Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยครูยิ้ม2-62

วิจัยครูยิ้ม2-62

Published by kruyim0806785025, 2020-06-28 22:18:42

Description: วิจัยครูยิ้ม2-62

Search

Read the Text Version

วิจัยในชั้นเรยี น ชื่อผลงานวจิ ยั การพัฒนาทักษะการพิมพ์ หนังสือ ราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ดีดไทยของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 สาขาบัญชีและคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 6 คน โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ จานวน 2 ชุด จัดทาโดย นางสาวธนัญภรณ์ ธรรมใจ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ สงั กัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

ช่อื ผลงานวิจยั การพฒั นาทกั ษะการพมิ พ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวชิ าพิมพ์ดดี ไทยของนักเรียน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 สาขาบัญชีและคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ จานวน 6 คน โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ จานวน 2 ชุด ชื่อผู้วจิ ยั นางสาวธนญั ภรณ์ ธรรมใจ ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ บทคดั ย่อ การวจิ ยั คร้งั น้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื 1. เพ่ือเปรยี บเทยี บทักษะในการพมิ พห์ นงั สือราชการภายนอกก่อนและหลังการใช้แบบฝกึ ทักษะ 2. เพื่อทราบผลการพฒั นาทักษะในการพมิ พห์ นงั สือราชการภายนอกโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ กลุ่มตวั อยา่ งท่ใี ชใ้ นการวิจยั ได้แก่ นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 สาขาบัญชีและคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ จานวน 10 คน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวิจัยได้แก่ ชดุ ฝึกทักษะจานวน 4 ชุด แบบทดสอบก่อนเรยี น และแบบทดสอบหลงั เรียน สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู ได้แก่ 1) การหาคา่ สถิตพิ ื้นฐาน คือรอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย (X) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) และหาความแตกต่างระหว่างคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ค่า t-test (Dependent Sample) 2) การหาค่าประสิทธภิ าพของชุดฝึกทักษะ (E1 / E2) ผลการวิจยั จากการวิจัยพบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาขาบัญชีและคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 10 คน ทาการพมิ พ์หนงั สือราชการภายนอก ก่อนใช้แบบฝึกทักษะมีคะแนนต่าสุดเท่ากับ 6 คะแนน และคะแนน สูงสุดเท่ากับ 13 คะแนน คิดค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 9.27 คะแนน ได้ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 2.148 และหลังจากการใช้แบบฝึกทักษะแล้วให้นักเรียนสามารพิมพ์หนังสือราชการภายนอก พบว่าคะแนน ตา่ สดุ เทา่ กบั 13 คะแนน คะแนนสูงสดุ เท่ากับ 20 คะแนน มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.73 คะแนน ได้ค่า เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 1.737 และการทดสอบสมมติฐานโดยการใช้สถิติ t-test พบว่า ค่า t จาก การคานวณ มีค่าเป็น 19.116 ส่วนค่า t ที่เปิดจากตาราง ณ ระดับความมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 มีค่า เป็น 1.812 จากค่าแห่งความอิสระท่ี 10 ( df = 10 ) จากการหาค่าประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกทกัษะพบว่า คะแนนระหว่างเรียนในการพิมพ์หนังสือ ราชการภายนอก โดยใช้แบบฝึกทักษะท่ี 1 – 4 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 58.54 ส่วนคะแนนจากทาแบบฝึกทักษะ หลังเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.73 ดังนั้นประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ที่ 1 – 4 ในการพิมพ์หนังสือ ราชการภายนอก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาขาบัญชีและคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 10 คน E1/E2 มีค่าเท่ากับ 73.18/83.65

ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ซ่ึงระบุไว้ชัดเจนให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยยึด ผ้เู รียนเป็นสาคญั เพราะถอื ว่าเป็นวธิ ีการจัดการเรยี นการสอนท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูท้ ่ีแท้จริงและยั่งยืน (สมภพ สวุ รรณรัฐ, ม.ป.ป. : 1) การจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) 2545 (ปรับปรุง 2546) ในประเภทวิชาพาณิชยกรรม รายวิชาพิมพ์ดีดไทย 1 ซ่ึงเป็นวิชาท่ี สร้างทักษะขั้นพื้นฐานของการเรียนในสาขานี้ให้เกิดกับนักเรียนทุกคนโดยสามารถนาวิชาน้ีไปใช้ผลิตเอกสาร สาหรับการเรียนรายวิชาอื่น ๆ เช่น การผลิตเอกสาร ประเภทรายงาน หรือการพิมพ์ข้อมูลที่จะต้องเก็บไว้เป็น เอกสารหรือหลักฐาน ตลอดจนการเรียนวิชาที่ใช้แป้นพิมพ์ที่มีลักษณะของแป้นพิมพ์ดีดและโดยที่ทักษะ การพิมพ์ดีดเป็นส่ิงท่ีควรพัฒนาให้เกิดกับผู้เรียนในทุกระดับของการเรียนวิชาพิมพ์ดีดไม่ว่าจะเป็นพิมพ์ดีด ภาษาไทยหรอื ภาษาอังกฤษ ในวชิ าวชิ าพมิ พ์ดดี ไทย 1 วิชาพิมพ์ดีดไทย 2 วิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 วิชาพิมพ์ดีด องั กฤษ 2 หรือการพมิ พ์ดีดด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีดไฟฟ้า และไม่เว้นแม้แต่ผู้ที่เรียนในวิชาด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ เกดิ ความแมน่ ยา ในการใชแ้ ปน้ อกั ษรและสามารถผลติ งานเอกสารหรืองานประเภทอื่น ทกั ษะ ( Skill ) หมายถงึ ความชดั เจน และความชานิชานาญในเรอื่ งใดเรอื่ งหนึ่ง ซงึ่ บคุ คลสามารถ สร้างขึ้นได้จากการเรียนรู้ได้แก่ ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทา งานร่วมกับผู้อ่ืน การอ่าน การสอนการ จัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร์ ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ ซ่ึงเป็นทักษะภายนอกที่ สามารถมองเห็นได้ชัดเจน จากการกระทา หรือจากการปฏิบัติซ่ึงดังกล่าวนั้นเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิตที่จะทาให้ผู้มีทักษะเหล่านั้นมีชีวิตที่ดีสามารถดารงชีพอยู่ในสังคมได้โดยมีโอกาสที่ดีกว่าผู้ไม่มีทักษะ ดังกล่าว ซ่ึงทักษะประเภทนี้เรียกว่า Livelihood skill หรือ Skill for living ซ่ึงเป็นคนละอย่างกับทักษะชีวิต ท่ีเรียกว่า Life skill (ประเสริฐ ตันสกุล) ดังน้ันทักษะชีวิต หรือ Life skill จึงหมายถึงคุณลักษณะ หรือ ความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา (Psychosocial competence) ท่ีเป็นทักษะภายในท่ีจะช่วยให้บุคคล สามารถเผชิญสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและเตรียมพร้อมสาหรับการ ปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ เอดส์ ยาเสพติดความปลอดภัยส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือจะกล่าวง่าย ๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแกป้ ัญหาทีต่ ้องเผชญิ ในชวี ิตประจาวันเพื่อให้อยู่รอดปลอดภัยและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ไดอ้ ย่างมีความสขุ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพจอมทองเปิดหลักสูตรทวิศึกษาระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) ไดแ้ ก่ สาขาบัญชี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาช่างอุตสาหกรรม สาขาการ ท่องเท่ียวและการโรงแรม ซ่ึงเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจของตนเอง เพอ่ื เปน็ แนวทางในการศึกษาตอ่ ในระดับทีส่ ูงขนึ้ และสามารถนาไปประกอบอาชพี ไดใ้ นอนาคต ในการเรยี นการสอนวิชาพิมพด์ ีดไทย ผ้วู ิจยั ไดท้ าการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สาขาบัญชีและ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดทักษะในการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก คือไม่ สามารถพิมพ์หนังสือราชการภายนอกได้อย่างถูกต้องและแม่นยา โดยเรียงตามลาดับส่วนประกอบก่อนหรือ หลงั ตามระเบียบงานสารบรรณ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงหาวิธีการแก้ปัญหาการรายวิชาพิมพ์ดีดไทย เรื่องการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของงานสารบรรณ โดยใช้ชุดฝึกทักษะสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สาขาบัญชี และสาขาคอมพิวเตอรเ์ พ่อื สามารถพมิ พ์หนังสือราชการภายนอกได้ถกู ต้องและแมน่ ยามากยิ่งขึ้น

วัตถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพ่อื เปรียบเทยี บทกั ษะในการพิมพห์ นังสือราชการภายนอกก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทกั ษะ 2. เพอ่ื ทราบผลการพัฒนาทักษะในการพมิ พ์หนังสือราชการภายนอก โดยใช้แบบฝึกทักษะ ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สาขาบัญชีและสาขา คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจท่ีเรียนรายวิชาพมิ พด์ ดี ไทย จานวน 16 คน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สาขาบัญชีและสาขา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ทเี่ รยี นรายวชิ าพิมพ์ดีดไทย จานวน 6 คน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 3. ตัวแปรท่ีศกึ ษา 3.1 ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ แบบฝึกทกั ษะในการพมิ พ์หนังสือราชการภายนอก 3.2 ตวั แปรตาม ได้แก่ การพัฒนาทกั ษะในการพิมพ์หนงั สอื ราชการภายนอก ์ 4. เน้ือหาทศี่ กึ ษาการพัฒนาทกั ษะในการพมิ พ์หนงั สือราชการภายนอกโดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 1. ทราบความแตกตา่ งของทักษะในการพิมพ์หนังสอื ราชการภายนอก ก่อนและหลังการใช้แบบฝึก ทกั ษะ 2. ทราบผลการพัฒนาทักษะในการพิมพ์หนังสอื ราชการภายนอกโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ 3. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในพฒั นาแบบฝึกทักษะใหด้ ขี ึ้นเรื่อย ๆ ในครั้งต่อไป นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. การพฒั นาทกั ษะ หมายถงึ ความสามารถในการพมิ พ์หนงั สือราชการภายนอก โดยสามารถ เรยี งลาดบั กอ่ นหรือหลังได้อย่างถูกต้องและแม่นยา 2. นกั เรยี น หมายถงึ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 สาขาบัญชีและสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 6 คน 3. แบบฝึกทักษะ หมายถงึ แบบฝกึ ทักษะทีม่ สี ่วนประกอบหนงั สอื ราชการภายนอกครบทกุ สว่ น โดยเรยี งลาดับจากง่ายไปหายาก โดยแต่ละชดุ มลี ักษณะคือ 3.1 แบบฝึกทกั ษะท่ี 1 เป็นแบบฝึกทักษะทม่ี สี ่วนประกอบหนังสอื ราชการภายนอกครบทุก สว่ นโดยเรียงตามลาดบั กอ่ นและหลัง 3.2 แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 2 เปน็ แบบฝึกทักษะท่มี สี ่วนประกอบหนงั สือราชการภายนอกครบทุก ส่วนแตม่ ีการสลับสว่ นประกอบบางส่วน 3.3 แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 3 เปน็ แบบฝกึ ทักษะที่สว่ นประกอบหนงั สอื ราชการภายนอกบางสว่ น หายไป เช่น ไม่มคี าลงทา้ ย ต้องเพมิ่ สว่ นประกอบน้ีเอง แตเ่ รียงส่วนประกอบท่เี หลอื ตามตามลาดบั กอ่ น และหลงั 3.4 แบบฝึกทกั ษะท่ี 4 เป็นชดุ ฝึกทักษะท่สี ่วนประกอบหนงั สือราชการภายนอกบางสว่ นหายไป และมกี ารสลับสว่ นประกอบทเี่ หลอื บางส่วน

กรอบแนวคิดการวจิ ยั ในการพัฒนาทักษะในการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก โดยใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 สาขาบัญชแี ละสาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ ผู้วจิ ยั ไดก้ าหนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ดงั นี้ แบบฝกึ ทกั ษะ การพฒั นาทกั ษะการพิมพ์ จานวน 4 ชดุ หนังสือราชการภายนอก เอกสาร และงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รายงานการวิจัยชั้นเรียนเร่ือง การพัฒนาทักษะในการพิมพ์จดหมายธุรกิจต่างประเทศแบบ ภาษาอังกฤษโดยใช้ชดุ ฝึกทกั ษะ วจิ ัยไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งดังนี้ 1. หลักการของหลักสตู ร 1. เป็นหลักสตู รระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมธั ยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเทา่ ดา้ นวิชาชพี ท่ีสอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติแผนการศกึ ษาแห่งชาติและประชาคมอาเซยี นเพ่ือ ผลติ และพัฒนากาลังคนระดับฝีมือให้มสี มรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพสามารถ ประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ 2. เปน็ หลักสตู รท่เี ปดิ โอกาสใหเ้ ลือกเรียนได้อย่างกว้างขวาง เน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการ ปฏบิ ตั จิ ริง สามารถเลอื กวธิ ีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรยี น เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นสามารถเทียบ โอนผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบความรูแ้ ละประสบการณ์จากแหลง่ วทิ ยาการ สถานประกอบการ และสถานประกอบอาชีพอสิ ระ 3. เปน็ หลกั สูตรท่สี นับสนนุ การประสานความร่วมมือในการจดั การศึกษาร่วมกันระหวา่ งหนว่ ยงาน และองคก์ รท่ีเกย่ี วข้องท้ังภาครฐั และเอกชน 4. เป็นหลักสตู รทเ่ี ปดิ โอกาสให้สถานศกึ ษา สถานประกอบการ ชมุ ชนและท้องถน่ิ มีสว่ นร่วมใน การพฒั นาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกบั สภาพยุทธศาสตร์ของภูมภิ าคเพ่ือเพิ่มขีด ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 2. จุดมงุ่ หมายของหลักสตู ร 1. เพื่อให้มีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพสามารถนา ความรู้ทกั ษะและประสบการณ์ในงานอาชีพไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกวิถี ่การดารงชีวิต การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมกบั ตน สรา้ งสรรค์ความเจริญตอ่ ชุมชน ท้องถิน่ และ ประเทศชาติ 2. เพือ่ ใหเ้ ป็นผู้มีปัญญา มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ใฝเ่ รียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบ อาชพี สามารถสร้างอาชีพ มีทักษะในการจัดการและพัฒนาอาชพี ให้ก้าวหนา้ อยู่เสมอ 3. เพอื่ ใหม้ เี จตคติท่ดี ตี ่ออาชีพ มคี วามม่ันใจและภาคภูมใิ จในวิชาชพี ทีเ่ รียน รกั งาน รกั หน่วยงาน สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้โดยมีความเคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อนื่

4. เพ่ือให้เป็นผมู้ ีพฤติกรรมทางสงั คมที่ดงี าม ท้ังในการทางาน การอยูร่วมกัน การต่อต้านความ รนุ แรงและสารเสพตดิ มีความรับผิดชอบตอ่ ครอบครัว หนว่ ยงาน ท้องถ่ินและประเทศชาตอิ ุทิศตนเพื่อ สังคม เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น มจี ติ สานกึ ด้านปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งร้จู ักใช้และอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสร้างสิง่ แวดล้อมทดี่ ี 5. เพือ่ ให้มีบุคลิกภาพทดี่ ี มีมนษุ ยสมั พันธ์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และวนิ ัยในตนเอง มีสุขภาพ อนามยั ทีส่ มบูรณ์ทั้งรา่ งกายและจิตใจ เหมาะสมกับงานอาชพี 6. เพื่อใหต้ ระหนักและมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื งของประเทศและ โลกมคี วามรักชาตสิ านึกในความเป็นไทย เสียสละเพ่ือส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซง่ึ ความมน่ั คงของชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ความหมายชดุ ฝึก “ชดุ ฝึก”, “แบบฝึก”,“แบบฝึกทกั ษะ”,“แบบฝึกหดั ” หรือ “แบบฝึกเสริมทักษะ” ( สุนนั ทา สนุ ทร ประเสรฐิ , 2540, หน้า 1) มีความหมายเดียวกัน ซ่ึงบางครง้ั จะเรยี กว่าชดุ ฝึกทักษะด้วย เปน็ นวตั กรรมทคี่ รู นามาใชใ้ นการฝึก หรือเสริมทักษะของผเู้ รียนซึ่งชุดฝึกที่ดจี ะช่วยใหก้ ารเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพมากข้ึน ความหมายของชุดฝกึ จินตนา ใบกาซูยี ( 2535, หน้า 17 ) กล่าวว่า ชุดฝึกหรือแบบฝึกหัดเป็นส่ือการเรียนสาหรับให้ ผูเ้ รยี นได้ฝึกปฏิบัตเิ พื่อชว่ ยเสริมให้เกิดทกั ษะและความแตกฉานในบทเรยี น ขจรี ัตน์ หงษป์ ระสงค์ ( 2534, หนา้ 15 ) กล่าวว่า ชดุ ฝกึ เปน็ อุปกรณก์ ารเรียนการสอน อย่างหนึ่งท่ีครูใช้ทักษะหลังจากที่นักเรียนได้เรียนเน้ือหาจากแบบเรียนแล้ว โดยสร้างขึ้นเพ่ือ เสริมสร้างทักษะให้นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่มีกิจกรรมให้นักเรียนกระทาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ พฒั นาความสามารถของนกั เรยี น อ้อมนอ้ ย เจรญิ ธรรม ( 2533, หน้า 34 อา้ งองิ ใน สุนันทา สุนทรประเสรฐิ , 2544, หนา้ 21 )กลา่ ว ว่า ชุดฝึกเป็นอุปกรณ์การสอนอย่างหนึ่ง ท่ีสร้างข้ึนมาเพ่ือฝึกทักษะนักเรียนหลังจากเรียนเน้ือหาไปแล้วช่วย ทาให้มีพัฒนาการทางภาษาดีข้ึนเพราะทาให้นักเรียนมีโอกาสนาความรู้ได้เรียนมาแล้วฝึกให้เกิดความเข้าใจ กว้างขวางมากข้ึน ชุดฝึกสามารถฝกึ ทักษะทางภาษาได้ทกุ ๆ ดา้ น ถา้ นักเรยี นมโี อกาสฝกึ หัดจนเกิดความเข้าใจ จริง ๆ ชุดฝกึ ชว่ ยให้การสอนของครแู ละการเรยี นของนักเรยี นประสบความสาเร็จ ศศธิ ร สทุ ธิแพทย์ ( 2517, หนา้ 63 )กล่าววา่ แบบฝกึ หัดเปน็ ส่ิงจาเปน็ อยา่ งยิ่ง ครูตอ้ งให้แบบฝึกหัด ท่ีเหมาะสม เพื่อฝึกหลังจากท่ีได้เรียนเน้ือหาจากแบบเรียนไปแล้ว ให้มีความรู้กว้างขวางจึงถือว่าแบบฝึกหัด เปน็ อุปกรณก์ ารเรยี นการสอนอยา่ งหน่ึงครูสามารถนาไปใช้ประกอบกิจกรรมการสอนได้เป็นอย่างดีช่วยให้การ เรยี นการสอนของครปู ระสบผลสาเรจ็ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ( 2536, หน้า 16 ) ได้ใหค้ วามหมายของชุดฝกึ วา่ หมายถึง สิ่งท่นี ักเรียนต้องใช้ ควบคกู่ บั การเรียน มีลักษณะเปน็ แบบฝกึ หัด ทีค่ รอบคลุมกิจกรรมทนี่ ักเรียนพงึ กระทาอาจกาหนดแยกเป็น แต่ละหนว่ ยหรืออาจรวมเลม่ กไ็ ด้

ความสาคญั ของชุดฝกึ ชุดฝึกเปน็ สือ่ การเรียนการเรียนการสอนประเภทหน่ึงสาหรับให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและทักษะเพิ่มขน้ึ และก่อให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ท้ังผู้เรยี นและผสู้ อนดังที่ สนั ทดั ภบิ าลสขุ (2524, หน้า 199 ) ไดก้ ลา่ วไวด้ งั นี้ 1. ชว่ ยเร้าความสนใจของผเู้ รยี นต่อส่ิงกาลงั ศกึ ษาอยเู่ พราะชุดฝกึ จะเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมใน การเรียนของตนมากทีส่ ดุ 2. ผูเ้ รยี นเป็นผูก้ ระทากจิ กรรมการเรียนด้วยตนเอง และเรียนได้ตามความสามารถความสนใจ หรือความต้องการของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ ฝึกการตัดสนิ ใจ แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง และ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสงั คม 4. ช่วยให้นกั เรยี นจานวนมากเรยี นรู้ในแนวเดยี วกัน 5. ทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ท่เี ปน็ อสิ ระจากอารมณ์ของครูคือสามารถทาให้ผูเ้ รียน เรียนไดต้ ลอด ช่วยให้การเรียนเปน็ อสิ ระจากบุคลิกภาพของครเู นือ่ งจาก ชุดฝกึ ช่วยถา่ ยทอดเน้ือหาได้ดังนนั้ ครทู พ่ี ดู ไม่เกง่ กส็ ามารถทาการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพได้ - ชว่ ยให้ครวู ัดผลผู้เรยี นไดต้ รงตามความมุ่งหมาย - ชว่ ยลดภาระและชว่ ยสรา้ งความพรอ้ มและความมนั่ ใจแก่ครู - ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครูผ้ชู านาญ เพราะชุดการฝึก หรือชุดการสอน - ช่วยใหผ้ ู้เรยี นเรยี นได้ด้วยตนเอง หรอื ต้องการความช่วยเหลือเพยี งเล็กน้อย - ช่วยสร้างเสรมิ การเรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง หรอื การศึกษานอกระบบ เพราะชุดฝึกสามารถนาไปสอน ผูเ้ รียนได้ทกุ สถานท่เี วลา แก้ปัญหาความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลเพราะ ผเู้ รียนเรยี นไดต้ ามสะดวกตาม ความสามารถความถนัด และความสนใจ ตามเวลา และโอกาสที่เอ้ืออานวยแก่ผเู้ รยี นท่ีแตกตา่ งกนั เป็นประโยชนส์ าหรบั การเรียนการสอนแบบศนู ย์การเรียน นอกจากนี้ไดน้ ักการศกึ ษาทา่ นอ่นื ๆ ทไ่ี ด้กลา่ วถึง ความสาคัญของชดุ ฝกึ ไว้ดงั นี้ เชาวนี เกดิ เพทางค์ ( 2543, หนา้ 23 ) กลา่ ววา่ ชุดฝกึ เป็นเครื่องมือท่ชี ่วยให้เกดิ การเรยี นรู้ทาให้ นักเรยี นเกดิ ความสนใจและช่วยให้ครูทราบผลการเรยี นของนักเรยี นได้ทนั ที มาสวิมล รักบ้านเกิด ( 2546, หน้า 27 ) มีความเห็นว่า ชดุ ฝกึ ชว่ ยให้ครูทราบพฒั นาการของทักษะ นัน้ ๆ ของนักเรียนทาใหเ้ หน็ ข้อบกพร่องซง่ึ จะได้แก้ไขถูกต้องทันทีเปน็ การชว่ ยให้นักเรียนประสบผลสาเร็จใน การเรยี น วีระ ไทยพาณิช ( 2528, หน้า 11 , อ้างอิงใน จุฑารัตน์ วงศ์ศรีนาค, 2537, หน้า 13 ) กล่าวว่า ชุดฝึกทาให้เกิดการเรียนรู้จากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดประสงค์แน่นอนทาให้ สามารถรู้และจดจา ส่ิงทเ่ี รียนไดด้ ีไปใช้ในสถานการณเ์ ชน่ เดียวกันไดจ้ ากความเหน็ ดังกล่าว สรปุ ได้วา่ ชดุ ฝึกมี ความสาคัญต่อผู้เรียนและผู้สอน เพราะเป็นเครื่องมือท่ีผู้เรียนสนใจ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากการกระทาจริง ทาให้รู้และจดจาได้ดี สามารถนาไปใช้ได้ทาให้ผู้สอนได้ทราบพัฒนาการและข้อบกพร่องของผู้เรียน ในทักษะ น้ันๆ โดยทันทซี ง่ึ จะไดแ้ ก้ไขได้ถกู ต้อง เปน็ การชว่ ยให้ผ้เู รียนประสบความสาเร็จในการเรยี น

งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง ผลงานวิจัยเกีย่ วกบั การพัฒนาการสอนวชิ าพิมพ์ดดี อังกฤษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีหลากหลาย ดังนั้นผู้รายงานจึง ไดค้ ัดเลอื กผลงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งดังต่อไปนี้ นางนฤมล ชา้ งงา ( 2548 : บทคดั ย่อ ) ได้ศึกษาผลการประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีสง่ิ เร้าและทฤษฎีแหง่ การ เรยี นร้ใู น การจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าพมิ พด์ ีดอังกฤษ 1 ในระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพปี ที่ 1 (ปวช. 1) ที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับ ปวช. 1 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2548 โรงเรียนดรุณากาญจนบุรีจังหวัด กาญจนบรุ พี บวา่ จากเรียนโดยประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีสงิ่ เรา้ และทฤษฎีแห่งการเรยี นรู้มผี ลการเรยี นวชิ า พิมพ์ดดี อังกฤษ 1 สงู ขึน้ นางสริ เิ พ็ญ ชลเทพ ( 2547 : บทคัดยอ่ ) ศกึ ษาการพฒั นาทกั ษะการพมิ พ์ดีดไทยของนักศึกษา ระดบั ชน้ั ปวช. ปีท่ี1 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลาพูน จังหวัดลาพูน โดยใช้แบบฝึกทักษะการพิมพ์ใช้เวลา 10 สัปดาห์ในการฝึกทักษะการพิมพ์ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 มีการพัฒนาทักษะความ แมน่ ยา และความเร็วในการพมิ พ์สามารถพิมพ์งานไดถ้ ูกต้อง มคี วามแม่นยา และความเร็วเพิ่มขน้ึ นางสาวนารรี ัตนโ์ ฉมอินทร์ (2548 : บทคดั ยอ่ ) การวจิ ัยเรอื่ งน้ีมวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ พฒั นาทักษะการ พิมพท์ ่ีดคี วามสามารถในการพิมพ์ท่ีรวดเร็วและแม่นยา ทางการเรียนในวิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอมพิวเตอร์ของ นักเรยี น ระดบั ช้ัน ปวช.1 แผนกบริหารธุรกิจ ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเน้ือหาและการเรียนรู้ในห้องเรียนที่ไม่มี ความรู้ความสามารถในการเรียนพิมพ์ดีดมาก่อน จานวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ตารางบัน ทึกการพิมพ์แบบก้าวหน้า ตารางแสดงผลการคิดคาสุทธิต่อนาทีตามหลักบันได 9 ขั้น แบบฝึกทักษะ พัฒนาการพมิ พ์ ชดุ ท่ี 1-5 รวม 5 ชุด ผลการวิจยั ผเู้ รียนสามารถพัฒนาการพมิ พใ์ หร้ วดเรว็ และแมน่ ยาย่ิงข้นึ หลังจากไดร้ บั การฝึกปฏิบัติที่ถูกต้องและบ่อยคร้ังข้ึน จากเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องที่กล่าวมากทั้งหมด จะเห็นได้ว่าการสอนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบ้ืองต้น มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดการเรียนการสอนโดยฝึก ทกั ษะในการพมิ พเ์ พื่อใหน้ ักเรยี นไดร้ บั การฝึกฝน อบรมใหม้ ีความร้คู วามสามารถในการปฏิบัติงาน ตลอดจนมี ทักษะในวิชาชีพถึงเกณฑ์ ซ่งึ เป็นทีย่ อมรับกอ่ นท่ีจะเข้าสู่ตลาดแรงงาน วธิ ีดาเนินการวิจยั รายงานการวิจยั ในช้นั เรียนเรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก รายวิชาพิมพ์ดีด ไทยโดยใชช้ ดุ ฝึกทักษะ ผู้วิจยั ไดด้ าเนินการตามขั้นตอนดงั นี้ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนสาขาบัญชีและสาขาคอมพิวเตอร์ เรียนรายวิชา พมิ พ์ดดี ไทย ในภาคเรยี นท่ี 2/2562 จานวน 16 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนสาขาบัญชีและสาขาคอมพิวเตอร์ เรียนรายวิชา พมิ พด์ ีดไทย ในภาคเรียนท่ี 2/2562 จานวน 10 คน ทีไ่ ด้จากการวจิ ัย เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั 1. ชุดฝึกทักษะจานวน 2 ชดุ 2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3. แบบทดสอบหลังเรยี น

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การเกบ็ รวมรวมข้อมูลจากกลุ่มตวั อยา่ งในการวิจัย ไดแ้ ก่ นักเรียนสาขาบัญชีและสาขาคอมพิวเตอร์ เรียนรายวิชาพิมพ์ดีดไทย ในภาคเรียนที่ 2/2562 จานวน 10 คน ตามข้ันตอนดังน้ี 1. ช้ีแจงใหน้ กั เรียนทราบเกยี่ วกับ ชุดฝกึ ทกั ษะ 4 ชุด การพิมพห์ นังสอื ราชการภายนอก 2. การทดสอบก่อนเรยี น ( Pre-test ) ดว้ ยแบบทดสอบวัดการพมิ พ์หนงั สือราชการภายนอกโดยใช้ แบบทดสอบทผี่ วู้ ิจยั สรา้ งข้ึน แล้วเกบ็ คะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบก่อนเรยี น เพื่อนาไปเปรียบเทยี บกับคะแนน ท่ีได้จากการทดสอบหลังเรยี น 3. ดาเนินการสอน เรอ่ื งการพมิ พ์หนังสือราชการภายนอก โดยใชช้ ดุ ฝกึ ทกั ษะ จานวน 4 ชุด 4. การทดสอบหลังเรยี น ( Post-test ) โดยใชแ้ บบทดสอบชดุ เดยี วกันกบั การทดสอบก่อนเรียน 5. เกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อนาไปวเิ คราะห์โดยใชว้ ิธีทางสถติ ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook