Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8อ่านสร้างอาชีพ

8อ่านสร้างอาชีพ

Published by waryu06, 2021-07-02 09:05:09

Description: 8อ่านสร้างอาชีพ

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เร่ือง สรปุ ผลการปฏิบตั งิ านโครงการสง่ เสริมการเรียนรสู้ ำหรับนกั ศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมอา่ นสร้างอาชีพ เรยี น ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนไดจ้ ดั ทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรบั นักศึกษาและ ประชาชน กิจกรรมอ่านสร้างอาชีพ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไป ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและ รวดเร็ว การประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น บัดนี้โครงการดังกล่าวได้ ดำเนินการเสรจ็ ส้นิ เรยี บรอ้ ยแลว้ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จงึ ขอสรุปผลการปฏิบัติงานโครงการดงั กล่าวรายละเอียดตาม เอกสารทแี่ นบมาพร้อมนี้ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ นางวารี ชูบวั บรรณารักษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสร้างอาชีพ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ทั่วไป ได้ศกึ ษาค้นควา้ เพมิ่ เตมิ ดว้ ยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วธิ กี ารเขา้ ถงึ ข้อมลู ทถี่ ูกต้องและรวดเรว็ การ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มี นสิ ัยรักการอา่ นนำไปสกู่ ารเรยี นรู้ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ขี ้นึ นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน ครั้งตอ่ ไป ผู้จดั ทำ มนี าคม 2564

สารบญั หนา้ 1-6 บทที่ 1 บทนำ 7 - 37 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 38 - 44 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 45 - 49 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 50 - 51 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทที่ 1 บทนำ 1.ชือ่ โครงการ โครงการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมที่ 2 โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กจิ กรรมอา่ นสร้างอาชพี 2. สอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. : 2.1 12 ภารกจิ “เร่งดว่ น” ข้อท่ี 2 ขับเคล่ือนนโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย์) ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรม 2.2 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชที้ ี่ 1.1 ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.2 ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชท้ี ี่ 2.3 ส่ือหรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการจัดการศกึ ษาตาม อัธยาศยั ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นร่วม ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคเี ครือขา่ ยใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้

2 2.3 ของเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมนิ ความพึงพอใจ ควรเพิ่มขอ้ เหตุผล ขอ้ คิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นั้นจึงใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถว้ นเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนอื่ งและนำผลการประเมนิ ที่ได้ไปวเิ คราะห์ถงึ อปุ สรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาในปตี อ่ ไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนในชุมชน การจัดกิจกรรมในเชิงรุก เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ของคนในชุมชน ปัจจุบนั ห้องสมุดประชาชนได้จัดหาทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบสำหรับให้บริการ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อมัลติมเี ดีย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และผู้รบั บรกิ าร และเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้และผู้รับบริการต้องรู้แนวทางในการเข้าถึง ทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะรูปแบบ เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและได้รบั ประโยชนจ์ ากทรัพยากรสารสนเทศนน้ั ๆ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมผู้ใช้และผู้รับบริการได้ศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้สามารถรับบริการต่างๆของห้องสมุดได้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนจึงได้จัดโครงการ ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่อื ให้นักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปเข้าถงึ และมีโอกาสไดอ้ า่ นหนงั สือ 4.1 เพือ่ กระตุ้นใหน้ ักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 4.2 เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทว่ั ไปมีความรู้ความเขา้ ใจการเขา้ ถงึ แหลง่ สาร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและตรงตามความตอ้ งการ 4.4 เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ยั รักการอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้ดีขึ้น

3 5. เปา้ หมาย จำนวน 1,000 คน เชิงปรมิ าณ นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทว่ั ไป เชงิ คุณภาพ 1. นกั เรยี น นักศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไปเข้าถงึ และมีโอกาสได้อา่ นหนงั สอื 2. นักเรยี น นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บรกิ ารในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 3. นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไปมีความรู้ความเข้าใจการเข้าถึงแหล่งสารสารสนเทศไดอ้ ยา่ ง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 4. นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ ให้ดีข้ึน 6. วิธดี ำเนินการ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ - 1. ขัน้ เพอ่ื จัดประชุมครูและ ครูและบคุ ลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ - ชี้แจงทำความเขา้ ใจ ชนแดน ชนแดน 2. ประชุม รายละเอียดโครงการ กรรมการ - ชี้แจงแนวทางในการ กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 - ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ ชนแดน - จดั ทำโครงการและ แผนการดำเนินการเพื่อ อนุมัติ - แตง่ ต้งั กรรมการ ดำเนินงานตามโครงการ เพือ่ ประชมุ ทำความเข้าใจ ครแู ละบคุ ลากร 20 คน กับกรรมการดำเนนิ งานทุก กศน. อำเภอ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม ชนแดน โครงการและการดำเนินงาน

4 กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 3. จัดเตรยี ม กรรมการฝา่ ยที่ ดำเนนิ การ 15 ธ.ค.63 5,750 เอกสาร วัสดุ เพอื่ ดำเนนิ การจัดทำ จัดซอ้ื ได้รับมอบหมาย อปุ กรณ์ในการ วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการ - กศน. อำเภอ ต.ค.63 - ดำเนนิ โครงการ ดำเนนิ การ นกั เรยี น - 4. ดำเนนิ การ นักศกึ ษา และ ชนแดน จดั กจิ กรรม 1. รกั การอ่านผ่านสื่อ ประชาชนท่ัวไป ม.ี ค.64 ออนไลน์ 600 คน พืน้ ที่อำเภอ 5. สรุป/ 2. กจิ กรรมสบื สาน ตาม ชนแดน มี.ค.64 - ประเมินผล วฒั นธรรมประเพณี กระบวนการ และรายงานผล ลอยกระทง ประเมิน 50 คน โครงการ 3. ปริศนา...อา่ นคำ โครงการ 5 บท 4. อ่านดมี ีรางวัล 20 คน กศน. อำเภอ 5. อ่านสร้างอาชีพ 50 คน ชนแดน 6. สภุ าษิต สำนวนไทย 100 คน 180 คน เพื่อให้กรรมการฝ่าย รวม ประเมินผลเกบ็ รวบรวม 1,000 ข้อมลู และดำเนินการ คน ประเมินผลการจัดกิจกรรม 2 เลม่ 7. วงเงินงบประมาณ จากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผ้รู ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั กิจกรรมการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน ค่าจัดกิจกรรมสำหรับห้องสมุดประชาชน รหัสงบประมาณ 36005 เป็นเงิน 5,750.- บาท (ห้าพันเจ็ดรอ้ ยหา้ สิบบาทถว้ น) รายละเอียดดงั นค้ี ือ คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 5,750 บาท รวมเปน็ เงนิ 5,750 บาท

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 5 แผนการใช้จ่ายรายไตรมาส ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 - 5,750 - - 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางวารี ชูบวั ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 9.2 นางสาวอษุ า ยง่ิ สุก ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน 9.4 ครู กศน.ตำบล 9.5 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.6 ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน 10. เครอื ข่าย 10.1 วัดพระพทุ ธบาทชนแดน 10.2 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลนำ้ ลดั 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลโคกสำราญ 10.4 กศน.ตำบลทั้ง 9 แห่ง 11.โครงการที่เกีย่ วข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 11.3 โครงการประชาสมั พันธง์ าน กศน. 11.4 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย 12. ผลลัพธ์ 12.1 นักเรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อา่ นหนงั สอื 12.2 นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ มารับบรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนมากข้นึ 12.3 นักเรยี น นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปมีความรคู้ วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศได้อย่าง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 12.4 นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นา คุณภาพชีวิตใหด้ ีขนึ้

6 13. ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปรกั การอา่ น เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ิตท่ีดีข้ึน 14. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

7 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทำต่าง ๆ เพ่ือให้เด็กเกิดความสนใจท่ีจะอ่าน เห็น ความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันท่ีจะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ท้ังนี้ การ อ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหน่ึงในชีวิตประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเรา ได้เป็นอย่างดียิ่ง เม่ือคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความ เพลิดเพลนิ การที่เด็กจะเกดิ ทักษะการอ่านหนังสือได้นั้นจำเป็นจะตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้ง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นใหแ้ ก่เด็ก

8 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านคือ การกระตุ้นด้วยวธิ ีการต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระท่ังมีนิสัยรัก การอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระทั่งมีความสามารถในการอ่าน นำประโยชน์จาการอ่านไปใช้ได้ตรงตาม วตั ถุประสงคข์ องการอ่านทกุ ประเภท (ฉววี รรณ คูหาภินันทน์, 2542 : 93) กรมวิชาการ (อ้างถึงใน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์, 2542 : 93) ให้ความหมายว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน คือ การกระทำเพ่อื 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลที่เป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสือที่มี คณุ ภาพ 2. เพื่อแนะนำชักชวนให้เกิดความพยายามท่ีจะอ่านให้แตกฉาน สามารถนำความรู้จากหนังสือไปใช้ ประโยชน์ เกดิ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ดีขน้ึ 3. เพ่ือกระตนุ้ แนะนำใหอ้ ยากรู้ อยากอา่ นหนังสือหลายอย่าง เปิดความคิดให้กวา้ ง ใหม้ ีการอา่ นต่อเน่อื ง จนเป็นนิสัย พัฒนาการอา่ นจนถึงขน้ั ที่สามารถวิเคราะห์เร่ืองที่อา่ นได้ 4. เพอื่ สร้างบรรยากาศทจ่ี งู ใจใหอ้ ่าน ดงั นั้น สามารถกล่าวได้ว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถงึ กจิ กรรมตา่ งๆท่ีห้องสมุดจดั ขนึ้ เพื่อส่งเสรมิ ให้ เกิดการอ่านอย่างต่อเนื่องจนกระท่ังเป็นนิสัยรักการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนังสอื ท่ีนา่ สนใจ เป็นตน้ ลกั ษณะของกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นทดี่ ี 1. เร้าความสนใจ เช่น การจัดนิทรรศการที่ดึงดูความสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใช้สื่อ เทคโนโลยีใหมๆ่ เข้ามาชว่ ย 2. จูงใจให้อยากอ่านและกระตุ้นให้อยากอ่าน เช่น ข่าวท่ีกำลังเป็นที่สนใจ หรือหัวข้อเร่ืองที่เป็นท่ีสนใจ เช่น การวจิ ัย การเตรียมตวั สอบ การสมัครงาน เปน็ ตน้ 3. ไมใ่ ชเ้ วลานาน ความยากงา่ ยของกิจกรรมเหมาะสมกับเพศ ระดับอายุ การศึกษา 4. เป็นกจิ กรรมที่มงุ่ ไปสหู่ นังสอื วสั ดุการอา่ น โดยการนำหนังสอื หรือวัสดุการอ่านมาแสดงทุกคร้งั 5. ให้ความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน แฝงการเรยี นรู้ตามอัธยาศัยจากการร่วมกิจกรรมดว้ ย ความหมายและความสำคญั ของหอ้ งสมดุ ห้องสมุดประชาชน หมายถงึ ห้องสมุดทีต่ ั้งขึ้นเพอ่ื ให้บริการแก่ประชาชน โดยไม่จำกดั เพศ วยั เช้ือชาติ ศาสนา และพื้นความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทุกหมวดวิชา และอาจมีการบริการบางเรื่องเป็นพิเศษ ตามความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ และจะจัดใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลคา่ บทบาทหนา้ ท่ีของหอ้ งสมดุ ประชาชน มี 3 ประเภท คอื

9 1. หน้าที่ทางการศึกษา ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งให้การศึกษานอกระบบโรงเรียน มีหน้าท่ีให้ การศกึ ษาแก่ประชาชนท่ัวไป ทกุ ระดับการศกึ ษา 2. หน้าท่ีทางวัฒนธรรม ห้องสมุดปะชาชนเป็นแหล่งสะสมมรดกทางปัญญาของมนุษย์ ท่ีถ่ายทอดเป็น วฒั นธรรมท้องถ่ิน ทีห่ อ้ งสมุดตงั้ อยู่ 3. หน้าท่ีทางสังคม ห้องสมุดประชาชนเป็นสถาบันทางสังคมได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและท้องถิ่นมา ดำเนินกิจการ จึงมหี น้าที่ แสวงหาข่าวสารขอ้ มลู ที่มีประโยชน์มาบริการประชาชน ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยมหี น่วยงานต่างๆรับผดิ ชอบ ดังนี้ 1. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ นอกจากนี้กรมการศึกษานอกโรงเรียนยังได้จัดท่ีอ่านหนังสือประจำ หมูบ่ า้ น ทอ่ี า่ นหนงั สือในวดั และห้องสมุดเคลือ่ นที่ 2. ห้องสมุดประชาชน สังกัดกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 12 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี หอ้ งสมุดประชาชนซอยพระนาง หอ้ งสมดุ ประชาชนปทุมวนั ห้องสมุดประชาชนอนงคาราม ห้องสมุดประชาชนวัด สังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษฐาน วรวิหารตลิ่งชัน ห้องสมุดประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดประชาชนภาษีเจริญ ห้องสมดุ ประชาชนวัดราชโอรส 3. ห้องสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมุดท่ีธนาคารพาณิชย์เปิดขึ้นเพ่ือบริการสังคม และ เพอ่ื ประชาสมั พันธ์กจิ การของธนาคารให้เป็นท่รี ู้จักแพรห่ ลาย เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจำกดั 4. ห้องสมุดประชาชนของรัฐบาลต่างประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างประเทศ เช่น หอ้ งสมุดบริตชิ เคาน์ซลิ ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร ที่ตงั้ อยูบ่ รเิ วณสยามสแควร์ กรุงเทพมหานคร 5. ห้องสมุดประชาชนเสียค่าบำรุง ห้องสมุดประชาชนประเภทนี้ให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่าน้ัน โดยผู้ที่ เป็นสมาชิกจะต้องเสียค่าบำรุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดนีลสันเฮย์ ต้ังอยู่ท่ีถนนสุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร บทบาทและความสำคัญของห้องสมสุดต่อสังคมในดา้ นตา่ ง ๆ 1. เป็นสถานท่ีเพื่อสงวนรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นแหล่งสะสมวิวัฒนาการของมนุษย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าไม่มีแหล่งค้นคว้าประเภทห้องสมุดเป็นศูนย์กลางแล้ว ความรู้ต่างๆ อาจสูญหายหรือ กระจดั กระจายไปตามทตี่ ่างๆ ยากแกค่ นร่นุ หลงั จะตดิ ตาม 2. เป็นสถานที่เพื่อการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ห้องสมุดทำหน้าท่ีให้การศึกษาแก่ประชาชนทุกรูปแบบ ทั้งใน และนอกระบบการศกึ ษา เริม่ จากการศึกษาขัน้ พื้นฐานถงึ ระดบั สงู

10 3. เป็นสถานท่ีสร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์และความจรรโลงใจ ห้องสมุดมีหน้าที่รวบรวมและเลือกสรร ทรัพยากร สารสนเทศ เพ่ือบริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งเป็นส่ิงที่มีคุณค่าผู้ใช้ได้ความคิดสร้างสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและสังคมต่อไป 4. เป็นสถานท่ีปลกู ฝงั นสิ ัยรักการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต หอ้ งสมดุ จะชว่ ยใหบ้ คุ คลสนใจในการอ่าน และรกั การอา่ นจนเป็นนสิ ัย 5. เป็นสถานที่ส่งเสริมการาใช้เวลาว่างในเป็นประโยชน์ ห้องสมุดเป็นสถานท่ีรวบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพ่ือบริการแก่ผู้ใช้ตามความสนใจและอ่านเพ่ือฆ่าเวลา อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรืออ่านเพื่อ สาระบนั เทงิ ไดท้ ้งั สิน้ นับว่าเปน็ การพกั ผอ่ นอยา่ งมีความหมายและให้ประโยชน์ 6. เป็นสถานท่ีส่งเสริมความเปน็ ประชาธิปไตย ห้องสมุดเป็นสาธารณะสมบัติ มีส่วนส่งเสริมให้บุคคลรู้จัก สทิ ธิและหน้าท่ีของพลเมอื ง กล่าวคอื เม่ือมีสิทธใิ นการใช้ก็ย่อมมีสิทธใิ นการบำรุงรกั ษาร่วมกนั และใหค้ วามรว่ มมือ กับหอ้ งสมดุ ดว้ ยการปฏิบตั ิตามระเบียบ แบบแผนของห้องสมดุ ความหมายของสือ่ สงิ่ พิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาท่ีเก่ียวกับ“สื่อสิ่งพิมพ์”ไว้ว่า “สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผน่ กระดาษ หรือวตั ถใุ ด ๆ ที่พิมพ์ข้ึน รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนท่ี แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบาย สี ใบประกาศ แผ่นเสยี ง หรือสิง่ อ่ืนใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน” “ส่ือ หมายถึง ก. ทาการติดต่อให้ถงึ กนั ชักนาให้ รู้จักกัน น. ผู้หรือส่ิงทที่ าการติดต่อให้ถึงกัน หรือชักนาให้รู้จักกัน” “พิมพ์ หมายถงึ ก. ถ่ายแบบ, ใช้เคร่ืองจักรกด ตัวหนังสือหรือภาพ เป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้า ทาให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดย การกดหรือการใช้พิมพ์หิน เคร่ืองกล วิธีเคมี หรือวิธีอ่ืนใด อันอาจให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์ข้ึนหลายสาเนา น. รูป , รูปรา่ ง, ร่างกาย, แบบ” ดังน้นั “ส่อื สง่ิ พมิ พ์” จงึ มคี วามหมายว่า “ส่งิ ท่ีพมิ พ์ขนึ้ ไมว่ า่ จะเป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุ ใด ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือน ต้นฉบับข้ึนหลายสาเนาในปรมิ าณมากเพ่ือเป็นสิ่งท่ี ทาการตดิ ต่อ หรือชกั นาใหบ้ คุ คลอ่นื ไดเ้ หน็ หรอื ทราบ ขอ้ ความต่าง ๆ” ส่ิงพิมพ์เพ่ือการศึกษา หมายถึง ส่ิงที่พิมพ์ขึ้นในรูปแบบต่างๆ ทั้งหนังสือ ตารา เอกสาร วารสารต่างๆ ท่ี ให้ความรู้ เน้ือหาสาระท่ีมีประโยชน์ เช่น หนังสือเรียนภาษาไทย ป. 6 หรืออาจเป็นชุดภาพประกอบการศึกษา เช่น ภาพประกอบการศึกษาชดุ อาหารไทย เป็นต้น และสามารถนามาใช้ในการศึกษาได้

11 ความเปน็ มา ส่ิงพิมพ์ถือได้ว่าเป็นส่ิงท่ีความสำคัญย่ิงควบคู่มากับการพัฒนาการของมนุษยชาติ และจัดเป็นสื่อมวลชน ประเภทหนึ่งท่ีมีความสำคัญมาตลอดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในการถ่ายทอดความรู้วิชาการ และเพ่ือการติดต่อ สื่อสารสาหรับมนุษยชาติ ดังคำจำกัดความของพจนี พลสิทธ์ิ (2536 : 3) สรุปความเป็นมาและความสาคัญของ ส่ิงพิมพ์ ว่า “ส่ิงพิมพ์” นับเป็นวัสดุที่แสดงถึงพัฒนา การความเจริญก้าวหน้าทางด้านสติปัญญา ของมนุษย์ ความคิด จินตนาการ เจตคติ ความฝนั ชีวิต วัฒนธรรม สงั คม เหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ลายุคสมัย สามารถเก็บรักษาสืบทอดจาดชนรุ่นหน่ึงไปสู่ชนรุ่นหลัง ความคิดในเร่ืองการพิมพ์นี้นอกเหนือจาก เพ่ือเป็น เคร่ืองมือในการบันทึกความคิด จินตนาการ ความรู้ และเหตุการณ์ต่างๆ แล้วยังเป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าชนชาติ ต่าง ๆ ในโลกนลี้ ้วนมคี วามพยายามที่จะพัฒนาความคิดของตนให้เจริญก้าวหนา้ ทันสมัยอย่างต่อเน่ือง ความคิดใน เรือ่ งการพิมพท์ ่ีมีจุดประสงค์เริ่มแรกก็คงเพื่อให้มกี ารแพร่หลายเรือ่ งความคดิ ความรู้ ไปสู่ชนรนุ่ หลัง และเพ่ือให้มี หลาย ๆ สาเนาจะได้เก็บรักษาให้คงอยู่ได้นานปีน้ัน ในยุคปัจจุบันชนรุ่นหลังได้สานต่อความคิดเรื่องการพิมพ์ จนกระทั่งกลายเป็นเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และซับซ้อน สามารถผลิตสิ่งพิมพ์ได้หลากหลายชนิดตอบสนอง วตั ถปุ ระสงคข์ องมนุษยชาตไิ ด้กว้างขวางนอกเหนือจากสือ่ สิ่งพมิ พ์จะเปน็ ส่ือมวลชนท่ีมีความเกย่ี วกันกับมนุษยชาติ มานานนับพนั ๆ ปี และมีความเก่าแก่กว่าสอื่ มวลชนประเภทอน่ื ไมว่ า่ จะเปน็ วทิ ยุกระจายเสยี ง วิทยโุ ทรทัศน์ หรือ อนิ เตอร์เน็ต ซง่ึ เป็นสอ่ื ประเภทหนึ่งท่ีมีการใช้แพร่หลายไปท่ัวโลกเช่นในปัจจุบันก็ตาม แต่สื่อส่ิงพิมพ์ก็ยงั เป็นส่อื ที่ มีการใช้อย่างแพร่หลายเป็นที่นิยมของทุกชนชาติมิได้ย่ิงหย่อนไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทใดก็ตาม เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หรือส่ิงพิมพ์ประเภทต่าง ๆ สาเหตุสาคัญท่ีทาให้สื่อส่ิงพิมพ์ยังเป็นท่ี นยิ มแพรห่ ลายมาโดยตลอด ก็เพราะบุคคลสามารถเลอื กอ่านได้ตามความเหมาะสม อีกท้ังยังใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประวตั กิ ารพิมพใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรงุ ศรีอยุธยา ได้เริ่มแต่งและพิมพ์หนังสือคำสอนทางศาสนา คริสต์ ขึ้น และหลังจากน้ันหมอบรัดเลย์เข้ามาเมืองไทย และได้เริ่มด้านงานพิมพ์จนสนใจเป็นธุรกิจด้านการพิมพ์ ใน เมอื งไทย พ.ศ.2382 ได้พิมพ์เอกสารทางราชการเป็นช้ินแรก คือ หมายประกาศห้ามสูบฝ่นิ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระ น่ังเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเม่ือวันที่ 4 ก.ค.2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรก ข้ึน คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างส้ัน ออกเดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 มิ.ย. พ.ศ.2404 ได้พิมพห์ นังสือเล่มออกจำหน่ายโดยซ้ือลิขสิทธิจ์ าก หนังสือนริ าศลอนดอนของหม่อมราโชทัยและ ไดเ้ รมิ่ ตน้ การซ้ือขาย ลิขสิทธิหน่ายในเมืองไทย หมอบรัดเลย์ไดถ้ ึงแกก่ รรมในเมืองไทยกิจการ การพิมพข์ องไทยจึง เร่ิมต้นเป็นของไทย หลังจากน้ันใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจึงนา เคร่ืองพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เป็นคร้ังแรก โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชนาเครื่องหล่อเรียงพิมพ์ Monotype มาใช้กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทยได้จัดโรงพิมพธ์ นบตั รในเมืองไทยขึน้ ใช้เอง

12 ประเภทของสือ่ สิ่งพมิ พ์เพอ่ื การศึกษา สื่อสง่ิ พมิ พ์ประเภทหนังสอื 1. หนังสอื ตำรา เป็นสื่อท่ีพิมพ์เป็นเล่ม ประกอบด้วยเน้ือหาการเรียนการสอนโดยอธิบายเน้ือหาวิชาอย่างละเอียดชัดเจน อาจมีภาพถ่ายหรอื ภาพเขียนประกอบเพ่ือเพิ่มความสนใจของผู้เรียน หนังสือตาราน้ีอาจใช้เป็นสือ่ การเรียนในวิชา นั้นโดยตรงนอกเหนือจากการบรรยายในช้นั เรียน หรืออาจใช้เปน็ หนังสอื อา่ นประกอบหรอื หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกไ็ ด้ การใชห้ นังสือในการเรียนการสอนนับวา่ มีประโยชน์แก่ผ้เู รียนทั้งในด้านการศึกษารายบุคคลเพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถ ใชอ้ า่ นในเวลาทต่ี ้องการ และในดา้ นเศรษฐกิจเนื่องจากสามารถใชอ้ ่านไดห้ ลายคนและเก็บไวไ้ ดเ้ ปน็ เวลานาน 2. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ เป็นสมุดหรือหนังสือที่พิมพ์ข้ึนโดยมีเน้ือหาเป็นแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพ่ือเป็นการเพ่ิมทักษะหรือ ทดสอบผ้เู รียน อาจมเี นื้อหาในรปู แบบคาถามใหเ้ ลอื กคาตอบ หรือเป็นต้นแบบเพอื่ ใหผ้ ู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิตามโดยอาจ มรี ูปประกอบเพือ่ ให้เข้าใจได้งา่ ยย่ิงขนึ้ เชน่ แบบคัดตัวอักษร ก ไก่ เปน็ ต้น 3. พจนานุกรม เปน็ หนังสือที่มเี นือ้ หาเปน็ คาศัพท์และคาอธิบายความหมายของคาศัพท์ แตล่ ะคานั้น โดยการเรียงตามลา ดับจากอักษรตัวแจกถึงตัวสุดท้ายของภาษาที่ต้องการจะอธิบาย คาศัพท์และคาอธิบายจะเป็นภาษาเดียวกันหรือ ต่างภาษาก็ได้ เช่น คาศัพท์ภาษาอังกฤษและมีคาอธิบายเป็นภาษาไทย หรือท้ังคาศัพท์และคาอธิบายต่างก็เป็น ภาษาอังกฤษ เปน็ ตน้ 4. สารานุกรม เป็นหนังสือท่ีพิมพ์ข้ึนเพ่ืออธิบายหัวข้อหรือข้อความต่างๆ ตามลาดับของตัวอักษร เพ่ือให้ผู้อ่านสามารถ คน้ คว้าเพ่ือความร้แู ละการอา้ งองิ โดยมรี ปู ภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ ประกอบคาอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขน้ึ 5. หนังสือภาพและภาพชุดต่างๆ เป็นหนังสอื ที่ประกอบดว้ ยภาพต่างๆ ทเ่ี ป็นเรื่องเดียวกันตลอดทั้งเล่ม สว่ นใหญจ่ ะเปน็ หนังสือภาพทพี่ ิมพ์ สอดสสี วยงาม เหมาะแก่การเกบ็ ไว้ศึกษาหรอื เป็นท่ีระลึก เช่น หนงั สือภาพชดุ พระท่ีนั่งวิมานเมฆ หรือหนังสือภาพ ชดุ ทัศนยี ภาพของประเทศต่างๆ เปน็ ตน้ 6. วทิ ยานิพนธแ์ ละรายงานการวิจัย เป็นส่ิงพิมพ์ท่ีพิมพ์ออกมาจานวนไม่มากนักเพื่อเผยแพร่ไปยังห้องสมุด สถาบันการศึกษาต่างๆ หรือ หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั งานวิจยั นน้ั เพื่อใหผ้ สู้ นใจใช้เปน็ เอกสารค้นคว้าข้อมลู หรอื ใชใ้ นการอ้างอิง 7. ส่ิงพิมพย์ อ่ สว่ น (Microforms) หนังสือที่เก่าหรือชารุดหรือหนังสือพิมพ์ที่มีอยู่เป็นจานวนมากย่อมไม่เป็นท่ีสะดวกในการเก็บรักษาไว้ จึง จำเป็นตอ้ งหาวิธีเก็บสิ่งพิมพ์เหล่านี้ไว้โดยอาศยั ลกั ษณะการย่อส่วนลงให้เหลือเล็กทส่ี ุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อประหยัด เนื้อที่ในการเก็บรักษาและสามารถที่จะนำมาใช้ได้สะดวก จึงมีวิธีการต่างๆ โดยอาศัยเนื้อที่ในการเก็บรักษาและ สามารถท่ีจะนามาใช้ไดส้ ะดวก จงึ มีวิธกี ารตา่ งๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีในการทาสงิ่ พิมพย์ อ่ ส่วน ได้แก่

13 ก. ไมโครฟิลม์ (Microfilm) เป็นการถ่ายหนังสือแต่ละหน้าลงบนม้วนฟิล์มที่มีความกว้างขนาด 16 หรือ 35 มิลลิเมตร โดยฟิล์ม 1 เฟรมจะ บรรจหุ น้าหนงั สือได้ 1-2 หนา้ เรียงติดตอ่ กันไป หนังสอื เล่มหนงึ่ จะสามารถบนั ทึกลงบนไมโครฟลิ ์มโดยใช้ความยาว ของฟิลม์ เพียง 2-3 ฟตุ ตามปกตจิ ะใช้ฟลิ ม์ 1 ม้วนต่อหนังสือ 1 เลม่ และบรรจุม้วนฟิล์มลงในกล่องเล็กๆ กลอ่ งละ ม้วนเมือ่ จะใช้อ่านก็ใส่ฟลิ ม์ เข้าในเครื่องอา่ นท่มี ีจอภาพหรือจะอัดสาเนาหนา้ ใดก็ได้เชน่ กัน ข. ไมโครฟชิ (Microfiche) เป็นแผ่นฟิล์มแข็งขนาด 4 x 6 น้ิว สามารถบันทึกข้อความจากหนังสือโดยย่อเป็นกรอบเล็กๆ หลายๆ กรอบ แผ่นฟิล์มนจี้ ะมีเน้ือทมี่ ากพอทีจ่ ะบรรจุหน้าหนังสือที่ย่อขนาดแลว้ ไดห้ ลายร้อยหน้า ตัวอักษรที่ย่อจะมสี ีขาวบนพื้น หน้าหนังสือสีดา สามารถอ่านได้โดยวางแผ่นฟิล์มลงบนเคร่ืองฉายท่ีขยายภาพให้ไปปรากฏบนจอภาพสาหรับอ่าน และจะอ่านหนา้ ใดกไ็ ดเ้ ลื่อนภาพไปมา และยังสามารถนาไปพิมพ์บนกระดาษและอัดสาเนาได้ดว้ ย ส่อื สง่ิ พิมพ์เพือ่ เผยแพรข่ า่ วสาร – หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีผลิตข้ึนโดยนาเสนอเรื่องราว ข่าวสารภาพและความ คิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วิธีการพับรวมกัน ซึ่งส่ือสิ่งพิมพ์ชนิดน้ี ได้พิมพ์ออกเผยแพร่ท้ัง ลักษณะ หนังสอื พิมพ์รายวนั , รายสัปดาห์ และรายเดอื น – วารสาร, นติ ยสาร เปน็ ส่ือสงิ่ พิมพท์ ่ผี ลิตขน้ึ โดยนาเสนอสาระ ข่าว ความบันเทงิ ทมี่ รี ูปแบบการนาเสนอ ท่โี ดดเดน่ สะดุดตา และสรา้ งความสนใจใหก้ ับผู้อา่ น ทั้งนี้การผลิตน้ัน มีการ กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ท่ี แนน่ อน ท้งั ลักษณะวารสาร, นติ ยสารรายปกั ษ์ (15 วนั ) และ รายเดอื น – จุลสาร เป็นสื่อส่ิงพิมพ์ทผ่ี ลติ ขึ้นแบบไม่มงุ่ หวังผลกาไร เป็นแบบให้เปล่าโดยให้ผ้อู ่านได้ศึกษาหาความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นครั้ง ๆ หรือลาดับต่าง ๆ ในวาระพิเศษ แสดงเนื้อหาเป็นข้อความที่ผู้อ่าน อ่านแล้ว เขา้ ใจง่าย สิง่ พิมพอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เปน็ ตน้ บทบาทของส่อื ส่ิงพิมพเ์ พื่อการศึกษา บทบาทของส่ือสิ่งพิมพ์ในสถานศึกษา สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนาไปใช้ในสถานศึกษาโดยทั่วไป ซ่ึงทาให้ผู้เรียน ผู้สอนเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น เช่น หนังสือ ตารา แบบเรียน แบบฝึกหัดสามารถพัฒนาได้เป็นเน้ือหาในระบบ เครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตได้

14 แนวทางการประยุกต์ใช้ส่ือส่ิงพิมพ์เพื่อการเรียนการสอน หรือการศึกษา การใช้ส่ิงพิมพ์เพื่อการศึกษาในการเรียน การสอนนน้ั จำแนกไดเ้ ป็น 3 วิธี คือ 1. ใช้เป็นแหลง่ ขอ้ มลู เกีย่ วกับวชิ าท่ีเรยี น 2. ใช้เป็นวัสดุการเรยี นรว่ มกับสือ่ อ่ืนๆ 3. ใช้เป็นส่ือเสรมิ ในการเรยี นรแู้ ละเพิม่ พูนประสบการณ์ .จากวิธีการใช้สิ่งพิมพ์ทั้ง 3 วิธีน้ัน ผู้สอนสามารถนาสิ่งพิมพ์ทั้งท่ีเป็นสิ่งพิมพ์ท่ัวไป หรือส่ิงพิมพ์เพื่อการศึกษา โดยเฉพาะมาใชใ้ นการเรยี นการสอนกไ็ ด้ ท้งั น้โี ดยพิจารณาตามลกั ษณะของสิง่ พมิ พแ์ ละลักษณะของการใช้ ดงั นี้ 1. สิ่งพมิ พท์ ่เี ขียนข้นึ ในลักษณะของหนังสือตารา ใช้เพอ่ื การศกึ ษาในระบบโรงเรียนตามหลกั สตู ร 2. ส่ิงพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะบทเรียนสาเร็จรูปเพ่ือง่ายต่อการศึกษาด้วยตนเอง เหมาะสาหรับใช้ใน การศึกษาทางไกลร่วมกับสื่ออื่นๆ เชน่ โทรทัศน์ เทปเสยี งสรปุ บทเรยี น และการสอนเสริม เป็นต้น 3. ส่ิงพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบฝึกปฏิบัติ คู่มือเรียน ฯลฯ อาจใช้ร่วมกับสื่อบุคคลหรือ ส่อื มวลชนประเภทอืน่ ๆ ได้ 4. ส่งิ พิมพ์ทั่วๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ที่มีคอลัมน์หรือบทความที่ให้ประโยชน์ ผู้สอนอาจแนะ นาให้ผู้เรยี นอา่ นเพอ่ื เพิ่มพูนความรู้หรอื เพ่ือนามาใช้อา้ งองิ ประกอบการค้นคว้า 5. สิ่งพิมพ์ประเภทภาพชุด เป็นการให้ความรูท้ างรูปธรรมเพอื่ ใชใ้ นการเสรมิ สร้างประสบการณ์ ทาให้ผู้เรียน เข้าใจเหตุการณ์เร่ืองราวหรือส่ิงท่ีเป็นนามธรรมได้ชัดเจนข้ึน เช่น ภาพชุดชีวิตสัตว์ หรือภาพชุดพระราช พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นต้น (สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, 9 กันยายน 2553) ประโยชน์และคุณค่าของสอื่ ส่ิงพิมพเ์ พอื่ การศึกษา 1. สอ่ื สิ่งพมิ พส์ ามารถเกบ็ ไวไ้ ดน้ าน สามารถนามาอ่านซ้าแล้วซ้าอีกได้ 2. สื่อสิ่งพมิ พเ์ ปน็ ส่ือที่มรี าคาถูกเมอ่ื เทยี บกบั สื่ออนื่ ๆ 3. ส่ือส่ิงพมิ พ์เปน็ สือ่ ทีใ่ ช้งา่ ย ไมย่ ุ่งยาก 4. ส่ือส่ิงพิมพ์เป็นส่ือที่จัดทาได้ง่าย โดยครูผู้สอนสามารถทาได้เองได้ มีวิธีทาท่ีไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น ใบ งาน ใบความรู้ เปน็ ต้น

15 ขอ้ ดีและข้อจากดั ของส่อื สง่ิ พมิ พเ์ พ่อื การศกึ ษา ขอ้ ดี 1. สามารถอา่ นซ้า ทบทวน หรืออา้ งอิงได้ 2. เป็นการเรียนรูท้ ่ีดสี าหรับผู้ท่สี นใจ 3. เปน็ การกระตนุ้ ให้คนไทยรักการอา่ น ข้อจำกดั 1. ผู้มีปญั หาทางสายตา หรอื ผสู้ ูงอายอุ ่านไมส่ ะดวกในการใช้ 2. ขอ้ มลู ไม่สามารถปรบั ปรงุ แก้ไขไดท้ นั ทว่ งทไี ด้ 3. ผูไ้ ม่ร้หู นังสือ ไมส่ ามารถเข้าถงึ ได้ ความหมายของสือ่ ออนไลน์ ความหมายของสอ่ื สังคมออนไลน์ ส่ือสังคมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทัลท่ีเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม(Social Tool) เพ่ือใช้ ส่ือสารระหว่างกนั ในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซตแ์ ละโปรแกรมประยกุ ต์บนสอื่ ใดๆ ที่มี การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งท่ีเป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม (Collaborative) อย่าง สรา้ งสรรค์ ในการผลิตเนอ้ื หาข้ึนเอง (User-GenerateContent:UGC) ในรปู ของขอ้ มูลภาพและเสยี ง สำหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคำว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบ เห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันน้ีเราจะมารู้จัก ความหมายของมนั กนั ครบั คำวา่ “Social” หมายถงึ สังคม ซง่ึ ในทนี่ จี้ ะหมายถึงสงั คมออนไลน์ ซึ่งมขี นาดใหมม่ ากในปัจจุบัน คำว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งกค็ อื เนื้อหา เรอ่ื งราว บทความ วดี ีโอ เพลง รูปภาพ เปน็ ตน้ ดังนั้นคำว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ท่ีมีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ พูดงา่ ยๆ ก็คือเว็บไซต์ท่ีบุคคลบนโลกน้ีสามารถมปี ฏสิ ัมพนั ธโ์ ้ต้ตอบกนั ได้น่ันเอง พ้ืนฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนษุ ย์หรือคนเราท่ีต้องการติดต่อสอ่ื สารหรือมี ปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บท่ีแสดงเน้ือหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อ หรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเวบ็ พัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มกี ารพัฒนาเวบ็ ไซต์ท่ีเรียกว่า web application ซ่ึง ก็คือเว็บไซตม์ ีแอพลิเคชนั หรอื โปรแกรมต่างๆ

16 ทม่ี าและความสำคัญ ส่ือสังคมออนไลน์กลับส่งอิทธิพลลบต่อชีวิตประจำวนั และความสัมพนั ธ์ของคนในสงั คมอยา่ งชัดเจนมาก ย่งิ ขึ้นจนกลายเป็นประเด็นทางสังคม ท่ีท้งั สือ่ บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องให้ความสำคัญในการป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาเหล่าน้ี สอ่ื สังคมออนไลน์ใช้ส่ือสารระหว่างกนั ในเครอื ข่ายทางสังคม ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บน สื่อใดๆ ท่ีมีการเช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ท้ังที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม อย่างสร้างสรรค์ ในการผลติ เน้ือหาขน้ึ ในรูปของขอ้ มูล ภาพ และเสยี ง ทั้งน้ีการใช้สื่อออนไลน์ต่างๆ ก็ต้องอยู่ในขอบเขตในความพอประมาณ เล่นในประมาณที่พอเหมาะเพื่อ เป็นผลดีตอ่ สายตาและรา่ งกาย ประเภทสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทของส่ือสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ข้ึนอยู่กับลักษณะของการนำมาใช้โดยสามารถ แบง่ เปน็ กลมุ่ หลกั ดงั นี้ 1. Weblogs หรือเรียกส้ันๆ ว่า Blogs คือ ส่ือส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ได้ ซึง่ การแสดงเนื้อหาของบล็อกนัน้ จะเรยี งลำดบั จากเน้ือหาใหม่ไปสู่เนอื้ หาเก่า ผู้เขยี นและ ผ้อู ่านสามารถคน้ หาเน้ือหายอ้ นหลงั เพื่ออา่ นและแก้ไขเพ่มิ เติมได้ตลอดเวลา เชน่ Exteen,Bloggang,Wordpress,Blogger,Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรับ เชื่อมตอ่ ระหวา่ งบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือให้เกิดเปน็ กลมุ่ สงั คม(Social Community) เพอื่ รว่ มกันแลกเปล่ียนและ แ บ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง กั น ท้ั ง ด้ า น ธุ ร กิ จ ก า ร เมื อ ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ช่ น Facebook, Hi5, Ning,Linkedin,MySpace,Youmeo,Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจ๋ิว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ท่ี ให้ บ ริการแก่บุ ค ค ลท่ั วไป สำห รับ ให้ ผู้ใช้บ ริก ารเขียน ข้อ ความ สั้น ๆ ป ระม าณ 140 ตัวอั กษ รที่ เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพือ่ แสดงสถานะของตวั เองว่ากำลังทำอะไรอยูห่ รอื แจ้งข่าวสารตา่ งๆแก่กลุ่ม เพอื่ นในสงั คมออนไลน์ (OnlineSocialNetwork) (Wikipedia,2010) ทงั้ นี้การกำหนดให้ใชข้ ้อมูลในรปู ข้อความ ส้ันๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน เข้าใจง่าย ท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึงปัจจุบันได้รับความนิยม อยา่ งแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็วเน่ืองจากเน้อื หาท่นี ำเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำกัดโดยผังรายการที่ แน่นอนและตายตัวทำให้ผใู้ ช้บริการสามารถติดตามชมได้อยา่ งต่อเน่ืองเพราะไมม่ ีโฆษณาคน่ั รวมทั้งผู้ใช้สามารถ เลือกชมเน้ือหาได้ตามความตอ้ งการและยงั สามารถเช่อื มโยงไปยงั เว็บวดิ โี ออนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งได้จำนวนมากอีกดว้ ย เชน่ Youtube, MSN, Yahoo

17 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ท่ีเน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รูปภาพเพื่อนำมาใช้งานได้ ที่สำคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็น พ้ื น ท่ี เพื่ อ เส น อ ข า ย ภ า พ ที่ ต น เอ ง น ำ เข้ า ไ ป ฝ า ก ไ ด้ อี ก ด้ ว ย เช่ น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ท่ีมีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge)ซ่ึงผู้เขียนส่วนใหญ่ อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรอื ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านตา่ งๆ ท้ังการเมือง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คอื การสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองสว่ นหน่ึงของชีวิตลงไป จดั เป็นส่อื สงั คมออนไลน์ ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพ่ือส่ือสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซ่ึงผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านส่ือ เช่น สำนักข่าวรอยเตอร์ สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียคา่ ใช้จ่ายในการซื้อพื้นท่ีเพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กร ได้มีช่องทางในการนำเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าท้ังหลัก และรองหรือ ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบันเว็บไซต์ท่ีใช้หลัก Virtual Worlds ที่ ประสบผลสำเรจ็ และมีช่ือเสียง คอื Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอความ รว่ มมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรปู ของเว็บไซต์ที่มวี ัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหา คำตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆท้ังทางธุรกิจ การศึกษา รวมท้ังการสื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความ ร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบขอ้ มูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ขอ้ เสนอแนะ กลุ่มคนทีเ่ ข้ามาให้ ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคมนัก ข่าว ข้อดขี องการใช้หลัก Crowd souring คือ ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพอื่ นำ ไปส่กู ารแก้ปญั หาที่ มปี ระสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรอื คัดกรองข้อมลู ซึง่ เป็นปัญหาสาธารณะร่วมกันได้ เชน่ Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting ห รื อ Podcast ม า จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ส อ ง ค ำ คื อ “Pod” กั บ “Broadcasting” ซ่ึง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วนบุคคล ส่วน “Broadcasting” เป็นการนำสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การ บันทึกภาพและเสียงแล้วนำมาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ท่ีสนใจดาวนโ์ หลดเพอื่ นำไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะ เกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp

18 ประโยชนข์ อง Social networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ความรใู้ นสง่ิ ท่สี นใจรว่ มกนั ได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู้ หรือต้ัง คาถามในเร่ืองตา่ งๆ เพอื่ ใหบ้ ุคคลอ่ืนทีส่ นใจหรือมคี าตอบได้ชว่ ยกนั ตอบ 3. ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการตดิ ตอ่ ส่อื สารกับคนอ่ืน สะดวกและรวดเร็ว 4. เป็นส่ือในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพ่ือให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชมและ แสดงความคดิ เห็น 5. ใช้เป็นส่ือในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความ เช่อื มนั่ ให้ลูกคา้ 6. ชว่ ยสรา้ งผลงานและรายไดใ้ ห้แก่ผใู้ ช้งาน เกิดการจา้ งงานแบบใหมๆ่ ข้นึ 7. คลายเครยี ดได้สำหรับผใู้ ชท้ ีต่ ้องการหาเพอื่ นคุยเล่นสนกุ ๆ 8. สรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ีดีจากเพ่ือนสู่เพือ่ นได้

19 ความหมายของอาชพี อาชีพ หมายถึง การทำกิจกรรม การทำงาน การประกอบการที่ไม่เป็นโทษแก่สังคม และมีรายได้ตอบ แทน โดยอาศัยแรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ แตกต่างกันไปกลุ่มอาชีพตามลักษณะการ ประกอบอาชพี มี 2 ลกั ษณะ คือ อาชีพอิสระ และอาชีพรบั จ้าง 1. อาชพี อิสระ หมายถึง อาชีพทุกประเภทท่ผี ู้ประกอบการดำเนินการด้วยตนเอง แต่เพยี งผู้เดยี วหรือเป็น กลุ่ม อาชีพอิสระเป็นอาชีพท่ีไม่ต้องใช้คนจำนวนมาก แต่หากมีความจำเป็นอาจมีการจ้างคนอ่ืนมาช่วยงานได้ เจ้าของกิจการเป็นผู้ลงทุน และจำหน่ายเอง คิดและตัดสินใจด้วยตนเองทุกเร่ือง ซึ่งช่วยให้การพัฒนางานอาชีพ เป็นไปอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชีพอิสระ เช่น ขายอาหาร ขายของชำ ซ่อมรถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระ ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถในเร่ือง การบริหาร การจัดการ เช่น การตลาด ทำเลท่ีต้ัง เงินทุน การตรวจสอบ และประเมินผล เป็นต้น นอกจากน้ียังต้องมีความอดทนต่องาน หนัก ไม่ถ้อถอยต่อ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึน มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ และมองเห็นภาพการดำเนินงาน ขอ ง ตนเองไดท้ ะลุปรุโปร่ง 2. อาชีพรับจ้าง หมายถึง อาชีพท่ีมีผู้อ่ืนเป็นเจ้าของกิจการ โดยตัวเองเป็นผู้รับจ้าง ทำงานให้ และได้รับ ค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้างประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซ่ึงได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่าย แรกเรยี กว่า \"นายจ้าง\" หรือผู้วา่ จ้าง บคุ คลฝ่ายหลงั เรียกว่า \"ลูกจ้าง\" หรือผู้รบั จ้าง มีคา่ ตอบแทนท่ีผู้ว่าจ้างจะต้อง จ่ายให้แก่ ผูร้ ับจา้ งเรียกว่า \"ค่าจ้าง\" การประกอบอาชีพรับจ้าง โดยทั่วไปมีลักษณะ เป็นการรับจ้างทำงานในสถาน ประกอบการหรือโรงงาน เปน็ การรบั จ้างในลกั ษณะการขายแรงงาน โดยได้รบั ค่าตอบ แทนเป็นเงนิ เดือน หรอื คา่ ตอบแทนท่ีคิดตามช้ินงานท่ี ทำได้ อตั ราค่าจา้ งขึ้นอยู่กบั การกำหนด ของเจ้าของสถานประกอบการ หรือนายจ้าง การทำงานผู้รับจ้างจะทำอยู่ภายในโรงงาน ตามเวลาที่

20 นายจ้างกำหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องเสี่ยง กับกาลงทุน เพราะลูกจ้างจะใช้ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ท่ีนายจ้างจัดไว้ให้ทำงานตามท่ีนายจ้าง กำหนด แต่มีข้อเสีย คือ มักจะเป็นงานที่ทำซ้ำ ๆ เหมือนกันทุกวัน และต้องปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบยี บของนายจ้าง ในการประกอบอาชีพรบั จ้างนั้น มีปัจจัยหลายอย่าง ท่ีเอื้ออำนวยให้ผู้ประกอบอาชีพ รับจ้างมีความเจริญก้าวหน้าได้ เช่น ความรู้ ความชำนาญในงาน มีนิสัยการ ทำงานที่ดี มีความกระตือรือร้น มานะ อดทน ในการทำงาน ยอมรับกฎเกณฑ์และเช่ือฟังคำสั่ง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยันหม่ันเพียร รับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี รวมท้ัง สุขภาพอนามัยท่ีดี อาชีพต่าง ๆ ในโลกมี มากมาย หลากหลายอาชีพ ซ่ึงบุคคลสามารถจะเลือกประกอบ อาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการ ความชอบ และความสนใจ ไม่ว่าจะเป็นอาชีพ ประเภทใด จะเป็นอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้าง ถ้าหากเป็นอาชีพท่ีสุจริต ย่อมจะทำให้ เกิดรายได้มาสู่ตนเอง และครอบครัว ถ้าบุคคลผู้นั้นมีความมุ่งม่ัน ขยัน อดทน ตลอดจน มีความรู้ ขอ้ มูลเกยี่ วกบั อาชีพตา่ ง ๆ จะทำให้มองเหน็ โอกาสในการเข้าสอู่ าชพี และพฒั นา อาชีพใหม่ ๆ ใหเ้ กดิ ข้ึนอยู่เสมอ แซนวชิ เพอื่ สุขภาพ แซนวิช เงนิ ลงทนุ : ครงั้ แรกประมาณ 800 บาท รายได้ : ประมาณ 500 บาท/วนั วสั ดุ/อปุ กรณ์ : โต๊ะ-เก้าอี้ ถาดวางแซนด์วิช มีด เขียง ภาชนะใส่ขนมปังและไส้ พลาสติกใส (ห่อแซนด์วิช) สก๊อตเทป ตะกร้าใสข่ อง

21 วิธที ำไส้แซนดว์ ชิ : มายองเนส (นำ้ สลดั ) สว่ นผสม : – น้ำมันสลดั 2 ถ้วยตวง – ไขแ่ ดง (ไข่ไก)่ 6 ฟอง – มสั ตาร์ด 1 ชอ้ นโต๊ะ – พรกิ ไทยปน่ 1 ช้อนชา – น้ำตาลทราย 1/3 ถ้วยตวง – เกลือป่น 1 ชอ้ นชา – น้ำมะนาว 5 ช้อนโตะ๊ วิธที ำ : 1. ผสมนำ้ ตาลทราย มัสตารด์ พริกไทยปน่ เกลอื ป่น เขา้ ด้วยกัน 2. ใสไ่ ข่แดงลงไปคนหรอื ใชเ้ ครือ่ งตจี นขนึ้ ฟู 3. ใสน่ ำ้ มนั สลดั สลบั กับน้ำมะนาวจนหมด ผักดอง สว่ นผสม : – กะหล่ำปลีห่ันฝอย 2 ถ้วยตวง – แครอทหัน่ ฝอย 1 ถ้วยตวง – น้ำสำหรับดอง (น้ำส้มสายชู 1 ถ้วยตวง น้ำตาลทราย 1 ถ้วยตวง และเกลือป่น 1 ช้อนชา ผสมกัน) วิธีทำ : 1. เคล้ากะหล่ำปลกี บั แครอทพอน่ิมล้างนำ้ ผงึ่ ใหส้ ะเด็ดน้ำ 2. เทน้ำสำหรับดองใส่ในผกั เคลา้ ให้ท่วั หมักไว้ 1 คืน 3. นำข้ึนจากนำ้ ดอง บบี ใหแ้ ห้ง สับให้ละเอียด ไส้ไก่ สว่ นผสม : – อกไก่ต้มสับละเอียด ½ ถว้ ยตวง – หมูแฮมตดิ มันเลก็ น้อยสับละเอียด ½ ถ้วยตวง – ผักดองสับละเอยี ด 1 ช้อนโตะ๊

22 – มายองเนส (น้ำสลัด) ¼ ถ้วยตวง วีธีทำ : ผสมเคร่ืองปรุงพอเข้ากัน ทาบนขนมปังช้ินหนึ่ง แล้ววางผักกาดหอมข้างบน เอาขนมปังอีกช้ินหน่ึงทา เนยบาง ๆ ประกบกบั ชน้ิ แรก ไส้ปลาทูนา่ สว่ นผสม : – ปลาทนู ่ากระป๋องยลี ะเอยี ด 1 ถ้วยตวง – หอมใหญ่สับละเอียด ¼ ถว้ ยตวง – มายองเนส ¼ ถ้วยตวง – กา้ นผักชสี บั ละเอยี ด 2 ชอ้ นโต๊ะ วธิ ที ำ : ผสมเคร่อื งปรงุ ให้เขา้ กนั ทาบนขนมปงั ชิน้ หนงึ่ เอาขนมปงั อีกช้นิ หนึง่ ทาเนยบางๆ ประกบกับชน้ิ แรก ไส้ไสก้ รอกหรอื แฮม สว่ นผสม : – ไส้กรอกหรือแฮมสไลซบ์ างพอควร – ผักดองสับละเอียด 1 ถ้วยตวง – มายองเนส (น้ำสลดั ) 1 ถ้วยตวง วิธที ำ : ทาน้ำสลัดบนขนมปังชิ้นหนึ่ง โรยผักดองให้ท่ัวแผ่น ปิดด้วยขนมปังอีกช้ินหน่ึงซึ่งทาเนยด้านบน วางไส้ กรอกหรอื แฮมข้างบนขนมปงั เอาขนมปงั อกี ช้นิ หนึง่ ทาเนยบาง ๆ ประกบรวมเป็นขนมปัง 3 แผ่น ไส้หมหู ยอง วิธที ำ : ผสมหมหู ยองกับน้ำสลัด คลุกใหเ้ ข้ากนั ใส่วางบนขนมปังท่ีทาเนยแลว้ วางประกบกนั วิธที ำแซนด์วชิ : 1. นำขนมปงั มาตัดริมแขง็ ออก 2. ใสไ่ ส้แล้วประกบกนั 2 แผน่ หรือ 3 แผน่ ตามตอ้ งการจากน้นั ตัดครึ่งเป็นชิน้ สามเหลย่ี มหรือตัดอกี คร่ึง เป็นชิ้นสามเหล่ยี มเลก็ 3. หอ่ ด้วยกระดาษพลาสตกิ ใส ตลาด/แหล่งจำหน่าย : แหล่งชุมชนบริเวณที่คนสัญจรไปมาบรเิ วณใกล้ป้ายรถประจำทางหรอื ใกลส้ ถานทที่ ำงาน

23 ขอ้ แนะนำ : 1. ไส้แซนด์วิชสามารถดัดแปลงได้อีกมาก เช่น ไส้หมูหยองกับน้ำพริกเผา ไส้ตับบด ไส้ไข่ต้มสุก ฯลฯ 2. ควรเลือกใช้ขนมปังท่ีใหม่ สด และนิ่ม และหากต้องการความสะดวกก็ใช้ขนมปังชนิดที่ตัดขอบสำเร็จ แลว้ 3. ควรขายในเวลาเชา้ เพราะบุคคลส่วนใหญม่ กั รับประทานเปน็ อาหารเชา้ 4. ถ้ามีเงินลงทุนน้อย ก็ใช้โต๊ะชนิดพับได้ต้ังวางขายแซนด์วิชและมีเก้าอี้สำหรับน่ังขาย 1 ตัว แต่ถ้ามีเงิน ลงทนุ มากกอ็ าจใช้เปน็ รถเขน็ การสานตะกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ อปุ กรณท่ีต้องเตรยี ม - เส้นพลาสติกสตี ามชอบ - กรรไกร - สายวดั - ลวด - คีมดดั ลวด

24 ถา้ ทำตามขนาดทรี่ า้ นตัดเส้นตามนคี้ ะ เส้นตั้ง 40 ซ.ม. - 9 เส้น เสน้ นอน 50 ซ.ม. - 7 เส้น เสน้ สาน 60 ซ.ม. - 5 เส้น เส้นเกบ็ ขอบปาก 60 ซ.ม. - 1 เสน้ ลวด เบอร1์ 4 ยาว 50 ซ.ม. - 1 เสน้ ขั้นตอนการทำ - ใช้หนังยางมัดปลายเส้นต้ังท้ัง 9 เส้น รวมไว้ด้วยกัน โดยให้เส้นเรียงกัน เหมือนในภาพ (อาจติดเทปใส เพอ่ื ช่วยให้เสน้ ไมเ่ คลือ่ นและสานงา่ ยขึ้น) - นำเส้นนอนอีก 7 เส้น มาสานขัดกับเส้นตั้ง โดยสานให้เส้นสับหว่างกัน ให้เส้นท่ีสานขัดแล้วอยู่ช่วงกลาง เหมือน ในรูป

25 - จากน้ันจัดเส้นแนวนอนให้ชิด แล้วนำเส้นสาน อีก 5 เส้น มาสานขึ้ันไปด้านบน โดยเร่ิมสานประมาณครึ่งนึงของ เส้นต้งั - เร่มิ สานโดยการนับเสน้ สานลงมาถงึ เสน้ ท่ี6 แลว้ สานขัดสบั หว่างขึน้ ไปด้านบน เหมอื นในรูป

26 - สานขัดไปจนหมดเส้น แลว้ พอถึงมุม ก็นับเสน้ ที่6 เหมอื นเดิม ทำจนครบทง้ั 4 มมุ (ถา้ สานแลว้ กลัวเสน้ หลุด ใช้การพับเส้นแล้วสอดขดั ไวด้ ังภาพ) - พอสานครบท้ัง 4 ดา้ นแล้ว ก็สอดเสน้ สานใหต้ ัวงานผสานกัน ทัง้ 5 เส้น ใหค้ รบ - ดึงจดั ชิ้นงานใหช้ ดิ กัน ไดข้ นาด และพับมุมกล่องใหส้ วยงาม - จากนนั้ ดดั ลวด ดา้ นกว้าง 9.5 ซ.ม. ด้านยาว 12.5 ซ.ม.

27 - จากนัน้ นำลวด ครอบตรงปากชนิ้ งาน แล้วพับเส้นให้ทับลวดดังภาพ - นำเสน้ เกบ็ ขอบปากวางทับลวด แล้วพบั เสน้ ท่เี หลอื สอดลงมา ดงึ เก็บงานให้เรียบรอ้ ย - สอดเสน้ เกบ็ งาน แล้วตัดเสน้ ท่ีเศษออกมา ให้เรียบร้อย - เสร็จแล้วจา้ ได้กลอ่ งใส่ใบเลก็ ของกระจุกกระจิก สีทองสวยเชียว - สำหรบั ท่านที่อยากไดแ้ บบสวยๆ โดยท่ไี มต่ ้องทำ สงั่ ซอ้ื เราได้เลยคะ่ รบั รอง ถกู ดี ทน

28 การพับดอกกุหลาบจากใบเตย 1. ส่วนโคนใบเตยถือเป็นส่วนของก้านกุหลาบน เร่ิมจากกะจากโคนขึ้นมาเอาขนาดตามความยาวก้านท่ีต้องการ จากน้ันพับไปทางขวา ให้ไดอ้ ย่างภาพท่ี 1 จากภาพที่ 1 เราหมนุ ใหม้ าอยู่ในรปู แบบสามเหลย่ี มตามภาพดา้ นล่าง (มือซา้ ยจบั สว่ นโคน มือขวาจบั ส่วนปลาย)

29 2. มือขวาจบั สว่ นปลายไว้ มอื ซา้ ยพับส่วนโคนลงมา ดงั ภาพ 3. จบั ส่วนโคนไว้ พับส่วนปลายลงมา (พับไปทางด้านหลัง) 4. หมุนมอื ทจ่ี บั ส่วนโคนพับทบลงมาหาส่วนปลาย 1 ครัง้ (จะไดส้ ่วนใจกลางดอกไม้) 5. ใชม้ ือซ้ายเล่อื นขน้ึ มาจับยึดสว่ นใจกลางดอกไว้ให้ม่ัน จากน้นั บิดดสว่ นปลาย 1 คร้ัง ตามภาพ เพอ่ื ทำกลีบดอก 6. จากนนั้ จับรวบกันไว้ที่ก้านลกั ษณะเหมือนดอกไม้

30 7. มือขวาบิ ดส่วน ปลายแล้ว จับ รวบไว้ที่ก้าน ท ำอย่างนี้ ไป เร่ือย ๆ จะได้กลีบดอกไม้ท่ีสวยงาม 8. ทำมาจนเกือบสดุ ปลายใบเตย 9. บิดเหมือนทำกลบี ดอกอีก 1 ช้ัน แตใ่ หม้ คี วามเนน่ แบบรัดขอ้ ไว้ 10. จากนน้ั นำปลายใบเตยซ่อนขดั ไว้ดา้ นใน เปน็ อนั เสรจ็ 1 ดอก ทำจำนวนดอกตามปริมาณที่ต้องการ จากน้ันนำมา จัดช่อ เสร็จแล้วจ้า ไปวางไว้ในรถดีกว่า ขับไป หอมไปตลอด ทาง

31 20 อาชพี ทดี่ ีทส่ี ุดสำหรับการทำงานในรปู แบบ Work from Home กว่าทศวรรษที่ผ่านมาการทำงานจากท่ีบ้าน (Work from Home) ในประเทศสหรัฐอเมริกามีอัตราเพิ่มขึ้น อย่างก้าวกระโดด จากการวิเคราะห์ขององค์กร Global Workplace Analytics ของประเทศสหรัฐฯ โดยการ สำรวจข้อมูลจาก Census Bureau’s American Community Survey ปี 2005-2018 พบว่าการทำงานผ่าน เทคโนโลยี Telecommuting (การทำงานผ่านส่ือโทรคมนาคม) มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างมาก โดยสามารถสรุป ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จากการสำรวจไดเ้ ปน็ 3 ประเดน็ หลกั ดังน้ี 1. การทำงานแบบ Telecommuting เติบโตข้ึนถึง 173% เม่ือเปรียบเทียบกับอัตราการจ้างงานในปัจจุบัน ของประเทศ 2. 50% ของแรงงานในตลาดแรงงาน มีการทำงาน Part-time ในรูปแบบ Work from Home และ 40% ของแรงงานในตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ใช้เทคโนโลยี Telecommuting ในการทำงานเป็นบางครั้งบาง คราว 3. กว่า 75% ของแรงงานในตลาดแรงงานท่ีทำงานในรูปแบบ Work from Home ได้รับรายได้มากกว่า 65,000 ดอลลาร์สหรัฐ/ปี ซ่งึ เปน็ รายไดท้ ีส่ งู (สงู กว่า 80% ของพนักงานบริษทั ในตลาดแรงงานท้ังหมด) อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่าการทำงานในรูปแบบ Work from Home จะให้ผลตอบแทนท่ีดีอ้างอิงจากข้อมูลท่ีได้จากการ สำรวจข้างต้น ผู้ท่ีสนใจต้องพึงระวังกลุ่มมิจฉาชีพที่คอยฉกฉวยโอกาสจากกลุ่มคนที่ต้องการทำงานในรูปแบบ Work from Home เช่น การนำข้อมูลส่วนบุคคล หรือหมายเลขประกันสังคม ไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชร์โดยมิ ชอบ ซึ่ง Ms. Christine Durst จาก Rat Race Rebellion ซ่ึงเป็นหน่วยงานจัดหางานในรูปแบบ Work from Home ไดใ้ หข้ ้อสงั เกตเก่ียวกับลกั ษณะบรษิ ทั ทนี่ า่ เชื่อถือไว้ดังน้ี 1. บริษัทนน้ั จำเป็นต้องมีตัวตน จดทะเบียนถกู ตอ้ งตามกฎหมาย 2. ในโฆษณาจัดหางานของบริษัทนั้นต้องระบุชื่อบริษัทชัดเจน และต้องไม่ขอให้ผู้สมัครตอบกลับ blind e- mail address 3. ตอ้ งมหี นว่ ยงานดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (Human Resources) ในบริษทั 4. มกี ารกลา่ วถึงสทิ ธิ สวสั ดกิ าร และวันหยุดตามกฎหมายของพนักงานอย่างชัดเจน 5. มีกระบวนการในการสมคั รและสมั ภาษณท์ ่ีชัดเจน 6. สามารถบอกไดถ้ งึ ความรบั ผดิ ชอบและความคาดหวังต่อตำแหนง่ ต่าง ๆ 7. สามารถยกตัวอยา่ งเนอื้ งานของตำแหน่งต่าง ๆ ได้

32 โดยเว็บไซต์ Bankrate ของสหรัฐฯ ได้รวบรวม 20 อาชีพที่ดีท่ีสุดสำหรับการทำงานในรูปแบบ Work from Home โดยใชข้ อ้ มลู จากการสำรวจของ Bureau of Labor Statistics’ Occupation Outlook (BLS) ดังน้ี 1. ผู้พัฒนาเว็บไซต์(Web Developer) อาชีพพัฒนาเว็บไซต์มหี น้าที่สร้างและออกแบบเว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็น การใช้สำหรับส่วนตัวหรือทางการค้า นอกจากน้ีผู้พัฒนาเว็บไซต์ยังสามารถใช้พ้ืนฐานความรู้ในการ ประกอบอาชีพด้านอื่น ๆ อีกด้วย เช่น ด้านการตีพิมพ์ ด้านการโฆษณา การให้คำปรึกษา เป็นต้น ซ่ึงการ เตบิ โตของธุรกิจ E-commerce และโทรศพั ทม์ ือถอื ส่งผลใหอ้ ัตราการจ้างผู้พฒั นาเว็บไซต์มีแนวโน้มท่จี ะ สงู ข้นึ ถึง 13% ภายใน 8 ปขี ้างหนา้ (ปี พ.ศ. 2571) ซ่งึ สูงกวา่ อาชพี อ่ืนๆ ถึง 5% 2. ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Support Specialist) ในปัจจุบันไมว่ ่าจะเปน็ บรษิ ัท องค์กรไม่ แสวงหาผลกำไร ศูนย์บริการข้อมูลลูกค้า หรือหน่วยงานใดๆ ก็จำเป็นท่ีจะต้องจ้างงานผู้เช่ียวชาญด้าน คอมพิวเตอร์ โดยอัตราการจ้างงาน-v’อาชีพผู้เช่ียวชาญด้านคอมพิวเตอร์มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นถึง 10% ภายในปี พ.ศ. 2571 3. ผู้ช่วยเสมือน (Virtual Assistance) อาชีพผู้ช่วยเสมือนมีหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยลูกค้าในด้านการบริหารจัดการ ดา้ นเทคนคิ หรอื การสร้างสรรค์บริการต่างๆ อาทิ บริการด้านสุขภาพ กฎหมาย การเงนิ เป็นต้น ซ่ึงอาชีพ ผชู้ ่วยเสมอื นสามารถทำงานไดใ้ นหลากหลายสาขาอาชพี ทำใหม้ ีรายไดจ้ ำนวนมาก 4. ล่าม หรือผแู้ ปล (Interpreter/ Translator) หากคุณมีความสามารถด้านภาษา คุณสามารถเป็นล่ามหรือ ผแู้ ปลแบบ Work from Home ให้กับหลากหลายองค์กรได้ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ศาล หรือบริษัท ต่าง ๆ โดยอาชีพล่ามเป็นอาชีพท่ีต้องใช้ทักษะในการพูดหรือทักษะในการใช้ภาษามือ ส่วนอาชีพนักแปล จะต้องใช้ทักษะในการเขียนเป็นหลัก อาชีพล่ามและนักแปลเป็นอาชีพท่ีสามารถทำงานได้โดยไม่มี ข้อจำกดั ทางภมู ิศาสตร์ โดยอัตราการจ้างงานอาชีพนี้มีแนวโนม้ ทจี่ ะสูงขน้ึ ถึง 19% ภายในปี พ.ศ. 2571 5. ที่ปรึกษาด้านชีวิตคู่ (Marriage and Family Therapist) อาชีพท่ีปรึกษาด้านชีวิตคู่มักจะต้องทำงานเต็ม เวลาและมีคลินิคส่วนตัว ดังนั้นการติดต่อกับลูกค้าผา่ นช่องทางออนไลน์จึงเป็นอีกวิธหี นึ่งในการทำงานใน ลกั ษณะท่ีท้งั ที่ปรกึ ษาและลกู ค้าไม่จำเป็นต้องเดินทางมาที่คลินิค โดย Ms. Lisa Marie Bobby ท่ีปรึกษา ด้านชีวิตคู่และผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ GrowingSelf.com ซ่ึงให้คำปรึกษาลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์ต้ังแต่ปี 2010 พบว่าเปน็ ช่องทางทง่ี า่ ยและมีประสทิ ธิภาพกว่าการให้ลกู ค้าเข้ามาปรึกษาที่คลนิ คิ 6. ตัวแทนจองต๋ัวและที่พัก (Travel Agent) ด้วยการเข้ามาของอินเตอร์เน็ต ผู้คนมักไม่โทรหาตัวแทนเพ่ือ จองต๋ัวเคร่ืองบินและท่ีพักอีกต่อไป อย่างไรก็ตาม หากคุณมีความเช่ียวชาญในตลาดเฉพาะ เช่นจุดหมาย ปลายที่พิเศษ แปลกใหม่สำหรับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซ้ือสูง คุณสามารถที่จะสร้างรายได้ได้อย่างดีโดยการ ทำงานแบบ Work from Home ถึงแม้ BLS จะคาดการณ์ว่าในอีก 10 ปีข้างหน้าอัตราการจ้างงานของ

33 อาชีพตัวแทนจองตั๋วและท่ีพัก จะลดลง 6% อันเป็นผลมาจากอินเตอร์เน็ต ในความเป็นจริงด้วยแผน ธรุ กจิ ท่ดี ีอาชพี นมี้ ีโอกาสทำเงินได้สูงกวา่ ทีผ่ า่ นมา 7. ครู/ติวเตอร์ (Teacher/Tutor) เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเปิดโอกาสให้นักเรียน และครูสามารถทำการเรียนการสอนระยะไกลได้มากข้ึน ความต้องการครูและติวเตอร์จึงเพ่ิมข้ึนในทุก ระดับชั้นการศึกษาท้ังระดับอุดมศึกษา และระดับก่อนอุดมศึกษา (K-12) ที่ป็นผลมาจากจำนวนรัฐใน สหรัฐอเมรกิ าที่อนุญาตให้เรยี นออนไลนม์ ีเพ่ิมมากขนึ้ นอกจากนัน้ ความตอ้ งการครูสอนพูดภาษาอังกฤษก็ เพม่ิ สูงขน้ึ มากในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศจนี 8. เจ้าของธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise owner) การมีธุรกิจของตัวเองเป็นวิธีการสร้างงานที่ทำแบบ Work from Home ที่ดีอย่างหนึ่ง ข้อดีของแฟรนไชส์คือเม่ือลงทุนไปแล้วคุณจะได้ธุรกิจที่มีรากฐาน เป็นที่รู้จัก มีโมเดลธุรกจิ ขอบเขตในการทำธุรกจิ หรือแม้แต่แหลง่ เงนิ ทุน แฟรสไชสม์ ีครอบคลุมหลากหลายธุรกิจเช่น เคร่ืองสำอาง ทอ่ งเทย่ี ว การตลาด คา้ ปลีก เปน็ ต้น 9. ผู้เช่ียวชาญด้านสื่อโซเชียล (Social media specialist) สิ่งหน่ึงที่มีความสำคัญมากขึ้นเร่ือย ๆ ต่อธุรกิจ ในปัจจุบันคือการที่ธุรกิจมีตัวตน เป็นท่ีรู้จักอยู่ในสื่อโซเชียล หากคุณเชี่ยวชาญในการใช้สื่อโซเชียลเช่น Facebook และ Instagram คณุ สามารถทำเงินได้จากที่บ้านดว้ ยการช่วยใหธ้ ุรกิจ ต่าง ๆ เข้าถึง โปรโมท สินคา้ บนสอ่ื โซเชียล นอกจากน้ันคุณยงั สามารถมีรายได้จากการสอนและการให้คำปรึกษาเก่ียวกับการทำ ตลาดบนสอ่ื โซเชียลได้อีกดว้ ย 10. ตัวแทนประกัน (Licensed insurance representative) คนจำนวนมากพบว่าการซื้อประกันทาง ช่องทางออนไลน์เป็นเร่ืองท่ีง่าย พวกเค้าต้องการเพียงแค่ตัวแทนประกันท่ีสามารถช่วยให้คำแนะนำใน การเลือกประกันท่ีเหมาะกับความต้องการของเค้าเท่านั้น ในประเทศสหรัฐอเมริกา (ซึ่งตัวแทนประกัน ต้องได้รับใบอนุญาต) บริษัทประกันต่างก็กำลังลดพนักงานของตนเองท่ีคอยตอบคำถามของลูกค้าที่โทร เข้ามาสอบถามข้อมูล ดังนั้นมีโอกาสสูงทีเดียวท่ีลูกค้าที่สนใจโทรเข้ามาจะได้คุยกับตัวแทนประกันซ่ึง บรษิ ัทจา้ งแบบ Outsource ใหค้ อยตอบคำถามตา่ ง ๆ จากท่บี า้ น 11. นักเขียน/บรรณาธิการ (Writer/editor) ถึงแม้ธุรกิจส่ือส่ิงพิมพ์รูปแบบเดิมกำลังซบเซาลง หากคุณมี คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ทักษะหรือประสบการณ์ด้านการเขียนและภาษา คุณก็มีโอกาสท่ีจะทำงาน แบบ Work from Home ได้ อย่างไรก็ตามตลาดสำหรับบล็อกเกอร์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน และ บรรณาธิการทตี่ ้องสามารถวางแผนการทำงานและแกไ้ ขงานเขยี นได้ทันกำหนดเป็นตลาดท่มี กี ารแขง่ ขันที่ ค่อนขา้ งสูง

34 12. คนเขียนใบส่ังยา (Medical transcriptionist) คนเขียนใบสั่งยาจะเขียนใบสั่งยาตามคำส่ังของหมอหรือ เจ้าหน้าท่ีทางการแพทย์ท่ีอัดใส่ไฟล์เสียงมา อาชีพนี้สามารถทำงานกับโรงพยาบาล คลีนิก บริษัทท่ี ให้บริการเขียนใบส่ังยาโดยเฉพาะ หรืออาจจะทำเป็นธุรกิจส่วนตัวก็ได้ การขยายตัวของธุรกิจสุขภาพทำ ให้คาดกันว่าอาชีพน้ีจะเป็นท่ีต้องการของตลาด แต่อาจจะได้รับผลกระทบบ้างจากการนำเอาเทคโนโลยี เขา้ มาใช้แทนคนรวมถงึ การจา้ งงานแบบ Outsource 13. ผู้ให้บริการรับเล้ียงเด็ก (Childcare provider) หากคุณมีลูกเล็ก การรับเล้ียงเด็กท่ีบ้านของคุณเอง สามารถให้ประโยชน์กับคุณได้ถึงสองตอ่ ลกู คุณเองจะสนุกสนานอยู่กับเพือ่ นเลน่ วัยเดียวกันในขณะท่ีคุณ ส าม ารถ ส ร้างราย ได้ ไป ด้ ว ย จ าก ก ารที่ รับ ดู แ ล เด็ ก ค น อื่ น ๆ ใน ส ห รัฐ อ เม ริก า เว็บ ไซ ต์ เช่น Care.com Sittercity.com จะช่วยในการติดต่อกันระหว่างผู้ให้บริการดูแลเด็กกับพ่อแม่ที่กำลังหา คนเลย้ี งเด็ก 14. กราฟฟิกดีไซเนอร์ (Graphic designer) หากคุณมีประสบการณ์ในการออกแบบโลโก้และลายเส้ือยืด หรือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พื่อทำโบรชัวร์หรอื โฆษณา คุณสามารถสร้างเงนิ ได้เป็นกอบเป็นกำจาก การทำงาน Work from Home ในสหรัฐอเมริกา เว็บไซต์เช่น Fiverr.com และ 99designs.com จะ ช่วยใหค้ ุณwfhพบกับผ้วู า่ จา้ งทตี่ อ้ งการใช้บรกิ ารของคุณ 15. ตวั แทนบริการลกู ค้า (Customer service representative) เม่ือคุณโทรศพั ท์สงั่ ของจากแคตตาล็อก คน ท่ีอยู่อีกฝั่งนึงของสายอาจจะเป็นคนท่ีน่ังทำงานแบบ Work from Home อาชีพรับจัดกับการโทรเข้ามา ร้องเรียนปัญหา การสั่งสินค้า และตอบคำถามของลูกค้าเป็นตลาดท่ีใหญ่และกำลังโตมาก และเป็นท่ี ต้องการของเกือบทกุ ธุรกิจ 16. ผใู้ หเ้ ช่าทอี่ ยู่อาศัยระยะส้ัน (Short-term rental host) ถา้ คุณมีห้องนอนว่าง ๆ อยทู่ ่ีบ้าน คุณสามารถจะ ปล่อยเช่าได้ผ่านทางเว็บ Airbnb หรือ Homeaway จากการวจิ ัยของ Pew research Center พบว่าคน อเมริกันวยั ผู้ใหญ่ 11% เคยใชบ้ รกิ ารออนไลน์ประเภทนี้ 17. ผู้ทดสอบเว็บไซต์ (Website tester) เว็บไซต์เช่น UserTesting.com และ Userlytics.com จ่ายเงิน ให้กับคนที่เข้ามาทดสอบเว็บไซต์และแอพลิเคชั่นบนมือถือแล้วให้ความเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์การใช้ งาน UserTesting.com จ่ายให้ผู้ทดสอบคนละประมาณ 10 ดอลลาร์สหรัฐเพื่อแลกกับข้อมูลเชิงลึก จากผู้ใช้ที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์ โดยที่การทดสอบใช้เวลาประมาณไม่เกิน 20 นาที อย่างไรก็ดี โอกาสทำเงินจากงานลักษณะนี้ยังมีจำกัดจึงเหมาะท่ีจะเป็นงานเสริมมากกว่าท่ีจะเป็นงานหลักสำหรับ เลี้ยงชวี ิต

35 18. พยาบาลวิชาชีพ (Registered nurse) การเติบโตของธุรกิจการให้หรือรับการดูแลสุขภาพทางไกลผ่าน คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มอื ถือเช่น การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรศัพท์ ทำให้พยาบาลวิชาชีพทีท่ ำงานแบบ Work from Home เปน็ ท่ีต้องการของตลาดเปน็ อย่างสงู 19. ผู้จัดงานประชุมและอีเวนท์ (Meeting, convention and event planner) ไม่ว่าจะเป็นงานประชุม งานระดมทนุ หรืองานเล้ยี งวันเกิดซ่งึ ต้องการคนดแู ลการจัดงาน ผจู้ ัดงานประชุมและอีเวนทม์ ีโอกาสอย่าง มากมายที่จะทำงานแบบ Work from Home ผ่านทางโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ ด้วยอาชีพน้ีคุณอาจ ต้องไปดูหน้างานด้วยตัวเอง โดยผู้ท่ีมีประสบการณ์หรือเรียนมาในด้านให้บริการ จัดเลี้ยง การรับรอง (Hospitaliity) จะมคี วามไดเ้ ปรียบในการทำงานสายนี้ 20. นักบญั ชี ผ้ตู รวจสอบบัญชี (Bookkeeping, accounting, auditing clerk) นักบัญชีและผูต้ รวจสอบบัญชี มีหน้าที่จัดทำและตรวจสอบบันทึกทางการเงินให้ถูกต้อง อาชีพนี้เหมาะกับการทำงานแบบ Work from Home โดยท่ีอาจต้องมีการไปทำงานที่ออฟฟิศของลูกค้าและทำงานล่วงเวลาบ้างในบางช่วง อย่างไรก็ ตามคาดการณ์ว่าการจ้างงานในสายอาชีพนี้มีแนวโน้มที่จะลดลงภายในอีก 8 ปีข้างหน้า (ปี พ.ศ. 2571) เนอื่ งจากการนำเอาเทคโนโลยีและระบบอัตโนมตั เิ ขา้ มาใชแ้ ทนคน รวม 12 อาชีพอสิ ระท่ีสรา้ งรายไดเ้ ยอะมาก ทำงานได้ ไม่ต้องเขา้ ออฟฟศิ มีคนรุ่นใหม่จำนวนไม่น้อย ที่มีความคิดนอกกรอบและต้องการหลีกหนีการเข้าสูว่ งจรชีวติ มนษุ ย์เงินเดือน หลังจากจบการศึกษา และมองว่า “อาชีพอิสระ” คืออีกหนทางหน่ึงที่สามารถสร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำ บาง อาชีพสรา้ งรายได้มากกว่าเงินเดอื นเสียด้วยซ้ำ ทนี ี้เรามาดูกันวา่ อาชีพอิสระ อะไรบ้างท่ีสร้างรายได้มากแถมยังไม่ ตอ้ งเขา้ ออฟฟิศเหมอื นมนุษยเ์ งินเดือนกันบา้ ง 1.นกั โปรโมทสนิ คา้ /นกั รีววิ สนิ ค้า อาชีพนี้สามารถทำงานได้ทุกที เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ตไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็สามารถทำงานได้ เช่น ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาจะมีธุรกิจในรูปแบบการแนะนำสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้รับค่าคอมมิชชั่นหรือ ค่าตอบแทนจากเปอร์เซ็นต์การสินค้า โดยท่ีทางบริษัทจะทำการส่งสินค้ามาให้ได้ทดสอบก่อนวางจำหน่าย ซ่ึง อาชีพน้ีสามารถทำเงินได้ถึง 20,000 – 95,000 เหรยี ญเลยทีเดียว (ประมาณ 656,000 – 3,100,000 บาท) 2.นกั ออกแบบ และสรา้ งการ์ตนู 3D สำหรับผมู้ ีความสามารถทางด้านการวาดภาพ การทำเอฟเฟคท้ังแบบ 2D และ 3D บอกเลยว่านี่คืองานท่ี เหมาะจะทำที่บ้านมากที่สุด เพราะสามารถรับเป็นฟรีแลนซ์ทำงานได้อย่างอิสระเลยโดยท่ีไม่ต้องเข้าออฟฟิศ แถม ยังมคี า่ ตอบแทนทด่ี ีมากอกี ดว้ ย 3.เชฟ ใครที่มีความสามารถพิเศษหรือชื่นชอบในการทำอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารหวานและอาหารคาว สามารถเปล่ียนความชอบนี้ให้กลายเป็นธุรกิจได้ โดยอาจเริ่มจากการทำขนมหรืออาหารจากห้องครัวของท่ีบ้าน

36 ทำเป็นกิจการเล็กๆ เปิดขายทั้งหน้าร้านและสามารถสั่งออนไลน์ได้ อาจจะสร้างเพจข้ึนมาในเฟซบุ๊กแล้วทำการ โปรโมทอาหารของตนเองว่ามอี ะไรบ้าง เพยี งเท่านก้ี ็จะทำใหม้ ีคนรจู้ ักรา้ นของเราเพมิ่ มากขนึ้ แลว้ 4.บล็อกเกอร์ การเป็นบล็อกเกอร์อาจจะเร่ิมจากความชอบส่วนตัวในการเขียนหรือการบอกเล่าเรื่องราวสักเร่ืองท่ีเรา สนใจให้ผู้อื่นได้อ่านผ่านทางหน้าเพจเฟซบุ๊ก หรือบล็อกส่วนตัวของตนเอง ซึ่งสามารถต่อยอดการเขียนให้ กลายเป็นอาชีพทำเงินได้ และถ้าเรามีภาษาท่ีสวย อ่านเข้าใจง่าย ยิ่งทำให้มีแฟนๆ รอผลงานการเขียนของเรากัน อยา่ งแน่นอน 5.พ่เี ล้ยี งเด็ก ปัจจุบันอาชีพพ่ีเล้ียงเด็กกำลังเป็นท่ีต้องการสำหรับโลกในยุคใหม่มากเลยทีเดียว ทั้งน้ีทั้งนั้นก่อนท่ีเราจะ สามารถทำอาชพี พี่เลี้ยงเด็กไดน้ นั้ จะต้องมีมีใบอนญุ าตเสียก่อน ไมง่ นั้ ถ้าเราทำโดยไม่มีใบอนญุ าตถือวา่ ผิดกฏหมาย 6.เจ้าของธุรกจิ ออนไลน์ สำหรับใครที่ต้องการเป็นเจ้าของธุรกิจหรืออยากจะมีธุรกิจส่วนตัว การขายของผ่านช่องทางออนไลน์ก็ เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยทำให้เรามีธุรกิจเป็นของตนเองได้อย่างสบายเลย แถมการลงทุนยังใช้เงินไม่มากอีก ด้วย นอกจากน้ียงั ชว่ ยทำให้เราสามารถติดตอ่ กับลูกค้าได้อยา่ งรวดเร็วมากขึน้ ดว้ ย 7.นกั จดั งานอเี วน้ ท์ ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนจัดงานแต่งงาน งานปาร์ตี้วันเกิด หรืองานสังสรรค์ขององค์กร ล้วนก็ต้องการ บุคคลหรอื บริษัทท่ีจะเขา้ มาช่วยทำให้งานเกิดขึ้นและสำเร็จลงอยา่ งราบร่ืน โดยทเ่ี ราจะต้องเข้าไปวางแผนงาน จัด งาน ดแู ลงาน และเก็บงานทกุ อย่างใหเ้ รยี บร้อย เมือ่ ปาร์ตจี้ บลงไปแลว้ ดว้ ย 8.โปรแกรมเมอร์ คนไหนท่ีเรียนจบทางด้านคอมฯ โดยตรงมาเลย ต้องขอบอกเลยว่านอกจากจะเป็นท่ีต้องการของบริษัท ต่างๆ แลว้ การทำอาชพี อสิ ระหรือเปน็ ฟรีแลนซร์ บั เขยี นโปรแกรมกท็ ำเงินไดเ้ ปน็ อยา่ งดเี ลยทเี ดยี ว 9.ติวเตอร์ออนไลน์ หากคุณมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง เช่น ทางด้านภาษาต่างประเทศ มีทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ก็สามารถทำอาชีพเป็นติวเตอร์ออนไลน์ได้อย่างสบายๆ เนื่องจากในปัจจุบันนักเรียน นกั ศึกษา ต้องการติวเตอรท์ ่ีสามารถยดื หยุ่นเวลาทางด้านเวลาและสถานท่ีได้ ดงั น้ันจึงทำให้การสอนแบบออนไลน์ กลายมาเปน็ ที่นยิ มมากยิ่งขึ้นในปัจจบุ นั 10.ช่างงานฝมี อื สำหรับใครที่มีฝมี ือในการประดิษฐ์ เยบ็ ปักถกั ร้อย แกะสลัก หรอื ชอบในงานทางด้านปั้น ขอแนะนำเลยว่า ให้คุณลองเปิดร้านขายสินค้าออนไลน์จากงานฝีมือท่ีคุณทำขึ้นมาเอง ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นการทำธุรกิจที่ใช้ เงนิ ลงทนุ ไม่มาก และยงั สามารถสรา้ งรายไดไ้ ด้อยา่ งรวดเรว็ อกี ดว้ ย

37 11.สไตล์ลสิ ถ้าคุณเป็นคนที่ช่ืนชอบแฟช่ันและชอบแต่งตัว พร้อมทั้งยังอยากจะทำงานท่ีบ้าน อาชีพสไตล์ลิสก็เหมาะ กบั คุณมากที่สุดเลย โดยท่ีเราสามารถเป็นสไตล์ลิสออนไลนแ์ ละให้คำปรกึ ษาแก่คนที่ต้องการได้ผา่ นทางสือ่ โซเชยี ล เชน่ ในเพจเฟซบุ๊กเราก็สามารถทีจ่ ะไลฟ์สดถามตอบกับลูกค้าได้เลย เปน็ ตน้ 12. ล่าม/นักแปล หากเราเรียนจบมาทางด้านภาษา หรือมีความรู้ความสามารถทางด้านภาษา เราก็สามารถท่ีจะนำ ความสามารถตรงน้ันมาประกอบอาชพี ได้ เชน่ การทำงานเปน็ นักแปลหรือล่าม ฯลฯ แถมยังไดเ้ งินดีมากอกี ดว้ ย

38 บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงานตามโครงการ 1. วธิ ีการดำเนินงาน ข้ันเตรียมการ เพอื่ จดั ประชมุ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอยี ดโครงการ - ชแ้ี จงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การเพ่อื อนุมัติ - แต่งตง้ั กรรมการดำเนินงานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ครผู ้ชู ่วย กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมคั รฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยตดิ ตอ่ ประสานงาน มีหนา้ ท่ี ตดิ ตอ่ ประสานงานสถานที่จดั การจดั กิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจ่ายพสั ดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษช์ ำนาญการ

39 3.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์วิทยุห้างทองเรดิโอ เสียงตามสาย วิทยุชุมชน ประชาสมั พนั ธ์ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าท่ีให้กรรมการมีหน้าที่จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และประชาชน มีหน้าที่จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และ สอ่ื ออนไลน์ สื่อการเรยี นการสอน เกม และกจิ กรรมนันทนาการ ดังนี้ 5.1 กจิ กรรมรกั การอ่านผ่านสือ่ ออนไลน์ 5.1.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.1.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล

40 5.1.13 นายศวิ ณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.2 กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณลี อยกระทง 5.2.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.2.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.2.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.2.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.2.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.2.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.2.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 5.2.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.2.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.2.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.2.13 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.2.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.2.15 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.2.16 นางสาวอุษา ยิ่งสกุ ครู ศรช. 5.2.17 นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.3 กจิ กรรมปริศนา...อา่ นคำ บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.3.1 นางวารี ชูบัว ครู กศน. ตำบล 5.3.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู ศรช. 5.3.3 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.3.4 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.3.5 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์

41 5.4 กจิ กรรมอ่านดีมรี างวัล บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.4.1 นางวารี ชบู ัว ครูอาสาสมัครฯ 5.4.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครู กศน. ตำบล 5.4.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.4.4 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู ศรช. 5.4.5 นายศวิ ณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.4.6 นางสาวกญั ญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.4.7 นางสาวอษุ า ย่ิงสุก 5.5 กจิ กรรมอ่านสรา้ งอาชีพ บรรณารักษช์ ำนาญการ 5.5.1 นางวารี ชบู วั ครูอาสาสมัครฯ 5.5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.5.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.5.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.5.5 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.5.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.5.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.5.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู ศรช. 5.5.13 นายศิวณัชญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.5.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.5.15 นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ครู ศรช. 5.5.16 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ 5.6 กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.6.1 นางวารี ชบู วั ครอู าสาสมัครฯ 5.6.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.6.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.6.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร

42 5.6.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.6.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.6.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.6.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.6.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.6.10 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.6.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.6.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.6.13 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.6.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 5.6.15 นายปณั ณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. 5.6.16 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช. 5.6.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรียมเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบียน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอุษา ยงิ่ สุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพึงพอใจ ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลงั เสร็จส้ินโครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 7.3 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 7.4 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช.

43 2. ขัน้ ดำเนินการ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 20 คน ดำเนนิ การ - 1. ขัน้ เพื่อจัดประชุมครูและ ครูและบุคลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 - เตรยี มการ บุคลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ 5,750 - ชแี้ จงทำความเข้าใจ ชนแดน - ชนแดน - 2. ประชมุ รายละเอยี ดโครงการ กรรมการ - ชีแ้ จงแนวทางในการ ครูและบุคลากร 600 คน กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ กศน. อำเภอ 50 คน ชนแดน 3. จดั เตรียม - จัดทำโครงการและ ชนแดน 20 คน เอกสาร วัสดุ แผนการดำเนนิ การเพ่ือ กรรมการฝ่ายท่ี 50 คน กศน. อำเภอ 15 ธ.ค.63 อปุ กรณ์ในการ อนมุ ัติ ไดร้ ับมอบหมาย 100 คน ชนแดน ดำเนินโครงการ - แต่งตั้งกรรมการ 180 คน 4. ดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการ นกั เรยี น รวม พืน้ ที่อำเภอ ต.ค.63 จดั กจิ กรรม เพอ่ื ประชุมทำความเข้าใจ นกั ศกึ ษา และ 1,000 คน ชนแดน - กับกรรมการดำเนินงานทุก ประชาชนทั่วไป ฝา่ ยในการจดั กจิ กรรม ม.ี ค.64 โครงการและการดำเนนิ งาน เพื่อดำเนินการจัดทำ จดั ซอื้ วสั ดุอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการ ดำเนินการ 1. รักการอา่ นผ่านสื่อ ออนไลน์ 2. กจิ กรรมสืบสาน วัฒนธรรมประเพณี ลอยกระทง 3. ปริศนา...อา่ นคำ 4. อ่านดมี ีรางวลั 5. อ่านสร้างอาชีพ 6. สภุ าษิต สำนวนไทย

44 กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ ม.ี ค.64 - 5. สรุป/ เพ่ือให้กรรมการฝ่าย ตาม 2 เลม่ กศน. อำเภอ ประเมินผล ประเมินผลเก็บรวบรวม และรายงานผล ข้อมลู และดำเนินการ กระบวนการ ชนแดน โครงการ ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม ประเมนิ โครงการ 5 บท 3. ข้นั สรุปการจัดกิจกรรม 1. ดัชนวี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์ (outcome) นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทัว่ ไปรักการอ่าน เพ่อื พฒั นาคุณภาพ ชีวิตที่ดขี นึ้ 2. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกจิ กรรม

45 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสรา้ งอาชพี แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป เพศ รอ้ ยละ จำนวน 31.50 เพศ 68.50 ชาย 76 100 หญิง 165 รวม 241 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสร้างอาชีพ ในครั้งน้ี เป็นเพศหญิง มากทส่ี ดุ จำนวน 165 คน คิดเปน็ ร้อยละ 68.50 ช่วงอายุ อายุ ร้อยละ ตำ่ กว่า 15 ปี จำนวน 0.80 15 - 29 ปี 68.50 30 – 39 ปี 2 10.00 40 - 49 ปี 165 10.00 50 - 59 ปี 24 5.00 60 ปีข้ึนไป 24 5.80 12 100 รวม 14 241 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กจิ กรรมที่ 2 โครงการส่งเสรมิ การเรียนรสู้ ำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสรา้ งอาชพี ในครั้ง นี้ เปน็ ช่วงอายุ 15 – 29 ปี มากท่ีสุด จำนวน 165 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 68.50

46 ระดับการศกึ ษา การศึกษา รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา จำนวน 7.5 32.8 ม.ตน้ 18 56 ม.ปลาย 79 0.80 ปวช./ปวส. 135 2.90 ปริญญาตรี 2 - สูงกว่าปรญิ ญาตรี 7 100 รวม - 241 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสร้างอาชีพ ใน คร้งั น้ี การศกึ ษาระดับ ม.ปลาย มากท่สี ดุ จำนวน 135 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 32.80 อาชพี อาชพี ร้อยละ รับจา้ ง จำนวน 42.70 เกษตรกรรม 103 7.90 ผู้นำชุมชน ค้าขาย 19 - รับราชการ - 10.4 นักเรียน/นกั ศึกษา 25 1.6 อื่นๆ ระบุ 4 27.00 รวม 65 10.4 25 100 241 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมอ่านสร้างอาชีพ ในครั้งน้ี เป็นอาชีพรบั จา้ งมากที่สุด จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 42.70


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook