Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันรักการอ่าน

วันรักการอ่าน

Published by waryu06, 2022-08-04 06:46:42

Description: วันรักการอ่าน

Search

Read the Text Version

บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วนั ท่ี สงิ หาคม ๒๕๖๕ เรอ่ื ง รายงานผลการดำเนินงานโครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศนู ย์เรียนรตู้ ลอดชีวิต Co-Learning Space กจิ กรรมวนั รกั การอา่ น เรยี น ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำจัดทำโครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้ เป็นศูนย์เรยี นรู้ตลอดชีวติ Co-Learning Space กิจกรรมวนั รักการอ่าน ประจำเดือนเมษายน ๒๕๖๕ เพื่อ สร้างนิสัยรักการอ่าน พัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้องสมุด จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของ นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัย รักการอ่านมากข้ึน บดั นโี้ ครงการดงั กลา่ วได้ดำเนนิ การเสรจ็ สนิ้ เรยี บร้อยแลว้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการดังกล่าว รายละเอยี ดตามเอกสารที่แนบมาพรอ้ มน้ี จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ (นางวารี ชูบวั ) บรรณารกั ษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์เรียนรู้ตลอดชีวิต Co-Learning Space กจิ กรรมวนั รกั การอ่าน ประจำเดอื นเมษายน 2565 เพ่ือสร้างนิสัยรักการอ่าน พัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้องสมุด จัด บรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนท่ัวไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่านมากขึ้น นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน ครัง้ ต่อไป ผ้จู ัดทำ สิงหาคม 2565

สารบัญ หนา้ 1-9 บทที่ 1 บทนำ 10 - 33 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง 34 - 39 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการตามโครงการ 40 - 44 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ การตามโครงการ 45 – 47 บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ บรรณานุกรม ภาคผนวก รปู ภาพ รายช่อื ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพึงพอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จดั ทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชอื่ โครงการ โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมท่ี 1 โครงการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนให้เปน็ ศูนยเ์ รียนรู้ตลอดชีวติ Co-Learning Space 2.  สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ยั รักษาศลี ธรรม และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มหี ลักคดิ ทถี่ ูกต้อง มีทกั ษะที่จ่าเป็นในศตวรรษที่ 21 มี ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ สกู่ ารเปน็ คนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอ่ืน ๆ โดยมี สมั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบดว้ ย (1) ชว่ งการต้งั ครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/ วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายเุ ปน็ พลังในการขบั เคลอื่ นประเทศ ประเด็นที่ 6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก ห้องเรียน และ (4) การพัฒนาระบบฐานข้อมลู เพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  สอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์ 3.1 ปรับเปลย่ี นค่านยิ มคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินยั จติ สาธารณะ และพฤติกรรม ทพ่ี ึงประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่าง จรงิ จัง 3.2 พัฒนาศักยภาพคนให้มที กั ษะความรู้และความสามารถในการดำรงชวี ติ อย่างมคี ุณค่า 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นใหม้ ีทักษะการคิดวิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มี ทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน

2 3.3 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 3.3.6 จัดทำส่ือการเรยี นรู้ท่เี ปน็ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์และสามารถใชง้ านผา่ นระบบอปุ กรณส์ อ่ื สารเคลื่อนท่ี ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลิตหนังสอื สอื่ การอา่ นและการเรยี นร้ทู ่ีมคี ุณภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผูส้ ูงอายุ รวมทั้งส่งเสริมให้มีระบบการจดั การความรู้ที่เป็นภมู ิ ปัญญาทอ้ งถิน่  สอดคล้องกับนโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) 1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพ่ือคณุ วฒุ ิ พฒั นาผ้เู รยี นให้มคี วามรอบรูแ้ ละทักษะชีวติ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ ดำรงชีวติ และสรา้ งอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทัศนคติที่ดตี ่อการดูแลสุขภาพ 1.2 การเรียนรตู้ ลอดชีวิต - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. จดุ เนน้ การดาํ เนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวติ ที่เนน้ การพฒั นาทกั ษะที่จาํ เปน็ สำหรับแต่ละช่วงวัย และ การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั แตล่ ะกลุม่ เปา้ หมายและบริบทพ้นื ท่ี 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชีวิตทเ่ี หมาะกบั ช่วงวัย 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรูค้ ุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในหอ้ งสมดุ ประชาชน ทเ่ี น้น Library Delivery เพื่อเพิม่ อัตราการอ่าน และการรู้หนงั สือของประชาชน 3.5 สง่ เสริมและสนับสนนุ การสร้างพ้นื ท่ีการเรียนรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- Learning Space เพอื่ การสร้างนเิ วศการเรียนรู้ใหเ้ กิดข้นึ สังคม

3  สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ัดการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.1 ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถุประสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตัวบ่งช้ที ่ี 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.3 สือ่ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือตอ่ การจัดการศึกษาตาม อธั ยาศยั ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.4 ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาที่เน้นการมีส่วนรว่ ม ตวั บ่งชี้ที่ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ตัวบง่ ชีท้ ่ี 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนภาคีเครือขา่ ยให้มสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนุนการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพึงพอใจ ควรเพิ่มข้อเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะวา่ เพราะเหตุใดขอ้ นน้ั จงึ ใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเป็นระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มีการออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ต่อเนอื่ งและนำผลการประเมินทไ่ี ด้ไปวเิ คราะห์ถึงอุปสรรค และนำไปวางแผน ปรับปรงุ พัฒนาในปตี อ่ ไป

4 3. หลักการและเหตุผล วิถีชีวิต การเรียนรู้ การทํางานของคนในยุคปัจจุบันที่เปลี่ยนไป รูปแบบการทํางาน มักจะไปนั่งทํางาน อ่าน หนังสือ ประชุม หรือทํางานกลุ่มตามสถานที่สาธารณะ มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด หรือตาม Co - working Space ต่าง ๆ ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่ว่าจะเป็นต้องการพื้นที่ในการสร้างแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ที่เอื้อต่อ การเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ในการทํางาน หรือบางครั้งจะรู้สึกว่ามีสมาธิมากกว่าที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือที่ทํางาน แต่พื้นที่ ลักษณะเช่นน้ีท่ีมีใหบ้ รกิ ารอยู่ในปัจจุบนั ยังเปน็ ข้อจํากัดในการเข้าถึงของหลาย ๆ คน ไม่วา่ จะเป็นเรื่องของระยะเวลา การเปิด – ปิดบริการ ค่าใช้จ่าย หรือถ้าเปิดให้ใช้บริการฟรีสิ่งอํานวยความสะดวกต่าง ๆ หรือบรรยากาศ อาจยังไม่ ตอบโจทย์สําหรับการทํางาน หรือการอ่านหนังสืออย่างมีสมาธิ รวมไปถึงความปลอดภัยต่าง ๆ ในการเดินทางไปใช้ บริการตามสถานทีเ่ หล่านั้น ประกอบกบั สภาพสงั คมท่ีเปลย่ี นแปลงไปทาํ ให้รูปแบบการเรยี นรู้ของผู้รบั บริการห้องสมุด เปลี่ยนไปด้วยคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปมีการนําเทคโนโลยีมาใช้ในการค้นคว้าหาความรู้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้ห้องสมุด ประชาชนจึงจําเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ การเรียนรู้ต้องพัฒนาให้มีรูปแบบที่หลากหลายเป็นไปตาม ความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัยยิ่งขึ้น จากแนวคิดดังกล่าวสู่การพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การ เรียนรู้ Co - Learning Space ซึ่งสํานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยให้กับประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหล่งเรียนรู้ให้บริการหลากหลายรูปแบบ ห้องสมุดประชาชนก็เป็นหนึ่งใน แหล่งเรียนรู้ที่ให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอื่น ๆ ของ กศน. จึงถึงเวลาแล้วที่จะพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ สําหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มีโอกาสเข้าถึงได้ง่ายสามารถตอบทุกโจทย์ปัญหาความต้องการของประชาชน อย่างแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) หรือพื้นที่แห่งการเรียนรู้ร่วมกัน จึงเกิดขึ้นภายใต้ แนวคิดทว่ี ่า การใหท้ ่มี ากกว่าแค่เพียง “พืน้ ท”ี่ แตย่ งั เป็นสถานทใ่ี นการสร้างแรงบันดาลใจ และแสดงถึงการแบ่งปัน ที่ ไม่เพียงแค่แบง่ ปันพื้นที่สําหรับทุกคน ได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันแต่ทุกคนที่มายังได้ความรู้และแรงบันดาลใจดี ๆ กลับไป ด้วยเสมอ การนําแนวคิดในการปรับเปลี่ยนการให้บริการห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะศูนย์ การ เรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่า การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางกนกวรรณ วลิ าวลั ย์) ในการพั ฒ นา กศน. ตําบล ใหม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหน่ึงโดยการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภมู ิภาค เป็น ศูนย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co - Learning Space) และกําหนดให้ศูนยก์ ารเรียนรูต้ ้นแบบ (Co - Learning Space) มีพื้นที่บริการการเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศั ยทุก ช่วงวัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุดประชาชน อำเภอชนแดนดำเนินการพฒั นาห้องสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ย์การเรียนรู้ Co - Learning Space เพื่อสร้างนิสัยรัก การอ่าน เพ่ือเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนา ปรับปรุงห้องสมุด จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่านมาก ข้ึน

5 4. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเปน็ แหล่งเรยี นรู้ตน้ แบบ Co – Learning Space 2. เพื่อส่งเสริมนิสยั รักการอ่าน ผ่านกิจกรรมอย่างเปน็ รูปธรรม 3. เพื่อปรับปรุงบรรยากาศและภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกห้องสมุดให้น่าใช้บริการ เอื้อต่อการอ่านและ การเรยี นรู้ 5. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ๑. หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน 1 แห่ง ๒. นกั เรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไป จำนวน 247 คน เชงิ คุณภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่มีระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมที่มี ชีวิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดยให้บริการการศึกษาค้นแก่นกั ศึกษาการศึกษานอกโรงเรยี นและ ผู้รบั บริการหอ้ งสมุด ทำให้เกดิ สงั คมแห่งการเรียนรู้ และนกั ศึกษา กศน. ผ้รู บั บริการหอ้ งสมุด สามารถนำความรู้ท่ี ไดไ้ ปใช้ในการดำเนินชวี ิตไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขัน้ เตรียมการ ช เพื่อจัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว 2. ประชุมกรรมการ ดำเนนิ งาน ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ช 3. จดั เตรยี มเอกสาร ข วัสดุ อุปกรณใ์ นการ - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน จ ดำเนินโครงการ โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพ่อื อนมุ ัติ - แตง่ ตั้งกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนินงานทกุ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพ่ือดำเนินการจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การ มอบหมาย

6 กลุ่มเป้าหมาย พน้ื ทีด่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ช้แี จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซื้อวสั ดุอปุ กรณใ์ นการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ ก กลุ่มเปา้ หมาย ๔. ดำเนินการจัด กจิ กรรม เพอื่ ดำเนินการปรับปรุงภมู ิทัศนห์ อ้ งสมุด ให้ 1.หอ้ งสมุดประชาชน ห 5. สรปุ /ประเมินผล เป็นCo-Learning Space แหลง่ เรียนรขู้ อง อำเภอชนแดน ได และรายงานผล โครงการ คนในชมุ ชน จำนวน 1 แห่ง เป ๑. กิจกรรมรกั การอ่านผา่ นสื่อออนไลน์ 2. นักเรียน นกั ศกึ ษา ข ๒. กจิ กรรมวนั รักการอ่าน และประชาชนทั่วไป ช ๓. กจิ กรรมวันสำคัญตา่ งๆ จำนวน 247 คน ต ๔. กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ สำหรบั นักศึกษา กศน. เพ่อื ใหก้ รรมการฝา่ ยประเมนิ ผลเกบ็ ตามกระบวนการ ส รวบรวมขอ้ มลู และดำเนินการประเมินผล ประเมนิ โครงการ ต การจัดกิจกรรม 5 บท จำนวน 3 เล่ม

7 กล่มุ เปา้ หมาย พนื้ ที่ดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชงิ คณุ ภาพ) หอ้ งสมุดประชาชน เม.ย. ถึง - ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน อำเภอชนแดน ก.ย.65 ดร้ ับการปรับปรุงภูมทิ ศั นห์ ้องสมุด ให้ ป็นCo-Learning Space แหล่งเรียนรู้ ของคนในชมุ ชน เป็นแหลง่ เรียนรตู้ ลอด ชีวิต พร้อมใหบ้ ริการแก่กลุม่ เปา้ หมาย ต่างๆ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

8 7. วงเงนิ งบประมาณ ไมใ่ ช้ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนการใช้จา่ ยรายไตรมาส ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 - - - - 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ชำนาญการ ชอื่ - สกุล : นางวารี ชบู วั เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 เบอรโ์ ทรศัพทท์ ่ีทำงาน : 056 – 761667 อีเมลล์ : [email protected] ผู้ร่วมดำเนินการ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหน่ง ครอู าสาสมัครฯ นางสาวลาวัณย์ สทิ ธกิ รววยแกว้ ตำแหน่ง ครอู าสาสมคั รฯ นางลาวิน สีเหลือง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพันธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหิทธิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสรุ ัตน์ จนั ทะไพร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวอุษา ย่ิงสกุ ตำแหน่ง ครูประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปัญญา ตำแหน่ง ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นางสาววรางคณา น้อยจันทร์ ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรยี นชุมชน นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธิ์ ตำแหนง่ ครปู ระจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหน่ง นักจดั การงานทว่ั ไป

9 10. เครอื ข่าย 10.1 นักศึกษา กศน.อำเภอชนแดน 10.2 บ้านหนังสือชมุ ชน 11.โครงการท่เี ก่ยี วข้อง 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 11.3 โครงการประชาสมั พนั ธง์ าน กศน. 11.4 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธิภาพการทำงานรว่ มกบั เครอื ข่าย 11.5 โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ 12.1 เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ตน้ แบบ Co – Learning Space 12.2 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน สง่ เสริมการจดั กระบวนการเรยี นรู้ภายในห้องสมดุ 12.3 หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน เปน็ แหลง่ เรยี นร้ทู ่ีสำคญั ของชุมชน ปรับปรุงบรรยากาศภูมิทัศน์ทั้ง ภายในและภายนอกห้องสมุดใหน้ ่าใชบ้ รกิ าร เอือ้ ตอ่ การอ่านและการเรยี นรู้ 13. ดัชนีวดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ช้วี ัดผลผลิต (output) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน 1 แห่ง เป็นแหล่งเรียนรใู้ นชุมชน ที่มีระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมที่มีชีวิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดยให้บริการ การศึกษาค้นแก่นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนและประชาชนทั่วไป ทำให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และนักศึกษา กศน. รวมท้ังประชาชนทว่ั ไป สามารถนำความรทู้ ี่ไดไ้ ปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตได้อย่างมีความสขุ 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (outcome) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 14. การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรุป/รายงานผลการจดั กจิ กรรม

10 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง 2 เมษายน วนั รกั การอ่าน การพูด การอ่าน การเขียน การฟัง กริยาเหล่านี้ เป็นส่ิงท่ีเราทุกคนต้องปฏิบัติในชีวิตประจำวัน แต่ ปัจจุบันด้วยความท่ีเรามีเวลาท่ีจำกัด จึงทำให้คนไทยห่างเหินกับกิจกรรมเหล่านี้ โดยเฉพาะการอ่านหนังสือ รัฐบาลซ่ึงเลง็ เห็นความสำคญั ของปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทกุ ปี ซ่ึงเป็นวันคล้ายวันพระ ราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผู้ทรงมีคุณูปการต่อวงการหนังสือไทย เป็น \"วันรกั การอ่าน\" ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2552 เป็นตน้ มา ซึ่งจากรายงานของสำนักสถิติแห่งชาติพบว่า การอ่านหนังสือของเด็กไทยจากเดิม 52 นาทีต่อวันเหลือ เพียง 39 นาที เนื่องจากเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับการเล่นคอมพิวเตอร์และดูโทรทัศน์มาก ขึ้น คณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จึงกำหนด \"วันรักการอ่าน\" ขึ้นมา เพ่ือ รณรงค์และปลกู ฝงั ให้เดก็ ๆ และเยาวชนหันมาอา่ นหนังสอื มากขึ้น

11 โดยในแต่ละปีน้ัน จะมีการจัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ และสัปดาห์หนังสือนานาชาติ (Bangkok International Book Fair) ข้ึนในชว่ งเวลาของวันท่ี 2 เมษายนของทกุ ๆ ปี เพ่ือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ คณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ท่ีตอ้ งการให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาของ การอา่ นหนงั สือ โดยเด็ก ๆ และเยาวชน สามารถมารว่ มงานสัปดาห์หนังสือฯ เพ่ือเลือกซ้ือหนังสือดีราคาถูก ที่แต่ ละสำนักพิมพ์ขนมาจำหน่ายในงาน ท้ังหนังสือภาพสำหรับเด็ก หนังสือนิทาน หนังสือวิชาการ หนังสือสารคดี หนังสือนวนิยาย หนังสือการ์ตูนประวัติศาสตร์ อาทิ ประวัติบุคคลสำคัญของไทย หรือประวัติบุคคลสำคัญของ นานาประเทศ เปน็ ต้น แต่การสรรหาหนังสือ ไม่ใชส่ ่ิงท่ีสำคัญที่สุดในการปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน แต่อยู่ที่ตัวของคณุ พ่อคุณแม่ท่ี ต้องเข้าให้ถึงความต้องการของเด็ก ๆ โดยต้องรู้ก่อนว่า เด็กในวัยน้ีอยากเรียนรู้เร่ืองอะไร เพ่ือท่ีคุณพ่อคุณแม่ จะ ได้สรรหาสิ่งนั้นมาให้อยา่ งถูกต้อง และตรงตามพัฒนาการที่เขาพร้อมจะเรียนรู้อย่างเข้าใจด้วย เพราะเด็กในแต่ละ วัยมีพัฒนาการท่ีแตกต่างกัน และสุดท้ายคุณพ่อคุณแม่ ต้องไม่กังวลว่าบ้านจะรกเต็มไปด้วยหนังสือ เพราะการท่ี เด็ก ๆ เหน็ หนังสือจนชินตา เขาก็จะรู้สึกคุน้ เคยและต้องการหยิบข้นึ มาอ่านเอง โดยท่ีไม่ตอ้ งบอกให้เขารักการอา่ น เลย

12 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการอา่ น การอ่าน เป็นส่ิงจำเป็นสำหรับคนท่ัวไป โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน เพราะปัจจุบันเป็นยุค ของข่าวสาร ซึ่งข้อมูลความรู้ในทุกด้านได้เผยแพร่ในรูปของหนังสือแสะส่ิงตีพิมพ์ต่าง ๆ ผู้อ่านหนังสือมาก จะ ได้รับคุณค่าทางปัญญา เกิดความรู้ ความรอบรู้ มีความก้าวหน้าและทันสมัยอยู่เสมอ ดังบทพระราชนิพนธ์ ใน สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี หนังสือน้ีมมี ากมายหลายชนดิ นำดวงจิตเริงรื่นช่นื สดใส ให้ความรู้สกเริงบันเทิงใจ ฉันจงึ ใฝ่ใจสมานอา่ นทกุ วัน มวี ชิ าหลายอย่างตา่ งจำพวก ล้วนสะดวกคน้ ไดใ้ หส้ ุขสนั ต์ วชิ าการสรรมาสารพนั ชว่ั ชีวนั ฉนั อ่านได้ไม่เบอ่ื เลย บทกลอนขา้ งตน้ ช่ือ “ฉนั ชอบหนังสือ” ปรากฏในจดหมายข่าวกรมวิชาการ (1 เมษายน 2526 หน้า 11) เน้ือความกล่าวถึงคุณค่าของหนังสือ ซ่ึงให้ทั้งความบันเทิงใจและความรู้แสดงให้เห็นว่า ทรงพอพระราช หฤทัยที่จะทรงอ่านหนังสือทุกวัน ไมท่ รงเบ่ือหน่ายแตป่ ระการใด และให้แนวความสำคัญว่า การอ่านหนังสอื มี ความจำเป็นตอ่ ชวี ติ ความสำคญั ของการอา่ น การอ่านเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างหน่ึงของมนุษย์ ที่ใช้สายตาและสมองรับรู้ความหมาย รวมท้ัง ความเข้าใจจากส่ิงที่อ่าน หากมนุษย์ไม่มีการจดบันทึกเรื่องราวความเป็นมาของตนเอง อีกทั้งมนุษย์ไม่รู้ จัก ความหมายของภาษาที่กลุ่มชนน้ัน ๆ ใช้บันทึกโดยเฉพาะไม่รู้จักการอ่าน ย่อมทำให้มนุษย์ขาดการเรียนรู้ และ ความเขา้ ใจซึ่งกันและกัน ปัจจุบันมีส่ือมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เข้ามาแย่งเวลาของเราไป แต่การอ่านก็ยังถือว่า เปน็ สิ่งท่ีดี ไม่อาจนำเอาส่ิงใดมาทดแทนได้ หนังสือจะเป็นกุญแจไขความรู้และความล้ีลับต่าง ๆ ในโลกให้แก่เรา ตามตอ้ งการ และจากการอ่านเราจะไดค้ วามรู้สึกละเอียดอ่อน ความซาบซึ้งไปกับความไพเราะและรสของภาษา เกดิ ภาพพจน์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ซึ่งส่ืออยา่ งอนื่ จะไมม่ ีสิ่งเหลา่ น้ี การอ่าน เป็นส่ิงจำเป็นต่อชีวิต ต่อความเจริญด้านต่าง ๆ ของมนุษย์มาก การอ่านหนังสือนอกจากจะ ทำให้ผู้อา่ นเป็นผูห้ ูตากว้างแล้ว คนอ่านจะเป็นผู้ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวของโลกปัจจุบัน และอาจเป็น เครือ่ งกระตุ้นให้เกิดความสงบในใจ ส่งเสริมวจิ ารณญาณและประสบการณ์ให้เพ่ิมพูนข้ึน การอ่านยังทำให้บุคคล เป็นผู้มีคุณค่าในสังคม มีประสบการณ์ชีวิต และช่วยยกฐานะของสังคม สังคมมีบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการอ่าน อยู่มาก สังคมนั้นย่อมจะเจริญพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบันความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยที ำให้ความรู้ต่าง ๆ ล้าสมยั เรว็ ขึ้น หนังสอื เท่าน้ันท่สี ามารถทันความกา้ วหนา้ เหลา่ นี้ การอ่าน เปน็ สิง่ จำเป็นตอ่ ชีวิต ตอ่ ความเจริญในดา้ นต่าง ๆ ของมนษุ ยม์ าก การอ่านหนังสือนอกจากจะ ทำให้ผู้อา่ นเป็นผหู้ ูตากว้างแล้ว คนอ่านจะเป็นผทู้ ันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวของโลกปัจจุบัน และอาจเป็น

13 เคร่ืองกระตุ้นให้เกิดความสงบในใจ ส่งเสริมวจิ ารณญาณและประสบการณ์ให้เพ่ิมพูนขึ้น การอ่านยังทำให้บุคคล เป็นผู้มีคุณค่าในสังคม มีประสบการณ์ชีวิต และช่วยยกฐานะของสังคม สังคมมีบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการอ่าน อยู่มาก สังคมนัน้ ย่อมจะเจริญพฒั นาไปได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบันความก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยที ำใหค้ วามรตู้ า่ ง ๆ ล้าสมัยเร็วขึน้ หนังสือเทา่ น้ันท่สี ามารถทันความกา้ วหนา้ เหล่านี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิด การประชุใหญ่สามัญประจำปี 2530 ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ได้ทรงบรรยายพิเศษในหัวข้อ เร่ือง “การสร้างสังคมการอ่านและการใช้สารนเิ ทศ” ณ โรงแรมบางกอกพาเลส เม่ือ วนั ท่ี 21 ธันวาคม 2530 ทรง กล่าวถึง เหตุที่พระองค์โปรดการอ่านหนังสือ และความสำคญั ของการอ่านหนังสือไว้ 8 ประการ คือ (อ้างถึงใน อมั พร ทองใบ, 2540 : 9) 1. การอา่ นหนังสอื ทำใหไ้ ดเ้ นื้อหาสาระความรู้ มากกวา่ การศกึ ษาหาความร้ดู ้วยวิธีอน่ื ๆ 2. ผอู้ า่ นสามารถอา่ นหนงั สอื ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ี สามารถนำติดตวั ไปได้ 3. หนงั สือเก็บไวไ้ ดน้ านกวา่ สอ่ื อย่างอ่นื 4. ผู้อา่ นสามารถฝึกการคดิ และสร้างจนิ ตนาการได้เองขณะที่อา่ น 5. การอ่านส่งเสริมให้มีสมองดี มสี มาธินานกวา่ และมากกว่าสื่ออยา่ งอืน่ เพราะขณะอา่ นจิตใจต้องมุ่งม่ัน อยู่กับขอ้ ความ พินจิ พเิ คราะหข์ ้อความ 6. ผู้อ่านเป็นผู้กำหนดการอา่ นไดด้ ้วยตนเอง จะอา่ นคร่าว ๆ หรอื อา่ นอยา่ งละเอียด อ่านข้ามหรือ อ่านทกุ ตัวอักษรก็ได้ จะเลอื กอา่ นเลม่ ไหกไ็ ด้ 7. หนังสอื มหี ลายรูปแบบ และราคาถกู กว่าส่ืออย่างอ่ืน 8. ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นได้ด้วยตนเองในขณะที่อ่าน สามารถวินิจฉัยเนื้อหาสาระได้ หนังสือบางเล่ม สามารถนำไปปฏิบัติไดด้ ้วย และเมื่อปฏบิ ัติแลว้ กเ็ กิดผลดี ส. ศิวรักษ์ (2512 : นำเร่ือง) ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอ่านหนังสือไว้ว่า “การอ่านหนังสือ เป็นกิจที่จำเป็นสำหรับทุก ๆ คน ท่ีอ่านออกเสียงได้ ย่ิงได้อ่านหนังสืออีย่ิงมีค่ามาก สมดังคำของ ฟรานซิล เบคอน ท่วี า่ “การอา่ นชว่ ยให้คนเปน็ คนเต็มท่”ี นายตำรา ณ เมืองใต้ (2515 : 298-299) กล่าวถงึ ความสำคญั ของตวั หนงั สอื และหนังสือว่า “...บางทีการที่เราได้อา่ นหนังสือกนั อยทู่ ุกเมื่อเช่อื วัน จะทำให้เราลืมนกึ ถึงความสำคัญของตัวอักษร อัน ปรากฏอย่ขู ้างหน้าเราเสียกไ็ ด้ ตัวอักษรน้ีเป็นสิ่งจารึกและรักษาความคิดเห็นอันล้ำค่าของปราชญ์และกวีไว้ให้เรา ...การที่เราจะหาประโยชน์ในการอ่านให้ได้เต็มที่ ก็ควรระลึกได้ หรือแลเห็นความสำคัญของตัวหนังสือ ซึ่งเราได้ พบอยทู่ กุ วนั จนกลายเป็นส่ิงธรรมดานนั้ เสยี ก่อน” รัญจวน อินทรกำแหง และคณะ (2523 : 27-28) กล่าวถึง ความสำคัญของการอ่านหนังสือไว้ว่า “การอ่านหนังสือความจำเป็นต่อชีวิตของคนในยุคปัจจุบันยิ่งกว่ายุคที่ผ่านมา เพราะโลกปัจจุบันเป็นโลกที่หมุน เรว็ ทั้งในด้านวัตถุ วิทยาการ และแปรเปล่ียนเรว็ ฉะน้นั จึงจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องอา่ นหนังสือ เพ่อื ให้สามารถ ติดตามความเคล่อื นไหว ความก้าวหนา้ และความเปลี่ยนแปรทั้งหลายได้ทันกาล”

14 สมถวิล วิเศษสมบัติ (2528 : 73) ได้กล่าวถึงทักษะการอ่านไว้ สรุปได้ว่า การอ่านเป็นทักษะท่ีสำคัญ และใช้มากในชีวิตประจำวัน ผู้ท่ีมีนิสัยรักการอ่านและมีทักษะในการอ่านมีอัตราเร็วในการอ่านสูง ย่อมแสวงหา ความร้แู ละการศึกษาเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ท่ีได้จากการอ่านไปใช้ในการพูดและการ เขยี นได้เปน็ อยา่ งดี ยุพร แสงทักษิณ (2531 : 1) กล่าวว่า “การอ่านหนังสือ เป็นเร่ืองจำเป็นสำหรับมนุษย์ การอ่านทำ ให้เราสามารถก้าวตามโลกได้ทัน เพราะโลกปัจจุบันน้ีไม่ได้หยุดนิ่ง มีความก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทัง้ ในดา้ นวัตถุ วทิ ยาการ ความคิด ฯลฯ ด้วยเหตุท่เี ราต้องมคี วามสัมพันธ์กบั สังคมและสิง่ แวดล้อม เราจึงควรต้อง ปรับตัวเราให้สอดคล้องไปด้วย มิฉะน้ันเราจะกลายเป็นคนโง่ ล้าหลัง อาจประพฤติปฏิบัติผิด ๆ พลาด ๆ ก็ได้ ด้วยความรู้เท่าไมถ่ ึงการณ์” สุจรติ เพยี รชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2538 : 136) กลา่ วถงึ ทกั ษะการอา่ นไวว้ ่า “ทักษะการ อ่านเป็นทักษะท่ีสำคัญ และใช้มากในชีวิตประจำวัน เพราะเป็นทักษะท่ีนักเรียนใช้แสวงหาสรรวิทยาการต่าง ๆ เพื่อความบันเทิงและการพักผ่อนหย่อนใจ ผู้ที่มีนิสัยรักการอ่านและ มีทักษะในการอ่าน มีอัตราเร็วในการ อา่ นสูง ย่อมแสวงหาความรู้ และศึกษาเล่าเรียนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ ในการพูดและการเขยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งด”ี ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ จนิ ตนา ใบกาซูยี (2534 : 57) ที่กล่าวถงึ ความสำคัญของ การอา่ น มี ใจความโดยสรุปว่า การอ่านเป็นสิ่งจำเป็นสำหับชีวิตปจั จุบนั ท้งั ในด้านการดำเนินชวี ิตประจำวนั ดา้ นการศกึ ษา หาความรู้เพ่อื ประกอบอาชีพในอนาคต เป็นการพัฒนาความเจริญงอกงามทางสมองและปัญญา รวมทั้งเป็นการ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจจากชีวิตประจำวนั อัมพร สุขเกษม (2542 : 1) ได้กล่าวถึง การอ่านหนังสือว่า มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต มนุษย์ และมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศด้วย เพราะการอ่านหนังสือช่วยให้ผู้อ่านรู้จักวิธีบำรุงรักษา สุขภาพของตน รู้จักวิธีการใหม่ ๆ สำหรับใช้พัฒนาอาชีพ ช่วยผ่อนคลายความเครียด มีความเพลิดเพลิน เกิด ความคิดสร้างสรรค์ เข้าใจความเคล่ือนไหวทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม สามารถรับรู้และปรบั ตัวให้เข้ากับ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซึ่งลว้ นแตเ่ ป็นประโยชนท์ งั้ สนิ้ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และคณะ (2546 : 55-56) กลา่ วถึง ความสำคญั ของการอ่านสรปุ ได้ ดงั น้ี 1. การอ่านเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ท่ีอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน จำเป็นต้องอ่าน หนังสือเพ่อื การศกึ ษาหาความรูต้ ่าง ๆ 2. การอ่านเป็นเครือ่ งมือช่วยให้ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนำความรู้ท่ีได้ จากการอา่ นไปพัฒนางานของตนได้ 3. การอ่านเปน็ เครื่องมอื สืบทอดมรดกทางวฒั นธรรมของคนรนุ่ หน่ึง ไปสู่คนรุน่ ตอ่ ๆ ไป 4. การอ่านเป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมีความคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ ท่ีได้จาก การอ่าน เมื่อเกบ็ สะสมเพมิ่ พูนนานวนั เขา้ ก็จะทำใหเ้ กดิ ความคิด เกิดสติปัญญา เป็นคนฉลาดรอบรู้ได้ 5. การอ่านเป็นกิจกรรมท่ีกอ่ ให้เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นวิธหี นึ่งในการแสวงหาความสขุ ให้กับ ตนเองทง่ี ่ายทสี่ ุดและได้ประโยชนค์ มุ้ คา่ ทส่ี ุด

15 6. การอ่านเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์ท้ังด้านจิตใจและบุคลิกภาพ เพราะเม่ือ อ่านย่อมรู้มาก สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ นการดำรงชีวติ ไดอ้ ย่างมีความสุข 7. การอา่ นเป็นเครื่องมอื ในการพฒั นาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวัติศาสตร์ และสังคม 8. การอา่ นเปน็ วิธกี ารหนง่ึ ในการพฒั นาระบบการส่ือสารและการใชเ้ ครื่องมือทางอเิ ล็กทรอนิกสต์ ่าง ๆ กล่าวโดยสรุป การอ่านมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เพราะเราต้องแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสาร การเคล่ือนไหวทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอ่านส่งเสริมให้ผู้อ่านมีพัฒนาการใน ความรู้และความคิด มองโลกท่ีกว้างไกล เข้าใจปัญหาท่ีเกิดขึ้นในสังคมผ่านสื่อการสอน ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีจะช่วยให้ สามารถตัดสนิ ใจได้อย่างถูกตอ้ ง มีความเฉลียวฉลาด สามารถประกอบอาชีพและเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ ได้ ความหมายของการอา่ น มีผู้ให้คำจำกัดความ ให้นยิ าม หรอื ใหค้ วามหมายของการอา่ นไว้ตา่ ง ๆ กนั ดังนี้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556 : 1405) ให้คำจำกัดความว่า “อ่าน ก. ว่า ตามตัวหนังสือ ; ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ ; สังเกต หรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ” เช่น อ่านสีหนา้ อ่านริมฝีปาก อ่านในใจ ; ตีความ เช่น อา่ นรหสั อ่านลายแทง ; คดิ , นบั (ไทยเดมิ ) ประทีป วาทกิ ทินกร และ สมพนั ธุ์ เลขะพนั ธ์ุ (2534 : 2) ใหค้ วามหมายไวว้ า่ “การอ่าน คอื การรบั รู้ ข้อความในข้อเขียนของตนเอง หรือของผู้อ่ืน รวมท้ังการรับรู้เคร่ืองหมายสอื่ สารตา่ ง ๆ” เชน่ เครื่องหมายจราจร และเครอื่ งหมายทแ่ี สดงในแผนภูมิ เป็นตน้ กุสุมา รักษมณี และ คณะ (2536 : 77) นิยามความหมายของการอ่านว่า “การอ่านเป็นพฤติกรรม การสนทนาโต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับผู้เขียน โดยการสื่อสารผ่านสาร หรือข้อเขียนท่ีเรียบเรียงเป็นข้อความภาษา ซึ่งมีรูปแบบและวัตถปุ ระสงค์แตกต่างกันไป แทนการพูดคยุ กันโดยตรง” เปล้ือง ณ นคร (2538 : 14) การอ่าน (หนังสือ) คือ กระบวนการท่ีจะเข้าใจความหมาย ที่ติดอยู่ กับตวั อักษรหรอื ตวั หนังสอื พันธุ์ทิพา หลาบเลิศบุญ และ คณะ (2539 : 45) กล่าวว่า การอ่าน คือ การแปลความหมายของ ตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และนำความคิดไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ดังนั้นหัวใจของการอ่านอยู่ท่ีการเข้าใจ ความหมายของคำ ศรีสุดา จริยากุล (2545 : 5) ให้ความหมายของการอ่านไว้ใน “ความเข้าใจท่ัวไปเกี่ยวกับการอ่าน” ว่า “การอ่าน คือ การรับรู้ความหมายของสารจากลายลักษณ์อักษร ซ่ึงอาจจะเป็น การอ่านในลักษณะการ อา่ นออกเสียง หรอื การอ่านในใจก็ได้” ทพิ ยส์ ุเนตร อนัมบุตร (2551 : 5) ให้คำจำกัดความว่า การอ่าน คือ การรับสารในการใช้ภาษาไมว่ ่าจะ เปน็ ภาษาใด ย่อมประกอบดว้ ย 2 ฝ่าย คือ ฝา่ ยสง่ > สาร > ฝ่ายรับ ฝา่ ยส่งสารยอ่ มส่งโดยการพูดหรอื การเขียน ฝา่ ยรบั สารจงึ รบั ไดโ้ ดยการฟงั หรอื การอ่าน

16 นอกจากความหมายของการอ่านที่ได้กล่าวมาน้ีแล้ว ยังมีนักการศึกษาผู้เช่ียวชาญด้านการสอนอ่านและ ด้านการอา่ นชาวตา่ งประเทศ ไดใ้ ห้ความหมายของการอา่ นไว้ ดังต่อไปน้ี อัลเฟรด สเตปเฟอรุด (Alfred Stefferud, 1953 : 84) ให้คำจำกัดความของการอ่านไว้ว่า เป็นการ กระทำทางจิตใจ ทผ่ี ู้อา่ นยอมรับความหมายจากความคดิ เห็นของบคุ คลอืน่ จอร์จ ดี. สปาช และ พอล ซี. เบิร์ก (George D. Spache and Paul C. Berg, 1955 : 3-4) กล่าวว่า การอ่าน เป็นการผสมผสานระหว่างทักษะหลายชนิด เพ่ือสร้างความเข้าใจ โดยเป็นไปตามจุดประสงค์ตาม ตอ้ งการ และวิธกี ารของผู้อา่ น พอล ดี. ลิดดี (Paul D. Leedy, 1965 : 3) ให้นิยามการอ่านไว้ว่า คือ การรวบรวมความคิดและ ตีความหมาย ตลอดจนประเมินคา่ ความคิดเหล่านน้ั ที่ปรากฏอยูต่ ามสิง่ พิมพแ์ ตล่ ะหน้า เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1956 : 89) ให้ความหมายไว้ว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการคน้ หา ความหมายจากสิ่งพิมพ์ เป็นการเพ่ิมพูนประสบการณ์ของผู้อ่าน การอ่านไม่ได้หมายความเฉพาะการมองผ่านา แต่ละประโยค หรือแตล่ ะย่อหนา้ เทา่ น้ัน แตผ่ ูอ้ ่านต้องเข้าใจความคิดนั้น ๆ ด้วย มอร์ติเมอร์ เจ. แอดเลอร์ (Mortimer J. Adler, 1959 : 27) กล่าวว่า การอ่าน ห มายถึง กระบวนการตีความหมาย หรือสร้างความเข้าใจจากตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อ่ืน ๆ ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจมากขึ้น กระบวนการต่าง ๆ ท่ีก่อให้เกดิ ความเขา้ ใจนี้ เรยี กว่า ศิลปะในการอา่ น กูดแมน (Goodman, 1970 : 5-11) ได้ให้คำจำกัดความของการอ่านว่า “การอ่านเป็นกระบวนการท่ี สลับซบั ซ้อนเก่ยี วกบั การแสดงปฏิกิรยิ าร่วมกัน ระหว่างความคดิ และภาษา เน่ืองจากผู้อา่ นจะตอ้ งพยายามสร้าง ความหมายข้ึนจากตัวอักษร การอ่านจึงเป็นกระบวนการที่ต้องใชค้ วามคดิ อยู่ตลอดเวลา ผู้อ่านจะต้องอาศยั การ พินิจพิจารณาส่ิงท่ีปรากฏอยู่ในข้อความท่ีอ่าน เพื่อใช้เป็นเครือ่ งช่วยในการเลือกความหมายท่ีเหมาะสมที่สุดจาก เน้ือความท่ีอา่ น จากคำจำกัดความนิยามดังกล่าวมาแล้ว อาจสรุปและเพิ่มเติมความหมายของการอ่านได้ว่า การอ่าน เป็นพฤติกรรมการสนทนาโต้ตอบระหว่างผอู้ า่ นกบั ผูเ้ ขยี น เป็นกระบวนการของการรับรู้และเข้าใจสาระทเี่ ขยี นข้ึน เป็นการรวบรวมความคิด ตีความ ทำความเข้าใจในส่ิงท่ีอ่าน เพ่ือพัฒนาตนเองท้ังในด้านสติปัญญา อารมณ์ และ สังคม

17 ประโยชนข์ องการอา่ น หนังสือที่ดี ย่อมให้คุณค่าแก่ผู้อ่านเสมอ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือทางวิชาการ หรือเร่ืองอ่านเล่น ทันทีท่ีหยิบ หนังสือข้ึนมาอา่ น แม้จะเพียง 2-3 นาที ผู้อ่านกจ็ ะ “ได้” ประโยชน์ไม่ด้านกด็ ้านหนง่ึ เช่น ประโยคทไ่ี พเราะ ประทับใจ มีข้อคิดซ่ึงอาจแก้ปัญหาท่ีคิดไม่ตกอยู่นาแล้ว ประโยชน์ของ การอ่านมีหลายประการ ดังท่ี เทอื ก กสุ มุ า ณ อยธุ ยา (2511 : 47) กลา่ ววา่ การอ่านหนงั สอื มปี ระโยชน์ ดงั นี้ 1. ประโยชน์ในฐานที่เป็นวรรณคดี คือ ผู้อ่านได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน เกิดอารมณ์สะเทือน ใจ และความนกึ ฝันไปตามทอ้ งเรื่อง 2. ประโยชน์อันเกิดแก่ผู้เขียนเอง ได้แก่ การระบายอารมณ์ การแสดงความคิด การให้ทัศนะ หลกั เกณฑช์ วี ิตแกผ่ ้อู ่าน 3. ประโยชน์ในฐานท่ีเป็นเคร่ืองบันเทิง ท้ังยังมีการประยุกต์เป็นละครวิทยุ ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น 4. ประโยชน์ในด้านความรู้ เช่น สภาพความเปน็ อยู่ ภูมฐิ านสงา่ ของบา้ นเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ หรือ เป็นส่ิงสะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตในเรื่องท่ีแต่งก็ได้ เช่น เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ จะทำให้ผู้อ่านทราบรายล เอียดของชวี ิตได้ดีกว่าหนังสือประวตั ิศาสตร์ 5. ประโยชนใ์ นด้านภาษา ผ้อู า่ นจะไดร้ บั รสไพเราะทางภาษา ทรี่ อ้ ยกรองไว้อย่างประณีตบรรจงแลว้ 6. ประโยชน์ทางด้านคติธรรม เป็นเครอื่ งชำระจิตใจผู้อ่าน ยกระดับจิตใจให้สูงขึน้ ถ้าเป็นวรรณคดีท่ี ดี 7. ประโยชน์ทางการเมือง อาจทำให้การเมืองผันแปรได้ โดยผู้แต่งใช้นวนิยายเป็นส่ือคัดค้านความอ ยุติธรรม และทำให้ผู้อา่ นเห็นด้วยได้ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ คณะ (2546 : 56-57) กล่าวถงึ ประโยชนข์ องการอ่าน สรุปไดด้ ังน้ี 1. ทำให้มีความรู้ในวิชาการด้านต่าง ๆ อาจเป็นความรทู้ วั่ ไป หรอื ความร้เู ฉพาะดา้ นก็ได้ 2. ทำให้รอบรู้ทันโลก ทันเหตกุ ารณ์ ซ่งึ นอกจากจะทำให้ร้ทู ันข่าวสารบ้านเมืองและสภาพการณ์ตา่ ง ๆ ในสมัยสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศแล้ว ยังจะได้ทราบข่าวกีฬา ข่าวบันเทิง บทความวิจารณ์ ตลอดจนการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกด้วย ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ในการปรับความเป็นอยู่ให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพสังคมของตนในขณะน้ัน 3. ทำให้ค้นหาคำตอบที่ต้องการได้ การอ่านหนังสือจะช่วยตอบคำถามท่ีเราข้องใจ สงสัยต้องการรู้ได้ เช่น อา่ นพจนานกุ รม เพ่อื หาความหมายของคำ อ่านหนังสอื กฎหมาย เพื่อตอ้ งการรขู้ ้อปฏิบัติ เปน็ ต้น 4. ทำให้เราเกิดความเพลิดเพลิน การอ่านหนังสือท่ีมีเนื้อหาดี น่าอ่าน น่าสนใจ ย่อมทำให้ผู้อ่านมี ความสุขความเพลิดเพลนิ เกิดอารมณ์คลอ้ งตามอารมณ์ของเร่ืองนั้น ๆ ผ่อนคลายความตึงเครียด ได้ข้อคิด และ ยงั เปน็ การยกระดับจติ ใจผู้อา่ นใหส้ ูงขน้ึ ได้อีกด้วย 5. ทำให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน ผู้ที่อ่านหนังสือสม่ำเสมอ ย่อมเกิดความชำนาญในการ อ่าน สามารถอ่านได้เร็ว เข้าใจเร่ืองราวท่ีอ่านได้ง่าย จังใจความได้ถูกต้อง เข้าใจประเด็นสำคัญของเร่ือง และ สามารถประเมนิ คณุ ค่าเรอ่ื งที่อา่ นได้อย่างสมเหตุสมผล

18 6. ทำให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตท่ีสมบูรณ์ ผู้ท่ีอ่านมากย่อมรู้เรื่องราวต่าง ๆ มาก เกิดความรู้ ความคิดที่หลากหลายกว้างไกล สามารถนำมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชีวิต มีคุณค่าและมี ระเบยี บแบบแผนท่ดี ยี ิง่ ขึ้น 7. ทำให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ ผู้อ่านมากย่อมรอบรู้มาก มีข้อมูลต่าง ๆ สั่งสมไว้มาก เม่ือสนทนากับผู้อื่นย่อมมีความมั่นใจไม่ขัดเขิน เพราะมีภูมิรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้คำแนะนำ แก่ผอู้ นื่ ในทางท่กี ่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ผู้รอบรูจ้ ึงมักไดร้ ับการยอมรบั และเปน็ ท่เี ชื่อถือจากผอู้ น่ื การอ่านหนังสือจะให้ประโยชน์มากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับการ “อ่านเป็น” ซึ่งจะต้องฝึก การอ่าน อย่างสม่ำเสมอจนเกิดความเข้าใจ ความซาบซึ้ง รู้จักวิเคราะห์ และเกิดความคิดจากการอ่านหนังสือ ซึ่งถือว่า สำคัญมาก ดังท่ี รัญจวน อินทรกำแหง (2518 : 36-37) กล่าวไว้ในวรรณกรรมวิจารณ์ ตอที่ 2 ว่า “...การ อ่านหนังสือที่จะได้รับ “ค่า” ของหนังสือจริง ๆ นั้น ต้องอ่านให้ได้ “ความคิด” ท่ีแฝงอยู่เบื้องหลังตัวหนังสือ น้นั มฉิ ะนนั้ แล้ว การอา่ นนัน้ ก็หาความหมายอันใดไม่ และกเ็ ป็นท่ีน่าเสียดายเวลาอันมีค่าที่จะเสยี ไปในการอ่าน น้ัน...” การอ่านที่จะให้ผู้เรียนเกิด “ความคิด” จากหนังสือที่อ่านก็โดยการท่ีครูหรือผู้ปกครองช่วยชี้แนะ หรือ ช่วยเลือกหนังสืออ่านให้เหมาะสมกับวัย เช่น เน้ือเร่ืองเป็นเร่ืองราวท่ีอยู่ในความสนใจของเด็กตาวัยของเขา สำนวนภาษาที่เด็กในวยั น้ัน ๆ จะเข้าใจได้ ตวั ละครเป็นบุคคลท่ีอยู่ในวัยเดียวกันหรอื ใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นเช่นน้ัน เด็กจะเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ยิ่งอ่าน ยิ่งสนุก เปล้ือง ณ นคร (2538 : 16) ได้ยกคำของ จางจ้ือ นกั ปราชญ์โบราณผู้มีช่ือเสียงของจีน มากล่าวไว้ใน “ศิลปะแห่งการอา่ น” ว่า “ถ้าในโลกน้ีไม่มหี นังสอื ก็แล้วไป เถดิ แต่เมอ่ื หนังสอื มีอยใู่ นโลก เราก็ควรจะอ่าน” จุดมุง่ หมายในการอ่าน การอ่าน มีจุดประสงค์ที่กำหนดขึ้นตามความต้องการของผู้อ่าน ซ่ึงอาจต้องการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพ่ือ ประโยชน์เชิงวิชาการ หรืออ่านเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การอ่านของแต่ละคนมีจุดมุ่งหมายแตกต่างกันออกไป อาจจำแนกได้กวา้ ง ๆ ดังนี้ 1. อา่ นเพ่อื หาความรู้หรอื เพ่มิ พูนความรู้ เปน็ ความรจู้ ากหนงั สือประเภทตำราทางวิชาการ สารคดีทาง วชิ าการ การวิจัยประเภทต่าง ๆ หรือการอ่านผ่านส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ การอ่านจากหนังสือท่ีมีสาระเดียวกัน ควร อ่านจากผู้เขียนหลาย ๆ คน เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้อง แม่นยำของเน้ือหา ผู้อ่านจะมีความรอบรู้ ได้ แนวคดิ ท่ีหลากหลาย การอา่ นเพอื่ ศึกษาหาความรนู้ ้ี เป็นการอ่านเพ่ือส่งั สมความรู้และประสบการของผู้อา่ น 2. อ่านเพื่อให้ทราบข่าวสาร ความคิด เป็นการอ่านเพื่อให้ทราบข่าวสารความคิด เข้าใจแนวคิด ซึ่ง ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภทบทวิจารณ์ข่าว รายงานการประชุม ผู้อ่านไม่เคยเลือกอ่านหนังสือที่สอดคล้องกับ ความคิดและความชอบของตน ควรเลอื กอา่ นอย่างหลากหลาย จะทำให้มีมมุ มอที่กว้างข้ึน จะช่วยให้เรามีเหตผุ ล อน่ื ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วเิ คราะห์ ไดล้ ุม่ ลกึ มากขน้ึ 3. อ่านเพ่ือความเพลิดเพลิน หรอื เพื่อความบันเทิง ความชืน่ ชม การอ่านเป็นอาหารใจ ใหเ้ กดิ ความ บันเทิงใจ อ่านแล้วเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ที่ได้จากการอ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดี เช่น นวนิยาย

19 เรื่องสั้น เรื่องแปล การ์ตูน หรืออ่านบทละคร อ่านบทกวีนิพนธ์ บทเพลง บทขำขัน เป็นต้น นอกจากจะ เพลดิ เพลนิ ไปกับภาษาและเรื่องราวทสี่ นกุ สนานแล้ว ยังได้ความรู้ และคติข้อคิดควบคู่ไปด้วย 4. อ่านเพ่ือพัฒนาวิจารณญาณและค่านิยม การอ่านเพอ่ื พัฒนาวิจารณญาณและค่านิยม จะเก่ียวขอ้ ง กับการพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนในระดับที่สูงข้ึน และมีการเพิ่มพูนมวลประสบการณ์ทางโลกและชีวิตที่ เจนจัดมากข้ึน นักเรียนจึงจะเข้าใจคติธรรมที่แทรกอยู่ในวรรณกรรมท่ีอ่าน ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่าง สมเหตุสมผล สามารถเลือกและประยุกต์ส่ิงท่ีมีคุณค่ามาพัฒนาตนเองให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ และ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า สามารถ รับใช้สังคมประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ตามกำลังสติปัญญาที่ เพ่มิ พูนข้ึน อันสบื เน่ืองมาจากนักเรียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สภาพแวดล้อมของชีวติ ในด้านที่เป็นสัจธรรมความ จรงิ สมบูรณ์ขน้ึ (กุสมุ า รักษมณี และคณะ, 2536 : 79) 5. การอ่านเพื่อกิจธุระหรือประโยชน์อื่น ๆ การอ่านเพื่อกิจธุระอ่ืน ๆ นอกเหนือจากจุดมุ่งหมายท่ี กล่าวมาแล้ว เป็นการอ่านเพื่อประโยชน์เฉพาะกิจ เช่น อ่านแบบฟอร์มชนิดต่าง ๆ อ่านหนังสือสัญญาเงินกู้ จำนอง และซ้ือขาย อ่านใบสมัครและระเบียบการ อ่านคำสง่ั และสญั ญาณบง่ บอกที่มคี วามหมายต่าง ๆ เป็นต้น เราถือว่าสารเหล่านี้จะมีแบบแผนและรายละเอียดเฉพาะกลุ่ม เฉพาะองค์การ หรือเฉพาะสังคม ซึ่งการ ติดต่อสื่อสารในโลกปัจจุบัน เราไม่อาจหลีกเลี่ยงการอ่านสิ่งเหล่านี้ได้เลย หากอ่านผิดพลาดหรือไม่เข้าใจ วตั ถปุ ระสงคท์ แี่ ท้จรงิ อาจก่อใหเ้ กิดความเสียหาย หรือเสียผลประโยชน์ของเราได้ นอกจากน้ี ยังมีผู้อ่านหลายท่านท่ีนิยมอ่านหนังสือเพื่อเสริมโลกทรรศน์ของตนเอง ให้ทันสมัยรู้ทัน เหตุการณ์ความเคล่ือนไหวในสังคม เช่น นักธุรกิจ จำเป็นต้องอ่านบทความหรือข่าวเศรษฐกิจจากหนังสือพิมพ์ วารสาร แ ละนติ ยสาร ท่ีเกี่ยวข้องกับงานของตนอยตู่ ลอดเวลา เพือ่ เพิม่ พูนประสิทธิภาพในการทำงาน และการ ตัดสินใจที่สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ต่าง ๆ บางท่านสนใจอ่านติดตามข่าวสารการเมอื ง การปกครอง หรือประวัติ บคุ คล และบทบาทของเขาท่ีกำลังดำเนินอยู่ในสงคม เช่น ผู้นำประเทศ ผู้นำความคดิ ทางสังคม เพื่อประโยชน์ ในการสมาคมกับผู้อ่ืน จะช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของเขาให้น่านิยมศรัทธามากย่ิงขึ้น เพราะเป็นผู้ที่มีโลกทรรศน์ ดกี ว่าผู้ท่ไี ม่สนใจอา่ น หรือตดิ ตามเหตกุ ารณ์เหลา่ น้เี ลย กล่าวโดยสรุป จุดประสงค์ของการอ่านแต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามความต้องการ ผู้อ่านจะกำหนด จุดประสงค์ของการอ่าน เพื่อตอบสนองความต้องการโดยเฉพาะของตนเอง การอ่าน แต่ละคร้ังย่อม กอ่ ให้เกิดประโยชนแ์ ก่ผู้อ่านทั้งสน้ิ ข้อควรคำนึงสำหรับผู้ที่อยู่ในวยั เรียน คอื ควรใช้วิจารณญาณในการเลือกเร่ือง ท่ีจะอ่าน และรู้จักแยกแยะ นำสิ่งที่เป็นประโยชน์จากการอ่านไปใช้ในการประอบกิจกรมท่ีเก่ยี วข้องกับการดำเนิน ชีวิตในแต่ละด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดเป็นปัจจัยสำคัญที่จะเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ของการอ่านให้บรรลุ จุดม่งุ หมายแตล่ ะขอ้ ตามทีก่ ลา่ วมา

20 ประเภทของการอา่ น การอ่านสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับวา่ จะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา ถ้า หากพจิ ารณาการอ่านโดยดจู ากจุดมงุ่ หมายของผู้อ่านเป็นหลัก เราอาจจะแบ่งได้ ดังนี้ (อัมพร ทองใบ, 2540 : 18-19) 1. อ่านผ่าน ๆ หรืออ่านเอาเรื่อง ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้อ่าน เช่น การพลิกตำราบางเล่ม เพ่ือดูว่าเนื้อหาครอบคลุมเรื่องที่จะค้นคว้าหรือไม่ อาจจะอ่านเพียงหัวเรื่องหรืออ่านหน้าสารบัญ หรืออ่านหน้า ผนวกทา้ ยเล่ม เปน็ ตน้ 2. การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความและเพื่อทำความเขา้ ใจ เป็นการอา่ นเพื่อแสวงหาความรู้ ความบันเทิงให้แก่ตนเอง ผู้อ่านจะต้องมีความรู้เก่ียวกับคำศัพท์ และสามารถเข้าใจเรื่องราวที่ได้อ่านโดยตลอด การอ่านหนังสือเม่ืออ่านไปโดยตลอดก็พอจะเกบ็ ใจความได้ว่า เร่ืองท่ีอ่านมีเน้ือหาเร่ืองราวว่าอย่างไร หากมีบาง ตอนท่ีอาจจะไม่เข้าใจ เพราะเรอื่ งที่อา่ นนน้ั ยากเกินความร้ขู องผู้อ่านทจี่ ะทำความเข้าใจได้ ผอู้ ่านควรจะพยายาม เอาชนะดว้ ยการอ่านอยา่ งมสี มาธิ และรับร้คู วามหมายทกุ ถอ้ ยคำจนเกิดความเข้าใจเนอื้ เร่ืองไดต้ ลอด สอางค์ ดำเนนิ สวัสด์ิ และคณะ (2546 : 88) แบ่งลักษณะการอา่ นเปน็ 5 ชนดิ คอื 1. การอ่านอย่างคร่าว ๆ เป็นการอ่านเพื่อสำรวจว่า ควรจะอ่านหนังสือเล่มนี้อย่างละเอียดต่อไป หรอื ไม่ โดยอา่ นเพยี งชื่อเร่อื ง หัวขอ้ เรื่อง ชื่อผแู้ ตง่ คำนำ หรือการอา่ นเนอ้ื หาบางตอนโดยรวดเรว็ 2. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็นการอ่านเพื่อเก็บแนวคิดท่ีต้องการ และอ่านข้ามตอนที่ไม่ ต้องการ 3. การอ่านเพ่ือสำรวจเน้ือหา เป็นการอ่านเพ่ือทำเป็นบันทึกย่อ หรือทบทวนเพ่ือสรุปสาระสำคัญของ เรื่องทั้งหมด 4. การอา่ นเพื่อศกึ ษาอย่างลึกซ้งึ เป็นการอ่านละเอยี ด เพอื่ ใหเ้ ข้าใจเรอ่ื งที่อ่านอย่างชดั เจน 5. การอ่านเพื่อวิเคราะห์และวิจารณ์ เป็นการอ่านละเอียด เพ่ือวิเคราะห์เน้ือหาว่ามีความหมายและมี ความสำคญั อย่างไร รวมทัง้ แสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผลเกีย่ วกับเรอ่ื งที่อ่าน การอ่านแต่ละชนิดมีจุดประสงค์ต่างกัน และใช้เน้ือหาต่างกัน ผู้อ่านควรพิจารณาว่า ใช้การอ่านใน ลกั ษณะใดบ้างในชีวิตประจำวนั และพิจารณาวา่ ตนมปี ระสิทธภิ าพในการอ่านหรือไมโ่ ดยใช้เกณฑ์ขัน้ ต้น ดังนี้ 1. เข้าใจรายละเอยี ดของเนอ้ื เร่ือง 2. จับใจความสำคัญของเร่อื งได้ 3. สรุปความคดิ หลักของเร่อื งได้ 4. ลำดบั ความคดิ ในเร่ืองได้ 5. คาดคะเนเหตกุ ารณ์ที่ไม่ปรากฏในเร่อื ง หรือเหตุการณ์ที่จะเกดิ ขึ้นต่อไปได้

21 นอกจากการเบ่งประเภทของการอ่าน ตามเกณฑ์ที่กล่าวมาแล้วน้ัน ยังมีการแบ่งประเภทที่แตกต่างกัน ไปอกี ดังเชน่ สุนนั ทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2551 : 17 : 20) ได้แบ่งประเภทของการอา่ นไว้ 4 ประเภท แต่ละประเภทมี จุดมุง่ หมายของการใชท้ แ่ี ตกต่างกัน ดังน้ี 1. การอ่านเคร่า ๆ จุดประสงค์ของการอ่านประเภทนี้ เพ่ือค้นหาเอกสารอ้างอิงสำหรับใช้ในการ คน้ คว้า หรือการหาส่อใหม่ ๆ ในห้องสมุด นอกจากน้นั ยังเปน็ การค้นหาคำสำคัญทเ่ี กย่ี วข้องกับเรือ่ งใหม่ ๆ เพ่ือ รวบรวมความคิดของผู้เขียน อีกท้ังยังใช้เพ่ือการอ่านสันทนาการ ได้แก่ การอ่านวารสารบันเทิง การอ่าน เรอ่ื งราวต่าง ๆ ที่ให้ความสนกุ สนานเพลิดเพลิน วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะใช้การเคล่ือนสายตาอย่างรวดเร็ว จากบรรทัดบนสุดสู่บรรทัดล่าง โดยข้ามคำ กล่มุ คำ และประโยคทไ่ี ม่สำคัญ เพ่ือตรวจดูเฉพาะหวั ขอ้ หรอื คำสำคัญ หรือคำตอบตามท่ตี ้องการ โดยสังเกตคำ ทีข่ ีดเส้นใต้ หรอื คำทเ่ี ป็นตวั หนา 2. การอ่านเร็ว จุดประสงค์ของการอ่านเร็ว เพื่อเป็นการทบทวนสารที่อ่าน อีกท้ังยังใช้เพื่อการค้นหา แนวคิดหลักและแนวคิดย่อย เป็นการนำข้อมูลจากสารท่ีอ่านไปใช้ประโยชน์ การอ่านวิธีน้ียังใช้เพ่ืออ่านสารที่ทำ ใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน เชน่ การอ่านนิทาน นยิ าย นวนิยาย และสื่อการอา่ นอ่นื ๆ ท่ชี ่วยใหผ้ อู้ ่านได้รบั การผ่อน คลายทางจิตใจ วธิ ีการอ่าน ผู้อ่านจะเคล่ือนสายตาอย่างรวดเร็ว จากซ้ายไปขวา โดยไมเ่ คลื่อนใบหน้าเปน็ การอ่านที่ใช้ การเคลื่อนตาอย่างรวดเร็ว โดยการรับรู้เป็นคำ เป็นกลุ่มคำ หรือประโยคเป็นการอ่านท่ีเร่งรีบ เพ่ือความเข้าใจ เรอ่ื งราวโดยใชเ้ วลาทีจ่ ำกดั 3. การอ่านปกติ จุดประสงค์ของการอ่านปกติ เพื่อค้นหาข้อมูลและตอบคำถามอาจใช้ในการทำ แบบฝึกหัด หรือการทำรายงาน อ่านแล้วจดบันทึกเพ่ือสรุปเนื้อเรื่องแต่ละตอน เป็นการอ่านเพื่อนำข้อมูลมาไข ปริศนา อ่านเพ่ือคำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดหลักกับแนวคิดย่อย การอ่านปกติมักจะใช้กับการ อ่านสารท่ีมีความยากง่ายอยู่ในระดับปานกลาง ซ่ึงหมายความว่า ผู้อ่านรู้จักคำที่อยู่ในสารมากกว่าร้อยละ 70 และอ่านได้ 250 คำ/นาที ตอบคำถามได้ถูกต้องร้อยละ 60 ขึ้นไป วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตาจากซ้ายไปขวา โดยมิได้เร่งรีบ เพื่อรับรู้คำกลุ่มคำ ประโยค และ เรื่องทั้งหมด การอ่านปกติเป็นการอ่านโดยมิได้เร่งรัด แต่ต้องการความเข้าใจในเรื่องราวโดยมิได้พลาดประเด็น สำคัญ และตอ้ งการให้บรรลผุ ลตามจุดประสงค์มากกวา่ ทจ่ี ะเน้นในเร่ืองของเวลา 4. การอ่านละเอียด จุดประสงค์ของการอ่านาเพื่อตรวจรายละเอียดของเร่ืองในทุกประเด็น โดยไม่ พลาดความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยค นอกจากนนั้ ยงั เป็นการประเมนิ ค่าเร่ืองทอี่ ่านเรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ แ ละติดตามทิศทางของเร่ือง เพ่ือมิให้พลาดประเด็นสำคัญ สรุปเร่ืองด้วยภาษาของตนเอง รวมทั้งวิเคราะห์การ นำเสนอผลงานของผู้เขียนได้อย่างถูกต้อง การอ่านวิธีนี้ยังใช้ประโยชน์ในการอ่านสารประเภทวรรณกรรมและ วรรณคดีอย่างละเอียด เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและเกิดความซาบซึ้งในการใช้ภาษา การวิเคราะห์รูปแบบ ตลอดจนลกั ษณะของการใชภ้ าษา คุณคา่ ที่ไดร้ ับทางภาษาจำเปน็ ต้องใชก้ ารอ่านอยา่ งละเอียดเชน่ กัน

22 วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคล่ือนสายตา ผ่านทุกตัวอักษรของคำ กลุ่มคำ และประโยคทำความเข้าใจ ความหมายทั้งทางตรงและทางนัย เพื่อให้ได้ข้อมูลตรงตามจุดประสงค์ท่ีต้องการ สารที่ใช้วิธีอ่านประเภทนี้ มักจะเป็นสารวิชาการ ใช้ภาษาท่ียากและมีเร่ืองราวซับซ้อน ซ่ึงต้องใช้เวลาในการอ่านมากกว่าการอ่านประเภท อน่ื ๆ เพราะต้องการความละเอียดรอบคอบ กล่าวโดยสรุป การอ่านเป็นการรับรู้ความหมายของสาร การอ่านมีความสำคัญเพราะเป็นเคร่ืองมือ แสวงหาความรู้และความบันเทิง ผู้อ่านแต่ละคนจะมีจุดมุ่งหมายในการอ่านไม่เหมือนกัน บางคนชอบอ่านเพื่อ แสวงหาความรู้ บางคนชอบอ่านเพื่อแสวงหาความบันเทิง และบางคนอ่านเพื่อนำความรู้จากการอ่านไปใช้เพื่อ ประโยชน์อื่น ๆ การแบ่งประเภทของการอ่าน สามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับวา่ จะใช้อะไร เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา อาจแบง่ โดยพจิ ารณาจดุ มุ่งหมายเป็นหลกั หรอื อาจแบง่ โดยพจิ ารณาจากลักษณะการ อา่ นเป็นหลัก คือ การอ่านในใจ แลการอ่านออกเสียง โดยจะมีวธิ ีการอ่านแตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็ตามการ อ่านจะบรรลุจุดประสงค์ได้ ผู้อ่านควรมีจุดหมายในการอ่าน และเข้าวิธีท่ีจะอ่าน เพ่ือให้ได้ประโยชน์สมตาม ความมุง่ หมาย กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทำต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสนใจท่ีจะอ่าน เห็น ความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินท่ีจะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งน้ี การ อ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งในชีวิตประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเรา ได้เป็นอย่างดีย่ิง เมื่อคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความ เพลิดเพลิน การท่ีเด็กจะเกดิ ทักษะการอ่านหนังสือได้น้ันจำเป็นจะตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้ง ครอบครัว โรงเรียนและชมุ ชน ในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านให้แก่เด็ก

23 กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นคือ การกระตนุ้ ด้วยวธิ ีการต่างๆ เพ่อื ให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระทั่งมนี ิสัยรกั การอา่ น และได้พฒั นาการอา่ นจนกระทัง่ มคี วามสามารถในการอ่าน นำประโยชนจ์ าการอ่านไปใชไ้ ด้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ของการอา่ นทุกประเภท (ฉววี รรณ คหู าภนิ ันทน์, 2542 : 93) กรมวิชาการ (อ้างถึงใน ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์, 2542 : 93) ใหค้ วามหมายว่า กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน คือ การกระทำเพื่อ 1. เร้าใจบคุ คลหรือบุคคลท่ีเป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนงั สือท่ีมี คุณภาพ 2. เพื่อแนะนำชกั ชวนใหเ้ กดิ ความพยายามทจ่ี ะอ่านใหแ้ ตกฉาน สามารถนำความรจู้ ากหนงั สือไปใช้ ประโยชน์ เกดิ ความเข้าใจในเรือ่ งต่างๆ ดีข้นึ 3. เพอ่ื กระตุ้น แนะนำให้อยากรู้ อยากอ่านหนงั สือหลายอยา่ ง เปิดความคดิ ใหก้ วา้ ง ให้มกี ารอ่านต่อเนื่อง จนเป็นนสิ ยั พัฒนาการอ่านจนถึงขน้ั ท่ีสามารถวเิ คราะหเ์ ร่ืองท่ีอ่านได้ 4. เพือ่ สรา้ งบรรยากาศท่ีจูงใจให้อ่าน ดงั น้ัน สามารถกล่าวได้ว่า กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึงกิจกรรมตา่ งๆท่หี ้องสมดุ จัด ข้นึ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ เกดิ การอา่ นอย่างต่อเน่อื งจนกระทั่งเปน็ นสิ ยั รักการอา่ น เช่น การเลา่ นิทาน การเชิดหุน่ การแสดงละคร การ แนะนำหนังสือทีน่ ่าสนใจ เป็นตน้ ลักษณะของกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่ดี 1. เร้าความสนใจ เชน่ การจัดนิทรรศการท่ีดึงดคู วามสนใจ การตอบปัญหา มีรางวลั ต่างๆ การใช้ส่ือ เทคโนโลยีใหม่ๆเขา้ มาช่วย 2. จงู ใจให้อยากอา่ นและกระต้นุ ให้อยากอา่ น เชน่ ข่าวท่ีกำลงั เปน็ ที่สนใจ หรอื หวั ขอ้ เรื่องทีเ่ ปน็ ทสี่ นใจ เชน่ การวิจัย การเตรียมตวั สอบ การสมัครงาน เป็นตน้ 3. ไม่ใช้เวลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกบั เพศ ระดับอายุ การศึกษา

24 4. เปน็ กิจกรรมที่มงุ่ ไปสู่หนงั สือ วสั ดกุ ารอ่าน โดยการนำหนงั สือหรือวัสดุการอ่านมาแสดงทกุ ครั้ง 5. ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน แฝงการเรียนรตู้ ามอัธยาศัยจากการร่วมกจิ กรรมดว้ ย ความหมายและความสำคญั ของหอ้ งสมดุ หอ้ งสมดุ ประชาชน หมายถึง ห้องสมุดท่ีตั้งขึน้ เพือ่ ใหบ้ ริการแก่ประชาชน โดยไม่จำกัด เพศ วยั เชื้อชาติ ศาสนา และพ้ืนความรู้ ใหบ้ ริการสารสนเทศครบทุกหมวดวิชา และอาจมกี ารบรกิ ารบางเร่อื งเปน็ พิเศษ ตามความต้องการของท้องถน่ิ และจะจัดให้บริการแก่ประชาชนโดยไมค่ ดิ มูลค่า บทบาทหนา้ ทขี่ องห้องสมดุ ประชาชน มี 3 ประเภท คือ 1. หน้าทีท่ างการศกึ ษา ห้องสมดุ ประชาชนเปน็ แหล่งให้การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น มีหนา้ ท่ใี ห้ การศึกษาแกป่ ระชาชนทว่ั ไป ทกุ ระดับการศึกษา 2. หน้าที่ทางวฒั นธรรม ห้องสมดุ ปะชาชนเป็นแหลง่ สะสมมรดกทางปญั ญาของมนุษย์ ท่ีถา่ ยทอดเปน็ วัฒนธรรมท้องถิ่น ท่ีห้องสมุดต้ังอยู่ 3. หน้าทท่ี างสังคม หอ้ งสมุดประชาชนเปน็ สถาบันทางสงั คมไดร้ บั เงินอุดหนนุ จากรัฐบาลและท้องถิน่ มา ดำเนนิ กจิ การ จึงมหี นา้ ที่ แสวงหาข่าวสารขอ้ มลู ทม่ี ปี ระโยชน์มาบริการประชาชน ห้องสมดุ ประชาชนในประเทศไทยมีหน่วยงานต่างๆรับผิดชอบ ดงั น้ี 1. หอ้ งสมุดประชาชนสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สงั กดั กรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ หอ้ งสมดุ ประชาชนระดบั จงั หวัด และระดบั อำเภอ นอกจากน้ีกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นยังได้จดั ที่อา่ นหนังสือประจำ หมบู่ ้าน ทอ่ี ่านหนังสือในวดั และหอ้ งสมดุ เคล่ือนที่ 2. ห้องสมดุ ประชาชน สงั กัดกรงุ เทพมหานคร มที ้งั หมด 12 แหง่ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุดประชาชนสวนลุมพินี ห้องสมดุ ประชาชนซอยพระนาง ห้องสมุดประชาชนปทุมวัน ห้องสมุดประชาชนอนงคาราม ห้องสมดุ ประชาชนวัด สังขก์ ระจาย ห้องสมดุ ประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทยี น ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษฐาน วรวหิ ารตลิ่งชัน หอ้ งสมุดประชาชนประเวช ห้องสมดุ ประชาชนวดั ลาดปลาเคา้ ห้องสมดุ ประชาชนภาษีเจริญ หอ้ งสมุดประชาชนวัดราชโอรส 3. ห้องสมดุ ประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นหอ้ งสมดุ ท่ีธนาคารพาณชิ ย์เปิดข้นึ เพื่อบรกิ ารสังคม และ เพ่อื ประชาสัมพันธ์กจิ การของธนาคารใหเ้ ปน็ ท่รี ้จู กั แพรห่ ลาย เช่น ห้องสมุดประชาชนของธนาคารกรุงเทพจำกัด 4. ห้องสมดุ ประชาชนของรฐั บาลตา่ งประเทศ โดยได้รับการสนับสนนุ จากรัฐบาลตา่ งประเทศ เช่น ห้องสมดุ บริตชิ เคาน์ซลิ ของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร ทีต่ ้ังอยู่บรเิ วณสยามสแควร์ กรุงเทพมหานคร 5. หอ้ งสมดุ ประชาชนเสียคา่ บำรงุ ห้องสมดุ ประชาชนประเภทน้ีใหบ้ ริการเฉพาะสมาชิกเทา่ นั้น โดยผทู้ ่ี เปน็ สมาชิกจะต้องเสียค่าบำรุงตามระเบยี บของหอ้ งสมดุ ได้แก่ หอ้ งสมุดนลี สันเฮย์ ตง้ั อยูท่ ี่ถนนสรุ วิ งศ์ กรงุ เทพมหานคร

25 บทบาทและความสำคัญของห้องสมสุดต่อสังคมในด้านตา่ ง ๆ 1. เปน็ สถานทเี่ พื่อสงวนรกั ษาและถ่ายทอดวฒั นธรรม ห้องสมดุ เปน็ แหล่งสะสมววิ ัฒนาการของมนุษย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าไม่มีแหล่งคน้ คว้าประเภทหอ้ งสมดุ เปน็ ศนู ย์กลางแลว้ ความรู้ต่างๆ อาจสูญหายหรือ กระจดั กระจายไปตามทีต่ ่างๆ ยากแก่คนรนุ่ หลังจะตดิ ตาม 2. เปน็ สถานที่เพื่อการศึกษา ค้นควา้ วจิ ัย หอ้ งสมุดทำหน้าที่ใหก้ ารศึกษาแกป่ ระชาชนทุกรปู แบบ ทัง้ ใน และนอกระบบการศึกษา เริ่มจากการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานถึงระดับสงู 3. เป็นสถานที่สร้างเสรมิ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละความจรรโลงใจ ห้องสมุดมีหน้าที่รวบรวมและเลอื กสรร ทรพั ยากร สารสนเทศ เพื่อบริการแกผ่ ้ใู ช้ ซง่ึ เป็นสง่ิ ทีม่ คี ุณค่าผใู้ ชไ้ ดค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและสังคมต่อไป 4. เปน็ สถานท่ีปลูกฝงั นสิ ัยรักการอา่ นและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ห้องสมุดจะชว่ ยให้บคุ คลสนใจในการอ่าน และรักการอา่ นจนเปน็ นิสยั 5. เปน็ สถานที่สง่ เสริมการาใชเ้ วลาวา่ งในเปน็ ประโยชน์ หอ้ งสมดุ เปน็ สถานทร่ี วบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพ่ือบริการแกผ่ ้ใู ช้ตามความสนใจและอ่านเพื่อฆ่าเวลา อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรืออา่ นเพ่ือ สาระบนั เทงิ ได้ทั้งสนิ้ นบั วา่ เป็นการพักผ่อนอย่างมีความหมายและให้ประโยชน์ 6. เปน็ สถานท่สี ่งเสรมิ ความเปน็ ประชาธิปไตย หอ้ งสมุดเป็นสาธารณะสมบัติ มสี ่วนส่งเสริมใหบ้ ุคคลรจู้ ัก สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องพลเมือง กล่าวคอื เมื่อมสี ทิ ธิในการใช้ก็ย่อมมสี ิทธิในการบำรงุ รักษาร่วมกนั และให้ความรว่ มมอื กบั หอ้ งสมุดดว้ ยการปฏิบัติตามระเบยี บ แบบแผนของห้องสมุด ความหมายของส่ือส่ิงพมิ พ์ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานไดใ้ ห้ความหมายคาทเี่ ก่ียวกบั “สอื่ สงิ่ พิมพ์”ไวว้ า่ “สิง่ พมิ พ์ หมายถงึ สมุด แผน่ กระดาษ หรือวตั ถุใด ๆ ทพ่ี มิ พข์ น้ึ รวมตลอดท้งั บทเพลง แผนท่ี แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบาย สี ใบประกาศ แผน่ เสียง หรือสง่ิ อ่ืนใดอนั มีลกั ษณะเช่นเดียวกนั ” “สือ่ หมายถึง ก. ทาการติดตอ่ ให้ถึงกนั ชักนาให้ รจู้ ักกัน น. ผู้หรอื สิง่ ที่ทาการตดิ ตอ่ ให้ถึงกนั หรือชักนาใหร้ ู้จักกนั ” “พิมพ์ หมายถงึ ก. ถ่ายแบบ, ใช้เครื่องจักรกด ตวั หนงั สือหรือภาพ เป็นตน้ ใหต้ ดิ บนวัตถุ เช่น แผน่ กระดาษ ผา้ ทาให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดย การกดหรือการใช้พิมพห์ ิน เครื่องกล วธิ เี คมี หรอื วธิ ีอื่นใด อนั อาจให้เกิดเป็นสงิ่ พมิ พ์ข้ึนหลายสาเนา น. รปู , รูปร่าง, รา่ งกาย, แบบ” ดงั น้ัน “สอื่ ส่งิ พิมพ์” จึงมีความหมายวา่ “สิ่งท่พี มิ พ์ขน้ึ ไมว่ ่าจะเปน็ แผน่ กระดาษหรอื วตั ถุ ใด ๆ ด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ อนั เกิดเปน็ ช้นิ งานทีม่ ลี กั ษณะเหมือน ต้นฉบบั ขนึ้ หลายสาเนาในปริมาณมากเพ่ือเป็นสง่ิ ที่ ทาการตดิ ต่อ หรือชักนาให้บุคคลอนื่ ได้เห็นหรือทราบ ข้อความตา่ ง ๆ”

26 สิ่งพิมพ์เพ่ือการศกึ ษา หมายถึง ส่งิ ท่ีพิมพข์ นึ้ ในรูปแบบต่างๆ ทั้งหนงั สือ ตารา เอกสาร วารสารตา่ งๆ ที่ ให้ความรู้ เนอ้ื หาสาระทมี่ ปี ระโยชน์ เชน่ หนังสือเรียนภาษาไทย ป. 6 หรืออาจเปน็ ชดุ ภาพประกอบการศึกษา เช่น ภาพประกอบการศึกษาชดุ อาหารไทย เปน็ ต้น และสามารถนามาใชใ้ นการศึกษาได้ ความเป็นมา ส่ิงพิมพ์ถือได้ว่าเป็นส่ิงที่ความสำคัญย่ิงควบคู่มากับการพัฒนาการของมนุษยชาติ และจัดเป็นสื่อมวลชน ประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญมาตลอดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในการถ่ายทอดความรู้วิชาการ และเพ่ือการติดต่อ สื่อสารสาหรับมนุษยชาติ ดังคำจำกัดความของพจนี พลสิทธ์ิ (2536 : 3) สรุปความเป็นมาและความสาคัญของ สิ่งพิมพ์ ว่า “สิ่งพิมพ์” นับเป็นวัสดุที่แสดงถึงพัฒนา การความเจริญก้าวหน้าทางด้านสติปัญญา ของมนุษย์ ความคิด จินตนาการ เจตคติ ความฝัน ชวี ิต วัฒนธรรม สงั คม เหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ลายุคสมัย สามารถเก็บรักษาสืบทอดจาดชนรุ่นหน่ึงไปสู่ชนรุ่นหลัง ความคิดในเร่ืองการพิมพ์นี้นอกเหนือจาก เพ่ือเป็น เครื่องมือในการบันทึกความคิด จินตนาการ ความรู้ และเหตกุ ารณ์ต่างๆ แล้วยังเป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าชนชาติ ต่าง ๆ ในโลกนล้ี ้วนมคี วามพยายามทีจ่ ะพัฒนาความคดิ ของตนให้เจริญก้าวหน้าทนั สมัยอย่างตอ่ เนื่อง ความคิดใน เร่อื งการพิมพ์ท่ีมีจุดประสงค์เรม่ิ แรกก็คงเพ่ือให้มีการแพร่หลายเรื่องความคิด ความรู้ ไปสู่ชนรนุ่ หลัง และเพ่ือให้มี หลาย ๆ สาเนาจะได้เก็บรักษาให้คงอยู่ได้นานปีนั้น ในยุคปัจจุบันชนรุ่นหลังได้สานต่อความคิดเรื่องการพิมพ์ จนกระท่ังกลายเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัย และซับซ้อน สามารถผลิตส่ิงพิมพ์ได้หลากหลายชนิดตอบสนอง วัตถุประสงค์ของมนษุ ยชาติได้กว้างขวางนอกเหนือจากสือ่ ส่งิ พิมพ์จะเปน็ ส่ือมวลชนทม่ี คี วามเกี่ยวกันกับมนุษยชาติ มานานนับพัน ๆ ปี และมคี วามเก่าแก่กว่าสอ่ื มวลชนประเภทอืน่ ไมว่ า่ จะเปน็ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือ อนิ เตอร์เน็ต ซึ่งเป็นสอ่ื ประเภทหนึ่งที่มีการใช้แพร่หลายไปทั่วโลกเช่นในปัจจุบันก็ตาม แต่ส่ือส่ิงพิมพ์ก็ยังเป็นสอื่ ที่ มีการใช้อย่างแพร่หลายเป็นท่ีนิยมของทุกชนชาติมิได้ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นสื่อส่ิงพิมพ์ประเภทใดก็ตาม เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หรือส่ิงพิมพ์ประเภทต่าง ๆ สาเหตุสาคัญที่ทาให้สื่อสิ่งพิมพ์ยังเป็นท่ี นิยมแพร่หลายมาโดยตลอด ก็เพราะบุคคลสามารถเลอื กอ่านได้ตามความเหมาะสม อีกท้ังยงั ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

27 ประวตั ิการพิมพใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรงุ ศรีอยุธยา ได้เร่ิมแต่งและพิมพ์หนังสือคำสอนทางศาสนา คริสต์ ข้ึน และหลังจากน้ันหมอบรัดเลย์เข้ามาเมืองไทย และได้เริ่มด้านงานพิมพ์จนสนใจเป็นธุรกิจด้านการพิมพ์ ใน เมอื งไทย พ.ศ.2382 ไดพ้ มิ พเ์ อกสารทางราชการเปน็ ช้ินแรก คือ หมายประกาศห้ามสูบฝิ่น ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ น่ังเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเม่ือวันที่ 4 ก.ค.2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรก ข้ึน คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างส้ัน ออกเดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 มิ.ย. พ.ศ.2404 ได้พิมพ์หนังสือเล่มออกจำหน่ายโดยซื้อลิขสิทธจ์ิ าก หนังสือนริ าศลอนดอนของหม่อมราโชทัยและ ไดเ้ ร่ิมตน้ การซ้ือขาย ลขิ สิทธิหน่ายในเมอื งไทย หมอบรัดเลยไ์ ดถ้ ึงแก่กรรมในเมืองไทยกิจการ การพิมพข์ องไทยจึง เริ่มต้นเป็นของไทย หลังจากนั้นใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจึงนา เครื่องพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เป็นคร้ังแรก โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชนาเครื่องหล่อเรียงพิมพ์ Monotype มาใช้กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แหง่ ประเทศไทยไดจ้ ดั โรงพมิ พ์ธนบัตรในเมืองไทยขน้ึ ใช้เอง ประเภทของส่อื ส่ิงพิมพ์เพ่ือการศกึ ษา สื่อสง่ิ พมิ พ์ประเภทหนงั สือ 1. หนังสอื ตำรา เป็นส่ือที่พิมพ์เป็นเล่ม ประกอบด้วยเน้ือหาการเรียนการสอนโดยอธิบายเน้ือหาวิชาอย่างละเอียดชัดเจน อาจมีภาพถ่ายหรอื ภาพเขียนประกอบเพื่อเพิม่ ความสนใจของผู้เรียน หนังสือตารานี้อาจใช้เป็นสอื่ การเรียนในวิชา น้นั โดยตรงนอกเหนือจากการบรรยายในชั้นเรียน หรืออาจใช้เป็นหนงั สอื อา่ นประกอบหรือหนงั สืออ่านเพ่ิมเตมิ กไ็ ด้ การใชห้ นังสือในการเรียนการสอนนับว่ามีประโยชน์แก่ผ้เู รยี นท้ังในด้านการศึกษารายบุคคลเพ่อื ให้ผู้เรียนสามารถ ใชอ้ า่ นในเวลาทีต่ อ้ งการ และในด้านเศรษฐกจิ เนอ่ื งจากสามารถใชอ้ า่ นไดห้ ลายคนและเกบ็ ไวไ้ ดเ้ ปน็ เวลานาน 2. แบบฝึกปฏบิ ตั ิ เป็นสมุดหรือหนังสือที่พิมพ์ข้ึนโดยมีเน้ือหาเป็นแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพื่อเป็นการเพ่ิมทักษะหรือ ทดสอบผู้เรียน อาจมเี นื้อหาในรปู แบบคาถามใหเ้ ลอื กคาตอบ หรือเป็นต้นแบบเพ่ือให้ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบัติตามโดยอาจ มรี ูปประกอบเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ยย่ิงขนึ้ เช่น แบบคัดตวั อกั ษร ก ไก่ เปน็ ต้น 3. พจนานกุ รม เปน็ หนังสือที่มเี นอื้ หาเป็นคาศัพท์และคาอธิบายความหมายของคาศัพท์ แตล่ ะคานั้น โดยการเรียงตามลา ดับจากอักษรตัวแจกถึงตัวสุดท้ายของภาษาที่ต้องการจะอธิบาย คาศัพท์และคาอธิบายจะเป็นภาษาเดียวกันหรือ ต่างภาษาก็ได้ เช่น คาศัพท์ภาษาอังกฤษและมีคาอธิบายเป็นภาษาไทย หรือท้ังคาศัพท์และคาอธิบายต่างก็เป็น ภาษาองั กฤษ เป็นต้น 4. สารานุกรม เป็นหนังสือท่ีพมิ พ์ข้นึ เพอ่ื อธิบายหวั ข้อหรอื ขอ้ ความตา่ งๆ ตามลาดับของตัวอักษร เพอ่ื ให้ผู้อ่านสามารถ คน้ ควา้ เพ่ือความรู้และการอ้างองิ โดยมีรูปภาพ แผนภูมิ ฯลฯ ประกอบคาอธบิ ายใหช้ ดั เจนย่งิ ขึน้ 5. หนงั สือภาพและภาพชดุ ต่างๆ

28 เป็นหนังสือทป่ี ระกอบดว้ ยภาพต่างๆ ท่ีเปน็ เรือ่ งเดียวกันตลอดทั้งเลม่ สว่ นใหญ่จะเป็นหนังสือภาพที่พิมพ์ สอดสสี วยงาม เหมาะแก่การเก็บไว้ศึกษาหรือเปน็ ที่ระลกึ เชน่ หนงั สอื ภาพชดุ พระที่น่งั วิมานเมฆ หรือหนังสอื ภาพ ชดุ ทศั นียภาพของประเทศต่างๆ เป็นต้น 6. วทิ ยานิพนธ์และรายงานการวิจยั เปน็ สิง่ พมิ พ์ท่ีพมิ พอ์ อกมาจานวนไมม่ ากนักเพือ่ เผยแพรไ่ ปยงั ห้องสมดุ สถาบนั การศึกษาตา่ งๆ หรือ หน่วยงานท่เี กีย่ วข้องกบั งานวจิ ัยนัน้ เพื่อให้ผูส้ นใจใช้เป็นเอกสารคน้ ควา้ ข้อมลู หรือใช้ในการอ้างอิง 7. สิ่งพิมพ์ย่อส่วน (Microforms) หนังสือทเี่ ก่าหรอื ชารุดหรอื หนังสือพิมพท์ ่ีมอี ยู่เป็นจานวนมากย่อมไมเ่ ปน็ ที่สะดวกในการเกบ็ รกั ษาไว้ จึง จำเปน็ ต้องหาวิธีเกบ็ สง่ิ พมิ พเ์ หลา่ นไ้ี ว้โดยอาศัยลกั ษณะการย่อสว่ นลงให้เหลือเลก็ ท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อประหยัด เนื้อท่ีในการเกบ็ รักษาและสามารถทีจ่ ะนำมาใชไ้ ด้สะดวก จงึ มวี ธิ กี ารตา่ งๆ โดยอาศยั เน้ือทีใ่ นการเก็บรักษาและ สามารถทจี่ ะนามาใช้ไดส้ ะดวก จึงมีวธิ ีการต่างๆ โดยอาศัยเทคโนโลยใี นการทาสง่ิ พิมพย์ ่อส่วน ได้แก่ ก. ไมโครฟลิ ม์ (Microfilm) เป็นการถา่ ยหนงั สือแตล่ ะหน้าลงบนมว้ นฟิลม์ ท่ีมีความกวา้ งขนาด 16 หรือ 35 มิลลิเมตร โดยฟิล์ม 1 เฟรมจะ บรรจหุ นา้ หนังสอื ได้ 1-2 หน้าเรียงตดิ ตอ่ กนั ไป หนังสือเล่มหนึ่งจะสามารถบันทกึ ลงบนไมโครฟิล์มโดยใช้ความยาว ของฟลิ ม์ เพียง 2-3 ฟุต ตามปกติจะใช้ฟลิ ์ม 1 มว้ นตอ่ หนังสือ 1 เลม่ และบรรจมุ ้วนฟิลม์ ลงในกลอ่ งเล็กๆ กล่องละ ม้วนเมือ่ จะใชอ้ ่านกใ็ ส่ฟิล์มเข้าในเครื่องอา่ นที่มีจอภาพหรือจะอดั สาเนาหน้าใดก็ได้เช่นกัน ข. ไมโครฟชิ (Microfiche) เป็นแผน่ ฟิล์มแข็งขนาด 4 x 6 นิ้ว สามารถบันทึกข้อความจากหนงั สือโดยยอ่ เปน็ กรอบเล็กๆ หลายๆ กรอบ แผน่ ฟิล์มนจี้ ะมเี นือ้ ทมี่ ากพอที่จะบรรจหุ น้าหนงั สือท่ยี อ่ ขนาดแล้วไดห้ ลายร้อยหน้า ตัวอักษรที่ย่อจะมสี ขี าวบนพ้นื หน้าหนังสอื สดี า สามารถอา่ นไดโ้ ดยวางแผ่นฟิลม์ ลงบนเครื่องฉายที่ขยายภาพใหไ้ ปปรากฏบนจอภาพสาหรบั อ่าน และจะอา่ นหน้าใดกไ็ ด้เลอื่ นภาพไปมา และยังสามารถนาไปพมิ พ์บนกระดาษและอดั สาเนาไดด้ ้วย สอื่ ส่ิงพมิ พเ์ พ่ือเผยแพร่ข่าวสาร – หนังสือพมิ พ์ (Newspapers) เป็นสอื่ ส่งิ พิมพ์ทผี่ ลติ ข้ึนโดยนาเสนอเรื่องราว ข่าวสารภาพและความ คิดเหน็ ในลกั ษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ท่ีใช้วธิ ีการพับรวมกนั ซึ่งสอื่ สิ่งพิมพ์ชนิดน้ี ได้พิมพอ์ อกเผยแพรท่ ้งั ลกั ษณะ หนังสือพิมพ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน – วารสาร, นิตยสาร เปน็ สื่อสงิ่ พมิ พ์ทผ่ี ลติ ขึน้ โดยนาเสนอสาระ ข่าว ความบันเทงิ ทมี่ ีรปู แบบการนาเสนอ ทโ่ี ดดเดน่ สะดดุ ตา และสรา้ งความสนใจให้กบั ผู้อ่าน ทง้ั นี้การผลิตน้ัน มีการ กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่ แน่นอน ทง้ั ลกั ษณะวารสาร, นติ ยสารรายปกั ษ์ (15 วัน) และ รายเดอื น

29 – จลุ สาร เป็นสอื่ สง่ิ พมิ พ์ท่ีผลติ ข้ึนแบบไม่มุ่งหวังผลกาไร เปน็ แบบใหเ้ ปล่าโดยใหผ้ ู้อา่ นไดศ้ กึ ษาหาความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นคร้งั ๆ หรือลาดบั ตา่ ง ๆ ในวาระพิเศษ แสดงเน้ือหาเปน็ ข้อความทผี่ ู้อ่าน อ่านแลว้ เขา้ ใจงา่ ย สิง่ พมิ พ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ส่อื ส่ิงพิมพ์ทผี่ ลติ ข้ึนเพื่อใชง้ านในคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นตน้ บทบาทของสอ่ื ส่งิ พิมพ์เพ่ือการศึกษา บทบาทของสื่อส่งิ พิมพ์ในสถานศึกษา ส่ือสิ่งพิมพ์ถกู นาไปใชใ้ นสถานศกึ ษาโดยท่วั ไป ซึ่งทาให้ผเู้ รยี น ผู้สอนเขา้ ใจในเน้ือหามากข้ึน เชน่ หนงั สอื ตารา แบบเรยี น แบบฝึกหัดสามารถพัฒนาได้เปน็ เนอ้ื หาในระบบ เครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ได้ แนวทางการประยุกต์ใช้สอ่ื สิ่งพิมพเ์ พ่ือการเรียนการสอน หรือการศึกษา การใช้สิ่งพิมพ์เพอื่ การศึกษาในการเรยี น การสอนนนั้ จำแนกได้เป็น 3 วธิ ี คอื 1. ใช้เปน็ แหลง่ ข้อมูลเกีย่ วกบั วิชาท่ีเรียน 2. ใชเ้ ป็นวัสดุการเรยี นรว่ มกบั ส่ืออื่นๆ 3. ใชเ้ ป็นสื่อเสรมิ ในการเรยี นรแู้ ละเพ่มิ พนู ประสบการณ์ .จากวธิ ีการใชส้ ่ิงพมิ พท์ ัง้ 3 วิธีนนั้ ผสู้ อนสามารถนาสิง่ พิมพท์ ั้งท่ีเป็นสง่ิ พิมพ์ท่ัวไป หรอื สง่ิ พมิ พเ์ พื่อการศึกษา โดยเฉพาะมาใชใ้ นการเรียนการสอนกไ็ ด้ ท้งั นโี้ ดยพจิ ารณาตามลกั ษณะของสิง่ พมิ พแ์ ละลกั ษณะของการใช้ ดังน้ี 1. สิ่งพมิ พ์ท่เี ขียนขนึ้ ในลกั ษณะของหนังสือตารา ใชเ้ พ่อื การศึกษาในระบบโรงเรียนตามหลักสูตร 2. ส่งิ พมิ พ์ทเ่ี ขยี นข้ึนในลกั ษณะบทเรียนสาเรจ็ รูปเพ่ืองา่ ยต่อการศึกษาดว้ ยตนเอง เหมาะสาหรับใชใ้ น การศึกษาทางไกลร่วมกับสือ่ อ่ืนๆ เชน่ โทรทัศน์ เทปเสียงสรปุ บทเรียน และการสอนเสริม เปน็ ตน้ 3. ส่ิงพิมพเ์ สรมิ การเรียนการสอน เช่น แบบฝกึ ปฏิบัติ คู่มอื เรียน ฯลฯ อาจใช้รว่ มกบั ส่อื บุคคลหรอื ส่ือมวลชนประเภทอน่ื ๆ ได้ 4. สิ่งพิมพ์ทว่ั ๆ ไป เช่น นติ ยสาร หนงั สือพมิ พ์ ฯลฯ ที่มีคอลัมนห์ รือบทความที่ใหป้ ระโยชน์ ผสู้ อนอาจแนะ นาให้ผ้เู รียนอา่ นเพอื่ เพ่มิ พูนความรู้หรือเพื่อนามาใช้อ้างอิงประกอบการคน้ ควา้ • สิ่งพมิ พ์ประเภทภาพชุด เปน็ การให้ความรู้ทางรูปธรรมเพ่ือใช้ในการเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ ทาให้ผเู้ รียน เขา้ ใจเหตกุ ารณเ์ รื่องราวหรอื สง่ิ ท่ีเป็นนามธรรมได้ชัดเจนข้ึน เชน่ ภาพชุดชวี ิตสัตว์ หรือภาพชดุ พระราช พิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ เปน็ ตน้ (สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, 9 กนั ยายน 2553)

30 ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของสื่อส่งิ พิมพ์เพอ่ื การศึกษา 1. สอ่ื ส่ิงพมิ พส์ ามารถเก็บไว้ไดน้ าน สามารถนามาอา่ นซ้าแล้วซ้าอีกได้ 2. สื่อสง่ิ พมิ พเ์ ปน็ สอ่ื ที่มีราคาถูกเม่ือเทียบกบั สอ่ื อ่นื ๆ 3. สอ่ื ส่ิงพมิ พเ์ ปน็ ส่ือทใี่ ชง้ ่าย ไมย่ ่งุ ยาก 4. สื่อสิง่ พมิ พเ์ ป็นสื่อท่ีจัดทาไดง้ า่ ย โดยครูผูส้ อนสามารถทาไดเ้ องได้ มีวิธีทาทไ่ี มย่ ุ่งยากซับซอ้ น เชน่ ใบ งาน ใบความรู้ เปน็ ต้น ข้อดีและข้อจากดั ของสื่อส่ิงพิมพเ์ พ่ือการศกึ ษา ข้อดี 1. สามารถอ่านซ้า ทบทวน หรืออ้างอิงได้ 2. เป็นการเรียนรู้ที่ดสี าหรบั ผู้ที่สนใจ 3. เปน็ การกระตุ้นใหค้ นไทยรักการอ่าน ข้อจำกัด 1. ผ้มู ปี ญั หาทางสายตา หรอื ผสู้ ูงอายอุ ่านไม่สะดวกในการใช้ 2. ข้อมลู ไม่สามารถปรับปรงุ แก้ไขไดท้ นั ท่วงทีได้ 3. ผู้ไมร่ ูห้ นังสือ ไม่สามารถเข้าถงึ ได้ ความหมายของสื่อออนไลน์ ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ ส่ือสงั คมออนไลน์ หมายถึง สอื่ ดิจิทัลท่ีเปน็ เคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม(Social Tool) เพื่อใช้ สอ่ื สารระหวา่ งกนั ในเครือขา่ ยทางสงั คม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มี การเช่อื มต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเนน้ ใหผ้ ู้ใช้ทง้ั ที่เปน็ ผู้สง่ สารและผรู้ บั สารมีสว่ นรว่ ม (Collaborative) อย่าง สร้างสรรค์ ในการผลติ เน้อื หาขึน้ เอง (User-GenerateContent:UGC) ในรปู ของข้อมูลภาพและเสียง

31 สำหรับในยุคนี้ เราคงจะหลกี เล่ียงหรอื หนีคำว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไมว่ า่ จะไปทไ่ี หน กจ็ ะพบ เห็นมันอยูต่ ลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยงั สงสยั ว่า “Social Media” มนั คืออะไรกันแน่ วนั นี้เราจะมารู้จัก ความหมายของมนั กนั ครบั คำวา่ “Social” หมายถงึ สงั คม ซง่ึ ในท่นี จี้ ะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึง่ มขี นาดใหม่มากในปจั จุบัน คำวา่ “Media” หมายถึง สื่อ ซึง่ ก็คอื เนื้อหา เร่อื งราว บทความ วดี โี อ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดังน้นั คำวา่ Social Media จงึ หมายถึง ส่ือสังคมออนไลน์ท่มี ีการตอบสนองทางสงั คมไดห้ ลายทิศทาง โดยผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ พดู ง่ายๆ ก็คอื เว็บไซตท์ ่ีบุคคลบนโลกนสี้ ามารถมปี ฏสิ มั พนั ธโ์ ้ต้ตอบกนั ได้นั่นเอง พน้ื ฐานการเกดิ Social Media กม็ าจากความตอ้ งการของมนุษย์หรือคนเราทต่ี ้องการติดตอ่ ส่ือสารหรอื มี ปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเวบ็ ในยคุ 1.0 ซ่งึ ก็คือเวบ็ ทแ่ี สดงเนอื้ หาอยา่ งเดียว บุคคลแตล่ ะคนไมส่ ามารถติดต่อ หรือโตต้ อบกนั ได้ แต่เมอื่ เทคโนโลยีเว็บพฒั นาเข้าสยู่ ุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเวบ็ ไซตท์ ่ีเรยี กว่า web application ซง่ึ ก็คือเว็บไซตม์ ีแอพลเิ คชนั หรอื โปรแกรมต่างๆ ที่มาและความสำคญั สอ่ื สังคมออนไลนก์ ลบั ส่งอทิ ธิพลลบต่อชวี ติ ประจำวนั และความสมั พนั ธข์ องคนในสังคมอย่างชัดเจนมาก ยิง่ ข้นึ จนกลายเปน็ ประเด็นทางสงั คม ที่ทั้งสื่อ บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องให้ความสำคญั ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเหลา่ น้ี ส่อื สงั คมออนไลน์ใชส้ อ่ื สารระหว่างกนั ในเครือข่ายทางสังคม ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกตบ์ น สอื่ ใดๆ ท่มี ีการเชอ่ื มต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นใหผ้ ้ใู ช้ทงั้ ท่ีเปน็ ผ้สู ง่ สารและผู้รับสารมสี ว่ นร่วม อย่างสรา้ งสรรค์ ในการผลิตเนอ้ื หาข้ึน ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสยี ง ทง้ั น้ีการใชส้ ่ือออนไลนต์ ่างๆ กต็ อ้ งอยู่ในขอบเขตในความพอประมาณ เล่นในประมาณที่พอเหมาะเพ่อื เป็นผลดตี อ่ สายตาและร่างกาย ประเภทส่ือสังคมออนไลน์ ประเภทของสือ่ สงั คมออนไลน์ มีด้วยกนั หลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนำมาใชโ้ ดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลกั ดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ วา่ Blogs คอื ส่อื สว่ นบุคคลบนอินเทอรเ์ น็ตท่ีใช้เผยแพรข่ ้อมูล ขา่ วสาร ความรู้ ขอ้ คิดเห็น บันทกึ ส่วนตวั โดยสามารถแบ่งปนั ให้บุคคลอืน่ ๆ โดยผู้รบั สารสามารถเขา้ ไปอ่าน หรอื แสดงความ คิดเห็นเพ่ิมเตมิ ได้ ซงึ่ การแสดงเนอื้ หาของบล็อกน้นั จะเรียงลำดบั จากเน้อื หาใหม่ไปสูเ่ นื้อหาเก่า ผเู้ ขียนและผู้อา่ น สามารถค้นหาเน้ือหาย้อนหลังเพอ่ื อ่านและแกไ้ ขเพ่ิมเติมได้ตลอดเวลา เชน่ Exteen,Bloggang,Wordpress,Blogger,Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซง่ึ เป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ ระหวา่ งบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือใหเ้ กดิ เป็นกลุ่มสังคม(Social Community) เพ่อื รว่ มกันแลกเปล่ียนและแบ่งปนั ข้อมลู ระหว่างกันทั้งด้านธุรกจิ การเมอื ง การศึกษา เชน่ Facebook, Hi5,

32 Ning,Linkedin,MySpace,Youmeo,Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรอื ที่เรียกกันวา่ “บลอ็ กจวิ๋ ” ซ่งึ เปน็ เวบ็ เซอร์วสิ หรือเวบ็ ไซต์ที่ ใหบ้ ริการแก่บคุ คลทว่ั ไปสำหรบั ให้ผู้ใชบ้ รกิ ารเขยี นข้อความส้ันๆ ประมาณ 140 ตวั อักษรที่ เรยี กว่า “Status” หรือ “Notice” เพอ่ื แสดงสถานะของตัวเองว่ากำลงั ทำอะไรอยู่หรือแจ้งขา่ วสารตา่ งๆแกก่ ลุ่ม เพอ่ื นในสังคมออนไลน์ (OnlineSocialNetwork) (Wikipedia,2010) ท้ังนีก้ ารกำหนดให้ใชข้ ้อมลู ในรปู ข้อความ สน้ั ๆ ก็เพ่ือใหผ้ ใู้ ช้ที่เป็นท้ังผู้เขียนและผอู้ ่านเขา้ ใจงา่ ย ทน่ี ิยมใช้กนั อยา่ งแพร่หลายคอื Twitter 4. Online Video เป็นเวบ็ ไซตท์ ี่ให้บรกิ ารวิดีโอออนไลนโ์ ดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย ซง่ึ ปัจจบุ ันไดร้ บั ความนยิ มอย่าง แพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็วเนื่องจากเน้ือหาทนี่ ำเสนอในวดิ ีโอออนไลนไ์ ม่ถูกจำกัดโดยผังรายการที่ แนน่ อนและตายตัวทำใหผ้ ู้ใช้บรกิ ารสามารถติดตามชมไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องเพราะไม่มโี ฆษณาคน่ั รวมท้ังผูใ้ ช้สามารถ เลอื กชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยงั สามารถเชอ่ื มโยงไปยังเว็บวดิ ีโออน่ื ๆ ที่เกีย่ วข้องไดจ้ ำนวนมากอกี ดว้ ย เช่น Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเวบ็ ไซตท์ ี่เน้นใหบ้ ริการฝากรปู ภาพโดยผู้ใช้บรกิ ารสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รูปภาพเพื่อนำมาใชง้ านได้ ที่สำคญั นอกเหนือจากผูใ้ ชบ้ รกิ ารจะมโี อกาสแบ่งปนั รปู ภาพแลว้ ยังสามารถใช้เป็น พ้นื ทีเ่ พอ่ื เสนอขายภาพทตี่ นเองนำเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเวบ็ ไซต์ทมี่ ีลักษณะเป็นแหล่งข้อมลู หรือความรู้ (Data/Knowledge)ซ่ึงผู้เขยี นสว่ นใหญอ่ าจจะ เปน็ นกั วชิ าการ นักวชิ าชีพหรือผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทง้ั การเมือง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ซ่งึ ผ้ใู ช้ สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมลู ไดอ้ ย่างอสิ ระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสรา้ งโลกจนิ ตนาการโดยจำลองสว่ นหน่ึงของชวี ิตลงไป จดั เป็นสื่อสงั คมออนไลน์ท่ี บรรดาผทู้ อ่ งโลกไซเบอรใ์ ชเ้ พ่ือสอื่ สารระหวา่ งกันบนอินเทอรเ์ นต็ ในลักษณะโลกเสมือนจรงิ (Virtual Reality) ซ่งึ ผู้ ท่ีจะเขา้ ไปใชบ้ ริการอาจจะบริษัทหรอื องค์การดา้ นธุรกิจ ดา้ นการศึกษา รวมถงึ องคก์ ารด้านสื่อ เช่น สำนักข่าว รอยเตอร์ สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสยี ค่าใช้จ่ายในการซื้อพน้ื ที่เพ่อื ใหบ้ ุคคลในบริษทั หรือองคก์ รได้มีช่องทางใน การนำเสนอเรื่องราวตา่ งๆ ไปยงั กลุ่มเครือข่ายผู้ใช้ส่ือออนไลน์ ซง่ึ อาจจะเป็นกลมุ่ ลูกค้าท้งั หลกั และรองหรือ ผู้ท่ี เก่ียวขอ้ งกบั ธรุ กจิ ของบริษัท หรอื องค์การก็ได้ ปจั จุบันเวบ็ ไซต์ทีใ่ ชห้ ลัก Virtual Worlds ท่ีประสบผลสำเร็จและ มีชอื่ เสยี ง คือSecond life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เปน็ หลกั การขอความ ร่วมมือจากบุคคลในเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเว็บไซต์ทีม่ ีวตั ถุประสงค์หลกั เพ่ือคน้ หา คำตอบและวธิ ีการแกป้ ัญหาต่างๆทง้ั ทางธรุ กจิ การศึกษา รวมทัง้ การสื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความรว่ มมือ จากเครือข่ายทางสังคมมาชว่ ยตรวจสอบขอ้ มลู เสนอความคิดเห็นหรือให้ขอ้ เสนอแนะ กลุ่มคนท่เี ข้ามาให้ข้อมลู อาจจะเปน็ ประชาชนทัว่ ไปหรือผู้มีความเชยี่ วชาญเฉพาะด้านทอ่ี ยูใ่ นภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสงั คมนักข่าว ข้อดขี อง การใชห้ ลัก Crowd souring คอื ทำใหเ้ กิดความหลากหลายทางความคิดเพ่ือนำ ไปสู่การแก้ปัญหาท่มี ี

33 ประสิทธภิ าพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซึ่งเป็นปญั หาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรอื Podcast มาจากการรวมตวั ของสองคำ คือ “Pod” กบั “Broadcasting” ซ่ึง “POD” หรอื PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการสว่ นบุคคล ส่วน “Broadcasting” เปน็ การนำส่อื ตา่ งๆ มารวมกันในรปู ของภาพและเสยี ง หรอื อาจกล่าวงา่ ยๆ Podcast คือ การ บนั ทกึ ภาพและเสยี งแล้วนำมาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพ่อื เผยแพรใ่ หบ้ ุคคลภายนอก (The public in general) ท่สี นใจดาวนโ์ หลดเพ่ือนำไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอรด์ ที่ผใู้ ช้อนิ เทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะ เกย่ี วกับ สินค้าหรอื บริการ ประเดน็ สาธารณะทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp ประโยชนข์ อง Social networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ความรู้ในสิ่งท่สี นใจรว่ มกนั ได้ 2. เปน็ คลงั ขอ้ มลู ความร้ขู นาดยอ่ มเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ียนความรู้ หรอื ตั้ง คาถามในเร่ืองต่างๆ เพ่อื ให้บุคคลอ่ืนทสี่ นใจหรือมีคาตอบได้ชว่ ยกันตอบ 3. ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ต่อสอ่ื สารกับคนอืน่ สะดวกและรวดเรว็ 4. เปน็ สอ่ื ในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รปู ภาพ วีดโิ อต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นไดเ้ ขา้ มารบั ชมและ แสดงความคิดเหน็ 5. ใชเ้ ปน็ สื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรอื บรกิ ารลกู ค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสรา้ งความ เชือ่ มั่นให้ลกู ค้า 6. ชว่ ยสร้างผลงานและรายไดใ้ หแ้ ก่ผใู้ ช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น 7. คลายเครยี ดได้สำหรบั ผูใ้ ช้ที่ตอ้ งการหาเพ่ือนคยุ เล่นสนุกๆ 8. สรา้ งความสัมพันธ์ทดี่ จี ากเพ่ือนสเู่ พ่ือนได้

34 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ งานตามโครงการ 1. วิธีการดำเนนิ งาน ขั้นเตรียมการ เพื่อจัดประชมุ ครูและบุคลากรทางการศึกษา - ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอียดโครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพอ่ื อนุมตั ิ - แตง่ ต้งั กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจนั ทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธิ์ เดตะอุด ครู กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝา่ ยติดต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานท่ีจัดการจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ย่ิงสกุ ครู ศรช.

35 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจา่ ยพสั ดุ และการเงินตามโครงการใหถ้ กู ตอ้ งเรยี บร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 3.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 3.3 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ มหี นา้ ที่ ส่งข่าวประชาสัมพนั ธ์ ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวนิ สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณัฐชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 4.12 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานท่ัวไป 5. ฝา่ ยจดั กจิ กรรม มหี นา้ ที่จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ วทิ ยากรการจดั กระบวนการเรียนรู้ จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และสื่อออนไลน์ สื่อการ เรียนการสอน เกม และกจิ กรรมนนั ทนาการ ดังน้ี 5.1 นางวารี ชูบัว บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.3 นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ 5.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 5.5 นางลาวนิ สีเหลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล

36 5.10 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.13 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.14 นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.16 นางสาวอุษา ย่ิงสุก ครู ศรช. 5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ครู ศรช. 5.18 นางสาวเยาวดี โสดา นักจัดการงานทว่ั ไป 6. ฝ่ายรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรยี มเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบยี น ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพงึ พอใจ ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ประเมินความพึงพอใจ ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานหลังเสรจ็ สิน้ โครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 7.2 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 7.3 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช.

2. ข้ันดำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ ก 1. ข้ันเตรียมการ กลมุ่ เปา้ หมาย 2. ประชมุ กรรมการ เพอื่ จัดประชมุ ครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบคุ ลากร ช ดำเนินงาน 3. จัดเตรียมเอกสาร ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ว วัสดุ อปุ กรณ์ในการ ดำเนนิ โครงการ - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอียด จำนวน 21 คน โครงการ - ชแี้ จงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จดั ทำโครงการและแผนการดำเนินการ เพ่ืออนมุ ัติ - แต่งตัง้ กรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครแู ละบคุ ลากร ช ดำเนนิ งานทุกฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพือ่ ดำเนนิ การจัดทำ จดั ซอื้ วัสดอุ ปุ กรณ์ กรรมการฝ่ายท่ีได้รบั ทใ่ี ช้ในการดำเนินการ มอบหมาย

37 กลุ่มเป้าหมาย พืน้ ทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ชแี้ จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ท่ี กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซ้ือวัสดอุ ปุ กรณ์ในการจดั โครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ก ๔. ดำเนินการจัด กลมุ่ เป้าหมาย กจิ กรรม เพอื่ ดำเนนิ การปรบั ปรงุ ภูมิทัศนห์ อ้ งสมุด ให้ 1.หอ้ งสมุดประชาชน ห 5. สรปุ /ประเมนิ ผล และรายงานผล เป็นCo-Learning Space แหล่งเรยี นร้ขู อง อำเภอชนแดน ไ โครงการ คนในชุมชน จำนวน 1 แห่ง เ ๑. กจิ กรรมรักการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ 2. นักเรียน นกั ศกึ ษา ข ๒. กจิ กรรมวนั รักการอ่าน และประชาชนทว่ั ไป ช ๓. กจิ กรรมวันสำคัญตา่ งๆ จำนวน 247 คน ต ๔. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้ สำหรบั นักศกึ ษา กศน. เพอ่ื ให้กรรมการฝ่ายประเมินผลเก็บ ตามกระบวนการ ส รวบรวมขอ้ มูลและดำเนนิ การประเมินผล ประเมินโครงการ การจัดกิจกรรม 5 บท จำนวน 3 เลม่

38 กลุ่มเปา้ หมาย พืน้ ทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชิงคณุ ภาพ) ห้องสมุดประชาชน เม.ย. ถงึ - ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน อำเภอชนแดน ก.ย.65 ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ห้องสมุด ให้ เป็นCo-Learning Space แหล่งเรียนรู้ ของคนในชมุ ชน เปน็ แหลง่ เรยี นร้ตู ลอด ชีวิต พร้อมให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย ตา่ งๆ สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

39 3. ข้ันสรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 1.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรียน มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดขี น้ึ 2. การติดตามผลประเมนิ ผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

40 บทที่ 4 ผลการดำเนินงานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายทีร่ ่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โครงการพัฒนา ห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต Co-Learning Space กจิ กรรมวนั รักการอ่าน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไป เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 48 24.62 หญิง 147 89.23 รวม 195 100 จากตาราง สรุปไดว้ า่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ในครง้ั น้ี เปน็ เพศหญงิ มากทสี่ ุด จำนวน 147 คน คิดเปน็ ร้อยละ 89.23 อายุ ชว่ งอายุ จำนวน รอ้ ยละ ตำ่ กวา่ 15 ปี 1 0.51 15 - 29 ปี 136 69.74 30 – 39 ปี 23 11.79 40 - 49 ปี 19 9.74 50 - 59 ปี 11 5.64 60 ปขี น้ึ ไป 5 2.56 195 100 รวม จากตาราง สรุปไดว้ า่ ผ้ตู อบแบบสอบถาม ในคร้ังนี้ เป็นช่วงอายุ 15 - 29 ปี มากท่สี ดุ จำนวน 136 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 69.74

41 การศกึ ษา ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ ประถมศกึ ษา 9 4.62 69 35.38 ม.ต้น 81 41.54 ม.ปลาย 2 1.03 ปวช./ปวส. 28 14.36 ปรญิ ญาตรี 6 3.08 สูงกว่าปรญิ ญาตรี 195 100 รวม จากตาราง สรุปได้ว่า ผ้ตู อบแบบสอบถาม ในคร้ังน้ี การศกึ ษาระดับ ม.ปลาย มากทีส่ ุด จำนวน 81 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.54 อาชีพ อาชีพ จำนวน ร้อยละ รับจ้าง 87 44.62 เกษตรกรรม 11 5.64 ผนู้ ำชมุ ชน 1 0.51 คา้ ขาย 9 4.62 รับราชการ 18 9.23 นกั เรยี น/นกั ศึกษา 50 25.64 อนื่ ๆ ระบุ 19 9.74 รวม 195 100 จากตาราง สรปุ ได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ในครั้งน้ี เปน็ อาชีพรบั จา้ ง มากท่ีสดุ จำนวน 87 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 44.62

42 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กจิ กรรม 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพงึ พอใจ 0.00 – 1.49 อยู่ในระดับ นอ้ ยท่สี ดุ 1.50 – 2.49 อย่ใู นระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยใู่ นระดบั ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยูใ่ นระดบั มาก 4.50 - 5 อยู่ในระดับ มากทีส่ ุด 2.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน มากทส่ี ุด 5 อยใู่ นระดบั มาก 4 อยู่ในระดับ ปานกลาง 3 อยใู่ นระดับ น้อย 2 อย่ใู นระดบั น้อยที่สดุ 1 อยใู่ นระดับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook