Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5ลอยกระทง

5ลอยกระทง

Published by waryu06, 2021-06-28 06:46:51

Description: 5ลอยกระทง

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ เร่อื ง สรุปผลการปฏบิ ตั งิ านโครงการสง่ เสริมการเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสืบสานวฒั นธรรม ประเพณีลอยกระทง เรยี น ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และประชาชนกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง ในระหว่างวันที่ 30 – 31 ตุลาคม 2563 ณ วัดพระพุทธบาทชนแดน อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อส่งเสริม และร่วมอนุรักษ์ประเพณีลอย กระทงให้คงอยู่คู่สังคมไทยสืบไป รักษาขนบธรรมเนียมของไทย และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของ ทอ้ งถ่นิ และเพื่อเป็นการส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม มีนสิ ยั รกั การอา่ นนำไปสูก่ ารเรียนรู้ และพัฒนา คุณภาพชวี ติ ใหด้ ขี นึ้ บดั น้โี ครงการดังกลา่ วไดด้ ำเนนิ การเสร็จสิน้ เรียบร้อยแล้ว ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จงึ ขอสรุปผลการปฏิบัติงานโครงการดงั กล่าวรายละเอียดตาม เอกสารทแี่ นบมาพร้อมน้ี จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ นางวารี ชบู ัว บรรณารักษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรูส้ ำหรับนักศกึ ษาและประชาชนกิจกรรม สืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง ในระหว่างวันที่ 30 – 31 ตุลาคม 2563 ณ วัดพระพุทธบาทชนแดน อำเภอชนแดน จงั หวัดเพชรบรู ณ์ เพอ่ื ส่งเสริม และร่วมอนรุ กั ษ์ประเพณลี อยกระทงให้คงอยู่คู่สังคมไทยสืบไป รักษาขนบธรรมเนียมของไทย และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น และเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มนี ิสัยรกั การอ่านนำไปสกู่ ารเรยี นรู้ และพฒั นาคุณภาพชีวิตใหด้ ีข้ึน น้นั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มน้ีคงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงในคร้ัง ตอ่ ไป ผจู้ ัดทำ พฤศจกิ ายน 2563

สารบญั หน้า 1-6 บทที่ 1 บทนำ 7 - 27 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 28 - 34 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 35 - 39 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 40 - 42 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชือ่ โครงการ โครงการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นร้สู ำหรับนักศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมสบื สานวฒั นธรรมประเพณีลอยกระทง 2. สอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. : 2.1 12 ภารกจิ “เร่งด่วน” ข้อท่ี 2 ขับเคลื่อนนโยบายของรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นายณฏั ฐพล ทีปสุวรรณ) และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) ใหเ้ กิดผลเปน็ รปู ธรรม 2.2 สอดคล้องกับมาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ตวั บ่งชี้ที่ 1.1 ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับ วัตถุประสงคข์ องโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.1 การกำหนดโครงการหรอื กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ 2.2 ผจู้ ัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั บ่งชี้ที่ 2.3 สอ่ื หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือตอ่ การจัดการศกึ ษาตาม อัธยาศัย ตัวบง่ ช้ที ี่ 2.4 ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ตัวบ่งช้ที ่ี 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทีเ่ น้นการมสี ่วนร่วม ตัวบ่งชี้ท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตวั บ่งชีท้ ี่ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตัวบ่งชที้ ี่ 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนุนภาคเี ครอื ขา่ ยให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.8 การส่งเสริม สนบั สนุนการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้

2 2.3 ของเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมนิ ความพึงพอใจ ควรเพิ่มขอ้ เหตุผล ขอ้ คิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นั้นจึงใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถว้ นเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนอื่ งและนำผลการประเมนิ ที่ได้ไปวเิ คราะห์ถงึ อปุ สรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาในปตี อ่ ไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนในชุมชน การจัดกิจกรรมในเชิงรุก เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ของคนในชุมชน ปัจจุบนั ห้องสมุดประชาชนได้จัดหาทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบสำหรับให้บริการ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อมัลติมเี ดีย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และผู้รบั บรกิ าร และเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้และผู้รับบริการต้องรู้แนวทางในการเข้าถึง ทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะรูปแบบ เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและได้รบั ประโยชนจ์ ากทรัพยากรสารสนเทศนน้ั ๆ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมผู้ใช้และผู้รับบริการได้ศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้สามารถรับบริการต่างๆของห้องสมุดได้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนจึงได้จัดโครงการ ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่อื ให้นักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปเข้าถงึ และมีโอกาสไดอ้ า่ นหนงั สือ 4.1 เพือ่ กระตุ้นใหน้ ักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 4.2 เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทว่ั ไปมีความรู้ความเขา้ ใจการเขา้ ถงึ แหลง่ สาร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและตรงตามความตอ้ งการ 4.4 เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ยั รักการอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้ดีขึ้น

3 5. เปา้ หมาย จำนวน 1,000 คน เชงิ ปริมาณ นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไป เชงิ คณุ ภาพ 1. นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อ่านหนังสอื 2. นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปเขา้ มารับบรกิ ารในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 3. นกั เรยี น นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปมคี วามร้คู วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศไดอ้ ยา่ ง ประสทิ ธิภาพและตรงตามความตอ้ งการ 4. นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปมีนิสัยรักการอา่ นนำไปสู่ การเรยี นรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ให้ดขี น้ึ 6. วธิ ีดำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนินการ - 1. ขน้ั เพือ่ จัดประชมุ ครูและ ครแู ละบุคลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ - ชี้แจงทำความเข้าใจ ชนแดน ชนแดน 2. ประชุม รายละเอียดโครงการ กรรมการ - ชแ้ี จงแนวทางในการ กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 - ดำเนินงาน ดำเนินโครงการ ชนแดน - จัดทำโครงการและ แผนการดำเนนิ การเพื่อ อนุมตั ิ - แตง่ ต้งั กรรมการ ดำเนนิ งานตามโครงการ เพ่อื ประชุมทำความเข้าใจ ครูและบุคลากร 20 คน กบั กรรมการดำเนนิ งานทุก กศน. อำเภอ ฝา่ ยในการจดั กิจกรรม ชนแดน โครงการและการดำเนินงาน

4 กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 3. จัดเตรียม กรรมการฝ่ายที่ ดำเนินการ 15 ธ.ค.63 5,750 เอกสาร วสั ดุ เพือ่ ดำเนนิ การจดั ทำ จัดซือ้ ได้รับมอบหมาย ต.ค.63 - อปุ กรณ์ในการ วสั ดุอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ - กศน. อำเภอ - ดำเนินโครงการ ดำเนนิ การ นกั เรยี น มี.ค.64 4. ดำเนนิ การ นกั ศกึ ษา และ ชนแดน จดั กจิ กรรม 1. รักการอา่ นผา่ นส่ือ ประชาชนทว่ั ไป ม.ี ค.64 - ออนไลน์ 600 คน พน้ื ที่อำเภอ 5. สรุป/ 2. กจิ กรรมสืบสาน ตาม ชนแดน ประเมินผล วัฒนธรรมประเพณี กระบวนการ และรายงานผล ลอยกระทง ประเมิน 50 คน โครงการ 3. ปรศิ นา...อ่านคำ โครงการ 5 บท 4. อ่านดมี รี างวลั 20 คน กศน. อำเภอ 5. อ่านสรา้ งอาชีพ 50 คน ชนแดน 6. สุภาษิต สำนวนไทย 100 คน 180 คน เพื่อใหก้ รรมการฝ่าย รวม ประเมนิ ผลเกบ็ รวบรวม 1,000 ขอ้ มลู และดำเนินการ คน ประเมินผลการจดั กจิ กรรม 2 เลม่ 7. วงเงินงบประมาณ จากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนนิ งาน ค่าจัดกิจกรรมสำหรบั ห้องสมดุ ประชาชน รหัสงบประมาณ 36005 เป็นเงิน 5,750.- บาท (ห้า พนั เจด็ รอ้ ยหา้ สิบบาทถ้วน) รายละเอยี ดดังนคี้ อื คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 5,750 บาท รวมเป็นเงิน 5,750 บาท

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 5 แผนการใช้จ่ายรายไตรมาส ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 - 5,750 - - 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางวารี ชูบวั ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 9.2 นางสาวอษุ า ยง่ิ สุก ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน 9.4 ครู กศน.ตำบล 9.5 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.6 ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน 10. เครอื ข่าย 10.1 วัดพระพทุ ธบาทชนแดน 10.2 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลนำ้ ลดั 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลโคกสำราญ 10.4 กศน.ตำบลทั้ง 9 แห่ง 11.โครงการที่เกีย่ วข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 11.3 โครงการประชาสมั พันธง์ าน กศน. 11.4 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย 12. ผลลัพธ์ 12.1 นักเรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อา่ นหนงั สอื 12.2 นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ มารับบรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนมากข้นึ 12.3 นักเรยี น นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปมีความรคู้ วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศได้อย่าง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 12.4 นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นา คุณภาพชีวิตใหด้ ีขนึ้

6 13. ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปรกั การอา่ น เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ิตท่ีดีข้ึน 14. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

7 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ความสำคญั ของการสบื ทอดวฒั นธรรมไทย สาระสำคัญ วฒั นธรรมไทยเปน็ สิ่งทค่ี ู่มากับสงั คมไทย ทำใหเ้ กดิ เอกลกั ษณ์ของความเป็นไทย และมรดกทีส่ ำคัญซึ่งเป็น ความภูมิใจแสดงถึงเกียรติภูมิศักด์ิศรีของไทยดังจะเห็นได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติยังบรรจุ ความสำคัญของวฒั นธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม ไว้ในการแกป้ ัญหาของชาติ ดังนนั้ จึงเปน็ หน้าท่ีของคนไทย ทุกคน ต้องรว่ มใจอนรุ กั ษ์ ฟ้ืนฟู เผยแพร่สบื สานวัฒนธรรมทด่ี ีงามน้สี ืบไป ความสำคัญของการสบื ทอดวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทย เป็นตัวกำหนดวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมไทย ท้ังยังเป็นเคร่ืองวัดความเจริญ หรือ ความเส่ือมของสังคม ซึ่งมีผลต่อความก้าวหน้าของประเทศ เพราะประเทศจะเจริญหรือมีน้ันย่อมขึ้นอยู่กับการ พฒั นาของคนในสังคมจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่ีกล่าวถึงการพัฒนาประเทศให้เจรญิ ก้าวหน้า น้นั สงั คมต้องมีดุลภาพ จากการพฒั นาคนในสังคม ปรากฏผลของการพัฒนาได้ดังน้ี 1. เป็นสังคมคุณภาพ หมายถึง สังคมไทยต้องพัฒนาคนในสังคมทุกด้าน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ มีการ ดำเนนิ ชีวิตทด่ี ี โดยยดึ หลกั ความพอเพียง ความพอดี และสามารถพึ่งพาตนเองได้ 2. เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ โดยคนไทยสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตให้เป็นคนคิดเป็น ทำ เป็น และแก้ปัญหาเป็น เป็นผู้มีเหตุผล ร่วมใจกันพัฒนาภูมิปัญญาไทย ควบคู่กับการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ประเพณใี นทอ้ งถน่ิ ดว้ ย 3. เปน็ สังคมท่ีมีความเอื้ออาทรตอ่ กัน โดยต้องปลูกฝงั ให้คนไทยเป็นผู้มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมคี ่านิยม ที่ถูกต้อง พึ่งพาอาศัยกัน มีความรู้รัก รู้สามัคคี ภูมิใจในความเป็นไทย รักษาสถาบันท่ีสำคัญของสังคมไทยสืบไป ด้วยเหตุดังกล่าวเบื้องต้น การสืบทอดวัฒนธรรมไทย จึงเป็นส่ิงจำเป็นและมีความสำคัญต่อการพัฒนาคนและ

8 สงั คมไทยอยู่หลายประการ ดังนี้ 1. ทำให้มองเห็นวิถีความเป็นไทย ความคิดสร้างสรรค์ ท้ังด้านศาสนา สังคม วัฒนธรรม การปกครอง ท่ี สงั่ สมสืบทอดกันมา 2. ทำให้คนไทยเป็นผู้มีความรับผิดชอบ รู้จักรักษาระเบียบวินัย มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รู้จักพัฒนาตนเอง ซึ่งเป็นการเสริมสร้างในการปลูกจิตสำนึกท่ีดีงาม เหมาะสมกับสภาพของสังคมไทยสืบไป 3. ทำให้คนไทยทั้งชุมชนเมืองและชุมชนชนบท เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ ส่งเสริมขนบ ธรรมเนียมท่ีดี งาม นำภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนแ์ กค่ นในชาติ เป็นทร่ี จู้ ักของชาวโลก 4. ทำให้เกดิ การถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกร่นุ หน่ึงซ่ึงนบั วา่ เป็นการสืบทอดเอกลักษณ์ไทย เพอื่ ให้ คงอยใู่ นสงั คมสบื ไป ประเพณีไทยนั้นสามารถแบ่งออกเปน็ สามส่วนใหญค่ ือ ภาษา, ศลิ ปะ และประเพณี 1. ภาษาไทย เป็น ภาษาประจำชาติของคนไทย ตัวอักษรของภาษาไทยถูกสร้างขึ้นในสมัยพ่อขุน รามคำแหงใน พ.ศ.1826 ตัวอักษรของภาษาไทยได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลี และสันสกฤต อีกทั้งยังได้รับ ได้รับอิทธพลมาจากภาษาต่างๆ ท่ัวโลกเช่น บาลี, ขอม, มาเล, ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน ทำให้ภาษาไทยมีการ เปลยี่ นแปลงทีละเลก็ ทลี ะนอ้ ยจนถงึ ปจั จุบนั 2. ศิลปะไทย น้ัน ได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากพระราชาและชาววังครั้งแต่โบราณ และส่วนมากจะมีความ เก่ียวข้องกับศาสนา เช่น ศิลปะการสร้างภาพวาดฝาหนังที่บอกเล่าเร่ืองราวต่างๆ และพิธีกรรมทางศาสนา การ สร่างสิ่งก่อสร้างในทางพระพุทธศาสนาเช่น เจดีย์, วัด, หรือสถูป ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางในการทำกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชน เช่นการจดั งานประจำปี นอกจากนี้แล้ววัดยังเป็นสถานที่เรียนหนังสือกับเยาวชนและประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา ส่วนสถูป และเจดีย์ ถูกสร้างข้ึนขึ้นเพ่ือบรรจุอัฐิของพระพุทธรูป หากบรรจุพระบรมสารีริกธาตของ พระพุทธเจ้าหรือของพระมหากษัตริย์นั้นก็จะเรียกว่าธาตุเจดีย์ และยังเป็นคติให้รำลึกถึงความเช่ือใน ศาสนาพุทธ ที่ว่าสังขารของคนนั้นไม่เที่ยงแท้ เมื่อมีการเกิดก็ย่อมต้องมีวันแตกดับได้เป็นไปตามปัจจัยของโลก คนไทยมี ประเพณีสรา้ งเจดยี เ์ อาไว้ในวัดมาตั้งแตส่ มัยโบราณเพ่อื เตือนใจคนใน สงั คมไม่ใหท้ ำความช่ัว และหมน่ั สร้างความดี เพอื่ เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมในภพนแี้ ละภพหนา้

9 3. ประเพณีไทย แสดง ให้เห็นถึงการดำรงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและธรรมชาติอย่างชาญฉลาด ของชาว บ้านในแต่ละท้องถิ่น ท่ัวแผ่นดินไทย และความผูกพันกับความเช่ือและ พุทธศาสนาเช่น ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแก้วของคนไตหรือชาวไทยใหญ่ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนภาคอสี าน ประเพณีบญุ บ้ังไฟของชาวจังหวัด ยโสธรภาคกลาง ประเพณีทำขวัญข้าวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาภาคใต้ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุของชาวจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นต้นวฒั นธรรมประเพณีไทยของชาติล้วนเป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมของไทย เป็นสิ่งท่ีแสดง ถึงแนวความคิด ความเช่ือ และสะท้อนให้เห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิตความเป็นมาในอดีต ซ่ึงมีความสําคัญพอสรุป เป็นสังเกตได้ดังต่อไปนี้พระ พุทธศาสนา และพราหมณ์รวมทั้งพิธีกรรมต่างๆ ท่ีปฏิบัติสืบทอดกันมานั้น มีอิทธพิ ล ต่อขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ในด้านความเช่ือในเรื่องของความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตเป็น เคร่ืองเตือนจิตใจ ให้ รู้จักเป็นผู้มีความเสียสละ และความรักความสามัคคี ซึ่งจะเห็นได้จากงานบุญต่างๆ ที่ต้องใช้การร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกันจึงจะประสบผลสำเร็จเช่น พิธีขนทรายเข้าวัด การก่อพระเจดีย์ทราย เป็นต้น มารยาทไทย เป็น ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยอันเป็นเอกลกั ษ์ท่สี ำคัญอย่างหนง่ึ ซ่ึงแสดงถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน และการมสี ัมมา คารวะขนบธรรมเนียมประเพณีไทยทำหน้าท่ีเป็นเครื่องกำหนดควบคุมพฤติกรรมให้คนไทยอยู่ในกรอบที่ดีงาม ขนบ ธรรมเนียมประเพณี สามารถบ่งบอกถึงความเป็นมาของชาติ ถึงแม้ประเพณีจะแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น แต่ก็แสดงถึงความเปน็ อนั หนึง่ อนั เดยี ว เป็นชนชาตเิ ดียวกัน การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยและประเพณีไทย การอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยให้ดำรงอยสู่ บื ไปจำเปน็ ต้องอาศัยความรว่ มมอื จากคนไทยทุกคน ซ่งึ มหี ลายวธิ กี าร ด้วยกนั ดังน้ี 1. การรวบรวมข้อมูลวัฒนธรรมต่างๆ ท้ัง จากคนในท้องถิ่น และเอกสารที่ได้มีการบึนทึกไว้ เพื่อนำมา ศึกษา วิจัยให้เข้าใจถึงแก่นแท้ เอกลักษณ์ และคุณประโยชน์ของวัฒนธรรมนั้นๆ ซึ่งจะช่วยให้คนรุ่นใหม่เกิดการ ยอมรับ และนำไปปรบั ใชก้ บั ชวี ติ ยคุ ปัจจบุ นั ได้ 2. ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าของประเพณีไทย โดย เฉพาะประเพณีในท้องถิ่น ให้คนในท้องถ่ินตระหนักถึง เอกลักษ์ทางวัฒธรรม ซึง่ จะทำใหเ้ กิดความมนั่ ใจและสามารถปรบั ตัวเข้ากับความเปล่ียนแปลงจากวัฒ ธรรมอื่นๆที่ เขา้ มาได้

10 3. การรณรงคเ์ พื่อปลูกฝงั จติ สำนึกความ รับผิดชอบในการอนุรักษ์วัฒนธรรมให้กบั คนไทยทกุ คน เพ่อื ให้ ตระหนักถงึ ความสำคัญ ของวฒั นธรรมว่าเป็นเรื่องท่ีทุกคนต้องรับผิดชอบร่วมกัน รวมทง้ั ภาคเอกชนต้องร่วมกนั ใน การส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานการบริการความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์สำหรับจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม ให้กับชุมชน 4. ส่งเสริมให้ใช้ศิลปะวัฒนธรรมเป็นซื่อกลาง ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน ท้ังวัฒนธรรม ภายในประเทศ ระหว่างท้องถน่ิ ต่างๆและระหวา่ งประเทศ 5. ปลูกฝังทัศนคติว่าทุกคนมีหน้าที่เสริมสร้าง ฟื้นฟู และการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมทีเ่ ป็นสมบัตขิ องชาติ ให้ทุกคนเกดิ ความเข้าใจวา่ สิ่งเหล่านี้มีผลโดยตรงของความเป็นอย่ขู องทุก คน 6. สร้างศูนย์กลางในเผยแพร่ประชา สัมพันธ์ผลงานทางด้านวัฒนธรรม ด้วยระบบเคร่ือข่ายสารสนเทศ เชน่ เวบไซต์ เพอ่ื ให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว และสามารถปรบั เปลยี่ นให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ได้งา่ ย อยา่ งไรกด็ สี อ่ื มวลชนควรมบี ทบาทในการส่งเสริม และสนบั สนุนงานด้านวัฒนธรรมมากยิ่งข้นึ ด้วย ประวัติวันลอยกระทง ประเพณีลอยกระทงน้นั มมี าแตโ่ บราณ โดยมีคตคิ วามเชื่อหลายอย่าง เชน่ เช่ือว่าเปน็ การบูชาและขอขมา แมพ่ ระคงคา เปน็ การสะเดาะเคราะห์ เปน็ การบชู าพระเจา้ ในศาสนาพราหมณ์ หรือเปน็ การบชู ารอยพระพุทธบาท เป็นต้น การลอยกระทงนิยมทำกันในวันเพ็ญ เดือน 12 ของทุก ๆ ปี อันเป็นช่วงท่ีน้ำในแม่น้ำลำคลองขึ้นสูงและ อากาศเริ่มเยน็ ลง ตามพระราชนพิ นธพ์ ระราชพิธีสิบสองเดือน และตำรบั ท้าวศรีจุฬาลักษณไ์ ด้กลา่ วว่า นางนพมาศ หรือท้าวศรีจฬุ าลักษณ์ พระสนมเอกในพระรว่ งเจ้าแห่งกรุงสุโขทัย เป็นผู้ริเร่ิมประดิษฐ์กระทงสำหรับลอยประทีป เป็นรูปดอกบัวบานขึ้น ซึ่งคนท่ัวไปนิยมทำตามสืบต่อมา นอกจากนั้นในศิลาจารึกหลักที่ 1 ยังได้กล่าวถึง งานเผา

11 เทียน เล่นไฟ ของกรุงสุโขทัยไว้ด้วยว่า เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้ผู้รู้ทั้งหลายสันนิษฐานต้อง ตรงกนั วา่ งานดังกล่าวนา่ จะเป็นงานลอยกระทงอย่างแนน่ อน ประวตั ิวันลอยกระทง นางนพมาศ สนมเอกของพระร่วงเจ้ากรงุ สุโขทัย คิดทำกระทงรูปดอกบัว และรปู ต่างๆถวาย พระร่วงทรง ให้ลอยกระทงตามสายน้ำไหล ในหนังสือ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ พระร่วงตรัสว่า \"แต่นี้สืบไปเบ้ืองหน้า โดย ลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอย เป็นรูปดอกบัวอุทิศ สักการบูชาพระพุทธบาทนัมฆทานที ตราบเท่ากัลปาวสาน\" ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร์ มีการทำกระทงขนาดใหญ่และสวยงาม ดังพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ของเจ้าพระยาทิพาราชวงศ์ กล่าวไว้ว่า \"ครั้นมาถึงเดือน 12 ขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ แรมค่ำหน่ึงพิธีจองเปรียงนั้น เดิม ได้โปรดให้ขอแรง พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายหน้า ฝ่ายใน และข้าราชการท่ีมีกำลังพาหนะมาทำกระทงใหญ่ ผู้ถูก เกณฑ์ต่อเป็นถังบ้าง ทำเปน็ แพหยวกบ้าง กวา้ ง 8 ศอกบา้ ง 9 ศอกบ้าง กระทงสูงตลอดยอด 10 ศอก 11 ศอก ทำ ประกวดประขนั กนั ตา่ งๆ ทำอย่างเขาพระสุเมรทุ วปี ทั้ง 4 บา้ ง และทำเป็นกระจาดชน้ั ๆบา้ ง วิจิตรไปด้วยเครอื่ งสด คนทำก็นับร้อย คิดในการลงทุนทำกระทงทั้งค่าเลี้ยงคนและพระช่าง เบ็ดเสร็จก็ถึง 20 ชั่งบ้าง ย่อมกว่า 20 ช่ัง บ้าง\" ปัจจุบันประเพณีลอยกระทง มีการจัดงานกันแทบทุกจังหวัด ถือเป็นงานประจำปีที่สำคัญ โดยเฉพาะที่ จังหวัดเชียงใหม่มีการจัดขบวนแห่กระทงใหญ่ กระทงเล็ก มีการประกวดกระทง และประกวดธิดางามประจำ กระทงด้วย ส่วนการลอยโคม ชาวบ้านทางภาคเหนือและภาคอีสานยังนิยมทำกัน ชาวบ้านจะนำกระดาษ มาทำ เป็นโคมขนาดใหญ่สีต่างๆ ถ้าลอยตอนกลางวัน จะทำให้โคมลอยโดยใช้ควันไฟ ถ้าเป็นเวลากลางคืน ก็จะใช้คบจุด ท่ีปากโคม ให้ควันพุ่งเข้าในโคม ทำให้ลอยไปตามกระแสลมหนาว เวลากลางคืนแลเห็นแสงไฟโคมบนท้องฟ้า พรอ้ มกับแสงจนั ทร์และดวงดาวสวยงามมากทีเดยี ว วนั ลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหน่ึงของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทิน จันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีน้ีกำหนดขึ้นเพื่อเป็นการ สะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเช่ือว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทท่ีริมฝ่ังแม่น้ำนัม ทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณี ลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงบริเวณท่ีติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำ ต่าง ๆ ซ่ึงแตล่ ะพนื้ ทีก่ จ็ ะมีเอกลกั ษณ์ทีน่ ่าสนใจแตกตา่ งกันไป ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำ “กระทง” จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตบแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูป เทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไปในกระทง แล้วนำไปลอยในสายน้ำ (ในพนื้ ที่ตดิ ทะเล ก็

12 นิยมลอยกระทงริมฝ่ังทะเล) เช่ือว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากน้ียังเชื่อว่าการลอยกระทง เป็นการบูชาและ ขอขมาพระแม่คงคาดว้ ย ประวตั คิ วามเปน็ มาของวันลอยกระทง ประเพณีลอยกระทงน้ัน ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเร่ิมต้ังแต่เม่ือใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมา ยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงน้ีว่า “พิธีจองเปรียญ” หรือ “การลอยพระประทปี ” และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักท่ี 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเลน่ ไฟว่าเป็นงานร่ืนเริงท่ใี หญ่ ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เช่ือกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอนในสมัยก่อนน้ันพิธีลอย กระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธี ลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดข้ึนเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ตอ่ มาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพ่ือบูชา รอยพระบาทของพระพุทธเจ้า ก่อนท่ีนางนพมาศ หรอื ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้นประดิษฐ์ กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสือนางนพมาศท่ีว่า “ครั้นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทำโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกำนัลท้ังปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มา ประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับให้เป็น ลวดลาย…” เม่ือสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราช หฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัว แทนโคมลอย ดังพระราชดำรัสท่ีว่า “ตั้งแต่นี้สืบไปเบ้ืองหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนด นักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่า กัลปาวสาน” พธิ ีลอยกระทงจงึ เปล่ยี นรูปแบบต้ังแตน่ ้ันเป็นตน้ มา ประเพณีลอยกระทงสืบต่อกันเร่ือยมา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลท่ี 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงิน จำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่าเป็นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ยกเลิก การประดิษฐ์กระทงใหญ่แข่งขัน และโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ทำเรือลอยประทีปถวายองค์ละลำแทนกระทง ใหญ่ และเรียกช่ือว่า “เรือลอยประทีป” ต่อมาในรัชกาลท่ี 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟ้ืนฟูพระราชพิธีน้ีข้ึนมาอีก ครั้ง ปัจจุบันการลอยพระประทีปของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงกระทำเป็นการส่วนพระองค์ตามพระราช อธั ยาศัย

13 ประเพณีในแตล่ ะท้องถ่นิ ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอย เรียกว่า “ลอยโคม” หรือ “ว่าวฮม” หรือ “ว่าวควัน” ทำจากกระดาษบางๆ กระดาษท่ีใช้ทำว่าว แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณีของชาวเหนือน้ีเรียกว่า “ยเ่ี ป็ง” หมายถงึ การทำบุญในวันเพญ็ เดือนย(ี่ ซ่ึงนบั วันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพญ็ เดือนสิบสองในแบบไทย) – จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี “ย่ีเป็ง” เชียงใหม่ ในทุกๆ ปีจะมีการจัดงานข้ึนอย่างย่ิงใหญ่ตระการตา และมีการ ปลอ่ ยโคมลอยข้ึนเต็มท้องฟา้ – จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเปน็ สาย เรียกว่า “กระทงสาย” – จังหวดั สโุ ขทัย ขบวนแห่โคมชกั โคมแขวน การเล่นพลตุ ะไล ไฟพะเนียง ภาคอีสาน ในอดตี มกี ารเรียกประเพณลี อยกระทงในภาคอสี านวา่ สิบสองเพ็ง หมายถงึ วันเพ็ญเดือนสบิ สองซึ่งจะมี เอกลักษณแ์ ตกต่างกนั ออกไป เช่น – จังหวัดร้อยเอ็ด มีชื่องานประเพณีว่า “สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป” ตามภาษาถิ่นมีความ หมายถงึ การขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงาม มี การจำลองแหห่ ัวเมืองสาเกตนุ ครทั้ง 11 หวั เมอื ง – จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำปราสาท ผ้ึงโบราณ เรียกงานนีว้ า่ เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล – จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า “ไหลเรือไฟ” โดย เฉพาะทจ่ี ังหวัดนครพนมเพราะมคี วามงดงามและอลังการทีส่ ุดในภาคอสี าน ภาคกลาง มกี ารจัดประเพณลี อยกระทงขึ้นทั่วทกุ จังหวัด – กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงาน ลอยกระทง และจบลงในชว่ งหลงั วนั ลอยกระทง – จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าข้ึนอย่างย่ิงใหญ่บริเวณ อทุ ยานประวัติศาสตรพ์ ระนครศรอี ยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสยี ง อยา่ งงดงามตระการตา ภาคใต้ อย่างท่อี ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กม็ กี ารจดั งานอยา่ งย่ิงใหญ่ นอกจากนัน้ ในจังหวัดอ่นื ๆ ก็จะจัดงาน วันลอยกระทงด้วยเชน่ กัน นอกจากนใ้ี นแตล่ ะท้องถนิ่ ยงั อาจมีประเพณีลอยกระทงทแ่ี ตกตา่ งกันไป และสบื ทอดต่อกันเรอื่ ยมา

14 เหตุผลและความเช่อื ของการลอยกระทง สาเหตทุ ี่มปี ระเพณีลอยกระทงขึ้นนน้ั เกิดจากความเชือ่ หลาย ๆ ประการของแตล่ ะทอ้ งที่ ไดแ้ ก่ 1.เพ่ือแสดงความสำนึกถึงบุญคุณของแม่น้ำท่ีให้เราได้อาศัยน้ำกิน น้ำใช้ ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระ แม่คงคา ทไ่ี ดท้ ้งิ ส่ิงปฏิกลู ต่าง ๆ ลงไปในน้ำ อันเปน็ สาเหตุให้แหล่งนำ้ ไม่สะอาด 2.เพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เม่ือคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดใน นาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหน่ึงอยู่ในแคว้น ทกั ขณิ าบถของประเทศอนิ เดยี ปจั จบุ นั เรียกวา่ แม่น้ำเนรพุทท 3.เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรียบเหมือนการลอยความทุกข์ ความโศกเศร้า โรคภยั ไขเ้ จ็บ และส่งิ ไมด่ ีตา่ ง ๆ ให้ลอยตามแมน่ ้ำไปกับกระทง คลา้ ยกับพธิ ลี อยบาปของพราหมณ์ 4.เพือ่ เปน็ การบูชาพระอุปคุต ทชี่ าวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซึ่งบำเพญ็ เพยี รบริกรรมคาถาอยใู่ นท้อง ทะเลลึกหรือสะดือทะเล โดยมีตำนานเล่าว่าพระอุปคุตเป็นพระมหาเถระรูปหน่ึงท่ีมีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบ พญามารได้ 5.เพ่ือรกั ษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว ใหเ้ กดิ ขึน้ ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ 6.เพ่อื ความบันเทิงเรงิ ใจ เน่ืองจากการลอยกระทงเปน็ การนัดพบปะสงั สรรคก์ นั ในหมผู่ ู้ไปร่วมงาน 7.เพื่อส่งเสริมงานฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ เพราะเม่ือมีเทศกาลลอยกระทง มักจะมีการประกวด กระทงแข่งกัน ทำให้ผเู้ ขา้ ร่วมไดเ้ กดิ ความคิดแปลกใหม่ และยังรักษาภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นไวอ้ กี ดว้ ย เพลงวนั ลอยกระทง เพลงรำวงวันลอยกระทงแตง่ โดยครูแกว้ อจั ฉริยกุล ผ้ใู หท้ ำนองคือ ครเู ออื้ สุนทรสนาน แห่งสุนทราภรณ์ ซ่งึ ครูเอื้อไดแ้ ตง่ เพลงนตี้ ้ังแต่ ปี พ.ศ.2498 ขณะทไี่ ด้ไปบรรเลงเพลงท่ีบริเวณคณะบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมีผขู้ อเพลงจากครูเอื้อ ครเู อื้อจงึ นั่งแต่งเพลงน้ีท่ีรมิ แม่น้ำเจา้ พระยา ในระยะเวลาเพียงครึ่งชวั่ โมงจงึ เกดิ เปน็ เพลง “รำวงลอยกระทง” มีเนอ้ื ร้องว่า วันเพญ็ เดอื นสบิ สอง นำ้ นองเต็มตลง่ิ เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกนั จรงิ วนั ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอยกระทงกนั แล้ว ขอเชิญน้องแก้วออกมารำวง รำวงวนั ลอยกระทง รำวงวันลอยกระทง บุญจะสง่ ใหเ้ ราสขุ ใจ บุญจะส่งให้เราสขุ ใจ

15 ตามความเชื่อในตำนานของวันลอยกระทงมีด้วยกันหลายประการ แต่หลักๆ แล้วมีอยู่ 2 ประการ ท่ีเป็น จุดประสงค์หลกั ของการลอยกระทงทชี่ าวไทยเราทำกันทุกๆ ปี โดยมีความเช่ือ ดังน้ี ตำนานความเช่ือเรอื่ งวันลอยกระทง 1. เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางท้องที่ถือว่าลอยกระทงเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเน่ืองใน โอกาสท่ีพระพุทธองค์ได้ไปแสดงธรรมในนาคพิภพ และทรงประทับรอยพระบาทไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานที เพราะฉะน้ันการที่บ้านเรามีประเพณีลอยกระทง ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองก็เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่อง ในโอกาสนี้ ส่วนทางเหนือน้ันมีประเพณีย่ีเป็ง มีทั้งลอยกระทงและลอยโคมขึ้นไปบนท้องฟ้าเพ่ือบูชาพระเขี้ยวแก้ว ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งบรรจุอยู่ในจุฬามณีบนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ เราจึงจุดประทีป ลอยโคม ส่งใจข้ึนไปบูชา พระเข้ยี วแกว้ รว่ มกับพระอนิ ทรท์ ีน่ ำหมเู่ ทวดาบูชาพระเขย้ี วแกว้ ท่ีจุฬามณีในวันเพ็ญเดือนสิบสองน้ีเช่นกัน 2. เพ่ือบูชาพระแม่คงคา เป็นการแสดงการขอบคุณน้ำ เพราะมนุษย์เราอยู่ได้เพราะน้ำ ต้ังแต่โบราณมา ชุมชนทั้งหลายเวลาสร้างเมือง ต่างก็เลือกติดแม่น้ำ ดังนั้นถึงเวลาในรอบ 1 ปี ก็เลือกเอาวันเพ็ญเดือนสิบสอง ระลึกว่าตลอดปที ผี่ ่านมา เราไดอ้ าศยั น้ำในการดำรงชวี ิต ขณะที่ลอยกระทงเราก็นึกถึงคณุ ของน้ำ ไมใ่ ชล่ อยเฉยๆ ต้องรำลึกว่าต้องรู้จักใช้น้ำอย่างถูกวิธี และใช้น้ำอย่างคุ้มค่า ไม่ใช้ทิ้งขว้าง ไม่ทำให้น้ำสกปรก ไม่ปล่อยของเสียลง แม่น้ำ เป็นการขอขมาและขอบคุณพระแมค่ งคา ไม่ใช่เป็นการไหว้เทวดาพระแม่คงคาแต่อย่างใด แต่เปน็ การแสดง การขอบคุณน้ำ ในฐานะทีเ่ ป็นผใู้ หช้ วี ิตเรา

16 ตำนานความเชื่อเรื่องวนั ลอยกระทง แต่ก็ยังมีความเชื่อของประเพณีลอยกระทงของคนแก่สมัยโบราณท่ีพูดว่า \"ลอยทุกข์ ลอยโศก โรคภัย ต่างๆ ไปกับกระทง\" ซ่ึงในความเชื่อของการลอยกระทงเพ่ือลอยทุกข์ ลอยโศกนี้ คนโบราณเชื่อว่ากระทงท่ีลอย ออกไปจะนำพาทุกข์โศกโรคภัยออกไปเราได้ โดยจะมีการตัดเล็บ ผม และเงินใส่ลงไปในกระทง สิ่งเหล่าน้ีเป็น ความเชื่อท่ีเป็นส่ิงท่ีทำแล้วรู้สึกสบายใจ แต่ความจริงเราไม่สามารถที่จะลอยทุกข์โศกให้หมดไปได้ด้วยการลอย กระทง ดงั น้ันถ้าจะใหท้ ุกขโ์ ศก โรคภัย เคราะหร์ า้ ยออกไปด้วย เราต้องสร้างบญุ โดยในตอนกลางวัน กอ่ นท่ีจะไป ลอยกระทง เราก็ไปทำบุญที่วัดก่อน แล้วนำบุญนั้นมาอธิษฐานในคืนวันลอยกระทง ด้วยกุศลผลบุญน้ีขอให้ทุกข์ โศกโรคภัยท้ังหลายออกไปจากใจของเราเอง นอกจากน้ียังมีความเชื่อเก่ียวกบั วนั ลอยกระทงอกี อย่างหนึ่งคือ การ ขอขมาพระแมค่ งคา ที่มีนำ้ ใหเ้ ราไดด้ ่ืมไดใ้ ชก้ ัน โดยมีความเชื่อดังต่อไปนี้ - เป็นการขอขมาพระแมค่ งคา ทีม่ นุษยไ์ ดใ้ ช้นำ้ ไดด้ ่มื กนิ นำ้ รวมไปถงึ การทงิ้ สง่ิ ปฏกิ ูลต่างๆ ลงในแมน่ ้ำ - เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ใน ประเทศอินเดีย - เปน็ การลอยความทกุ ข์ ความโศกรวมถงึ โรคภยั ต่างๆ ใหล้ อยไปกบั แม่นำ้ - สว่ นชาวไทยในภาคเหนือมีความเชอื่ ว่า การลอยกระทงเปน็ การบูชาพระอุปคตุ ตามตำนานเลา่ วา่ พระอุปคุตทรง สามารถปราบพระยามารได้ คำกล่าวขอขมาพระแม่คงคา ขา้ แต่คงคา ลกู ขอวันทา ด้วยประทีปกระทง พระแม่คงคา มีความเมตตา ตอ่ ลูกสูงสง่ คอื น้ำในกาย สามส่วนมน่ั คง กายจึงยืนยง ชมุ่ ชืน่ ยืนนาน พระแม่คงคา กำเนดิ จากฟา้ โปรยปรายลงมา เป็นกระแสธาร เกดิ เปน็ แมน่ ำ้ หลาย นามขนาน ปงิ , วัง, ยม, น่าน คอื เจา้ พระยา ทา่ จีน, ตาปี นครชัยศรี โขง, ชี, มูล, ละหาร หว้ ยหนองคลองบึง จนถึง

17 แก่งกว๊าน น้ำใต้บาดาล อีกทั้งประปา ลกู ลูกทั้งหลาย เดินทางขายคา้ สำเรจ็ กจิ จา คมนาคม นำมากินใช้ ไดด้ ่ัง อารมณ์ ยามร้อนประพรม ชุ่มชืน่ กายใจ ชำระมลทนิ โสโครกท้ังสน้ิ สะอาดสดใส ผุดผ่องพราวตา แลเลิศวิไล แม่นำ้ รบั ไว้ สกปรกโสมม น้ำเสียเรอื นชาน ซักผ้าลา้ งจาน เททงิ้ ทับถม ไหลลงคงคา ธาราระทม สารพิษสะสม เน่า คลุ้งฟงุ้ ไป วันนว้ี ันเพ็ญ พระจนั ทร์ลอยเด่น เป็นศภุ สมยั ลูกจดั กระทง ประสงคจ์ งใจ นำมากราบไหว้ พระแม่คงคา เทวาทรง ฤทธ์ิ ซ่ึงสิงสถติ ทุกสายธารา ท้ังผีพรายนำ้ อย่าซ้ำโกรธา ลูกขอขมา อโหสิกรรม ทำกิจใดใด อทุ กภยั อยา่ ได้เตมิ ซำ้ อย่าพบวบิ ัติ ข้องขัดระกำ อย่าให้ชอกชำ้ น้ำท่วมพสุธา อย่าใหส้ นิ ทรพั ย์ ต้องพลันย่อยยับ เพราะสายธารา อย่าให้ ชวี ติ ตอ้ งปลิดชวี า พระแม่คงคา รบั ขมาลกู เทอญ. คำขอขมาพระแมค่ งคา วนั ลอยกระทง (อกี หนง่ึ บท) ขา้ ขอยอกร ขึน้ ต้ังหว่างศร สบิ นิ้วพนม กราบก้มเกศา ฝนตกทว่ มปา่ ไหลมามากล้น หมสู่ ตั ว์ หมู่คน กนิ อาบบาปมี กระทงลูกนี้ ลอยละล่องท้องค่า มาลาหลากสี ธูปเทียนอัคคี นำไปบชู า บชู าเสรจ็ แลว้ ถึงพระเข้ียวแก้ว อยเู่ มอื งลงกา อานิสงสข์ องข้าฯ นิพพาน ปัจจโย โหตุ ห้องสมุดประชาชน หอ้ งสมดุ ประชาชน คอื หอ้ งสมดุ ท่ีได้รับเงินสนับสนุนทางการเงนิ จากรฐั บาลโดยประชาชนเปน็ ผู้เสียภาษี ให้รัฐเพื่อให้บำรุงห้องสมุดเปิดกว้างแก่ประชาชนในท้องถ่ินโดยไม่จำกัดเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ความคิดเห็น ทางการเมือง และ ความรู้ ห้องสมุดบางแห่งท่ีไม่ได้รับความสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาลแต่เปิดบริการแก่ ประชาชนท่ัวไปโดยไม่คิดมูลค่าก็ถือว่าเป็นห้องสมุดประชาชนด้วย และก็เป็นห้องสมุดที่ไม่แสวงหา ผลประโยชน์ ตั้งข้ึนเพ่ือให้ประชาชนเข้าใช้ และโดยปกติจะได้รับเงินทุนอุดหนุนจากรัฐบาล ส่วนสมาคม ห้องสมุดอเมริกันได้กล่าวถึงความหมายของห้องสมุดประชาชนไว้ว่า ถ้าจะพูดกันถึงความหมายของห้องสมุด ประชาชนแล้วเรามกั จะคำนึงถึงลักษณะสำคัญ 3 ประการของหอ้ งสมุดประชาชน คอื 1. ห้องสมดุ แหง่ นน้ั มีหน่วยงานของรฐั บาลเป็นผู้ควบคุม 2. ไดร้ ับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยประชาชนเป็นผ้เู สยี ภาษีให้แกร่ ัฐเพ่ือใชบ้ ำรุงห้องสมุด 3. จะต้องเปิดใหป้ ระชาชนทุกเพศทุกวยั เข้าใชบ้ ริการอยา่ งเสรี

18 วัตถุประสงค์ของห้องสมุดประชาชน วัตถปุ ระสงค์ของห้องสมดุ ประชาชนโดยทวั่ ไปที่สำคัญมีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เป็นแหล่งใหบ้ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนแกป่ ระชาชนทกุ เพศ ทุกวัย และ ทกุ ระดบั การศกึ ษา 2. เปน็ แหล่งสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้การศึกษาและวฒั นธรรม โดยจัดใหป้ ระชาชนสามารถใช้หนังสือ และวัสดุอื่นๆโดยไมเ่ สียคา่ บริการใดๆ 3. เปน็ แหลง่ กลางที่จะปลูกฝังใหป้ ระชาชนมนี สิ ยั รักการอา่ น 4. เป็นศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ต่างๆที่ทันต่อเหตุการณ์ และ ความเคล่ือนไหวของโลกที่ให้ พ้ืนฐานทางความคดิ ของประชาชนโดยสว่ นรวม และเป็นพนื้ ฐานของความเตบิ โตทางด้านวัฒนธรรมและสตปิ ัญญา 5. เป็นศนู ย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของทอ้ งถิ่น 6. เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และรู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอา่ นหนงั สอื 7. เป็นแหล่งส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชน หรือ องค์การในสังคม เพื่อ พฒั นาความเป็นอยขู่ องประชาชนทกุ คนในสังคม 8. เป็นแหลง่ ปลกู ฝังความรับผดิ ชอบทางการเมอื งแกป่ ระชาชนทกุ คน 9. เป็นแหล่งส่งเสริมแนะนำให้ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติ และสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมุข 10. เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มท่ีตาม ความต้องการและสภาพแวดล้อมของประชาชน องคป์ ระกอบของห้องสมุดประชาชน 1. อาคาร และ วสั ดุครุภณั ฑ์ 1.1. ควรมีอาคารเป็นเอกเทศ สามารถดำเนนิ งานได้คล่องตัว 1.2. ควรต้ังอยใู่ นย่านชมุ ชน การคมนาคมสะดวก 1.3. บรรยากาศรืน่ รมย์ ทำให้ผู้อยากเข้าไปใชบ้ ริการ 1.4. มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกไม่อตั คัดขาดแคลนจนเกดิ ความไม่คล่องตัวในการให้บริการ 1.5. ไม่มเี สียงรบกวน 1.6. อยใู่ นทีไ่ มจ่ ำกัด สามารถขยายไดใ้ นอนาคต 2. หนังสอื สง่ิ พมิ พ์ และโสตทัศนปู กรณ์ 2.1. หนงั สือ หอ้ งสมดุ ประชาชนควรมหี นังสือดึงต่อไปนี้ 2.1.1. หนังสอื อา่ นเพื่อความเพลิดเพลินควรมปี รมิ าณมากกวา่ หนงั สือประเภทอน่ื ๆ 2.1.2. หนังสือสารคดที ั่วๆไป 2.1.3. หนงั สอื สำหรับเด็ก

19 2.1.4. หนงั สืออ้างอิง 2.1.5. หนังสอื อ่นื ๆ 2.2. วารสาร และ หนังสอื พมิ พ์ ควรมีวารสาร และหนังสือพมิ พท์ เ่ี หมาะสมกบั ความตอ้ งการ และความจำเป็นของทอ้ งถ่นิ การจัดหาวารสาร ควรมีท้ังวิชาการ และเพ่ือความบันเทิง หากมีหนังสือเพื่อความบันเทิงมากแล้ว วารสารเพอื่ ความบนั เทงิ ก็ ไม่สจู้ ำเป็นนกั การจัดหาหนังสือพิมพ์ ปกติหนังสือพิมพ์ส่วนมากจะเสนอข่าวในแนวเดียวกันคล้ายกัน อาจต่างกันที่วิธี เสนอข่าว การใช้คำพูด การจัดรูปเล่ม ฉะนั้นจึงไม่มีความจำเป็นท่ีห้องสมุดจะต้องซ้ือหนังสือพิมพ์มากฉบับนัก หากมเี งนิ น้อยและไม่มผี บู้ ริจาค 2.3. สิ่งพิมพอ์ นื่ ๆ และโสตทศั นปู กรณ์ 2.3.1. สิง่ พิมพอ์ ื่นๆ เช่น จุลสาร กฤตภาค เอกสารอืน่ ๆ ทเี่ ป็นประโยชน์แกป่ ระชาชนใน ท้องถนิ่ หอ้ งสมุดก็ควรขวนขวายหามาให้ 2.3.2. อปุ กรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ห้องสมดุ ควรมีโสตทัศนปู กรณ์ เชน่ ภาพยนตร์ ภาพนิง่ ฯลฯ หากเป็นไปได้ควรมีห้องทำกจิ กรรมเกย่ี วกบั โสตทัศฯวสั ดุ เช่น ห้องฉายภาพยนตร์ เปน็ ต้น 3. คณะกรรมการห้องสมุด กิจการห้องสมุดประชาชนจะดำเนินไปด้วยความราบร่ืน และ ก้าวหน้าด้วยดีไม่ได้ ถ้าขาดความร่วมมือ จาก คณะกรรมการหอ้ งสมุดตามปกติคณะกรรมการหอ้ งสมุดจะประกอบด้วยบคุ คลดังต่อไปน้ี 3.1. ผวู้ า่ ราชการจังหวัด หรอื นายอำเภอ เป็นประธานคณะกรรมการ 3.2. ศึกษาธกิ ารจงั หวดั หรือศกึ ษาธกิ ารอำเภอ เปน็ รองประธานคณะกรรมการ 3.3. บรรณารักษ์ หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุดเป็นกรรมการและเลขานุการ และคณะกรรมการอื่นๆอีก ตามแต่จะเห็นสมควร และผู้ท่ีควรจะเชิญเป็นกรรมการควรมาจากหลายๆอาชีพอาจเชิญ พ่อค้า คหบดี หรือผู้ที่ เป็นที่รู้จักกันดีในท้องถ่ินเพราะจะเป็นการประชาสมั พันธ์งานห้องสมุด และอาจจะชว่ ยในการหาหนงั สือ หรอื วสั ดุ ตา่ งๆเขา้ ห้องสมดุ ดว้ ยกไ็ ด้ 4. ผ้บู รหิ าร - งานห้องสมุดประชาชนจะประสบปัญหา ถ้าผู้บริหารไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ หน้าท่ี และขอบข่ายการ ดำเนินงานของห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดจะเป็นเหมือนโกดังเก็บหนังสือ หรือห้องอ่านหนังสือเท่านั้น บรรณ รักษ์ หรือเจ้าหน้าที่ก็จะเปรียบเหมือนผู้เฝ้าห้องสมุด นับวันก็จะมีแต่ทรุดลง และถึงกับต้องปิดตัวเองไปในท่ีสุด ผู้บริหารจะต้องทำความเข้าใจกับงานต่างๆของห้องสมุดประชาชนให้ได้ และหาทางสนับสนุนเพ่ือให้ทำงานตรง ตามความมุ่งหมาย 5. ผูใ้ ช้

20 - เปน็ บคุ คลท่สี ำคญั ท่ีสดุ ในกิจการของห้องสมุด หากไม่มผี ู้ใชห้ อ้ งสมุดก็อยู่ไมไ่ ด้ ฉะน้นั บรกิ ารกิจกรรม ทกุ อย่างควรจัดข้ึนโดยนกึ ถึงผู้ใช้เปน็ สำคัญ ควรสอบถามความตอ้ งการก่อนและหากเปน็ ไปไดค้ วรไห้มีสว่ นรว่ มใน การจัดกจิ กรรมทกุ คร้ัง 6. บรรณารักษแ์ ละผู้รว่ มงาน - กลไกทีส่ ำคญั รองลงมาจากผ้ใู ช้ คอื ผ้ดู ำเนนิ งานหรือ บรรณารักษ์และผรู้ ่วมงานทุกคน ซ่ึงจะเป็น พืน้ ฐานทส่ี ำคญั ทจ่ี ะให้งานหอ้ งสมดุ ดำเนินไปได้ คณุ สมบตั ิของบรรณารกั ษ์ หรอื เจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งสมดุ ประชาชนทค่ี วรเป็น 1. ไดร้ ับการศึกษาหรืออบรมทางวชิ าบรรณารกั ษ์ศาสตร์มาแล้ว 2. เข้าใจในหน้าที่ วัตถปุ ระสงค์และ นโยบายของห้องสมุดประชาชนอยา่ งดแี ละลกึ ซง้ึ เพียงพอ 3. มีความรู้เร่ืองจิตวทิ ยาธรรมชาติของมนุษย์ 4. สนใจ และมคี วามร้เู ก่ียวกบั บคุ คลทกุ ระดบั ในทอ้ งถน่ิ ทหี่ ้องสมดุ ตงั้ อยู่ 5. สนใจ และหากเปน็ ไปได้ควรไดเ้ ข้ารว่ มกบั กิจกรรมของชุมชนในท้องถ่นิ น้นั เทา่ ที่จะทำได้ 6. มมี นุษย์สัมพนั ธ์ ทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดด้ ี 7. รกั หนงั สือ รักการอา่ น ศึกษาหาความร้เู พ่อื ทำตนให้ทนั เหตุการณ์อยู่เสมอ 8. มีเจตคตทิ ่ดี ี และมีความศรทั ธาตอ่ อาชพี บรรณารักษ์ 9. มีใจเป็นนักประชาธิปไตย พร้อมท่ีจะรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์และชอบ ด้วยเหตุผล 10. มคี วามคิดรเิ ร่มิ ในกจิ การอนั จะเป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้ใช้ทกุ ด้าน 11. สามารถในการแก้ไขปัญหา และเหตกุ ารณเ์ ฉพาะหน้าด้วยวธิ ีการอันนิ่มนวล 12. มีคุณสมบัติท่ีดีในการปฏิบัติงาน เช่น ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา มีระเบียบ ว่องไว กระฉับกระเฉง สะอาด มนั่ ใจในตวั เอง ฯลฯ ความหมายของนิทรรศการ ในประเทศไทยกิจกรรมการจัดนิทรรศการ (exhibition) ได้จัดอย่างเป็นทางการคร้ังแรกในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะนั้นยังใช้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “เอกซฮิปิเชน คร้ังที่ 1” นิทรรศการ เป็นการรวบรวมส่ิงของและวัสดุเป็นชุด ๆ เพื่อขมวดความคิดตามวัตถุประสงค์ทางการศกึ ษา หากเป็นกิจกรรมด้านการค้าการจัดนิทรรศการเป็นการแสดงผลงานสินค้า ผลิตภัณฑ์หรือกิจกรรมให้คนทั่วไปชม หรือเป็นการจัดแสดงส่ือท่ีรวบรวมได้แก่ชุมชน อาจเป็นผลงานศิลปะอุตสาหกรรมหรือการโฆษณาสินค้า นอกจากน้ีอาจเป็นการรวบรวมงานประติมากรรมต่าง ๆ หรือส่ิงของอ่ืน ๆ เพื่อจัดแสดงในท่ีสาธารณชนท่ีผู้คน

21 สามารถเข้าไปชมได้ เป็นการสร้างความสนใจให้กับผทู้ ่ีผ่านไปผ่านมา การให้ขอ้ มูลเกย่ี วกับความรู้ความคิด เร้าให้ เกดิ ความสนใจเก่ยี วกบั เน้อื หาซ่งึ กระต้นุ ใหม้ กี ารกระทำบางอย่าง ชม ภูมิภาค อธิบายความหมายของนิทรรศการว่า หมายถึง การนำเอาทัศนวัสดุอุปกรณ์ที่เก่ียวกับการ เรียนการสอน เช่น แผนภาพ แผนภูมิ รูปภาพ กราฟ วัสดุ 3 มิติ ของจริงและของตัวอย่าง เป็นต้น มาแสดงเพ่ือ เปน็ การสือ่ สารทางความคิดและความรู้ใหก้ บั บคุ คลระดับตา่ ง ๆ เชน่ ครู นกั เรยี น นักศึกษา ตามโครงเรือ่ งทีว่ างไว้ พยุงศักดิ์ ประจุศิลป์ ให้ความหมายของนิทรรศการคือการแสดงการให้การศึกษาอยา่ งหน่ึงด้วยการแสดง งานให้ชม อาจมีผู้บรรยายให้ฟังหรือไม่ต้องมีก็ได้ การแสดงอาจแสดงในอาคารหรือนอกอาคารก็ได้ ซ่ึง ประกอบด้วยของจริง สิง่ ของ ภาพถ่าย และแผนภมู ิ ส่ิงของตา่ ง ๆ ทจ่ี ะนำออกมาแสดง ในการจัดเตรียมจะต้องจัด อย่างมีระเบียบเรียบร้อยดูง่ายและคำนึงถึงความแจ่มชัดรวมทั้งก่อให้เกิดความรู้ ช่วยให้ผู้ชมเข้าใจข้อมูล (information) โดยใชข้ อ้ ความสนั้ ๆ อธิบายประกอบ ซ่ึงควรจะมีความน่าดนู า่ ชมด้วย สรปุ นิทรรศการ หมายถึงการจัดแสดงข้อมูลเนื้อหาผลงานต่าง ๆ ด้วยวัสดุ ส่ิงของ อุปกรณ์และกิจกรร มท่ี หลากหลายแต่มีความสัมพันธ์กันในแต่ละเรื่องโดยมีจุดมุ่งหมายท่ีชัดเจน มีการวางแผนและออกแบบที่เร้าความ สนใจให้ผู้ชมมีส่วนร่วมในการดู การฟัง การสังเกต การจับต้องและการทดลองด้วยส่ือที่หลากหลาย เช่น รูปภาพ ของจริง หุ่นจำลอง ป้ายนิเทศ และกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การประกวด การแข่งขัน การบรรยาย การสาธิต การ อภิปราย และการตอบปัญหา เป็นต้น การจัดแสดงและนิทรรศการ แสดงให้เห็นว่าการจัดแสดง คือ นิทรรศการขนาดเล็กมาก นอกจากนี้ยังมี นิทรรศการขนาดใหญ่ ได้แก่ นิทรรศการประเภทงานแสดง (fair) หมายถึง นิทรรศการขนาดใหญ่ที่มีบริเวณ กว้างขวาง และงานมหกรรม (exposition) หมายถึง นิทรรศการขนาดใหญ่มโหฬารระดับชาติหรือนานาชาติ ดงั นน้ั จงึ กลา่ วโดยรวมได้ว่า “การจดั แสดงทกุ ขนาดเป็นนทิ รรศการ”

22 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน หมายถึง การกระทำตา่ งๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสนใจทจ่ี ะอ่าน เหน็ ความสำคัญ ของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งน้ี การอ่านหนังสือ เปน็ ทักษะสำคัญทกั ษะหนง่ึ ในชีวติ ประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชวี ิตของคนเราไดเ้ ป็นอย่างดี ยิง่ เมื่อคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความเพลิดเพลิน การท่ีเด็ก จะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้น้ันจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้งครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านใหแ้ ก่เด็ก

23 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านคือ การกระตุ้นด้วยวธิ ีการต่างๆ เพ่ือให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระทั่งมีนิสัยรัก การอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระท่ังมีความสามารถในการอ่าน นำประโยชน์จาการอ่านไปใช้ได้ตรงตาม วตั ถุประสงคข์ องการอา่ นทุกประเภท กรมวิชาการ ใหค้ วามหมายว่า กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นคือ การกระทำเพอ่ื 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลที่เป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะ หนงั สือทม่ี ีคุณภาพ 2. เพือ่ แนะนำชักชวนให้เกดิ ความพยายามที่จะอ่านใหแ้ ตกฉาน สามารถนำความรู้จากหนังสือไป ใชป้ ระโยชน์ เกดิ ความเข้าใจในเร่อื งต่างๆดขี ึน้ 3. เพอื่ กระตุ้น แนะนำให้อยากรู้ อยากอ่านหนงั สือหลายอยา่ ง เปิดความคิดใหก้ วา้ ง ให้มีการอา่ น ตอ่ เนอ่ื งจนเปน็ นสิ ัย พฒั นาการอา่ นจนถงึ ขน้ั ที่สามารถวเิ คราะหเ์ รือ่ งท่ีอา่ นได้ 4. เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศทีจ่ ูงใจใหอ้ ่าน ดงั นั้น สามารถกล่าวได้ว่า กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน หมายถึงกจิ กรรมตา่ งๆที่ห้องสมุดจัด ขน้ึ เพ่ือส่งเสรมิ ให้ เกิดการอ่านอย่างต่อเน่ืองจนกระทั่งเป็นนิสัยรักการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนงั สอื ทน่ี ่าสนใจ เปน็ ต้น ลกั ษณะของกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านทดี่ ี 1. เร้าความสนใจ เชน่ การจัดนทิ รรศการท่ีดงึ ดูความสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใชส้ ่ือ เทคโนโลยีใหมๆ่ เขา้ มาชว่ ย 2. จงู ใจใหอ้ ยากอ่านและกระตุ้นให้อยากอา่ น เช่น ขา่ วที่กำลงั เปน็ ที่สนใจ หรือหวั ข้อเรื่องที่เปน็ ทสี่ นใจ เช่น การวจิ ัย การเตรยี มตัวสอบ การสมัครงาน เป็นตน้ 3. ไมใ่ ช้เวลานาน ความยากง่ายของกจิ กรรมเหมาะสมกับเพศ ระดับอายุ การศึกษา 4. เปน็ กิจกรรมที่มุง่ ไปส่หู นังสือ วัสดุการอา่ น โดยการนำหนังสือหรือวัสดกุ ารอา่ นมาแสดงทกุ ครั้ง 5. ใหค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ แฝงการเรยี นรตู้ ามอัธยาศัยจากการร่วมกิจกรรมดว้ ย

24 ความหมายของอาชีพ อาชีพ หมายถึง การทำกิจกรรม การทำงาน การประกอบการท่ีไม่เป็นโทษแก่สังคม และมีรายได้ตอบ แทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู้ ทกั ษะ อุปกรณ์ เคร่อื งมือ วิธีการ แตกต่างกันไป กล่มุ อาชีพตามลกั ษณะการประกอบอาชีพ มี 2 ลักษณะ คือ อาชพี อสิ ระ และอาชีพรับจ้าง 1. อาชีพอิสระ หมายถึง อาชีพทุกประเภทที่ผปู้ ระกอบการดำเนินการด้วยตนเอง แต่เพียงผ้เู ดียวหรอื เป็น กลุ่ม อาชีพอิสระเป็นอาชีพท่ีไม่ต้องใช้คนจำนวนมาก แต่หากมีความจำเป็นอาจมีการจ้างคนอื่นมาช่วยงานได้ เจ้าของกิจการเป็นผู้ลงทุน และจำหน่ายเอง คิดและตัดสินใจด้วยตนเองทุกเรื่อง ซึ่งช่วยให้การพัฒนางานอาชีพ เป็นไปอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชีพอิสระ เช่น ขายอาหาร ขายของชำ ซ่อมรถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระ ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถในเร่ือง การบริหาร การจัดการ เช่น การตลาด ทำเลท่ีต้ัง เงินทุน การตรวจสอบ และประเมินผล เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีความอดทนต่องาน หนัก ไม่ถ้อถอยต่อ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึน มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ และมองเห็นภาพการดำเนินงาน ข อง ตนเองได้ทะลปุ รุโปรง่ 2. อาชีพรับจ้าง หมายถึง อาชีพท่ีมีผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการ โดยตัวเองเป็นผู้รับจ้าง ทำงานให้ และได้รับ ค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้างประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซึ่งได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่าย แรกเรียกว่า \"นายจ้าง\" หรือผู้วา่ จ้าง บุคคลฝ่ายหลังเรียกว่า \"ลูกจ้าง\" หรือผู้รบั จ้าง มีคา่ ตอบแทนท่ีผู้ว่าจ้างจะต้อง จ่ายใหแ้ ก่ ผู้รบั จ้างเรยี กว่า \"คา่ จา้ ง\" การประกอบอาชีพรับจ้าง โดยทั่วไปมีลักษณะ เป็นการรับจ้างทำงานในสถาน ประกอบการหรือโรงงาน เปน็ การรับจา้ งในลักษณะการขายแรงงาน โดยได้รับค่าตอบ แทนเป็นเงนิ เดอื น หรอื ค่าตอบแทนที่คิดตามชนิ้ งานท่ี ทำได้ อัตราค่าจ้างข้นึ อย่กู บั การกำหนด ของเจ้าของสถานประกอบการ หรือนายจ้าง การทำงานผู้รับจ้างจะทำอยู่ภายในโรงงาน ตามเวลาท่ี นายจ้างกำหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องเส่ียง กับกาลงทุน เพราะลูกจ้างจะใช้

25 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่นายจ้างจัดไว้ให้ทำงานตามท่ีนายจ้าง กำหนด แต่มีข้อเสีย คือ มักจะเป็นงานท่ีทำซ้ำ ๆ เหมือนกันทุกวัน และต้องปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบของนายจ้าง ในการประกอบอาชพี รับจ้างนั้น มปี ัจจยั หลายอยา่ ง ท่ีเอื้ออำนวยให้ผู้ประกอบอาชีพ รับจ้างมีความเจริญก้าวหน้าได้ เช่น ความรู้ ความชำนาญในงาน มีนิสัยการ ทำงานท่ีดี มีความกระตือรือร้น มานะ อดทน ในการทำงาน ยอมรับกฎเกณฑ์และเช่ือฟังคำส่ัง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี รวมทั้ง สุขภาพอนามัยที่ดี อาชีพต่าง ๆ ในโลกมี มากมาย หลากหลายอาชีพ ซ่ึงบุคคลสามารถจะเลือกประกอบ อาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการ ความชอบ และความสนใจ ไม่ว่าจะเป็นอาชีพ ประเภทใด จะเป็นอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้าง ถ้าหากเป็นอาชีพที่สุจริต ย่อมจะทำให้ เกิดรายได้มาสู่ตนเอง และครอบครัว ถ้าบุคคลผู้น้ันมีความมุ่งม่ัน ขยัน อดทน ตลอดจน มีความรู้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั อาชีพตา่ ง ๆ จะทำให้มองเห็นโอกาสในการเขา้ สอู่ าชพี และพฒั นา อาชีพใหม่ ๆ ใหเ้ กดิ ขึ้นอยู่เสมอ ความหมายของงานประดิษฐ์ 1. ความหมายของงานประดิษฐ์ งานประดิษฐ์ หมายถงึ สง่ิ ที่จดั ทำขน้ึ โดยใชค้ วามคิด สรา้ งสรรค์ให้เกดิ ความประณตี สวยงาม น่าสนใจ เพือ่ ประโยชน์ทพ่ี ึงประสงค์ เช่น งานประดิษฐด์ อกไม้ ผ้ารองจาน กระเป๋า ตุ๊กตา ที่ค่ันหนังสือ กระทงใบตอง บายศรี พานดอกไม้ มาลัยแบบอ่นื ๆ 2. ความสำคญั และประโยชน์ของงานประดิษฐ์ 2.1 ประหยดั ค่าใช้จา่ ย 2.2 ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 2.3 ความเพลดิ เพลิน 2.4 เพิม่ คุณคา่ ของวสั ดุ 2.5 สรา้ งความแปลกใหมท่ ม่ี ีอยเู่ ดมิ 2.6 ชน้ิ ตรงตามความต้องการ 2.7 เป็นของกำนัลแกผ่ ู้อน่ื 2.8 อนรุ กั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย 2.8 เพิม่ รายได้ให้แกต่ นเองและครอบครวั 2.9 เกิดความภูมใิ จในตนเอง ประโยชน์ของ งานประดิษฐ์ 1. เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ 2. มคี วามภมู ิใจในผลงานของตน 3. มีรายไดจ้ ากผลงาน 4. มคี วามคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ผลงานใหมๆ่ 5. เปน็ การฝกึ ใหร้ ูจ้ ักสงั เกตสิง่ รอบๆ ตวั และนำมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนล์ ักษณะของงานประดษิ ฐ์

26 1. งานประดิษฐ์ทั่วไป เปน็ งานทบี่ ุคคลสร้างข้ึนมาจากความคดิ ของตนเองโดยอาศัยการเรยี นรูจ้ ากสงิ่ รอบๆ ตวั นำมาดัดแปลง หรือเรยี นรจู้ ากตำรา เชน่ การประดิษฐ์ของใชจ้ ากเศษวสั ดุ การประดษิ ฐด์ อกไม้ 2. งานประดษิ ฐท์ ีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รบั การสืบทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ในครอบครวั หรือใน ท้องถิ่น หรือทำข้ึนเพื่อใชง้ านหรอื เทศกาลเฉพาะอยา่ ง เชน่ มาลัย บายศรี งานแกะสลกั ประเภทของงานประดษิ ฐ์ งานประดิษฐต์ ่างๆ สามารถเลือกทำไดต้ ามความต้องการและประโยชน์ใชส้ อย ซึ่งอาจแบ่งประเภทของ งานประดิษฐ์ตามโอกาสใชส้ อยดังนี้ 1. ประเภทใชเ้ ป็นของเล่น เป็นของเล่นท่ีผใู้ หญใ่ นครอบครัวทำใหล้ ูกหลานเล่นเพ่ือความเพลดิ เพลนิ เช่น งานปัน้ ดนิ เป็นสตั ว์ สงิ่ ของ งานจกั สานใบลานเป็นโมบาย งานพับกระดาษ 2. ประเภทของใช้ ทำขน้ึ เพ่ือเปน็ ของใช้ในชีวติ ประจำวนั เช่น การสานกระบุง ตะกรา้ การทำเครื่องใช้ จากดินเผา จากผ้าและเศษวสั ดุ 3. ประเภทงานตกแต่ง ใชต้ กแต่งสถานที่ บา้ นเรือนให้สวยงาม เช่น งานแกะสลักไม้ การทำกรอบรปู ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ 4. ประเภทเคร่อื งใช้ในงานพธิ ี ประดิษฐ์ข้ึนเพ่อื ใชใ้ นงานเทศกาลหรอื ประเพณีต่างๆ เชน่ การทำกระทง ลอย ทำพานพ่มุ มาลยั บายศรี วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในงานประดิษฐ์ การเลอื กใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิน้ งานต้องเลอื กให้เหมาะสมจงึ จะได้งานออกมามคี ณุ ภาพ สวยงาม รวมท้งั ต้องดูแลรกั ษาอปุ กรณ์เครื่องใชเ้ หล่านใ้ี ห้อยู่ในสภาพใชง้ านได้ตลอดเวลา และสามารถแบ่ง ออกเป็นประเภทตา่ งๆ ได้ดังน้ี 1. ประเภทของเลน่ - วสั ดุทีใ่ ช้ เชน่ กระดาษ ใบลาน ผ้า เชอื ก พลาสตกิ กระป๋อง - อปุ กรณ์ที่ใช้ เช่น กรรไกร เข็ม ดา้ ย กาว มดี ตะปู ค้อน แปรงทาสี 2. ประเภทของใช้ - วสั ดุทใี่ ช้ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ ดนิ ผา้ - อปุ กรณ์ท่ีใช้ เชน่ เล่ือย สี จกั รเยบ็ ผ้า กรรไกร เครื่องขดั เจาะ 3. ประเภทของตกแตง่ - วัสดทุ ีใ่ ช้ เช่น เปลอื กหอย ผา้ กระจก กระดาษ ดนิ เผา - อปุ กรณ์ เชน่ เลือ่ ย ค้อน มีด กรรไกร สี แปรงทาสี เคร่ืองตอก

27 4. ประเภทเครอื่ งใช้ในงานพธิ ี - วสั ดทุ ี่ใช้ เชน่ ใบตอง ดอกไม้สด ใบเตย ผ้า ริบบ้ิน - อุปกรณ์ที่ใช้ เชน่ เขม็ เย็บผา้ เขม็ ร้อยมาลยั คีม คน้ เข็มหมดุ - การเลือกใชแ้ ละบำรงุ รักษาอปุ กรณ์ มหี ลกั การดงั นี้

28 บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงานตามโครงการ 1. วธิ ีการดำเนินงาน ข้ันเตรียมการ เพอื่ จดั ประชมุ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอยี ดโครงการ - ชแ้ี จงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การเพื่ออนมุ ัติ - แต่งตง้ั กรรมการดำเนินงานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบดว้ ย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจันทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ครผู ูช้ ่วย กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สิทธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยตดิ ตอ่ ประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานที่จัดการจัดกจิ กรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ย่งิ สกุ ครู ศรช. 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจ่ายพสั ดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ

29 3.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศวิ ณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธิ์ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์วิทยุห้างทองเรดิโอ เสียงตามสาย วิทยุชุมชน ประชาสมั พันธ์ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมุจลินท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอษุ า ย่งิ สกุ ครู ศรช. 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าท่ีให้กรรมการมีหน้าที่จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และประชาชน มีหน้าที่จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และ สอ่ื ออนไลน์ สื่อการเรยี นการสอน เกม และกิจกรรมนนั ทนาการ ดังนี้ 5.1 กิจกรรมรักการอ่านผ่านสอ่ื ออนไลน์ 5.1.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 5.1.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแก้ว ครูอาสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวิน สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล

30 5.1.13 นายศวิ ณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.2 กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณลี อยกระทง 5.2.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.2.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.2.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.2.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.2.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.2.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.2.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 5.2.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.2.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.2.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.2.13 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.2.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.2.15 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.2.16 นางสาวอุษา ยิ่งสกุ ครู ศรช. 5.2.17 นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.3 กจิ กรรมปริศนา...อา่ นคำ บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.3.1 นางวารี ชูบัว ครู กศน. ตำบล 5.3.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู ศรช. 5.3.3 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.3.4 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.3.5 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์

31 5.4 กจิ กรรมอ่านดีมรี างวัล บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.4.1 นางวารี ชบู ัว ครูอาสาสมัครฯ 5.4.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครู กศน. ตำบล 5.4.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.4.4 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู ศรช. 5.4.5 นายศวิ ณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.4.6 นางสาวกญั ญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.4.7 นางสาวอษุ า ย่ิงสุก 5.5 กจิ กรรมอ่านสรา้ งอาชีพ บรรณารักษช์ ำนาญการ 5.5.1 นางวารี ชบู วั ครูอาสาสมัครฯ 5.5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.5.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.5.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.5.5 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.5.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.5.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.5.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู ศรช. 5.5.13 นายศิวณัชญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.5.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.5.15 นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ครู ศรช. 5.5.16 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ 5.6 กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.6.1 นางวารี ชบู วั ครอู าสาสมัครฯ 5.6.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.6.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.6.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร

32 5.6.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.6.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.6.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.6.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.6.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.6.10 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.6.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.6.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.6.13 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.6.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 5.6.15 นายปณั ณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. 5.6.16 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช. 5.6.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรียมเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบียน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอุษา ยงิ่ สุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพึงพอใจ ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลงั เสร็จส้ินโครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 7.3 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 7.4 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช.

33 2. ขัน้ ดำเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 20 คน ดำเนนิ การ - 1. ขนั้ เพอื่ จัดประชุมครูและ ครูและบคุ ลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 - เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ 5,750 - ชแี้ จงทำความเข้าใจ ชนแดน - ชนแดน - 2. ประชมุ รายละเอยี ดโครงการ กรรมการ - ช้แี จงแนวทางในการ ครแู ละบุคลากร 600 คน กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ กศน. อำเภอ 50 คน ชนแดน 3. จดั เตรียม - จดั ทำโครงการและ ชนแดน 20 คน เอกสาร วัสดุ แผนการดำเนนิ การเพื่อ กรรมการฝ่ายท่ี 50 คน กศน. อำเภอ 15 ธ.ค.63 อปุ กรณ์ในการ อนุมตั ิ ไดร้ ับมอบหมาย 100 คน ชนแดน ดำเนินโครงการ - แต่งตัง้ กรรมการ 180 คน 4. ดำเนนิ การ ดำเนินงานตามโครงการ นักเรียน รวม พืน้ ที่อำเภอ ต.ค.63 จัดกจิ กรรม เพอ่ื ประชุมทำความเข้าใจ นักศกึ ษา และ 1,000 คน ชนแดน - กับกรรมการดำเนนิ งานทุก ประชาชนทั่วไป ฝ่ายในการจัดกิจกรรม ม.ี ค.64 โครงการและการดำเนินงาน เพอื่ ดำเนนิ การจัดทำ จดั ซ้อื วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการ ดำเนินการ 1. รกั การอ่านผ่านสื่อ ออนไลน์ 2. กิจกรรมสืบสาน วฒั นธรรมประเพณี ลอยกระทง 3. ปริศนา...อา่ นคำ 4. อา่ นดีมีรางวัล 5. อ่านสรา้ งอาชีพ 6. สภุ าษติ สำนวนไทย

34 กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ ม.ี ค.64 - 5. สรุป/ เพื่อใหก้ รรมการฝ่าย ตาม 2 เลม่ กศน. อำเภอ ประเมินผล ประเมนิ ผลเกบ็ รวบรวม และรายงานผล ข้อมลู และดำเนนิ การ กระบวนการ ชนแดน โครงการ ประเมินผลการจดั กิจกรรม ประเมิน โครงการ 5 บท 3. ขน้ั สรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดชั นวี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 ตัวชีว้ ดั ผลลพั ธ์ (outcome) นกั เรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปรักการอา่ น เพอื่ พัฒนาคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ีขน้ึ 2. การตดิ ตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรม

35 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง แบ่งออกเป็น 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป เพศ รอ้ ยละ จำนวน 33.80 เพศ 66.20 ชาย 24 100 หญิง 47 รวม 71 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศยั กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรสู้ ำหรบั นักศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสืบสานวฒั นธรรมประเพณี ลอยกระทง ในครัง้ น้ี เปน็ เพศหญิง มากทสี่ ดุ จำนวน 47 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.20 ชว่ งอายุ อายุ รอ้ ยละ ต่ำกวา่ 15 ปี จำนวน 1.40 15 - 29 ปี 46.50 30 – 39 ปี 1 5.60 40 - 49 ปี 33 9.90 50 - 59 ปี 4 11.30 60 ปขี น้ึ ไป 7 25.40 8 100 รวม 18 71 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณลี อยกระทง ในครัง้ น้ี เปน็ ช่วงอายุ 15 - 29 ปี มากทสี่ ดุ จำนวน 33 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.50

36 ระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา ร้อยละ ประถมศึกษา จำนวน 26.80 52.10 ม.ต้น 19 21.10 ม.ปลาย 37 ปวช./ปวส. 15 - ปริญญาตรี - - สงู กวา่ ปริญญาตรี - - รวม - 100 71 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีลอยกระทง ในครงั้ นี้ การศึกษาระดบั ม.ตน้ มากท่สี ุด จำนวน 37 คน คดิ เป็นร้อยละ 52.10 อาชีพ อาชพี ร้อยละ รับจ้าง จำนวน 50.70 เกษตรกรรม 33.80 ผนู้ ำชุมชน 36 คา้ ขาย 24 - รบั ราชการ - 12.70 นกั เรียน/นกั ศึกษา 9 อ่นื ๆ ระบุ - - รวม - - 2 2.80 71 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อธั ยาศยั กจิ กรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนร้สู ำหรบั นักศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสืบสานวฒั นธรรมประเพณี ลอยกระทง ในครง้ั น้ี เป็นอาชพี รบั จา้ งมากท่สี ุด จำนวน 36 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.70

37 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู ความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อโครงการ 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.49 อยูใ่ นระดับ น้อยท่ีสดุ 1.50 – 2.49 อยู่ในระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยูใ่ นระดับ ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยู่ในระดบั มาก 4.50 - 5 อยใู่ นระดบั มากที่สุด 2.2 เกณฑ์การให้คะแนน 5 อยใู่ นระดับ มากทส่ี ดุ 4 อยู่ในระดับ มาก ๓ อย่ใู นระดับ ปานกลาง ๒ อยู่ในระดับ น้อย 1 อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ข้อ รายการ ประเมนิ (คน) มากทส่ี ุด 5 1 กจิ กรรมทจ่ี ัดสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ 71 65 2 เน้ือหาของส่ือการเรยี นรู้ตรงกับความต้องการของผูร้ ับบริการ 71 64 3 การจดั กิจกรรมมสี ือ่ การเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย 71 61 4 กจิ กรรมสง่ เสริมการมมี นุษย์สัมพันธ์อันดตี ่อกนั 71 63 5 สถานทจี่ ัดกิจกรรมเหมาะสมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ 71 64 6 ระยะเวลาการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 71 64 7 ทา่ นมคี วามประทบั ใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมครงั้ นี้ 71 63 8 การประชาสมั พนั ธแ์ ละชวนเชิญ 71 65 9 ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณใ์ นการจัดกิจกรรม 71 62 10 การนำประโยชนไ์ ปใช้ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 71 66 11 ทา่ นคดิ ว่าควรมีการจัดกจิ กรรมในลักษณะน้ตี ่อเน่ือง 71 67 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปทา่ นยินดเี ข้าร่วมโครงการน้ีอกี 71 63 รวมทั้งหมด 852 767 ร้อยละ 100 90.02

38 ระดับผลการประเมิน เฉล่ยี S.D. ประมวล ร้อยละ ด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ดุ ผล 98.31 98.03 4 321 97.18 97.75 6 0 0 0 4.92 0.28 มากท่ีสดุ 97.75 97.46 7 0 0 0 4.90 0.30 มากทส่ี ุด 97.75 98.31 10 0 0 0 4.86 0.35 มากทส่ี ุด 96.34 98.31 8 0 0 0 4.89 0.32 มากที่สุด 98.87 97.75 6 1 0 0 4.89 0.36 มากทส่ี ดุ 97.82 5 2 0 0 4.87 0.41 มากทส่ี ดุ 8 0 0 0 4.89 0.32 มากทส่ี ดุ 6 0 0 0 4.92 0.28 มากทส่ี ดุ 8 0 0 0 4.82 0.33 มากที่สุด 4 1 0 0 4.92 0.33 มากทส่ี ุด 4 0 0 0 4.94 0.23 มากทส่ี ุด 8 0 0 0 4.89 0.32 มากที่สุด 80 4 0 0 4.89 0.32 มากที่สุด 9.39 0.47 0 0

39 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับ ความพงึ พอใจในภาพรวมอยใู่ นระดับ มากทส่ี ุด คิดเปน็ ร้อยละ 97.82 ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ -

40 บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การบรู ณาการการเรยี นรู้ • มกี ารนำความรทู้ ี่ได้รบั ไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป ส่งเสริม และร่วมอนุรักษ์ประเพณี ลอยกระทงใหค้ งอยคู่ ู่สังคมไทยสืบไป รักษาขนบธรรมเนียมของไทย และสง่ เสริมศิลปวัฒนธรรมอนั ดีงามของ ท้องถ่ิน และเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และ พฒั นาคุณภาพชีวิตให้ดขี นึ้ ความรว่ มมือของกลุ่มเป้าหมายและเครือข่าย - การมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย - การสนบั สนนุ ใหภ้ าคีเครอื ข่ายจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั การนำความรูไ้ ปใช้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปเข้าถึง และมีโอกาสได้อ่าน หนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดีข้นึ การดำเนินงานทว่ั ไป เชงิ ปรมิ าณ - กล่มุ เปา้ หมาย นกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชนท่ัวไป จำนวน 50 คน - จำนวนกล่มุ ตัวอยา่ ง นักศกึ ษา กศน.อำเภอชนแดน และประชาชนท่วั ไป จำนวน 71 คน 1) ชาย จำนวน 24 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.80 2) หญงิ จำนวน 47 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.20 เชิงคณุ ภาพ 1. นักเรียน นกั ศึกษาและประชาชนทั่วไปเขา้ ถึง และมโี อกาสไดอ้ า่ นหนังสอื 2. นักเรยี น นกั ศกึ ษาและประชาชนทวั่ ไปเขา้ มารับบรกิ ารในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากขึน้ 3. นกั เรียน นักศึกษาและประชาชนทัว่ ไปมีความร้คู วามเขา้ ใจการเข้าถึงแหลง่ สาร สารสนเทศได้อยา่ งประสิทธภิ าพและตรงตามความต้องการ 4. นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปมีนิสยั รักการอ่านนำไปสู่ การเรยี นรู้ และ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ขี ้ึน

41 ผลการดำเนนิ งานตามตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 1. เปา้ หมาย จำนวน 50 คน มีผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม จำนวน 71 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย 2. จำนวนผ้รู ว่ มกิจกรรม จำนวน 71 คน ผา่ นกิจกรรม จำนวน 71 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย สรุปผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมท่ี 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ลอยกระทง ในภาพรวมอย่ใู นระดบั มากท่สี ุด สรุปความพึงพอใจตอ่ โครงการ/กิจกรรม ทีเ่ ข้ารว่ ม 1. กิจกรรมท่ีจดั สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ อยูใ่ นระดับความพึงพอใจ มากท่ีสดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 98.31 2. เนื้อหาของสื่อการเรียนรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.03 3. การจัดกิจกรรมมีส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 97.18 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 97.75 5. สถานที่จัดกิจกรรมเหมาะสมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อย ละ 97.75 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 97.46 7. ท่านมีความประทับใจในการเข้าร่วมกิจกรรมครง้ั นี้ อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มากทสี่ ดุ คิดเป็นรอ้ ย ละ 97.75 8. การประชาสมั พันธแ์ ละชวนเชิญ อยูใ่ นระดับความพึงพอใจ มากทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.31 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็น รอ้ ยละ 96.34 10.การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.31 11.ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเน่ือง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.87

42 12.หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการน้ีอีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 97.75 ข้อเสนอแนะ -

43 ภาคผนวก

ภาพ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมที่ 2 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรูส้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง วนั ที่ 30 – 31 ตลุ าคม 2563 ณ วดั พระพุทธบาทชนแดน อำเภอชนแดน จงั หวัดเพชรบรู ณ์

ภาพ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมที่ 2 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรูส้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง วนั ที่ 30 – 31 ตลุ าคม 2563 ณ วดั พระพุทธบาทชนแดน อำเภอชนแดน จงั หวัดเพชรบรู ณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook