของสัตว์ นักเรียนแตละคนดูภาพสัตว 5 ชนิด จาก หนงั สอื เรียนหนา น้ี แลวใหร ว มกนั อภปิ ราย ดงั น้ี หากนกั เรยี นส�ารวจบรเิ วณรอบบ้าน โรงเรียน หรอื ชมุ ชน เราจะพบสัตว์ ต่าง ๆ มากมาย เชน่ สตั วท์ ่มี ขี นาดเล็กและขนาดใหญ่ สัตว์ทอ่ี าศยั อยบู่ นบกและ • จากภาพ นักเรียนรูจักสัตวทั้ง 5 ชนิดนี้ อาศยั อย่ใู นนา�้ สัตวท์ ่ีมีขาและไมม่ ีขา เป็นต้น หรอื ไม (แนวตอบ ข้ึนอยูกับคําตอบของนักเรียน ดงั น้นั เพอื่ ใหส้ ามารถศึกษาลักษณะของสัตวไ์ ดอ้ ย่างเป็นระบบมากยิ่งขน้ึ ใหอยูกบั ดุลยพนิ จิ ของครูผสู อน) นกั วิทยาศาสตร์ไดจ้ ดั กลมุ่ สัตว์ออกเปน็ กลุ่ม โดยใช้ลักษณะการมกี ระดูกสนั หลงั เป็นเกณฑ์ จงึ สามารถแบ่งสัตว์ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ สตั ว์มีกระดูกสันหลงั • นักเรียนคิดวา สัตวทง้ั 5 ชนดิ น้ี มลี ักษณะ และสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั เหมือนกนั หรอื แตกตา งกนั อยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน ชา้ ง ปู ใหอยูก ับดลุ ยพินิจของครูผสู อน) นก ตก๊ั แตน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล) วัว ภาพที่ 1.28 ตัวอย่างสตั วช์ นดิ ต่าง ๆ ขนั้ สอน ÊѵǏᵋÅЪ¹Ô´ÁÕâ¤Ã§ÊÌҧËҧ¡Ò àËÁ×͹¡Ñ¹ËÃÍ× áµ¡µ‹Ò§¡¹Ñ Í‹ҧäà สาํ รวจคน หา 17 1. นักเรยี นอานขอมลู จากหนังสอื เรยี นหนานี้ 2. ครูถามนักเรียนเพ่ือกระตุนความคิดวา สัตว แตละชนิดมีโครงสรางรางกายเหมือนกันหรือ แตกตางกัน อยางไร โดยใหนักเรียนชวยกัน แสดงความคดิ เห็นไดอยา งอสิ ระ 3. ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนเคยสังเกต หรอื ไมวา บริเวณบา น โรงเรยี น หรือชมุ ชนท่ี นักเรียนอาศัยอยูนั้นมีสัตวอะไรบาง แลวให นกั เรยี นชว ยกันยกตวั อยา ง 4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา จากการสังเกตบริเวณ บาน โรงเรียน หรือในชุมชน เราจะพบสัตว ตางๆ มากมายทั้งท่ีมีขนาดเล็กและขนาด ใหญ ทั้งท่ีอาศัยอยูบนบกและอาศัยอยูในนํ้า ท้ังท่ีมีขาและไมมีขา ดังน้ัน เพื่อใหสามารถ ศึกษาเก่ียวกับสัตวตางๆ ไดสะดวกยิ่งขึ้น นักวิทยาศาสตรจึงจําแนกสัตวออกเปนกลุม โดยใชการมีกระดกู สนั หลังเปนเกณฑ เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรียนเขาใจวา สัตวตางๆ มีประโยชนตอคนเรา การนําสัตวมาทําการทดลองควรทําดวยความเมตตา ไมแกลงหรือทําอันตราย สัตวเ พราะความสนุกสนาน เพราะไมวาจะเปนสตั วชนิดใดกต็ ามก็เปนสิง่ มชี วี ิต เชน เดยี วกับคนเรา ดงั น้ัน เราจึงตองรจู ักคุณคาของสิง่ มีชีวิต T23

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน กจิ กรรมที่ 4 ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ใช้ สาํ รวจคน หา การจดั กลมุ สตั ว 1. การสงั เกต 2. การจ�าแนกประเภท 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของ 3. การลงความเห็นจากขอ้ มูล สัตวท่ีมีกระดูกสันหลัง โดยใหนักเรียนจับคู จุดประสงค 4. การตคี วามหมายขอ้ มูลและการลงข้อสรุป กบั เพอ่ื น (เพศเดยี วกนั ) แลว ใหน กั เรยี น 1 คน 5. การจัดกระทา� และสื่อความหมายขอ้ มูล ช้ีกระดูกสันหลังของเพ่ือนวาอยูบริเวณใด 1. สงั เกต สบื ค้น และอธิบายลกั ษณะภายนอกและลกั ษณะ ของรา งกาย จากนน้ั ใหน กั เรยี นลองใชม อื คลาํ ภายในของสัตวช์ นดิ ต่าง ๆ แนวกระดูกสนั หลังของตนเอง 2. สืบค้นและจัดกลมุ่ สตั ว์โดยใชเ้ กณฑก์ ารมีกระดกู สันหลงั และเกณฑท์ ีก่ า� หนดเอง 6. นักเรียนทุกคนชวยกันอธิบายลักษณะของ ตองเตรยี มตองใช กระดูกสนั หลงั จากนน้ั ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมให นกั เรยี นเขา ใจวา กระดูกสนั หลัง เปน กระดกู 1. ถาด 1 ใบ 2. มดี หรอื กรรไกร 1 เล่ม ที่มีลักษณะตอกันเปนขอๆ และทําหนาที่ 3. สไี ม้ 1 กลอ่ ง 4. กระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ 1 แผน่ เปน แกนกลางของรางกาย 5. ถงุ มือยาง 1 คู่ 6. สัตว์ทน่ี งึ่ สกุ แลว้ ไดแ้ ก่ ปลาทู กงุ้ และหอย 7. บัตรภาพสัตวต์ ่าง ๆ (ครเู ตรยี มให้) 8. แหลง่ ข้อมลู เชน่ หนังสือ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นต้น 7. นักเรียนแบงกลุมกลุมละ 4 คน จากนั้น แตล ะกลมุ ชว ยกนั ศกึ ษาวธิ กี ารทาํ กจิ กรรมที่ 4 ลองทาํ ดู ตอนที่ 1 การจดั กลมุ สตั ว ตอนท่ี 1-2 จากหนงั สอื เรยี น หนา 18-19 พรอมกับเตรียมวัสดุอุปกรณ 1. แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 - 4 คน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เตรยี มสตั วท์ นี่ ง่ึ สกุ แลว้ ใชท้ า� กจิ กรรมอยา่ งละ สําหรับการทํากิจกรรมในช่ัวโมงถัดไปให 1 ตวั ได้แก่ ปลาทู กุ้ง และหอย ครบถว น 2. วางสตั วล์ งในถาด จากนน้ั สงั เกตลกั ษณะภายนอกของสตั ว์ วาดภาพและบนั ทกึ ผลลงในสมดุ 8. นักเรียนทุกคนศึกษาความรูจาก PPT เรื่อง 3. ผ่าสัตว์แต่ละตัวตามยาว จากน้ันสังเกต ความหลากหลายของสัตว แลว ใหแตละกลมุ ทํากิจกรรมท่ี 4 เรื่อง การจัดกลุมสัตว ลกั ษณะภายใน วาดภาพและบันทึกผล ตอนที่ 1 โดยรวมกันกําหนดปญหาและ 4. นา� ขอ้ มลู จากการสงั เกตลกั ษณะภายนอก ต้ังสมมติฐาน แลวปฏิบัติกิจกรรมตาม ขั้นตอนใหครบถวน แลวบันทึกลงในสมุด และลักษณะภายในของสัตว์ท้ัง 3 ชนิด หรือในแบบฝกหดั วิทยาศาสตร หนา 18 มาเปรยี บเทียบกันและบนั ทกึ ผล 5. อภิปรายผลการท�ากิจกรรมและร่วมกัน 9. นักเรียนแตละกลุมรวบรวมขอมูล จากน้ัน สรปุ ผลภายในชน้ั เรียน อภิปรายผลการทํากิจกรรมและสรุปผล รวมกันภายในกลุม ภาพท่ี 1.29 18 10. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 กลุม ใหออกมา นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาช้ันเรียน แลวรวมกันอภิปรายและสรุปผลการทํา กจิ กรรมในชน้ั เรยี น (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม) สื่อ Digital ครูใหนักเรียนเรียนรูเก่ียวกับความหลากหลายของสัตวเพ่ิมเติมจากสื่อ PowerPoint เรอื่ ง ความหลากหลายของสตั ว หองปฏิบัติการ à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ครูควรเนนยํ้าเรื่องการใชมีดหรือกรรไกรอยางระมัดระวัง และตองไมเลน Tกันขณะทาํ กิจกรรม เพราะอาจเกดิ อันตรายได 24

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ขน้ั สอน ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ิต สาํ รวจคน หา ตอนที ่ 2 ภาพที่ 1.30 11. ครูสนทนกับนักเรียนเกี่ยวกับผลการทํา กิจกรรมท่ี 4 ตอนที่ 1 จากน้ันขออาสาสมัคร 1. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั นกั เรยี น 1-2 ใหส รปุ อกี ครงั้ เพอ่ื ทบทวนรว มกนั สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั และสตั วไ์ มม่ กี ระดกู วา ปลามีกระดูกเปนขอๆ อยูภายในลําตัว สันหลัง แล้วน�าข้อมูลที่ได้มาอภิปราย จึงจัดเปนสัตวมีกระดูกสันหลัง สวนกุงและ ร่วมกัน หอยเมื่อผาดูแลวไมพบกระดูกภายในลําตัว จึงจัดเปน สตั วไ มม ีกระดกู สันหลงั 2. แตล่ ะกลมุ่ รบั บตั รภาพสตั วจ์ ากครกู ลมุ่ ละ 1 ชดุ (ชดุ ละ 6-8 ใบ) แลว้ ชว่ ยกนั สงั เกต 12. ครูต้ังคําถามกระตุนความคิด โดยให ลกั ษณะโครงสรา้ งของสตั วใ์ นภาพ นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา สัตวมี กระดูกสันหลังกับสัตวไมมีกระดูกสันหลัง 3. จดั กลมุ่ สตั วใ์ นบตั รภาพโดยใชเ้ กณฑก์ าร มลี ักษณะแตกตางกันอยางไรบา ง มกี ระดกู สนั หลงั และเกณฑท์ กี่ า� หนดเอง (แนวตอบ สัตวมีกระดูกสันหลังมีกระดูก แลว้ บนั ทกึ ผล แข็งเปนแกนกลางของลําตัว สวนสัตวไมมี กระดกู สนั หลงั เปน สตั วท ไ่ี มม กี ระดกู แขง็ เปน 4. จัดท�าแผนผังหรือแผนภาพการจัดกลุ่ม แกนกลางของลําตวั ) สัตว์ลงในกระดาษแข็ง แล้วตกแต่งให้ สวยงาม 13. ครูใหน กั เรียนจบั กลมุ เดมิ แลวใหท าํ กจิ กรรม ท่ี 4 ตอนที่ 2 โดยใหศึกษาข้ันตอนการ 5. ส่งตัวแทนน�าเสนอผลการจัดกลุ่มสัตว์ ทํากิจกรรม จากหนังสือเรียนหนานี้ อยาง และร่วมกนั อภิปรายผลภายในชนั้ เรียน ละเอียด หากมีขอ สงสัยใหสอบถามครู (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช หนตู อบได ภาพที่ 1.31 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ) 1. ยกตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังท่ีพบในท้องถิ่นของนักเรียน แนวตอบ หนตู อบได มาอย่างละ 3 ชนดิ ขอ 3. 2. ลกั ษณะสา� คญั ของสัตว์มกี ระดกู สันหลงั และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลังคอื อะไร • แหลง ทอ่ี ยอู าศยั เพราะสตั วช นดิ ตา งๆ มแี หลง 3. การจดั กลมุ่ สตั ว์ นอกจากการใชก้ ระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑแ์ ลว้ นกั เรยี นคดิ วา่ สามารถเลอื ก ทอ่ี ยูอ าศัยแตกตางกัน เชน สัตวบ างชนิดอาศัยอยู ใชเ้ กณฑใ์ ดในการจดั กลมุ่ สตั วไ์ ดอ้ กี ระหวา่ งเกณฑแ์ หลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั กบั เกณฑก์ ารกนิ อาหาร ในน้าํ สตั วบ างชนดิ อาศัยอยบู นบก เพราะอะไร • การกินอาหาร เพราะสัตวชนิดตางๆ กิน ค(หอื มกายารเหคตดิ ุแ: คบําบถใหามเ หขตอุผสลุดทแาลยะขกอางรหคนดิ ูตแอบบบไโดตแ เปยงนคซาํงึ่ ถผาเู รมียทน่อี ออากจแเลบอืบกใหตผอบเู รอยี ยนา ฝงกใดใชอทยักางษหะนกง่ึากรคไ็ ดดิ  ขให้ันคสรงู ู 19 อาหารแตกตางกัน เชน บางชนิดกนิ พืช บางชนิด กินสตั ว บางชนดิ กินทัง้ พชื และสตั ว เราจงึ สามารถ พิจารณาจากเหตุผลสนบั สนุน) ใชเ ปน เกณฑในการจําแนกสัตวได ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู สัตวมกี ระดูกสันหลงั ในขอ ใด จดั อยูในประเภทปลาทงั้ หมด ในการทํากิจกรรมที่ 4 เรือ่ ง การจัดกลุมสตั ว ถาหากไมส ะดวกใหนกั เรียน ก. ปลาทู มา น้าํ ปลาฉลาม ทําทุกกลุม ใหครูทําเปนกิจกรรมสาธิต จากน้ันใหนักเรียนแตละกลุมสังเกต ข. ปลากะพง วาฬ ปลาไหล และบันทกึ ผล ค. ปลาการตูน โลมา ปลาผเี สื้อ ง. ปลากระเบน พะยูน ปลาแรด (วิเคราะหค าํ ตอบ วาฬ โลมา พะยนู เปนสัตวเลี้ยงลกู ดวยน้ํานม ดังน้ัน ขอ ก. จึงเปน คาํ ตอบทถ่ี ูกตอง) T25

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 3.1 สัตว์มกี ระดูกสันหลัง และสตั ว์ไมม่ ีกระดูกสันหลัง อธบิ ายความรู สตั ว์ เป็นสงิ่ มชี ีวิตทสี่ ามารถเคล่ือนท่ีเองได้ แตส่ ร้างอาหารเองไม่ได้ สัตว์ บนโลกมีอยู่หลายชนิด ซงึ่ สัตว์แต่ละชนิดมโี ครงสรา้ งและสว่ นต่างๆ แตกต่างกนั ครสู มุ เรยี กนกั เรยี น 2-3 กลมุ ใหอ อกมานาํ เสนอ นักวิทยาศาสตร์จึงจัดกลุ่มสัตว์ โดยใช้ลักษณะการมีกระดูกสันหลังของสัตว์ ผลการทํากิจกรรมหนาช้ันเรียน จากน้ันรวมกัน เป็นเกณฑ์ ดงั นี้ อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรมภายใน ชน้ั เรียน สัตวม์ กี ระดกู สนั หลงั สัตว์ไม่มกี ระดกู สันหลงั (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช จ�าแนกออกเปน็ 5 ประเภท จ�าแนกออกเปน็ 8 ประเภท แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม ) 1. กลมุ่ ปลา 1. ฟองนา�้ ขนั้ สรปุ 2. กลมุ่ สตั ว์ 2. สัตว์ทีม่ ลี �าตัวกลวง ขยายความเขา ใจ สะเทนิ น้า� สะเทินบก หรอื ลา� ตัวมโี พรง 1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก 3. กลมุ่ สัตว์เลอื้ ยคลาน 3. หนอนตัวแบน หนังสือเรียน หนา 19 ลงในสมุดหรือทําใน แบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 19 4. กลมุ่ นก 4. หนอนตัวกลม 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายวา นอกจากการใช 5. กลุ่มสตั ว์ 5. สัตว์ทม่ี ลี า� ตัวเปน็ ปล้อง เกณฑการมีกระดูกสันหลังแลว นักเรียน เลยี้ งลูกดว้ ยน�า้ นม 6. สตั ว์ทะเลผิวขรขุ ระ สามารถจัดกลุมสัตวโดยใชเกณฑอ่ืนอีกได หรือไม อยางไร จากน้ันครูใหน ักเรยี นรว มกัน 7. หอยและหมกึ ทะเล แสดงความคิดเหน็ อยา งอิสระ (แนวตอบ ขน้ึ อยูกบั ดุลยพนิ ิจของครผู ูสอน) 3กจิ กรรม พัฒนาการเรยี นรู้ท่ี 8. สตั วท์ ม่ี ขี าเป็นขอ้ 3. นักเรียนทุกคนศกึ ษาขอมลู ในหัวขอ 3.1 สตั ว ดูภาพ แล้วบอกชื่อสัตว์ จากนั้นจ�าแนกว่าเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังประเภทใด มีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ จากหนังสือเรียนหนา นี้ 123 4 4. แตล ะคนทาํ กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรทู ี่ 3 จาก หนังสือเรียนหนานี้ โดยทําลงในสมุดหรือใน ใบงานท่ี 1.4 เรอื่ ง จาํ แนกสตั วม กี ระดกู สนั หลงั ทค่ี รูแจกให (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล) 20 ภาพที่ 1.32 ภาพที่ 1.33 ภาพที่ 1.34 ภาพท่ี 1.35 เกร็ดแนะครู ใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง จําแนกสตั วม ีกระดกู สนั หลัง ครูสามารถหยิบใชไ ดจ าก แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 4 เรอ่ื ง ความหลากหลายของสตั ว หนวยการเรียนรทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต ความรูบูรณาการอาเซียน แบงกลุม แลวใหแตละกลุมสืบคนขอมูลสัตวประจําชาติของประเทศ สมาชิกอาเซียนแตละประเทศ จากน้ันนําขอมูลสัตวประจําชาติมาจัดกลุมสัตว โดยใชความรูท่ีไดจากกิจกรรมที่ 4 และนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน จากน้ัน นกั เรยี นทุกกลมุ รว มกันสรุปความรูที่ถกู ตอง T26

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ขน้ั สรปุ ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ ขยายความเขา ใจ 1. สตั วม์ กี ระดูกสนั หลัง 5. ครูใหนักเรียนดูวีดิทัศนสารคดีเก่ียวกับสัตว สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั คอื สตั วท์ ม่ี กี ระดกู เรยี งตอ่ กนั เปน็ ขอ้ ๆ ทา� หนา้ ทเ่ี ปน็ มีกระดกู สันหลงั จากนนั้ ครูนาํ บัตรภาพ ปลา แกนกลางอยู่ภายในร่างกาย ทา� ใหร้ ่างกายคงรูปอยไู่ ด้ และชว่ ยหุม้ เส้นประสาท กบ จระเข นก และสนุ ขั มาใหน ักเรยี นดู และ ทีอ่ ยบู่ รเิ วณ1ส)นั กหลลมุ่ ังปแลบา1่งเไปดน็ ้ 5สตั ปวรน์ ะา้� เชภนทดิ ดหงันนงึ่ ้ี มที งั้ ทอี่ าศยั อยใู่ นนา้� จดื และนา�้ เคม็ รวมกันอภิปรายวา เราควรแบงสัตวมีกระดูก ปลาหายใจดว้ ยเหงอื ก ภายในชอ่ งทอ้ งมถี งุ ลมชว่ ยในการพยงุ ตวั สว่ นมากออกลกู สันหลังเปนกี่ประเภท โดยสังเกตไดจากอะไร เป็นไข่ มีบางชนดิ ออกลูกเป็นตวั เช่น ปลาฉลาม ปลาหางนกยูง เปน็ ตน้ แลวใหนักเรียนชวยกันคิดและอธิบายคําตอบ รว มกนั ลักษณะส�าคญั มรี ปู รา่ งเรยี วยาว ลา� ตวั คอ่ นขา้ งแบน เพอื่ ใหม้ ลี กั ษณะทเี่ หมาะสม (แนวตอบ ขึน้ อยูก บั ดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู อน เชน กับการเคล่ือนท่ีในน�้า อุณหภูมิภายในร่างกายของปลาสามารถ เราจดั ประเภทของสตั วม กี ระดกู สนั หลงั โดยดู การเคลอื่ นที่ ปรับเปล่ียนไปตามอุณหภูมิของน้�าที่อาศัยอยู่ได้ ปลาจึงจัดเป็น จากลกั ษณะสาํ คญั ในการเคลอื่ นที่ การหายใจ การหายใจ สัตวเ์ ลือดเยน็ และการสืบพันธ)ุ ปลาใช้ครบี ในการว่ายนา�้ และทรงตัว ครีบของปลามี 5 ชนิด ไดแ้ ก่ ครีบอก ครบี ทอ้ ง ครีบหลัง ครีบก้น และครบี หาง 6. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 5 กลุม จากนั้น ปลาหายใจโดยใชเ้ หงอื ก ซง่ึ ทา� หนา้ ท่ใี นการแลกเปลย่ี นแกส สมาชิกกลุมชวยกันศึกษาขอมูลเพิ่มเติม เก่ียวกับประเภทของสัตวมีกระดูกสันหลัง ภาพที่ 1.36 ปลาตะเพียนหางแดง ครีบหลงั จากหนังสือเรียน หนา 21-26 หรือแหลง การเรียนรูอ่ืนๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ครีบอก เปนตน ตามหวั ขอ ดังนี้ • กลมุ ที่ 1 ศึกษากลมุ ปลา • กลุม ที่ 2 ศกึ ษากลมุ สตั วส ะเทนิ นา้ํ สะเทนิ บก • กลุมที่ 3 ศึกษากลมุ สัตวเลอื้ ยคลาน • กลมุ ท่ี 4 ศกึ ษากลมุ นก • กลมุ ที่ 5 ศกึ ษากลมุ สตั วเล้ียงลกู ดวยน้ํานม ครีบหาง ครบี กน ครบี ทอ ง เหงอื กของปลาทา� หนา้ ทค่ี ลา้ ยกบั ถงุ ลม ในปอดของคนเรา 21 ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู ครบี ของปลาเปรียบไดกบั อวัยวะใดของคน 1 กลุมปลา โดยท่ัวไปมีเหงือกเปนอวัยวะที่ใชในการหายใจ แตมีปลาชนิด ก. หู หน่ึงช่ือ ปลาปอด (lung fififish) ซ่ึงเปนปลาน้ําจืดที่มีมาตั้งแตสมัยดึกดําบรรพ ข. มือ มีปอดเหมอื นสัตวบ ก มันสามารถอยใู นสภาพแหงแลงท่ไี มมีนํา้ ไดนานถึง 4 ป ค. ลําตัว ง. ขาและเทา มาน้ํา จัดเปนสัตวกลุมปลา อาศัยอยูในทะเล ถึงแมจะมีรูปรางลักษณะ (วเิ คราะหค าํ ตอบ ปลาใชค รบี ในการวา ยนาํ้ และการทรงตวั เพอื่ ให ไมเหมอื นปลาทั่วไป แตม ีลักษณะอ่นื ๆ เชน เดยี วกบั ปลา คือ เปนสัตวเ ลือดเย็น มกี ระดกู สนั หลัง และหายใจทางเหงือก เคล่ือนทไี่ ปได ซง่ึ ทําหนา ท่คี ลา ยกับขาและเทา ของคนท่ีใชสําหรบั การเดิน ดังน้ัน ขอ ง. จึงเปน คาํ ตอบทถ่ี ูกตอง) T27

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สรปุ 2) กลุ่มสัตว์สะเทินน้�าสะเทินบก1 มีหลายชนิด เช่น อึ่งอ่าง ปาด จงโคร่ง เขยี ด ซาลามานเดอร์ กบ เปน็ ตน้ สัตวก์ ลมุ่ นีอ้ อกไข่ในนา้� เม่ือตวั อ่อน ขยายความเขา ใจ ฟกั ออกจากไขแ่ ลว้ จะอาศยั อยใู่ นนา้� ชว่ั ระยะเวลาหนงึ่ เมอื่ เจรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั โต เต็มวยั จะขน้ึ มาอาศยั อยู่บนบก และมกั อาศัยอยู่บริเวณทช่ี น้ื แฉะใกล้แหล่งนา�้ 7. ตัวแทนของกลุมที่ 1 ออกมานําเสนอขอมูล สัตวมีกระดูกสันหลังกลุมปลาจากการท่ีไดไป ลักษณะสา� คญั เปน็ สัตวเ์ ลือดเย็น มขี า 2 คู่ ไมม่ ีขน ไมม่ คี อ ผวิ หนงั บางและไมม่ ี ศึกษาขอ มลู มาแลว จากน้นั ใหเ พือ่ นกลุมอืน่ ๆ เกลด็ ตาโปนและกลม มีหูแต่ไมม่ ีรูหู มีรจู มูกอย่ดู ้านบนของปาก ซกั ถามขอ สงสยั การเคลอื่ นที่ มีฟันซ่ีเล็ก ๆ ปากกว้าง มีล้ิน 2 แฉก และมียางเหนียวเพื่อใช้ การหายใจ จับแมลง 8. ครสู อบถามนกั เรยี นทกุ คนเพอ่ื กระตนุ ความคดิ สัตว์บางชนิดขณะเป็นตัวอ่อนเรียกว่า ลูกออด จะอาศัยอยู่ในน้�า วา หากปลาขน้ึ จากนา้ํ เปน เวลานานๆ ปลาจะ เคลอ่ื นทโี่ ดยใชห้ างโบกไปมา เมอ่ื ตวั โตเตม็ วยั จะเคลอ่ื นทโี่ ดยใชข้ า ตายเพราะอะไร ตวั อ่อนหายใจโดยใชเ้ หงอื ก ตัวเตม็ วยั หายใจดว้ ยปอดและผวิ หนัง (แนวตอบ เพราะปลาใชเ หงอื กในการหายใจ เมอ่ื จบั ปลามาอยบู นบก เหงอื กของปลาไมส ามารถ แลกเปลยี่ นแกส ได ปลาจงึ หายใจไมไ ด จงึ สง ผล ทําใหป ลาตาย) 9. ตัวแทนของกลุมที่ 2 ออกมานําเสนอขอมูล สัตวมีกระดูกสันหลังกลุมสัตวสะเทินน้ํา สะเทินบกจากการท่ีไดไปศึกษาขอมูลมาแลว จากนนั้ ใหเ พอ่ื นกลุมอืน่ ๆ ซักถามขอสงสัย จงิ้ จกนา้� (นวิ ต)์ บางชนดิ อาศยั อยู่ในนา้� ซาลามานเดอร์ เป็นสัตว์สะเทินน้�า- เขยี ด มขี าหลงั ยาวกวา่ ขาหนา้ เพอ่ื ใช้ บางชนิดอยู่ไดท้ ัง้ ในน�า้ และบนบก สะเทนิ บกชนดิ หนง่ึ ซงึ่ เมอ่ื เจรญิ เปน็ ในการกระโดด ตวั เตม็ วยั ยงั คงมหี างยาว กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นา้� สะเทนิ บก สว่ นใหญ่ มีขาหลังยาวกว่าขาหน้า เพื่อใช้ใน การกระโดด 22 ภาพที่ 1.37 ตัวอยา่ งสตั ว์สะเทนิ นา�้ สะเทนิ บก นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET เพราะเหตใุ ด สตั วส ะเทนิ นา้ํ สะเทนิ บกจงึ มกั อาศยั อยใู นบรเิ วณ 1 กลุมสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก (amphibian) หรือ สัตวครึ่งน้ําคร่ึงบก ท่ีชนื้ แฉะ บางชนิด เมื่อถึงฤดูแลงจะขุดรูเพ่ือจําศีล (ในชวงระหวางฤดูหนาวถึงฤดูรอน) เพื่อหนีความแหงแลงไมใหผิวหนังแหง ถาผิวหนังแหงสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก (แนวตอบ เพราะสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก เชน กบ คางคก จะตาย เพราะหายใจไมได เน่ืองจากแกสออกซิเจนจากอากาศตองละลายไป อ่ึงอาง หายใจดวยปอดและผิวหนัง ถาผิวหนังแหง จะมีผลตอ กับนา้ํ เมือกที่ผวิ หนัง แลวจงึ แพรเขา สกู ระแสเลอื ด การหายใจ ดังน้ัน สัตวประเภทนี้จึงตองอาศัยอยูในบริเวณที่ ช้นื แฉะ) T28

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ขนั้ สรปุ ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ ขยายความเขา ใจ 3) กล่มุ สัตว์เลื้อยคลาน มหี ลายชนิด สว่ นใหญอ่ าศัยอยู่บนบก เชน่ 10. ตัวแทนกลุมท่ี 3 ออกมานําเสนอขอมูล จง้ิ จก ตุกแก กง้ิ ก่า จระเข้ ตะกวด เต่าบก งู เป็นต้น แต่มีบางชนิดอาศยั อยใู่ นน�า้ สัตวมีกระดูกสันหลังกลุมสัตวเลื้อยคลาน เชน่ เตา่ ทะเล งูทะเล เปน็ ตน้ จากการที่ไดไปศึกษาขอมูลมาแลว จากนั้น ใหเ พื่อนกลุม อน่ื ๆ ซักถามขอสงสยั ลกั ษณะส�าคัญ เปน็ สตั วเ์ ลอื ดเยน็ ผวิ หนงั หนา มเี กลด็ แขง็ แหง้ ปกคลมุ ลา� ตวั หรอื การเคล่อื นท่ี มีกระดองแข็งหุ้มลา� ตวั 11. ครูอธิบายความรูเสริมเพิ่มเติมใหนักเรียน การหายใจ ขนึ้ อยกู่ ับลักษณะของสัตว์ เชน่ งไู มม่ ีขาจึงเคล่อื นทโ่ี ดยการเล้ือย เขา ใจวา ก้งิ กาสว นใหญอาศัยอยบู นบก แตม ี เต่า กิ้งก่า จระเข้ จิง้ จก มี 4 ขา จงึ เคล่อื นทโ่ี ดยใช้ขา เป็นตน้ สัตวจําพวกก้ิงกาที่สามารถดําลงไปในทะเล หายใจโดยใชป้ อด เพ่อื หาอาหารได นั่นคือ อกิ วั นาทะเล โดยมี แหลงท่ีอยูในหมูเกาะกาลาปากอส ซึ่งต้ังอยู ในมหาสมุทรแปซฟิ ก หมูเกาะกาลาปากอสนี้ เปน สว นหนงึ่ ของประเทศเอกวาดอร งู เปน็ สัตว์ท่ีไมม่ ีขา งบู างชนดิ มพี ษิ ก้ิงก่า เปน็ สตั วเ์ ลือดเย็น จึงตอ้ ง งูบางชนดิ ไมม่ พี ษิ อาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย์ ชว่ ยปรบั อุณหภมู ภิ ายในร่างกาย เต่าทะเล อาศัยอยู่ในทะเล และจะข้นึ มาวางไขบ่ นหาดทราย จระเข้ เป็นสัตวท์ อี่ าศัยอยู่บริเวณปา รมิ นา�้ หรอื พน้ื ทชี่ มุ่ นา้� จระเขบ้ างชนดิ อาศยั อยู่ในแหล่งนา�้ น่งิ หรือบึง ภาพท่ี 1.38 ตวั อย่างสัตว์เล้ือยคลาน 23 ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET สัตวชนิดใดเปนสัตวเลือดเย็น ผิวหนังหนา มีเกล็ดแข็งแหง ปกคลมุ ลําตัว และหายใจโดยใชปอด ก. จิ้งเหลน ข. ปลา ค. กบ ง. นก (วเิ คราะหค าํ ตอบ จากคาํ ถามกลา วถงึ ลกั ษณะของสตั วเ ลอ้ื ยคลาน ซึ่งในทนี่ ้ี คือ จงิ้ เหลน ดังนนั้ ขอ ก. จงึ เปน คําตอบที่ถูกตอ ง) T29

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขน้ั สรปุ 4) กลมุ่ นก เปน็ สตั วท์ เี่ ปลย่ี นขาคหู่ นา้ เปน็ ปกี มอี ยหู่ ลายชนดิ ทงั้ ชนดิ ที่ บนิ ไดแ้ ละทบ่ี นิ ไมไ่ ด้ สว่ นใหญอ่ าศยั อยบู่ นบก เชน่ นก เปด็ ไก่ หา่ น หงส์ เปน็ ตน้ ขยายความเขา ใจ ลกั ษณะสา� คญั เปน็ สัตว์เลือดอุน่ มขี า 2 ขา มีเกล็ดทข่ี าและน้ิวเทา้ และมีปีก 1 คู่ 12. ตัวแทนกลุมท่ี 4 ออกมานําเสนอขอมูล รปู รา่ งเพรยี ว รา่ งกายปกคลมุ ดว้ ยขนเปน็ แผงและเปน็ ปยุ ปากเปน็ สัตวมีกระดูกสันหลังกลุมนกจากการท่ีได การเคล่ือนท่ี จะงอยแหลม ไมม่ ฟี ัน กระดูกทวั่ ร่างกายเปน็ โพรง กลวง และเบา ไปศึกษาขอมูลมาแลว จากนั้นใหเพ่ือนกลุม การหายใจ มีถุงลมตดิ กบั ปอดเพ่ือช่วยใหต้ วั เบาขณะกา� ลังบนิ อนื่ ๆ ซกั ถามขอ สงสยั เคลอื่ นทโ่ี ดยการเดิน กระโดด ว่งิ หรอื บิน และบางชนิดสามารถ วา่ ยน้�าได้ เช่น เปด็ ห่าน หงส์ นกเปด็ น�า้ นกเพนกวนิ เปน็ ต้น 13. ครูตั้งคําถามเพ่ือกระตุนความคิดนักเรียน หายใจโดยใชป้ อด1 ดงั น้ี • นกชนดิ ใดมีขนาดใหญท ่สี ุดในโลก นกฮัมมิงเบิร์ด เป็นนกท่ีมี นกกระจอกเทศ เปน็ นกชนดิ (แนวตอบ นกกระจอกเทศ) ขนาดเลก็ ที่สุดในโลก หนง่ึ ทบ่ี นิ ไมไ่ ด้ และมขี นาด • นกชนิดใดทบ่ี นิ ไมไ ด ใหญ่ทสี่ ุดในโลก (แนวตอบ นกกระจอกเทศ นกกวี ี) • นกแตละชนิดมีลักษณะปากแตกตางกัน เปน เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ เพราะลกั ษณะอาหารและการกนิ อาหารของนกแตล ะชนดิ แตกตางกัน) นกกระทุง มีปากใหญ่ไว้ นกฮูก เป็นสัตว์ปีกที่ออก ช้อนปลาไดจ้ �านวนมาก หากินในเวลากลางคนื นกเพนกวิน เป็นนกที่บินไม่ได้ ปกี ของมนั ใชป้ ระโยชน์ในการว่ายน้า� 24 ภาพที่ 1.39 ตวั อยา่ งสัตวก์ ลุ่มนก เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET เมอื่ อณุ หภมู ขิ องสงิ่ แวดลอ มภายนอกสงู ขน้ึ อณุ หภมู ใิ นรา งกาย ครูยกตัวอยา งการปรบั ตวั ของสัตวเลือดอุนใหนักเรยี นฟง เชน ของนกจะเปน อยา งไร • เมื่ออากาศรอน รางกายของสัตวเลือดอุนจะลดการเผาผลาญอาหาร (เมแทบอลิซึม) ทําใหมีความรอนเกิดข้ึนในรางกายนอยลงและมีการหล่ังเหง่ือ (แนวตอบ นกเปนสัตวเลือดอุน เม่ืออุณหภูมิของสิ่งแวดลอม เพ่อื ใหก ารระเหยของเหงอื่ นาํ ความรอ นออกจากผิวหนัง ภายนอกสูงข้ึน นกก็จะมีกลไกท่ีรักษาอุณหภูมิรางกายใหอยูใน •ºª เม่ืออากาศเย็น รางกายของสัตวเลือดอุนจะเพ่ิมการเผาผลาญอาหาร ระดับคงที่ได โดยลดการเผาผลาญอาหาร เพื่อใหเกิดความรอน ทําใหร างกายมีความรอนเพม่ิ ข้นึ สวนสัตวเ ลือดเย็นไมม กี ลไกเพิม่ อัตราการเผา ในรางกายลดลง ซ่ึงเปนการปรับตัวรูปแบบหนึ่งเพื่อใหสามารถ ผลาญอาหาร เพอ่ื เพม่ิ อุณหภูมใิ นรา งกายไดเอง จึงตองปรบั ตวั โดยการผึ่งแดด อยูรอดได) ใหอุณหภมู ิสูงขึ้น นักเรียนควรรู 1 ปอด (lung) นกตอ งใชพ ลงั งานในการบนิ มาก ปอดของนกจงึ มถี งุ ลมพเิ ศษ ยน่ื ออกมาเปน คๆู หลายคู ทาํ หนา ทก่ี กั เกบ็ แกส ออกซเิ จนไวห ายใจในขณะทน่ี กบนิ T30

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ขนั้ สรปุ ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ ขยายความเขา ใจ 5) กลมุ่ สัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยน�า้ นม มววัหี ลคาวยาชยนดิลงิ สคตั า้วง์จค�าาพววกตน่นุ ้สี ป่วานกใเหปญ็ด1่ 14. ตัวแทนของกลุมท่ี 5 ออกมานําเสนอขอมูล อาศัยอยู่บนบก เชน่ สุนัข แมว ช้าง มา้ เก่ียวกับสัตวมีกระดูกสันหลังกลุมสัตว เปน็ ตน้ บางชนดิ มรี ปู รา่ งคลา้ ยปลาอาศยั อยใู่ นนา�้ เชน่ วาฬ พะยนู โลมา เปน็ ตน้ เล้ียงลูกดวยนํ้านม จากการท่ีไดไปศึกษา สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตัวกินมดหนามและ ขอมูลมาแลว จากนั้นใหเพ่ือนกลุมอ่ืนๆ ตุ่นปากเป็ดทอ่ี อกลกู เปน็ ไข่ ซกั ถามขอสงสัย ลักษณะส�าคญั เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวเมียจะมีต่อมน้�านมไว้ 15. ครูต้ังคําถามเพ่ือกระตุนความคิดนักเรียน ส�าหรับเลี้ยงลูกอ่อน มีขนเป็นเส้นปกคลุมตามร่างกาย มีรูหูและ ดังนี้ การเคลอ่ื นที่ ใบหู บางชนดิ มขี า บางชนิดไมม่ ีขา • เพราะเหตใุ ด นักวทิ ยาศาสตรจ ึงไมจัดให การหายใจ เคลอื่ นทโ่ี ดยการเดนิ วงิ่ กระโดด บางชนดิ วา่ ยนา้� ได้ บางชนดิ บนิ ได้ วาฬและโลมา เปนสัตวก ลุมปลา หายใจโดยใชป้ อด (แนวตอบ เพราะถึงแมวาวาฬและโลมา มีรูปรางลักษณะคลายปลา แตไมใชปลา เนื่องจากวาฬและโลมา หายใจดวยปอด และมีตอ มน้ํานมสําหรบั เล้ยี งลูก สว นปลา หายใจดวยเหงือกและไมม ตี อ มน้าํ นม) จิงโจ้ เป็นสัตว์ประจ�าเฉพาะ ถ่ินของออสเตรเลีย เป็นสัตว์ ท่ีมีขาคู่หลังขนาดใหญ่และ แขง็ แรง ใชใ้ นการกระโดดและ มหี างชว่ ยในการรกั ษาสมดลุ ลงิ เปน็ สตั วท์ มี่ รี ปู รา่ งคลา้ ย หมีโคอาลา2 ไม่ใช่สัตว์ใน คนและเคลอื่ นไหวไดว้ อ่ งไว ตระกูลหมีแต่จัดอยู่ในกลุ่ม สตั ว์จ�าพวกจิงโจ้ โลมา มรี ปู รา่ งคลา้ ยปลาแต่ ค้างคาว เป็นสัตวเ์ ลี้ยงลกู - ไม่ใชป่ ลา ดว้ ยน้า� นมที่บนิ ได้ ภาพท่ี 1.40 ตวั อย่างสตั ว์เลย้ี งลกู ดว้ ยน้�านม 25 ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู สัตวเลือดอุน เมื่ออยูกลางหิมะ เลือดจะมีอุณหภูมิเทากับ 1 ตุนปากเปด (platypus) เปนสัตวประจําถิ่นของประเทศออสเตรเลีย เมอื่ อยูก ลางทะเลทรายหรอื ไม เพราะเหตใุ ด โดยเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมที่ออกลูกเปนไข ตุนปากเปดมีลําตัวแบน หวั ทา ยเรยี ว มปี ากแหลมคลา ยเปด มขี าสน้ั เทา คหู นา เปนพังผืดตดิ กนั ทุกนว้ิ (แนวตอบ มอี ุณหภูมเิ ทา กนั เพราะอุณหภมู ิภายในรา งกายของ 2 หมโี คอาลา (koala) เปน สตั วท พ่ี บในประเทศออสเตรเลยี ตวั เมยี มกี ระเปา สตั วเ ลอื ดอนุ จะคงที่ ไมเ ปลยี่ นแปลงตามสภาพแวดลอ มภายนอก) หนา ทอ งสําหรบั ใหล ูกออ นอาศยั อยู T31

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขน้ั สรปุ เกรด็ วทิ ยน์ า่ รู้ ขยายความเขา ใจ สตั วเ์ ลอื ดเยน็ คอื สตั วท์ ม่ี อี ณุ หภมู ใิ นรา่ งกายเปลย่ี นไปตามอณุ หภมู ขิ องสงิ่ แวดลอ้ ม ที่อาศยั ไดแ้ ก่ กลุ่มปลา กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นา้� สะเทนิ บก และกลมุ่ สตั ว์เลอื้ ยคลาน 16. นักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมพัฒนาการ เรียนรูท่ี 4 จากหนังสือเรียนหนาน้ี โดยทํา สัตว์เลือดอุ่น คือ สัตว์ที่มีอุณหภูมิในร่างกายคงท่ี ไม่เปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของ ลงในสมุดหรือทําในใบงานที่ 1.5 เร่ือง ส่ิงแวดลอ้ มท่ีอาศยั ไดแ้ ก่ กล่มุ นก และกลมุ่ สตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนา�้ นม วเิ คราะหล กั ษณะของสตั วม กี ระดกู สนั หลงั ท่ี ครูแจกให โดยรวมกันวิเคราะหลักษณะของ 4กิจกรรม พัฒนาการเรยี นรทู้ ี่ สัตวและจําแนกวาเปนสัตวมีกระดูกสันหลัง ประเภทใด และยกตวั อยา งชอื่ สัตวป ระเภทนี้ แบง่ กลมุ่ จากน้ันให้แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะห์ลักษณะของสตั ว์ แลว้ จ�าแนกวา่ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช เปน็ สตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั ประเภทใด และยกตวั อยา่ งชอ่ื สตั วป์ ระเภทนี้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ) ตารางท่ี 1.1 ลกั ษณะของสัตว์มีกระดูกสนั หลัง 17. ครสู ุมเรยี กตวั แทนนกั เรยี น 5 คน จากกลมุ ลา� ดบั ลกั ษณะส�าคัญ การหายใจ การสบื พันธ์ุ ตางๆ ออกมานําเสนอผลการทํากิจกรรม หนา ชน้ั เรยี นคนละ 1 ขอ โดยครเู ฉลยคาํ ตอบ 1. • เปน็ สตั วเ์ ลอื ดเยน็ ไมม่ ขี า ไมม่ ขี น ใชป้ อด • ออกลูกเปน็ ไขท่ ี่มีเปลือกแข็งหมุ้ ท่ีถูกตอง พรอมอธิบายเพ่ือใหนักเรียนเกิด มเี กลด็ แข็งและแหง้ ความเขาใจ 2. • เเปป็็นนเสมัตือวกเ์ ลลอืนื่ 1ดๆเย็น มคี รีบผวิ หนงั ใช้เหงือก • มกี ารปฏิสนธภิ ายนอก • สว่ นใหญอ่ อกลูกเป็นไข่ 3. • เป็นสัตวเ์ ลอื ดอนุ่ ใชป้ อด • มีการปฏิสนธิภายใน • มตี ่อมนา้� นม ผิวหนงั มีขนปกคลุม • ออกลกู เปน็ ตัว ตามร่างกาย 4. • เป็นสตั วเ์ ลือดเย็น มีผวิ หนงั ใชป้ อดและ • มกี ารปฏิสนธิภายนอก เปียกชนื้ ตลอดเวลา มีขา 2 คู่ ผวิ หนงั • ออกลกู เปน็ ไขท่ ม่ี ีว้นุ หมุ้ 5. • เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นแผง ใชป้ อด • มกี ารปฏสิ นธิภายใน ปกคลมุ ลา� ตัว • ออกลกู เป็นไขท่ ่ีมีเปลอื กแข็งหุม้ • ขาคู่หน้าพฒั นาไปเป็นปีก มขี า 2 ขา จากการท�ากิจกรรม ท�าให้นักเรียนสามารถใช้ข้อมูลลักษณะภายในและ ลักษณะภายนอกของสัตว์เป็นเกณฑ์ในการจ�าแนกประเภทของสัตว์มีกระดูก สันหลังชนิดตา่ ง ๆ ได้ 26 เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทา ทาย ใบงานท่ี 1.5 เรือ่ ง วิเคราะหลักษณะของสัตวม กี ระดูกสนั หลัง ครสู ามารถ ใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพสัตวมีกระดูกสันหลัง โดยรวบรวม หยิบใชไดจากแผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 เรื่อง ความหลากหลายของสัตว ภาพสัตวตางๆ โดยเฉพาะสัตวแปลกๆ ที่ไมมีหรือพบเห็นไดยาก หนวยการเรยี นรูที่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ ในประเทศไทย เชน ตุนปากเปด นกกีวี มังกรโคโมโด บีเวอร สกังก พอสซัม สล็อต ลีเมอร เตากาลาปากอส อิกัวนาทะเล นักเรียนควรรู เปนตน แลวนํามาติดลงในสมุดภาพ โดยจําแนกประเภทตาม ทีเ่ รยี นมา แลวนาํ มาแลกเปล่ยี นกันดกู บั เพ่อื นในช้นั เรียน 1 เมอื กลนื่ สตั วบ างชนดิ จะขบั ของเหลวใสเปน เมอื กออกมาหลอ เลยี้ งผวิ หนงั ทําใหเปยกชื้นอยูเสมอ เพื่อใชในการแลกเปลี่ยนแกสสําหรับการหายใจ เชน กบ คางคก เขยี ด อง่ึ อา ง เปน ตน และสตั วบ างชนดิ สรา งเมอื กขน้ึ เพอ่ื ใหเ คลอ่ื นท่ี ไดส ะดวกย่งิ ข้นึ เชน ปลาชอ น ปลาดกุ ปลาหมอ ปลาไหล เปน ตน T32

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรู้ท่ี ขน้ั สรปุ ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต ขยายความเขา ใจ 2. สัตว์ไม่มีกระดกู สันหลงั 18. ครูใหนักเรียนดูวีดิทัศนสารคดีเกี่ยวกับสัตว สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั คอื สตั วท์ ไ่ี มม่ กี ระดกู แขง็ เปน็ โครงสรา้ งของรา่ งกาย ไมมีกระดูกสันหลัง จากนั้นครูนําบัตรภาพ ล�าตัวมีลักษณะอ่อนน่ิม ซ่ึงสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในโลกน้ีมีจ�านวนมากกว่า ฟองน้ํา แมงกะพรุน พยาธิใบไม ไสเดือน สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง นักวิทยาศาสตร์จึงจัดกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังตาม ดาวทะเล หอยแครง ผีเส้ือ มาใหน กั เรียนดู ลักษณะย่อยได้ 8 ประเภท ดังน้ี และรวมกนั อภิปรายวา เราสามารถแบง สัตว ไมมีกระดูกสันหลังไดเปนกี่ประเภท โดย ตารางท่ี 1.2 ลกั ษณะของสตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลงั สงั เกตไดจ ากอะไร สตั วจ์ า� พวก ตัวอยา่ งสตั ว์ ลักษณะส�าคญั (แนวตอบ ข้ึนอยกู บั ดุลยพินิจของครผู ูส อน) 1. ฟองน้า� เชน่ ฟองน้า� แกว้ ฟองนา�้ หินปูน • มลี กั ษณะคล้ายพืช เกาะตดิ อย่กู ับท่ี 19. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละเทาๆ กัน 2. สตั ว์ทม่ี ลี �าตัว • ลา� ตัวเปน็ โพรง มีชอ่ งเปดด้านบน มรี ูพรุน จากน้ันใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา ใหน้ า้� ออก มหี นามเปน็ โครงสรา้ งคา้� จนุ รา่ งกาย ความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับประเภทของสัตว กลวง หรือ • สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ และแบบไมอ่ าศยั เพศ ไมมีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน หนา ล�าตัวมีโพรง (แตกหน่อ) 27-29 3. หนอนตวั แบน ภาพท่ี 1.41 ฟองน�า้ • ไมม่ รี ะบบประสาท สว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นนา�้ เคม็ เช่น แมงกะพรุน ปะการงั 1ไฮดรา • ลา� ตวั ใสคล้ายวนุ้ มีรปู ร่างคลา้ ยทรงกระบอก • ตรงกลางล�าตัวเป็นโพรง มีช่องเปดออกจาก ล�าตัวเพียงช่องเดียว เป็นทางน�าอาหารเข้า และกา� จัดเศษอาหารออกจากล�าตัว • มเี ขม็ พษิ ไว้ปอ งกันตัวและใช้จบั เหยือ่ • สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ และแบบไมอ่ าศยั เพศ ภาพท่ี 1.42 แมงกะพรนุ (แตกหนอ่ ) • สว่ นใหญ่อาศัยอย่ใู นน�า้ เค็ม ยกเวน้ ไฮดรา และแมงกะพรุนน้�าจดื ที่อาศัยอยใู่ นนา้� จืด เช่น พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด2 • มลี า� ตวั นม่ิ แบนยาว ไมม่ ขี า • มีปาก แต่ไมม่ ีทวารหนกั • ไมม่ ีระบบหมุนเวยี นเลอื ด • ส่วนใหญ่ด�ารงชีวิตเป็นปรสิต โดยดูดเลือด จากร่างกายของคนและสัตว์ • สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ และแบบไมอ่ าศยั เพศ ภาพท่ี 1.43 พยาธิใบไม้ • มี 2 เพศในตวั เดียวกัน • อาศัยอย่ทู ้งั ในนา�้ เคม็ และนา�้ จืด 27 ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู ขอใดคือลักษณะของแมงกะพรุน 1 ปะการัง (coral) แตละตัวมีรูปรางเปนทรงกระบอก รางกายมีปากอยู ก. ลาํ ตัวใสคลายวุน ตรงกลางดานบนและมีหนวดจํานวนมากเรียงรายรอบปาก มีสารจําพวก ข. มรี ูพรุนรอบลาํ ตัว หินปนู เปน โครงคํา้ จุน ค. ลําตัวนิม่ แบนยาว ง. ลาํ ตัวกลมยาว มีขอปลอง ปะการังอาศัยอยูร วมกันเปน กลุมใหญ และมีเน้ือเยอ่ื ติดตอ ถึงกนั ปะการัง (วิเคราะหคําตอบ แมงกะพรุน เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ท่ีตายลงจะเหลือโครงเปน ชองๆ ทีเ่ คยมตี วั อาศยั อยู 2 พยาธิตัวตืด (tape worm) สามารถสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศได โดย ลักษณะลําตัวใสคลายวุน จึงถูกเรียกวา jellyfifish ลําตัวมีโพรง แตละปลองของพยาธิตัวตืดสามารถหลุดและเจริญเติบโตเปนพยาธิตัวตืด ทําหนาท่ีเปนทางเดินอาหาร และมีเข็มพิษที่บริเวณหนวดอยู ตัวใหมได ดา นลา ง ใชส ําหรับปองกันตวั และจบั เหยือ่ ดังนนั้ ขอ ก. จงึ เปน คาํ ตอบที่ถูกตอง) การกนิ อาหารท่ปี ระกอบจากเนือ้ ววั ควาย หรือเน้ือหมดู ิบ หรอื ดิบๆ สุกๆ อาจทาํ ใหเ ปน โรคพยาธติ วั ตดื ได เพราะไขพ ยาธจิ ะไปเจรญิ อยตู ามอวยั วะตา งๆ เชน สมอง ตา หัวใจ ทําใหเ กิดอาการรุนแรงอาจถงึ เสยี ชวี ติ ได ดังนัน้ จึงตอ ง กินอาหารที่ปรงุ สกุ ถา เปนผกั สดตองลา งใหส ะอาดกอนนํามากิน T33

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สรปุ สัตว์จา� พวก ตวั อยา่ งสตั ว์ ลักษณะส�าคัญ ขยายความเขา ใจ 4. หนอนตัวกลม เช่น พยาธติ ัวจี๊ด พยาธไิ สเ้ ดือน • ลา� ตวั น่มิ กลมยาว ไม่มีขา • ผิวเรยี บ ไม่เปน็ ปลอ้ ง 20. แตละกลุมไปสํารวจรอบบริเวณโรงเรียนเพื่อ 5. สัตวท์ ่ีมลี า� ตัว • มีปากและทวารหนกั คนหาสัตวไมมีกระดูกสันหลัง แลวบันทึก เปน็ ปลอ้ ง • ไดมา� ม่รงรี ชะีวบิตบเหปม็นุนปเรวสยี ิตน1ใลนือรดา่ งกายคนและสัตว์ ลงในสมุด ภาพท่ี 1.44 พยาธิไส้เดือน • สืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ• 6. สัตวท์ ะเลผวิ 21. นักเรียนแตละกลุมบอกผลของการสํารวจ ขรุขระ • เพศผ้แู ละเพศเมียแยกคนละตัว สัตวไมมีกระดูกสันหลังในบริเวณโรงเรียน โดยครูจดไวบนกระดาน 7. หอยและ เทชา่นกดไดูสเ้เลดอือื ดน2ดนิ ปลิงน้า� จืด • ลา� ตวั กลมยาว เปน็ ปลอ้ งคลา้ ยวงแหวนตอ่ กนั หมกึ ทะเล • ผวิ หนงั เปียกชน้ื 22. นักเรียนนําขอมูลท่ีครูจดไวบนกระดานมา • มีระบบประสาทและระบบทางเดนิ อาหาร จําแนกประเภทตามขอมูลในหนังสือเรียน 28 • มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด หนา 27-29 จากนน้ั ใหน กั เรยี นรว มกนั บอกวา • สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ และแบบไมอ่ าศยั เพศ จากการสํารวจบริเวณโรงเรียนพบสัตว • มี 2 เพศในตวั เดียวกัน ไมม ีกระดกู สันหลังประเภทใดมากทีส่ ดุ ภาพที่ 1.45 ไส้เดอื นดิน เชน่ ดาวทะเล ปลงิ ทะเล • ตามผวิ ของล�าตัวหยาบ ขรุขระ และแข็ง เมน่ ทะเล เพราะมสี ารพวกหนิ ปูนเป็นองคป์ ระกอบ ภาพท่ี 1.46 ดาวทะเล • ไมม่ สี ่วนหัว บางชนดิ ลา� ตวั แยกเปน็ แฉก เช่น ดาวทะเล • ใต้ล�าตัวมีเท้าเปน็ หลอดเล็ก ๆ จา� นวนมาก (เท้าทอ่ ) ใช้สา� หรบั การเคล่ือนที่ • สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ และแบบไมอ่ าศยั เพศ • สว่ นใหญ่เพศผแู้ ละเพศเมียแยกคนละตัว หอย เชน่ หอยแครง หอยทาก • มลี �าตัวน่มิ หอยแมลงภู่ หอยโขง่ หอยขม • ส่วนใหญ่มีเปลือกแขง็ ซึ่งเป็นสารจา� พวก หอยสงั ข์ หนิ ปูนหมุ้ ภายนอก • มรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ด โดยมหี วั ใจสบู ฉดี เลอื ด • เคลอื่ นทโ่ี ดยใชก้ ลา้ มเนอ้ื ทย่ี น่ื ออกจากเปลอื ก • อาศยั อยู่ทั้งบนบก ในนา�้ จืด และน้�าเค็ม • สืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ บางชนิดอาศัยบนบก ภาพที่ 1.47 หอยทาก และวางไขบ่ นบก เช่น หอยทาก นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สัตวชนิดใดที่มีผิวตามลําตัวหยาบ ขรุขระ มีสารพวกหินปูน 1 ปรสิต (parasite) หมายถึง ส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในสวนใดสวนหน่ึงของสัตว เปนองคป ระกอบ หรอื พชื และดดู กนิ เนอ้ื เยอ่ื หรอื อาหารทย่ี อ ยแลว ของผถู กู อาศยั ทาํ ใหผ ถู กู อาศยั เปนโรคหรือมีอาการผิดปกติ ตัวอยางปรสิต เชน พยาธิ กาฝาก แบคทีเรีย ก. หนอนตัวกลม บางชนิด เปนตน ข. ทากดูดเลือด 2 ทากดดู เลอื ด เปน สตั วท ม่ี ลี กั ษณะคลา ยปลงิ ลาํ ตวั เปน ปลอ งมเี มอื กเหนยี ว ค. ดาวทะเล หมุ ไวไ มใ หต วั แหง รปู รา งเรยี วยาว ลาํ ตวั ดา นลา งจะโคง นนู เลก็ นอ ย สว นทอ งจะ ง. หอยโขง เรียบอาศัยอยูตามพื้นที่ชนื้ แฉะ สามารถพบไดทั่วไปตามปาดบิ ช้นื (วิเคราะหค ําตอบ ดาวทะเล เปน สตั วทะเลทีไ่ มมีกระดูดสันหลัง มีลําตัวแยกเปนหาแฉกคลายรูปดาว แตละแฉกเรียกวา แขน ทากดดู เลือด มีสัมผัสทไ่ี วตอกลน่ิ และอณุ หภูมิ เมื่อเหยือ่ เขา ใกล มนั จะใช มีหนามแหลมปกคลุมลําตัว ทําใหมีผิวหยาบ ขรุขระ และแข็ง อวัยวะทเี่ รยี กวา แวน ดูด (sucker) ในการเกาะติดกบั ตวั เหยือ่ ซึ่งอวัยวะนี้มีท้ัง เพราะมีหินปูนเปนองคประกอบ ดังน้ัน ขอ ค. จึงเปนคําตอบ ดา นหนา และดานทา ย โดยแวน ดา นหนาใชใ นการดูดเลอื ด และแวนดานทา ยใช ที่ถกู ตอง) ในการยดึ เกาะ T34

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ ขนั้ สรปุ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ขยายความเขา ใจ สตั วจ์ า� พวก ตัวอย่างสัตว์ ลักษณะส�าคญั 23. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมพัฒนาการ เรียนรทู ่ี 5 จากหนังสอื เรียน หนา 30 โดยทาํ 7. หอยและ หมึกทะเล เช่น หมึกกระดอง • มลี �าตัวน่ิม แต่มีโครงแข็งอย่ภู ายในล�าตัว ลงในสมุดหรือทําลงในใบงานท่ี 1.6 เรื่อง หมึกทะเล (ตอ่ ) หมึกกล้วย หมึกยักษ์ • มีระบบหมุนเวียนเลอื ด จําแนกสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมี • เคลอ่ื นทโี่ ดยใชห้ นวด และการพน่ นา�้ ออกจาก กระดูกสนั หลัง ทคี่ รูแจกให โดยใหแ ตล ะคน ล�าตวั ดูภาพและจําแนกวา สัตวชนิดใดเปนสัตวมี • หายใจด้วยปอดและผวิ หนัง กระดูกสันหลังหรือสัตวไมมีกระดูกสันหลัง • สบื พันธแ์ุ บบอาศัยเพศ ออกลกู เป็นไข่ พรอ มกบั บอกเหตผุ ลประกอบ ภาพท่ี 1.48 หมกึ กระดอง • ส่วนใหญ่อาศยั อยู่ในน�า้ เค็ม เชน่ หมึกกล้วย (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบคุ คล) 8. สตั วท์ มี่ ีขา มมดี 62ผขีเสา้อื ไดแแ้ มกล่ งแวมนั ลง1เชน่ ยงุ • มีขาเปน็ ขอ้ ๆ ตอ่ กนั เปน็ ขอ้ • สตั ว์จ�าพวกแมลงมลี �าตวั แบ่งเป็น 3 ส่วน 24. ครสู มุ เรยี กตวั แทนนกั เรียนประมาณ 5-6 คน ภาพท่ี 1.49 มด ออกมานาํ เสนอผลการทาํ กจิ กรรมพฒั นาการ มี 8 ขา ไดแ้ ก่ แมง เชน่ ได้แก่ ส่วนหัว สว่ นอก และสว่ นทอ้ ง เรยี นรทู ่ี 5 ท่หี นา ช้นั เรียน โดยใหค รูอธิบาย แมงมุม แมงปอง เห็บ เสรมิ เพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหน กั เรยี นเกดิ ความเขา ใจ • สตั ว์บางชนิดมีลา� ตวั แบง่ เปน็ 2 ส่วน ได้แก่ มากย่ิงขนึ้ สว่ นหัวรวมกับส่วนอก และสว่ นทอ้ ง • มีเปลือกแข็งหมุ้ ลา� ตัว • มรี ะบบหมนุ เวียนเลือด ระบบประสาท และระบบทางเดนิ อาหารทส่ี มบูรณ์ • ในการเจรญิ เตบิ โต สว่ นใหญ่มีการลอกคราบ • สืบพันธุ์แบบอาศยั เพศ ออกลูกเปน็ ไข่ ภาพท่ี 1.50 แมงปอง • มี 10 ขา เชน่ ปู กงุ้ • มขี าจา� นวนมาก เช่น กง้ิ กอื ตะขาบ ภาพท่ี 1.51 กิง้ กอื 29 ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู ลกั ษณะที่เห็นไดช ดั เจนของกิง้ กือคอื ขอใด ใบงานท่ี 1.6 เรอื่ ง จาํ แนกสตั วม กี ระดกู สนั หลงั และสตั วไ มม กี ระดกู สนั หลงั ก. ลาํ ตวั แบนยาว ครูสามารถหยิบใชไดจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 4 เร่ือง ความหลากหลาย ข. ลําตัวเปน โพรง ของสัตว หนวยการเรียนรูท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวิต ค. มีขาจํานวนมาก ง. มีเขม็ พิษอยทู ข่ี า นักเรียนควรรู (วเิ คราะหคําตอบ กงิ้ กอื เปน สตั วไ มม กี ระดูกสันหลัง แตม เี ปลอื ก 1 แมลง (insect) เปนกลุมสัตวท่ีมีชนิดและจํานวนมากที่สุดในโลก (75% ตวั แขง็ ลาํ ตวั ยาวแขง็ เปน ปลอ ง และทเ่ี หน็ ไดช ดั เจนทสี่ ดุ คอื กง้ิ กอื ของสัตวในโลก) มีขา 3 คู หรือ 6 ขา มีปก 1-2 คู หรือบางชนิดไมมีปก เปนสัตวทมี่ ขี าจํานวนมาก จนไดช่ือวา เปนสัตวท ม่ี ขี ามากที่สุดใน มตี ารวมขนาดใหญ 2 ตา มีอวัยวะหายใจ คือ ทอ ลม บรรดาสัตวบก ดงั นั้น ขอ ค. จึงเปนคาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง) 2 มด (ant) เปน แมลงสงั คมทม่ี อี ยรู วมกนั เปน กลมุ มลี กั ษณะแตกตา งกนั เชน - มดราชนิ ี เปน มดเพศเมยี ทาํ หนา ทสี่ บื พนั ธุ มปี ก มลี าํ ตวั และสว นทอ งใหญ - มดเพศผู มลี ําตัวคอนขางเลก็ มปี ก - มดงาน เปน มดเพศเมียทเ่ี ปน หมนั มีลําตวั ขนาดเลก็ และไมม ปี ก T- มดทหาร เปนมดเพศเมียทีเ่ ปน หมนั แตต ัวมขี นาดใหญก วา มดงาน 35

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขน้ั สรปุ 5กิจกรรม พฒั นาการเรยี นรู้ท่ี ขยายความเขา ใจ ดูภาพ แล้วจ�าแนกว่า สัตว์ชนิดใดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ชนิดใด เปน็ สัตว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั พร้อมให้เหตุผลประกอบ 25. ครูถามคําถามทาทายการคิดข้ันสูง จาก 123 หนังสือเรียนหนาน้ี แลวใหนักเรียนชวยกัน นําความรูท่ีไดจากการศึกษาและทํากิจกรรม ภาพที่ 1.52 ภาพท่ี 1.53 ภาพที่ 1.54 มาตอบคาํ ถาม ดงั นี้ •ºª ถานําสุนัขและเตาไปอยูดวยกันในบริเวณ 4 5 6 ที่มีอุณหภูมิต่ํา นักเรียนคิดวา อุณหภูมิ ภายในรางกายของสัตวทั้ง 2 ชนิดน้ี จะ ภาพที่ 1.55 ภาพที่ 1.56 ภาพท่ี 1.57 แตกตา งกันหรอื ไม เพราะอะไร (แนวตอบ แตกตา งกัน เพราะสนุ ัขเปน สตั ว ¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢¹éÑ ÊÙ§ เล้ียงลูกดวยนํ้านม จัดเปนสัตวเลือดอุน มีอุณหภูมิรางกายคงท่ี ไมเปล่ียนแปลง ถา้ นา� สนุ ขั และเตา่ ไปอยดู่ ว้ ยกนั ในบรเิ วณทม่ี อี ณุ หภมู ติ า่� นกั เรยี นคดิ วา่ อณุ หภมู ภิ ายในรา่ งกาย ไปตามสภาพแวดลอม สวนเตาเปนสัตว ของสตั ว์ท้ัง 2 ชนดิ นี้ จะแตกต่างกันหรือไม่ เพราะอะไร เลอื้ ยคลานจดั เปน สตั วเ ลอื ดเยน็ มอี ณุ หภมู ิ รางกายเปล่ียนไปตามสภาพแวดลอมที่ ตรวจสอบตนเอง กจิ กรรม สรปุ ความรปู้ ระจา� บทที่ 1 อาศยั อยู ดงั นนั้ เมอื่ นาํ เตา ไปอยใู นบรเิ วณ ทมี่ อี ณุ หภมู ติ า่ํ อณุ หภมู ภิ ายในรา งกายของ หลงั เรียนจบหนว่ ยนแ้ี ล้ว ใหน้ กั เรยี นบอกสญั ลกั ษณ์ที่ตรงกบั ระดับความสามารถของตนเอง เตา จะตํ่าลงไปดว ย) (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช รายการ เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 26. ครใู หน กั เรยี นชว ยกนั พดู สรปุ เกยี่ วกบั ลกั ษณะ สําคัญของสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมี 1. เขา้ ใจเนอื้ หาเกี่ยวกับเรื่องกล่มุ ส่งิ มชี ีวิต กระดกู สนั หลงั จากนนั้ ครอู ธบิ ายเสรมิ เพมิ่ เตมิ ในสวนที่บกพรอ ง 2. สามารถทา� กิจกรรมและอธบิ ายผลการทา� กิจกรรมได้ 27. ครูสนทนากับนักเรียนเพ่ือทบทวนความรู 3. สามารถตอบคา� ถามจากกิจกรรมหนูตอบไดไ้ ด้ ความเขาใจเก่ียวกับเน้ือหาท่ีไดเรียนผานมา จากหนวยการเรียนรูที่ 1 บทที่ 1 โดยสุม 4. ท�างานกลมุ่ ร่วมกับเพือ่ นไดด้ ี เรียกชอื่ นักเรยี นใหอ อกมาเลาวา ตนเองไดรับ ความรอู ะไรบาง 5. นา� ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจา� วนั ได้ 30 28. นักเรียนเขียนสรุปความรูเกี่ยวกับเร่ืองที่ได เรียนมาจากบทท่ี 1 ในรูปแบบตางๆ เชน แผนภาพ แผนผังความคิด เปนตน ลงใน สมดุ หรอื ทาํ กจิ กรรมสรปุ ความรปู ระจาํ บทที่ 1 ในแบบฝกหดั วิทยาศาสตร หนา 20 เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET ครูใหความรูเพ่ิมเติมกับนักเรียนเก่ียวกับสัตวไมมีกระดูกสันหลังบางชนิด สตั วใ นขอ ใดจดั เปน สัตวไมมีกระดกู สันหลัง ดังนี้ ก. เปด งู กบ ข. ชาง กงุ ทะเล ปะการัง กลั ปง หา (sea fan) เปน สตั วท ะเลชนดิ หนงึ่ ทไี่ มม กี ระดกู สนั หลงั บางชนดิ มี ค. หอย ปูทะเล ดาวทะเล รปู รา งแผแ บนคลา ยพดั เรยี กวา พดั ทะเล (sea fan) บางชนดิ มลี กั ษณะเปน เสน เดยี่ ว ง. ไสเดอื นดนิ นก พยาธใิ บไม คลา ยแส เรยี กวา แสท ะเล (sea whip) ถา มองเผนิ ๆ แลว กลั ปง หาจะดเู หมอื นตน ไม (วิเคราะหคําตอบ กุงทะเล ปะการัง หอย ปูทะเล ดาวทะเล กัลปงหาพบมากในบริเวณท่ีมีกระแสนํ้าไหล เนื่องจากกระแสน้ําจะชวย ไสเดือนดิน พยาธิใบไม เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง สวน เปด พัดพาอาหารมาให และชวยพัดพาสิ่งขับถายหรือของเสียท่ีถูกปลดปลอยจาก งู กบ ชา ง นก เปน สัตวมกี ระดกู สนั หลงั ดงั น้นั ขอ ค. จึงเปน ตวั กัลปงหาออกไป กลั ปงหาเปนแหลงอาศัยของสตั วทะเลขนาดเลก็ หลายชนิด คาํ ตอบทถ่ี ูกตอ ง) โดยสตั วเ หลา น้ีจะเกาะตามก่งิ กา น นอกจากน้ี กัลปงหายงั เปน ที่นิยมในการนํา มาประดับตูปลาและนํามาใชเปนเคร่ืองประดับตกแตงบาน เน่ืองจากมีรูปราง และสสี นั สวยงาม และทส่ี าํ คญั สามารถใชเ ปน สมนุ ไพรตามความเชอ่ื ของชาวจนี โบราณดวย T36

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ½¡Ôจƒ¡¡ทรร¡Ñ มÉะ ºทท่ี 1 ขน้ั สรปุ 1. ดูภาพส่ิงมีชีวิตแลว้ จ�าแนกว่าอย่ใู นกล่มุ พืช กลมุ่ สตั ว์ หรอื กลมุ่ ทไ่ี มใ่ ช่พชื และสตั ว์ ขยายความเขา ใจ พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ 29. นักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะบทท่ี 1 จาก ภาพที่ 1.58 เหด็ ภาพที่ 1.59 ราขนมปงั ภาพที่ 1.60 ไก่ หนังสือเรียน หนา 31-33 ขอ 1-8 ลงในสมดุ หรอื ทาํ ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 21-24 ภาพท่ี 1.61 ดาวเรือง ภาพที่ 1.62 เตา่ ภาพที่ 1.63 มอสส์ 30. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด 2. สา� รวจพืชรอบบริเวณโรงเรียน แลว้ บนั ทึกผลในตาราง จากนน้ั จดั กลมุ่ พชื โดยใช้ ข้นั สงู ในแบบฝก หัดวทิ ยาศาสตร หนา 25 เกณฑม์ ดี อก (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล) อวยั วะภายนอกของพืช ประเภทของพชื 31. นักเรียนแบงกลุม จากนั้นศึกษากิจกรรม สรา งสรรคผลงาน จากหนังสอื เรยี น หนา 33 แลว ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมโดยมขี ั้นตอน ดงั นี้ 1) ใหรวบรวมภาพพืชจากหนงั สือตา งๆ หรอื นิตยสารตา งๆ ท่ไี มใ ชแลว 2) นําภาพพืชที่รวบรวมไดมาจัดทําเปน โมบายแขวนหนา ตาง เพอื่ จาํ แนกพชื 3) ตกแตงใหสวยงาม แลวออกมานําเสนอ หนาชั้นเรียน พรอมอธิบายเกณฑท่ีใชใน การจดั กลมุ พชื (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ) ชนิดของพืช ราก ลา� ตน้ ใบ ดอก มีดอก ไม่มดี อก .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......บ...นั....ท....กึ ...ผ...ล.. ลง..ใ..น....ส...ม...ดุ....ป...ร...ะ..จา� .ต....วั ..................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... 3. เขียนแผนผังความคิดแสดงลักษณะส�าคัญของพืชใบเล้ียงเด่ียว และพืชใบเลี้ยงคู่ พรอ้ มยกตวั อยา่ งชื่อพชื มาประกอบประเภทละ 5 ชนิด 31 ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET แนวตอบ กิจกรรมฝก ทกั ษะ ขอ ใดเปน ลกั ษณะทเี่ หมอื นกนั ของพชื ใบเลยี้ งเดย่ี วกบั พชื ใบเลยี้ งคู ขอ 1. ก. มรี ากแกว ชว ยดูดนาํ้ ดางเรอื ง และมอส จดั อยใู นกลมุ พชื เพราะเปน สงิ่ มชี วี ติ ทส่ี ามารถสรา งอาหาร ข. เหน็ ขอปลองชดั เจน ไดเ อง แตไ มสามารถเคลื่อนทไี่ ดเอง ค. เสน ใบขนานกนั ไก และเตา บก จดั อยใู นกลมุ สตั ว เพราะเปน สง่ิ มชี วี ติ ทกี่ นิ พชื หรอื สตั วช นดิ อน่ื ง. เปน พืชมดี อก เปนอาหาร สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ไดเอง แตไมสามารถสรางอาหาร (วิเคราะหคําตอบ เมื่อนําเมล็ดมาปลูก พืชจะงอกสวนที่เปนใบ ไดเ อง เห็ด และราขนมปง จัดอยูในกลุมที่ไมใชพืชและสัตว เพราะเปนสิ่งมีชีวิต เลีย้ งออกมาจากเมล็ด ซงึ่ เมลด็ สรา งมาจากการผสมเกสรของพชื ท่ียอยสลายส่ิงมีชีวิตอ่ืน ไมสามารถสรางอาหารไดเอง บางชนิดเคลื่อนที่ได มีดอก ดังนั้น ขอ ง. จงึ เปนคาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง) บางชนดิ เคลอื่ นทไ่ี มได ขอ 2. เชน ผักแวน หางสิงห มีราก ลําตน ใบ แตไมมีดอก จึงจัดอยูในกลุมพืช ไมมดี อก สวนเขม็ มะมว ง มะยม ราชพฤกษ มรี าก ลาํ ตน ใบ และดอก จงึ จดั อยใู น กลุมพืชมีดอก T37

นาํ สอน สรปุ ประเมิน ขน้ั ประเมนิ 4. จัดท�าบตั รภาพพืชคนละ 1 ใบ โดยวาดภาพหรือติดภาพพืชที่สนใจมากทส่ี ุด ลงใน กระดาษวาดภาพหรอื กระดาษแข็ง และบันทึกข้อมลู ตรวจสอบผล พชื ชนดิ นี้ คือ .................................................................................... 1. ใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จาก ลลกัักษษณณะะขขอองงใลบ�าตน้..................บ........นั ......ท........ึก......ผ......ล......ล......ง......ใ....น......ส........ม......ุด......ป........ร......ะ....จ......�า......ต......วั................ หนังสือเรียน หนา 30 แลวครูถามนักเรียน (วาดภาพหรอื ติดภาพ) ลกั ษณะของราก ............................................................................. เปนรายบุคคลตามรายการขอ 1-5 จากตาราง เพื่อเปนการตรวจสอบความรูความเขาใจ เปน็ พชื ประเภท........................ ........................................... ของนักเรียนหลังจากการเรียน หากนักเรียน คนใดตรวจสอบตนเองโดยใหอยูในเกณฑที่ 5. สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับสตั ว์ต่าง ๆ แล้วจัดกลุ่มสัตวโ์ ดยใชก้ ระดกู สันหลังเปน็ เกณฑ์ ควรปรับปรุง ใหครูทบทวนบทเรียนหรือหา กิจกรรมอนื่ ซอ มเสริม ปลาฉลาม ปูเสฉวน ฟองนา�้ แก้ว ตะพาบ เม่น เม่นทะเล พะยนู อึง่ อ่าง จงิ โจ้ โลมา ต๊กั แตน จงโครง่ 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมท่ี 4 เรื่อง มา้ น�้า ก้ิงกอื ทาก กัลปงั หา ปลิงทะเล ดาวทะเล การจัดกลุมสัตว ในสมุดหรือในแบบฝกหัด จงิ้ เหลน ค้างคาว หอยแครง ตะกวด ปะการงั งูอนาคอนดา วิทยาศาสตร หนา 18 นกเพนกวิน พยาธิตวั ตืด หมึก ไฮดรา แมงดาทะเล ซาลามานเดอร์ 3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดใน 6. เขยี นชื่อสตั วม์ ีกระดกู สันหลงั ลงในสมุด ใหต้ รงกบั ลกั ษณะท่กี �าหนดข้อละ 3 ชนิด สมุดหรอื ในแบบฝกหดั วิทยาศาสตร หนา 19 1) สัตว์เลอื ดเย็น 2) สตั ว์ทมี่ กี ระดกู เบาและกลวง มขี นเป็นแผง 4. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมพัฒนาการ 3) สตั วท์ ม่ี ีการปฏสิ นธิภายในรา่ งกาย และออกลกู เป็นไข่ เรียนรูท ่ี 3 4 และ 5 ในสมดุ หรือตรวจใบงาน 4) สัตว์ที่มีการปฏสิ นธภิ ายนอกรา่ งกาย และออกลกู เป็นไข่ ที่ 1.4, 1.5 และ 1.6 5) สตั วท์ ี่มี 4 ขา ผิวหนงั แห้ง และมเี กลด็ แข็งปกคลมุ ล�าตัว 5. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมสรุปความรูประจํา บทท่ี 1 ในสมดุ หรอื ในแบบฝก หดั วทิ ยาศาสตร หนา 20 6. ครตู รวจผลการทาํ กจิ กรรมฝก ฝนทกั ษะบทท่ี 1 ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร หนา 21-24 32 แนวตอบ กจิ กรรมฝก ทักษะ ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET ขอ 5. มานํา้ จดั เปน สัตวป ระเภทใด ปลาฉลาม ตะพาบ เมน พะยูน อึ่งอาง จิงโจ โลมา จงโครง มานํา้ คา งคาว ก. กลุมปลา ข. กลุมสตั วเล้ือยคลาน ตะกวด งอู นาคอนดา จงิ้ เหลน นกเพนกวนิ และซาลามานเดอร จัดอยูในกลุม ค. กลุม สตั วเลี้ยงลกู ดว ยนา้ํ นม สัตวที่มีกระดูกสันหลัง สวนปูเสฉวน กิ้งกือ ฟองน้ําแกว เมนทะเล ตั๊กแตน ง. กลมุ สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก กลั ปง หา ปลิงทะเล ทาก ดาวทะเล หอยแครง ปะการงั พายาธติ ัวตืด หมึก (วเิ คราะหคาํ ตอบ มานํา้ จดั เปน สัตวก ลมุ ปลา หายใจทางเหงือก ไฮดรา และแมงดาทะเล จดั อยใู นกลมุ สตั วท ่ีไมมกี ระดูกสนั หลงั ขอ 6. มีกระดูกหรือกางมาหอหุมเปนเกราะอยูภายนอกตัวแทนเกล็ด มีหางยาวเหมือนสัตวเลื้อยคลานแตมวนงอ เพ่ือใชยืดตัวเองกับ 1) เชน เตา กบ ปลานลิ ปลาชอ น คางคก กง้ิ กอื พืชน้ํา ดงั นัน้ ขอ ก. จงึ เปนคําตอบทถ่ี กู ตอ ง) 2) เชน เปด ไก หา น นก หงส 3) เชน ไก เปด ตนุ ปากเปด จระเข งู เตา นก 4) เชน ปลากดั กบ คางคก องึ่ อา ง 5) เชน จระเข เตา ตะกวด จ้ิงเหลน T38

นาํ สอน สรปุ ประเมิน 7. ดูภาพ แล้วบอกชอ่ื สัตว์และลกั ษณะส�าคัญของสัตว์ไมม่ กี ระดกู สันหลัง ขนั้ ประเมนิ ภาพที่ 1.64 ภาพที่ 1.65 ภาพท่ี 1.66 ตรวจสอบผล 8. ตอบคา� ถามต่อไปนี้ 7. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมทาทายการคิด ขนั้ สูงในแบบฝกหัดวทิ ยาศาสตร หนา 25 1) ลกั ษณะสา� คญั ของสง่ิ มชี วี ติ ในกลุม่ พชื กลุ่มสัตว์ และกลมุ่ ที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ เป็นอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป 8. ครูตรวจชิ้นงานโมบายแขวนจําแนกกลุมพืช 2) พืชดอกและพชื ไม่มีดอกมลี กั ษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และการนําเสนอช้นิ งาน/ผลงาน หนาชัน้ เรียน 3) พชื ใบเล้ยี งเดย่ี วและพชื ใบเล้ียงคมู่ ลี กั ษณะสา� คัญอยา่ งไร 4) สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั และสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวตอบ กจิ กรรมฝก ทักษะ 5) นักเรียนคดิ วา่ การจดั กลมุ่ สัตว์เป็นประเภทต่าง ๆ มปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง ขอ 7. กิจกรรม ทา้ ทา¡ารค´Ô ¢นÑé สงู 1) ชือ่ ดาวทะเล อยใู นสตั วท ะเลผิวขรุขระ 2) ชอื่ หอยทาก อยใู นจาํ พวกหอยและหมกึ ทะเล ส¡Ôจร¡้ำรงรสมรรค¼์ ลงำน 3) ชอ่ื มดแดง อยใู นจําพวกสัตวทมี่ ีขาเปนขอ ẋ§¡ÅØ‹Á ¨Ò¡¹Ñé¹ãˌᵋÅÐ¡ÅØ‹ÁÃǺÃÇÁÀÒ¾¾×ª¨Ò¡Ë¹Ñ§Ê×Í ขอ 8. µÒ‹ § æ ËÃ×͹µÔ ÂÊÒ÷ÕèäÁ‹ãªáŒ ÅÇŒ â´Â¹Òí ÁҨѴ·Òí ໹š âÁºÒÂá¢Ç¹ 1) กลมุ พชื สามารถสรา งอาหารไดเ อง เคลอื่ นไหว ˹ŒÒµ‹Ò§à¾è×ͨíÒṡ¡ÅØ‹Á¾×ª ¾ÃŒÍÁµ¡áµ‹§ãËŒÊǧÒÁ ¨Ò¡¹éѹ ¹Òí àʹÍ˹Ҍ ª¹éÑ àÃÕ¹ ¾ÃÍŒ Á͸ºÔ ÒÂࡳ±· Õè㪌 㹡ÒèѴ¡ÅÁ‹Ø ได แตไ มส ามารถเคลื่อนทไี่ ด กลุม สัตว ไมสามารถ สรางอาหารไดเอง เคล่ือนไหวและเคลื่อนท่ีไดเอง 33 สว นกลมุ ทไ่ี มใ ชพ ชื และสตั ว บางชนดิ สรา งอาหารได บางชนดิ สรา งอาหารไมไ ด บางชนดิ เคลอื่ นไหวและ เคลื่อนที่ได บางชนิดเคลื่อนที่ไมได และบางชนิด ยอยสลายสิ่งมชี ีวิตชนิดอน่ื 2) แตกตางกนั คอื พชื ดอกเม่ือเจรญิ เตบิ โตเต็ม ทแ่ี ลว จะสรา งดอกขนึ้ เพอ่ื ใชใ นการสบื พนั ธุ สว นพชื ไมม ีดอกจะไมมีดอกเลยตลอดการดาํ รงชีวิต 3) พชื ใบเลย้ี งเดยี่ วมรี ะบบรากฝอย ใบเรยี วแคบ เสนใบขนาน ลําตนเปนขอปลองชัดเจน สวนพืช ใบเลยี้ งคมู รี ะบบรากแกว ใบกวา ง เสน ใบเปน รา งแห ลําตน เปน ขอ ปลอ งไมช ัดเจน 4) สัตวมีกระดูกสันหลังจะมีกระดูกที่ตอกัน เปนขอๆ เปนแกนของรางกาย สวนสัตวไมมี กระดกู สนั หลังจะไมม กี ระดูกเปนแกนกลางอยภู าย ในรางกาย จงึ มลี ําตวั ออ นน่มิ 5) ทําใหสามารถศึกษาสัตวแตละประเภทได สะดวกและนาํ ขอ มูลมาศกึ ษาคนควาไดงา ย ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล สัตวในขอ ใดตางจากขอ อ่ืน ครสู ามารถจดั และประเมนิ ผลชน้ิ งาน/โมบายแขวนจาํ แนกพชื ทน่ี กั เรยี นสรา ง ก. จิง้ จก ข้ึน โดยศกึ ษาเกณฑป ระเมนิ ผลงานจากแบบประเมินผลงาน/ช้นิ งานทแี่ นบทาย ข. คางคก แผนการจดั การเรยี นรขู องหนว ยการเรยี นรูท่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ ค. ไสเดอื น ดงั ภาพตัวอยาง ง. นกพิราบ (วิเคราะหคําตอบ จิ้งจก คางคก และนกพิราบ จัดเปนสัตว มีกระดูกสันหลัง สวนไสเดือนจัดเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ดังน้ัน ขอ ค. จงึ เปนคําตอบทีถ่ กู ตอ ง) T39

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ 2บทท่ ี หสว่นนา้ ทตา่่ีของæง ของพช× Key words กระตนุ ความสนใจ การสังเคราะห์ดว้ ยแสง • photosynthesis • stoma • guard cell 1. ครทู กั ทายกบั นกั เรยี น แลว แจง ผลการเรยี นรทู ่ี (photosynthesis) • xylem • phloem จะเรยี นในวนั นใี้ หน กั เรยี นทราบ 34 ?¢Íʧ¾‹Ç¹×ªÁµÕˋҧ¹æŒÒ·Õè 2. ครใู หน กั เรยี นศกึ ษาภาพและคาํ ศพั ทท เ่ี กยี่ วขอ ง กับการเรียนในบทที่ 2 จากหนงั สือเรยี นหนาน้ี àËáÁµÍ×͡¹µ‹Ò¡‹Ò§Ñ¹§äáËѹÃ×Í โดยครเู ปนผูอานนาํ และใหน ักเรียนอา นตาม เซลล์คมุ 3. ครูแจกใบงานที่ 1.7 เรอื่ ง คาํ ศพั ทโครงสราง สว นตางๆ ของพืชดอก ใหนักเรียนนํากลับไป (guard cell) ทําเปนการบาน โดยใหวาดภาพหรือติดภาพ ของคําศัพทท่ีกําหนดให จากนั้นหาขอมูล ปากใบ เพมิ่ เติม แลวนาํ มาสงในชัว่ โมงถดั ไป (stoma) 4. นักเรียนแตละคนวาดภาพตนพืชดอก พรอม ระบโุ ครงสรา งตา งๆ และหนา ทข่ี องสว นตา งๆ ทอ่ ล�าเลยี งอาหาร ของพืชดอกลงในสมุด หรือใหทํากิจกรรม นําสูการเรียนในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร (phloem) หนา 27 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ทอ่ ล�าเลยี งน้�า แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล) (xylem) ขนั้ สอน กจิ กรรม นา� ส¡‹ู ารเรีÂน สาํ รวจคน หา 1. ครูใหนักเรียนรวมกันศึกษาขอมูลและภาพ พืชในหัวขอ หนาท่ีของสวนตางๆ ของพืช ในหนังสือเรียนหนา 35 แลวถามคําถามเพ่ือ ทบทวนความรูเดิมวา สวนตางๆ ของพืชทํา หนา ทอ่ี ะไรบา ง 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือใหไดขอสรุปวา ราก ลําตน ใบ ดอก ผล และเมล็ด มหี นา ที่ อะไรบาง เกร็ดแนะครู ใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง คาํ ศพั ทโครงสรางสว นตา งๆ ของพชื ดอก ครูสามารถ หยบิ ใช ไดจ ากแผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 5 เรอื่ ง หนา ทข่ี องสว นตา งๆ ของพชื ดอก หนว ยการเรียนรูท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต นักเรียนควรรู ครูฝกใหน กั เรียนเรียนรแู ละอานคําศพั ทวทิ ยาศาสตร ดงั น้ี Photosynthesis (โฟโท’ซินธิซิส) การสงั เคราะหดวยแสง Guard cell (กาด เซ็ล) เซลลค ุม stoma (สโตมา) ปากใบ phloem (โฟลเอ็ม) ทอ ลําเลียงอาหาร xylem (ไซเล็ม) ทอ ลาํ เลียงนํ้า T40

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ขนั้ สอน ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวติ สาํ รวจคน หา 1 หน้าที่ของส่วนต่างæ ของพช× 3. ครูนําภาพโครงสรางภายนอกของพืชมาติด บนกระดาน แลว ใหน กั เรยี นรว มกนั สงั เกตและ พืชเป็นส่ิงมชี ีวติ ทแ่ี ตกต่างจากสิง่ มีชีวิตชนดิ อน่ื ๆ เพราะพืชสามารถสรา้ ง แสดงความคิดเห็นจากภาพวา แตละสวน อาหารเองได้ แตเ่ คลือ่ นทเี่ องไม่ได้ ของพชื เปนโครงสรางสวนใด พืชดอกโดยท่วั ไปมีโครงสรา้ งภายนอกทีส่ า� คัญ ไดแ้ ก่ ราก ลา� ตน้ ใบ ดอก 4. ครูสุมเลอื กนักเรยี น 5-6 คน ใหออกมาแสดง และผล ซง่ึ สว่ นตา่ ง ๆ เหลา่ นที้ า� หนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั และทกุ สว่ นมกี ารทา� งานรว่ มกนั ความคิดเห็นหนา ชนั้ เรยี น จากน้ันใหนักเรียน อยา่ งเปน็ ระบบ จงึ ทา� ใหพ้ ชื สามารถดา� รงชวี ติ อยไู่ ด้ นกั เรยี นรหู้ รอื ไมว่ า่ สว่ นตา่ ง ๆ แตละคนในหองยกตัวอยางตนพืชดอกท่ี ของพชื ท�าหนา้ ทอ่ี ะไร และพชื สร้างอาหารไดอ้ ย่างไร นักเรียนรูจ ักมาคนละ 1 ชนดิ ใบ 5. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน ให แตล ะกลมุ รว มกนั ศกึ ษาความรเู รอื่ ง โครงสรา ง ผลและเมลด็ สวนตางๆ ภายนอกของพืช จาก PPT เรอ่ื ง หนาที่ของสวนตางๆ ของพืชดอก จากน้ัน ดอก ใหแตละกลุมนําขอมูลมาอภิปรายและสรุป ลา� ต้น รวมกันภายในกลุม แลวจัดทําเปนแผนผัง แผนภาพ ตาราง หรอื อน่ื ๆ ลงในกระดาษแข็ง ราก เพ่ือสรุปความรูเก่ียวกับโครงสรางภายนอก สวนตางๆ ของพืชและหนาท่ีของสวนตางๆ เหลานั้น 6. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอผลงาน หนา ช้ันเรียน (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ ) ภาพที่ 1.67 โครงสรา้ งส่วนต่าง ๆ ของต้นมะเขอื เทศ ÊÇ‹ ¹µ‹Ò§ æ ¢Í§¾×ª·íÒ˹ŒÒ·èÕ ÍÐäúҌ § 35 เกร็ดแนะครู ครูใหความรูกับนักเรียนเพ่ิมเติมวา พืชบางชนิดมีลําตนอยูในดินและ ทาํ หนาท่เี ก็บสะสมอาหาร เชน เผือก มนั ฝรัง่ ขงิ ขา เปนตน ทําใหมีลักษณะ คลายกบั รากที่ทาํ หนาที่สะสมอาหาร ซง่ึ มีขอสังเกตวาลาํ ตนและรากมลี กั ษณะ ตางกัน คือ ลําตน มขี อ ปลอ ง และตา สวนรากจะไมม ีขอ ปลอ ง และตา สื่อ Digital ครใู หน กั เรยี นเรยี นรเู กย่ี วกบั โครงสรา งสว นตา งๆ ภายนอกของพชื เพมิ่ เตมิ จากส่ือ PowerPoint เรอื่ ง หนาทขี่ องสวนตางๆ ของพชื ดอก ดังภาพตวั อยาง T41

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน กิจกรรมท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรท์ ี่ใช้ สาํ รวจคน หา หนา ท่ีของสวนตา ง ๆ ของพืช 1. การสงั เกต 2. การทดลอง 7. ครนู าํ บตั รภาพรากและลาํ ตน ของพชื ลกั ษณะ จุดประสงค 3. การลงความเหน็ จากข้อมูล ตางๆ มาใหนักเรียนดู แลวอธิบายเพ่ิมเติม 4. การพยากรณ์หรือการคาดคะเน เกย่ี วกบั หนา ทขี่ องรากและลาํ ตน เพอ่ื เชอ่ื มโยง 1. สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายหน้าทีข่ องสว่ นต่าง ๆ ของพืช 5. การตีความหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรุป เขา สกู ารทาํ กจิ กรรมวา รากเปน โครงสรา งของ 2. สงั เกตและอธบิ ายการล�าเลียงน้�าและแร่ธาตุของพชื พืชที่เจริญเติบโตลงดินและแผขยายออกไป ซง่ึ มลี กั ษณะแตกตา งกนั ออกไปตามชนดิ ของ ตองเตรียมตองใช พืช สว นภายในลาํ ตนมีทอ ลาํ เลียง ทําหนาที่ ลําเลียงนํ้าและแรธาตุจากดิน และลําเลียง 1. ตน้ เทยี น หรอื ต้นกระสงั 1 ต้น 2. น�า้ เปล่า 100 มิลลลิ ติ ร อาหารที่สรางข้ึนจากใบ ไปเลี้ยงสวนตางๆ 3. กระดาษแข็ง 1 แผน่ 4. มีดหรือคตั เตอร์ 1 เล่ม ของพืช ลําตนของพืชแตละชนิดมีลักษณะ 5. น้า� หมึกสแี ดง 1 ขวด 6. แวน่ ขยาย 1 อัน หรือกลอ้ งจลุ ทรรศน์ 1 ตัว แตกตางกันออกไป 7. บกี เกอรข์ นาด 250 มิลลลิ ติ ร 1 ใบ 8. แหลง่ ขอ้ มลู เชน่ หนงั สอื อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ตน้ 9. แผนภาพส่วนต่าง ๆ ของพชื (ครเู ตรียมให)้ 8. ครใู หน กั เรยี นเลน เกมหอยแบง ฝาเพอื่ ตอ งการ แบงกลมุ นกั เรียนออกเปนกลุม กลมุ ละ 4 คน ลองทาํ ดู ตอนที่ 1 โดยครูอธิบายวิธีการเลนใหนักเรียนฟง จากนั้นใหนักเรียนเลนเกม 2-3 ครั้ง จนได 1. ศึกษาส่วนต่าง ๆ ของพชื จากแผนภาพทีค่ รเู ตรียมไว้ให้ กลมุ ครบทกุ คน 2. ชว่ ยกนั สบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั หนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ 3. น�าข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาร่วมกันอภิปรายและสรุปเก่ียวกับหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ 9. แตละกลุมศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง หนา ทข่ี องสว นตา งๆ ของพชื ตอนที่ 1-2 ของพืชภายในช้ันเรียน จากหนงั สือเรยี น หนา 36-37 จากนนั้ ปฏบิ ัติ กจิ กรรมตามขน้ั ตอน และบนั ทกึ ผลลงในสมดุ หรือในแบบฝกหดั วิทยาศาสตร หนา 30 10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและสรุป ผลการทาํ กจิ กรรม ภาพที่ 1.68 36 เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทา ทาย ครูอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา การลําเลยี งนาํ้ ในทอ ลําเลยี งภายใน ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพ่ิมเติมวา มีรากและลําตนของพืช ลําตนเกดิ ขึน้ จากแรงดงึ ในทอ ลาํ เลยี งนํ้าจากสวนลางข้ึนสูส วนบน และแรงดงึ นี้ ชนิดใดบางที่ทําหนาท่ีเก็บสะสมอาหาร แลววาดภาพหรือติดภาพ สามารถดงึ น้าํ ในทอลาํ เลียงน้ําขนึ้ มาทดแทนนํ้าท่พี ืชคายออกไป ทําใหพ ืชไดร บั ประกอบ จากนั้นเขยี นบอกวาเปน รากหรอื ลําตน พชื ชนิดใด นํา้ และแรธ าตุอยตู ลอดเวลา T42

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ขน้ั สอน ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ สาํ รวจคน หา ตอนท ี่ 2 11. ครูตั้งคําถามหลังการทํากิจกรรม เพื่อให นกั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั แสดงความคดิ เหน็ 1. แบง่ กลุม่ กลุ่มละ 3 - 4 คน แล้วรว่ มกันตง้ั สมมตฐิ านเก่ียวกบั หนา้ ท่ีของรากและล�าตน้ พืช ดังน้ี 2. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นา� ตน้ เทยี นมาลา้ งรากใหส้ ะอาด แลว้ สงั เกตลกั ษณะของรากและลา� ตน้ จากนนั้ • กอนและหลังนําลําตนของตนเทียนไป คาดคะเนว่า เม่ือน�ารากและล�าต้นของ แชในนํ้าหมึกสีแดง ลําตนของตนเทียนมี ต้นเทียนไปแช่ในน�้าหมึกสีแดงท้ิงไว้ ลกั ษณะอยา งไร 30 นาที จะเกิดผลอยา่ งไร (แนวตอบ กอนแชนํ้าหมึกสีแดง ลําตนมี 3. ท�ากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน ลักษณะสีเขียวใส หลังแชนํ้าหมึกสีแดง โดยเทนา้� หมกึ สแี ดง 10 มลิ ลลิ ติ ร ลงใน ลาํ ตน มีลกั ษณะสแี ดงใส) บีกเกอร์ที่มีน้�าเปล่าอยู่ 100 มิลลิลิตร • เมื่อนําลําตนของตนเทียนมาตัดตามขวาง จากน้ันน�าต้นเทียนแช่ลงในบีกเกอร์ และตามยาว นักเรียนสังเกตเห็นลักษณะ แล้วนา� ไปรับแสงประมาณ 30 นาที ภายในลาํ ตน ของตน เทยี นเปน อยา งไร และ 4. เมื่อแช่ครบ 30 นาที ให้น�าล�าต้นของ ภาพที่ 1.69 มสี ว นประกอบอะไรบา ง (แนวตอบ ภายในลําตนของตนเทียนมี ต้นเทียนมาตัดตามขวางและตามยาว โครงสรา งทเ่ี รยี กวา ทอ ลาํ เลยี ง ซง่ึ ประกอบ แล้วใช้แว่นขยายหรือกล้องจุลทรรศน์ ดว ยทอลาํ เลยี งน้าํ และทอลาํ เลยี งอาหาร) ส่องดูลักษณะภายในล�าต้นของต้นเทียน (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม) และบนั ทึกผลลงในสมดุ 5. รว่ มกนั อภปิ รายผลเกยี่ วกบั หนา้ ทข่ี องราก และลา� ตน้ ของพชื หนตู อบได ภาพท่ี 1.70 แนวตอบ หนูตอบได 1. สว่ นต่าง ๆ แตล่ ะส่วนของพืช ท�าหน้าท่เี หมือนกันหรอื แตกต่างกนั อย่างไร ขอ 3. 2. ส่วนประกอบท่สี �าคญั ภายในลา� ตน้ ของพชื คืออะไร และมคี วามสา� คัญอย่างไร • เหน็ ดว ย เพราะกงิ่ ของตน โกสนมที อ ลาํ เลยี งนาํ้ 3. “หากตัดก่ิงต้นโกสนมาแช่ทิ้งไว้ในขวดที่บรรจุน้�าเปล่า ก่ิงโกสนน้ีจะสามารถด�ารงชีวิตอยู่ และทอลําเลียงอาหารอยูภายในลําตน เมื่อนําไป ได้ตามปกต”ิ นักเรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะอะไร แชใ นนํ้า ทอลําเลียงน้าํ ยงั คงสามารถดูดนํ้าไปเลย้ี ง สวนตางๆ ของพืชไดต ามปกติ ค(หอื มกายารเหคตดิ ุแ: คบําบถใหามเ หขตอผุสลุดทแาลยะขกอางรหคนดิ ูตแอบบบไโดตแเปยงน คซาํึ่งถผาเู รมียทน่ีอออากจแเลบือบกใหตผอบเู รอียยนา ฝงกใดใชอทยกัางษหะนก่งึากรคไ็ ดิด ขให้นั คสรูงู 37 • ไมเห็นดวย เพราะในนํ้าไมมีแรธาตุท่ีจําเปน พจิ ารณาจากเหตผุ ลสนับสนุน) สําหรับพืชอยูเลย ถึงแมกิ่งโกสนจะไดรับนํ้าแตจะ ขาดแรธ าตุสาํ คญั ในการดํารงชวี ติ ซ่ึงอาจสง ผลให กง่ิ โกสนไมเจริญเตบิ โต ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู การลําเลยี งน้ําในตน พชื เปนไปในลักษณะใด ครูใหค วามรูก ับนกั เรยี นเพมิ่ เติมวา ภายในลาํ ตน พืชมีทอ เล็กๆ อยูเรียกวา ก. จากรากไปสใู บ ทอลําเลียง โดยเปนกลุมเซลลท่ีเรียงตอกันยาวตั้งแตรากไปถึงลําตน ก่ิง และ ข. จากลําตนไปสรู าก ใบของพชื ทอลาํ เลียงประกอบดว ย 2 สว น คอื ทอ ลําเลียงนา้ํ (Xylem) และ ค. จากใบไปสูราก ทอลําเลียงอาหาร (Phloem) ง. จากใบไปสลู ําตน (วิเคราะหคําตอบ พืชดูดนํ้าและธาตุอาหารในดินโดยใชราก หองปฏิบัติการ และลําเลยี งนํา้ ไปตามทอ ลาํ เลยี งนํา้ ไปสลู ําตน ก่งิ กาน และใบ à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ดงั นนั้ ขอ ก. จึงเปนคําตอบทถี่ ูกตอ ง) ครคู วรเนน ยา้ํ กบั นกั เรยี นวา การทาํ กจิ กรรมทต่ี อ งใชม ดี หรอื คตั เตอรต อ งใช อยางระมัดระวัง เนื่องจากมีดหรือคัตเตอรเปนอุปกรณท่ีมีความคม อาจทําให เกดิ อนั ตรายได T43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook