Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บ้านหนังสือชุมชน(ไตรมาส1-2)

บ้านหนังสือชุมชน(ไตรมาส1-2)

Published by waryu06, 2022-06-13 14:18:59

Description: บ้านหนังสือชุมชน

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันที่ ๗ มนี าคม ๒๕๖๕ เรื่อง สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการพฒั นาห้องสมุดชาวบา้ นท่อี า่ นหนังสือของชมุ ชน เรยี น ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำโครงการพัฒนาห้องสมุดชาวบ้านที่อ่าน หนังสอื ของชุมชน ในระหวา่ งเดือนธนั วาคม ๒๕๖๔ - มนี าคม ๒๕๖๕ เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน เพื่อเป็นการ พัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้ ห้องสมุดชาวบ้านท่ีอ่านหนังสือของชุมชน จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อ การใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วย ตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่าน บัดนี้โครงการดงั กลา่ วได้ดำเนินการเสรจ็ สิ้นเรียบร้อยแลว้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านโครงการดังกล่าวรายละเอียด ตามเอกสารที่แนบมาพรอ้ มน้ี จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ (นางวารี ชูบวั ) บรรณารกั ษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาห้องสมุดชาวบ้านที่อ่านหนังสือของชุมชน ใน ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - มีนาคม 2565 เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็น แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้ห้องสมุดชาวบ้านที่อ่าน หนังสือของชุมชน จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของ นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัย รักการอ่าน นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน คร้ังต่อไป ผจู้ ัดทำ มนี าคม 2565

สารบญั หนา้ 1-8 บทที่ 1 บทนำ 9 - 28 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 29 - 34 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 35 - 39 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 40 - 41 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชื่อโครงการ โครงการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมท่ี 3 โครงการพัฒนาห้องสมุดชาวบ้านท่ีอ่านหนังสือของชมุ ชน 2.  สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินัย รกั ษาศลี ธรรม และเป็นพลเมอื งดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มที ักษะท่จี ่าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มี ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต สู่การเป็นคนไทยท่มี ีทักษะสูง เปน็ นวัตกร นกั คิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอ่ืน ๆ โดยมี สมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบดว้ ย (1) ช่วงการต้ังครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรยี มความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการต้ังครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/ วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุเปน็ พลังในการขบั เคล่อื นประเทศ ประเด็นที่ 6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก หอ้ งเรียน และ (4) การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์  สอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ 3.1 ปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มคนไทยใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม มวี นิ ยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่าง จรงิ จัง 3.2 พัฒนาศักยภาพคนให้มที ักษะความรแู้ ละความสามารถในการดำรงชีวติ อย่างมีคุณคา่ 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรยี นและวัยรุ่นใหม้ ีทักษะการคิดวิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มี ทักษะการทำงานและการใชช้ ีวิตทพี่ รอ้ มเข้าส่ตู ลาดงาน

2 3.3 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 3.3.6 จัดทำส่ือการเรยี นรู้ท่เี ปน็ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์และสามารถใชง้ านผา่ นระบบอุปกรณ์สือ่ สารเคลอ่ื นที่ ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลิตหนังสอื สอื่ การอา่ นและการเรียนร้ทู ่ีมคี ุณภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผูส้ ูงอายุ รวมทั้งส่งเสรมิ ให้มีระบบการจัดการความรู้ทีเ่ ปน็ ภูมิ ปัญญาทอ้ งถิน่  สอดคล้องกับนโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) 1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพ่ือคณุ วฒุ ิ พฒั นาผ้เู รยี นให้มคี วามรอบรูแ้ ละทักษะชีวติ เพ่ือเป็นเครื่องมือในการ ดำรงชีวติ และสรา้ งอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สุขภาวะและทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ การดูแลสุขภาพ 1.2 การเรียนรตู้ ลอดชีวิต - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. จดุ เนน้ การดาํ เนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวติ ที่เนน้ การพฒั นาทกั ษะที่จาํ เปน็ สำหรบั แต่ละช่วงวัย และ การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั แตล่ ะกลุม่ เปา้ หมายและบรบิ ทพน้ื ท่ี 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชีวิตทเ่ี หมาะกบั ช่วงวัย 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรูค้ ุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในหอ้ งสมดุ ประชาชน ท่เี น้น Library Delivery เพอื่ เพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนงั สือของประชาชน 3.5 สง่ เสริมและสนับสนนุ การสร้างพ้นื ท่ีการเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- Learning Space เพอื่ การสร้างนเิ วศการเรียนรู้ใหเ้ กิดข้นึ สังคม

3  สอดคลอ้ งกับตวั ชว้ี ดั การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.1 ผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งช้ีท่ี 2.2 ผู้จัดกจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.3 ส่อื หรือนวตั กรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือตอ่ การจัดการศึกษาตาม อธั ยาศยั ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.4 ผรู้ บั บริการมีความพงึ พอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาที่เน้นการมสี ว่ นร่วม ตัวบ่งชี้ท่ี 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ช้ที ่ี 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.7 การสง่ เสริม สนับสนนุ ภาคเี ครอื ข่ายให้มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพึงพอใจ ควรเพิ่มข้อเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นัน้ จึงใหค้ ะแนนมากหรือน้อย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเป็นระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มีการออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ต่อเน่อื งและนำผลการประเมนิ ที่ได้ไปวเิ คราะห์ถงึ อปุ สรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรงุ พฒั นาในปตี ่อไป 3. หลักการและเหตุผล การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทำให้รู้ข่าวสารข้อมูล ต่างๆ ทั่วโลก ทำให้ผู้อ่านมีความสุข มีความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทกุ คน การอา่ น มปี ระโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พฒั นาการศกึ ษา พัฒนาอาชีพ พฒั นาคุณภาพชวี ิต ทำใหเ้ ป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความอยากรู้ อยากเห็น การทีจ่ ะพฒั นาประเทศให้เจริญรุ่งเรอื งก้าวหนา้ ได้ต้องอาศัยประชาชน ท่มี ีความรคู้ วามสามารถ ซึง่ ความร้ตู า่ งๆ ไดม้ าจากการอา่ นนนั่ เอง

4 บ้านหนังสือชุมชน จึงเป็นแหล่งการอ่าน การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนในชุมชน เป็นสถานทีพ่ บปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถเข้าใช้บริการไดส้ ะดวก มีความเหมาะสม กับบริบทของ พื้นที่และชุมชน โดยมีเจ้าของบ้าน หรืออาสาสมัคร ทำหน้าที่ดูแล ให้บริการ และจัดกิจกรรม สร้างเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน ปัจจุบนั บา้ นหนังสือชุมชนเป็นการดำเนินงานท่ีเกิดจากแรงศรัทธา กำลังทรัพย์ กำลงั ใจและกำลังกายของผู้มี จิตอาสา ทำให้บ้านหนังสือชุมชนเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน หากแต่เพียงลำพังของผู้มีจิตอาสาอ าจจะไม่ สามารถดำเนินการเองได้ทุกเรื่อง จะมีครู กศน.ตาบล ให้ข้อเสนอแนะหรือประสานขอความร่วมมือจากชุมชนมาช่วย อีกแรงหนึ่งก็ได้ บ้านหนังสือชุมชนบางแห่งอาจไม่หยุดการเติบโตเพียงเท่านั้น อาจมีการพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง จากการมสี ว่ นร่วมของเครือข่ายทีม่ งุ่ มน่ั ร่วมกันพัฒนาบ้านหนงั สอื ชุมชนสูห่ อ้ งสมดุ ชมุ ชน ในอนาคต สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยและ ได้ดำเนินการจัดให้มีบ้านหนังสือชุมชน ตามนโยบายของสำนักงาน กศน. โดยนำแนวความคิดของ “บ้านหนังสือชุมชน”มายกระดับให้เป็น “ห้องสมุดชาวบ้านที่อ่านหนังสือของชุมชน” ซึ่งเป็นการนำรูปแบบการ ให้บริการของห้องสมุดประชาชนอำเภอมาผสมผสานการให้บริการของบ้านหนังสือชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงกิจกรรม สื่อ สิ่งพิมพ์ แหล่งความรู้ทางเลือกให้ได้มากที่สุด และมีความสอดคล้องกับความต้องการของคนในชมุ ชน พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้เกดิ การเรียนรู้ตามอัธยาศยั สำหรับประชาชนในทุกช่วงวัย อีกทั้งยังเป็นจุดศูนย์กลางในการทำกิจกรรมของคนในชุมชน โดยมีครู กศน.ตำบล ครูศูนย์การเรียนชุมชน และครูอาสาสมัครฯ ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานระหว่างชุมชนและ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ เพ่ือให้มกี ารปรับเปล่ียนหมนุ เวียนสอื่ สงิ่ พมิ พ์ และการจดั กิจกรรมทีห่ ลากหลายยง่ิ ข้ึน 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอื่ เป็นแหลง่ เรยี นรสู้ ำหรับทกุ ช่วงวยั และคนในชุมชนสามารถเข้าถึงไดง้ ่าย 4.2 เพื่อส่งเสริมการอ่าน และสนับสนุนการนำความรู้ที่ได้จากการอ่านนำไปประยุกต์และปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวนั 4.3 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมุนเวียนสื่อ สิ่งพิมพ์ รวมไปถึงการจัดกิจกรรม ท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อคนในชุมชน 4.4 เพอื่ เป็นแหล่งเพมิ่ พนู ความรู้ และพฒั นาทกั ษะในด้านต่างๆของคนในชุมชนท่ไี ด้รับจากการอา่ น 5. เปา้ หมาย จำนวน 150 คน เชิงปรมิ าณ นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทัว่ ไป เชงิ คุณภาพ ผู้ใชบ้ ริการหอ้ งสมุดชาวบา้ นท่ีอ่านหนงั สือชุมชน(บา้ นหนังสอื ชุมชน) มนี ิสยั รักการอา่ นเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้ ผทู้ ีม่ าใชบ้ ริการมีการแลกเปลยี่ น เรยี นเรียนร้ซู งึ่ กนั และกนั

6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขั้นเตรียมการ ช เพื่อจัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว 2. ประชุมกรรมการ ดำเนนิ งาน ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ช 3. จัดเตรยี มเอกสาร ข วัสดุ อุปกรณใ์ นการ - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน จ ดำเนินโครงการ โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพ่อื อนมุ ัติ - แตง่ ตั้งกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนินงานทกุ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพ่ือดำเนินการจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การ มอบหมาย

5 กลมุ่ เป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) ธ.ค.64 - กศน. อำเภอ ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั โครงการ ชีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์ บทบาทหน้าท่ี กศน. อำเภอ ธ.ค..64 - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน จดั ซ้อื วสั ดอุ ุปกรณ์ในการจดั โครงการ กศน. อำเภอ ธ.ค.64 - ชนแดน

กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 4. ดำเนินการจัด นักเรียน นกั ศึกษา กิจกรรม เพอ่ื ดำเนินการพัฒนาหอ้ งสมุดชาวบ้านท่ี และประชาชนทว่ั ไป 1 อา่ นหนังสือของชุมชน ให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ จำนวน 150 คน ช 5. สรปุ /ประเมนิ ผล ของคนในชุมชน พ และรายงานผล 1. กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น วาดภาพ ตามกระบวนการ 2 โครงการ ระบายสี ประเมินโครงการ ห 2. กจิ กรรมอ่านผ่านควิ อารโ์ ค้ด 5 บท จำนวน 3 เลม่ น 3. กจิ กรรมรถห้องสมุดเคลือ่ นท่ี ส 4. กจิ กรรมอ่านดีมีอาชพี ป 5.กจิ กรรมปริศนาสภุ าษติ ไทย ใช 6.กิจกรรมอกั ษรซอ่ นคำ ซ 7. กิจกรรม สง่ เสริมการอ่านผ่านแหลง่ เรียนรูใ้ นชมุ ชน ส เพ่ือให้กรรมการฝา่ ยประเมินผลเก็บ ต รวบรวมขอ้ มลู และดำเนินการประเมินผล การจดั กจิ กรรม

6 กลมุ่ เป้าหมาย พนื้ ท่ดี ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) หอ้ งสมุดประชาชน ม.ค. ถึง - 1. หอ้ งสมุดชาวบา้ นที่อ่านหนังสอื ของ อำเภอชนแดน มี.ค.65 ชมุ ชนเป็นแหลง่ เรียนรขู้ องคนในชุมชน พร้อมใหบ้ ริการแกก่ ลุ่มเปา้ หมายต่างๆ 2. ผ้ใู ชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ชาวบา้ นทอ่ี า่ น หนงั สือชุมชน(บา้ นหนงั สอื ชุมชน) มี นสิ ยั รักการอา่ นเพ่ิมมากข้นึ และ สามารถนำความรู้ทีไ่ ด้จากการอ่านไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ผู้ท่ีมา ชบ้ ริการมีการแลกเปลย่ี นเรียนเรยี นรู้ ซึง่ กันและกัน สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ม.ี ค.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

7 7. วงเงนิ งบประมาณ ไมใ่ ช้ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนการใช้จา่ ยรายไตรมาส ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 - - - - 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ตำแหนง่ : บรรณารักษ์ชำนาญการ ชอื่ - สกุล : นางวารี ชบู วั เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 เบอร์โทรศัพทท์ ่ีทำงาน : 056 – 761667 อีเมลล์ : [email protected] ผู้ร่วมดำเนินการ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ นางสาวลาวัณย์ สทิ ธกิ รววยแก้ว ตำแหน่ง ครอู าสาสมัครฯ นางลาวิน สีเหลือง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหิทธิ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสรุ ัตน์ จนั ทะไพร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวอุษา ย่ิงสกุ ตำแหน่ง ครปู ระจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปญั ญา ตำแหนง่ ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนยก์ ารเรยี นชุมชน นางสาววรางคณา น้อยจันทร์ ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรียนชุมชน นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธิ์ ตำแหนง่ ครูประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหนง่ นกั จดั การงานทว่ั ไป

8 10. เครือขา่ ย 10.1 นกั ศึกษา กศน.อำเภอชนแดน 10.2 บา้ นหนงั สือชุมชน 11.โครงการที่เกีย่ วขอ้ ง 11.1 โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 11.2 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน 11.3 โครงการประชาสมั พนั ธง์ าน กศน. 11.4 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาประสิทธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครอื ข่าย 11.5 โครงการประกนั คุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ 12.1 เปน็ แหลง่ เรยี นร้สู ำหรบั ทกุ ชว่ งวัย และคนในชมุ ชนสามารถเข้าถงึ ได้งา่ ย 12.2 ส่งเสริมการอ่าน และสนับสนุนการนำความรู้ที่ได้จากการอ่านนำไปประยุกต์และปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวัน 12.3 เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมุนเวียนสื่อ สิ่งพิมพ์ รวมไปถึงการจัดกิจกรรม ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ คนในชมุ ชน 12.4 เปน็ แหลง่ เพิม่ พนู ความรู้ และพัฒนาทักษะในดา้ นตา่ งๆของคนในชุมชนทไ่ี ด้รบั จากการอา่ น 13. ดชั นวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ ( outcome ) นกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปรักการอ่าน เพอ่ื พฒั นาคุณภาพ ชีวติ ที่ดขี ้นึ 14. การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจดั กิจกรรม

9 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง จากการท่ีรัฐบาลได้ประกาศให้การอ่านเป็นสาระแห่งชาติ กำหนดให้ปี 2552 – 2561 เป็นทศวรรษ แห่งการอ่าน และกำหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทุกปี เป็นวันรักการอ่าน กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงาน กศน. ได้ดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้แก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ผ่านแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” และห้องสมุดประชาชนอำเภอ แต่ก็ยังไม่ ครอบคลุมพื้นที่ จึงได้มีแนวคิดที่จะให้มีแหล่งการเรียนรู้อยู่ใกล้บ้านให้มากท่ีสุดในรูปแบบของบ้านหนังสือชุมชน แต่กว่าจะมาเป็นบ้านหนังสือชุมชนได้ในทุกวันนี้ ได้มีการปรับเปล่ียนชื่อและรูปแบบการดำเนินงานมาหลายยุค โดยมีจุดเร่ิมต้นคล้ายกันคือ ยึดคนในชุมชนเป็นหลัก (สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้, ม.ป.ป. : ออนไลน์) ในอดีต สำนักงาน กศน. เคยมีท่ีอ่านหนังสือประจำหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ให้บริการหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร จนถึงสมัยหน่ึงได้มีพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์การ ปกครองท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 สำนักงาน กศน. ได้โอนที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านให้แก่องค์การปกครองท้องถิ่น เป็นชนผู้ดำเนินการแทน ซึงองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินบางแห่งมีความจำเป็นต้องใช้งบเพื่อแก้ไขพัฒนางานด้าน อื่นทำให้การดำเนินงานท่ีอ่านหนังสือประจำหมู่บ้านไม่เป็นไปอย่างต่อเน่ือง แต่ทว่าบทบาทและความรับผิดชอบ ด้านการอ่านออกเขียนได้ของประชาชนซ่ึงเป็นรากฐานของการพัฒนาก็ยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงาน กศน. จึงไม่อาจจะเพิกเฉยได้เพราะสถิตกิ ารไม่รหู้ นังสือของคนไทยกลับกลายเป็นเพิ่มข้ึน สำนักงาน กศน. จึงได้ คิดพลิกฟ้ืนท่ีอ่านหนังสือประจำหมู่บ้านขึ้น ภายใต้กรอบแนวคิดว่า ถ้ามีแหล่งการอ่านในชุมชนท่ีอยู่ใกล้บ้าน อย่างน้อยก็มีแหล่งการอ่านและเป็นฐานการพบปะระหว่างคนในชุมชนบวกกับการส่งเสริมการอ่าน ป้องกันการ ลมื หนังสอื ภายใต้โครงการบา้ นหนงั สืออัจฉรยิ ะ จำนวน 41,800 แห่งในปงี บประมาณ 2556 ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลได้ตัดงบประมาณจัดซื้อหนังสือพิมพ์ และนิตยสารของบ้านหนังสือ อัจฉริยะ เน่ืองจากภารกิจและการใช้งบประมาณซ้ำซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถึงแม้การจัดสรร งบประมาณของรัฐบาลได้ถูกยกเลิกไป แต่ชุมชนยังเห็นความสำคัญและประโยชน์ของบ้านหนังสืออัจฉริยะอยู่ อย่างน้อยก็เป็นแห่งพบปะพูดคุยกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และเป็นแหล่งดึงดูดคนในชุมชนให้หันมาสนใจเร่ือง การอ่านได้บางส่วน พ่อแม่ผู้ปกครองต้องการให้มีแหล่งเพ่ือปลูกการอ่านให้กับลูกหลานของตนในอนาคต สำนักงาน กศน. จึงได้สานต่อโครงการดังกล่าวโดยการปรับเปลี่ยนชื่อ “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” เป็น “บ้าน หนังสือชุมชน” เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้มีจิตอาสาดำเนินงานภายใต้ศักยภาพของตนที่มีอยู่ตามความสมัครใจ จำนวนกว่า 18,000 แห่ง โดยสำนักงาน กศน. ได้เข้าไปส่งเสริมสนับสนุน ให้นักศกึ ษา หรือช่วยเหลือตามท่ีผู้ มจี ติ อาสาร้องขอ ยกเวน้ การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน

10 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทำต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสนใจที่จะอ่าน เห็น ความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินท่ีจะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันท่ีจะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งน้ี การ อ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหน่ึงในชีวิตประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเรา ได้เป็นอย่างดีย่ิง เม่ือคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความ เพลิดเพลิน การที่เด็กจะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้นั้นจำเป็นจะต้องอาศัยความรว่ มมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้ง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นใหแ้ ก่เดก็

11 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นคือ การกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ เพอื่ ให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระทั่งมีนสิ ยั รัก การอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระทงั่ มคี วามสามารถในการอ่าน นำประโยชนจ์ าการอา่ นไปใชไ้ ด้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของการอ่านทุกประเภท (ฉวีวรรณ คหู าภนิ ันทน์, 2542 : 93) กรมวชิ าการ (อ้างถงึ ใน ฉวีวรรณ คหู าภินันทน์, 2542 : 93) ให้ความหมายว่า กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน คือ การกระทำเพ่ือ 1. เร้าใจบคุ คลหรอื บุคคลท่ีเป็นเป้าหมายใหเ้ กิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสอื ที่มี คุณภาพ 2. เพอ่ื แนะนำชักชวนใหเ้ กิดความพยายามท่ีจะอ่านใหแ้ ตกฉาน สามารถนำความรจู้ ากหนังสือไปใช้ ประโยชน์ เกดิ ความเข้าใจในเรอื่ งตา่ งๆ ดีข้นึ 3. เพือ่ กระตุ้น แนะนำให้อยากรู้ อยากอ่านหนังสือหลายอยา่ ง เปิดความคดิ ใหก้ วา้ ง ให้มกี ารอ่านตอ่ เน่ือง จนเปน็ นสิ ยั พฒั นาการอ่านจนถึงขน้ั ท่ีสามารถวเิ คราะห์เรื่องที่อา่ นได้ 4. เพอื่ สร้างบรรยากาศทจ่ี ูงใจให้อ่าน ดังนั้น สามารถกล่าวได้ว่า กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น หมายถึงกิจกรรมต่างๆทีห่ ้องสมดุ จัด ข้นึ เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ เกดิ การอา่ นอย่างต่อเนือ่ งจนกระทั่งเป็นนสิ ยั รักการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การเชิดหนุ่ การแสดงละคร การ แนะนำหนงั สือทีน่ า่ สนใจ เปน็ ต้น ลักษณะของกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นที่ดี 1. เรา้ ความสนใจ เชน่ การจดั นิทรรศการที่ดึงดคู วามสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใชส้ ่ือ เทคโนโลยีใหม่ๆเขา้ มาช่วย 2. จูงใจให้อยากอา่ นและกระตุน้ ใหอ้ ยากอ่าน เชน่ ข่าวท่ีกำลงั เปน็ ทส่ี นใจ หรอื หวั ข้อเร่ืองท่เี ปน็ ท่ีสนใจ เช่น การวจิ ัย การเตรยี มตวั สอบ การสมัครงาน เป็นตน้ 3. ไม่ใชเ้ วลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกบั เพศ ระดับอายุ การศึกษา 4. เป็นกจิ กรรมที่มงุ่ ไปสู่หนังสือ วสั ดกุ ารอ่าน โดยการนำหนงั สือหรอื วัสดุการอา่ นมาแสดงทกุ คร้ัง 5. ใหค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ แฝงการเรียนรู้ตามอธั ยาศัยจากการรว่ มกิจกรรมดว้ ย ความหมายและความสำคัญของหอ้ งสมุด ห้องสมดุ ประชาชน หมายถึง ห้องสมุดที่ตง้ั ขึน้ เพือ่ ใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน โดยไม่จำกัด เพศ วยั เช้อื ชาติ ศาสนา และพนื้ ความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทุกหมวดวชิ า และอาจมกี ารบรกิ ารบางเร่ืองเปน็ พิเศษ ตามความต้องการของท้องถ่นิ และจะจดั ให้บริการแกป่ ระชาชนโดยไม่คิดมลู คา่

12 บทบาทหน้าทขี่ องห้องสมดุ ประชาชน มี 3 ประเภท คือ 1. หน้าที่ทางการศกึ ษา หอ้ งสมุดประชาชนเปน็ แหล่งให้การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน มหี น้าทใ่ี ห้ การศกึ ษาแกป่ ระชาชนทวั่ ไป ทกุ ระดับการศึกษา 2. หน้าทท่ี างวัฒนธรรม หอ้ งสมดุ ปะชาชนเป็นแหล่งสะสมมรดกทางปัญญาของมนุษย์ ท่ีถ่ายทอดเป็น วฒั นธรรมท้องถน่ิ ท่หี ้องสมดุ ต้ังอยู่ 3. หน้าท่ีทางสงั คม ห้องสมุดประชาชนเป็นสถาบนั ทางสังคมไดร้ ับเงินอดุ หนุนจากรฐั บาลและท้องถ่ินมา ดำเนินกจิ การ จึงมีหนา้ ท่ี แสวงหาข่าวสารขอ้ มลู ท่ีมปี ระโยชน์มาบริการประชาชน หอ้ งสมุดประชาชนในประเทศไทยมีหนว่ ยงานต่างๆรับผิดชอบ ดงั นี้ 1. หอ้ งสมุดประชาชนสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ นอกจากน้ีกรมการศึกษานอกโรงเรียนยังไดจ้ ดั ทอ่ี า่ นหนงั สือประจำ หม่บู ้าน ทีอ่ า่ นหนังสอื ในวดั และหอ้ งสมุดเคลอื่ นที่ 2. ห้องสมุดประชาชน สังกัดกรงุ เทพมหานคร มีท้งั หมด 12 แหง่ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุดประชาชนสวนลมุ พินี หอ้ งสมดุ ประชาชนซอยพระนาง หอ้ งสมดุ ประชาชนปทุมวัน หอ้ งสมดุ ประชาชนอนงคาราม หอ้ งสมดุ ประชาชนวัด สงั ขก์ ระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน หอ้ งสมดุ ประชาชนบางขุนเทยี น ห้องสมดุ ประชาชนวัดรชั ฎาธษิ ฐาน วรวหิ ารตล่ิงชัน ห้องสมดุ ประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเคา้ ห้องสมุดประชาชนภาษีเจรญิ ห้องสมุดประชาชนวัดราชโอรส 3. ห้องสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมดุ ที่ธนาคารพาณชิ ย์เปดิ ขน้ึ เพื่อบรกิ ารสังคม และ เพ่อื ประชาสัมพันธ์กิจการของธนาคารให้เป็นท่ีรจู้ กั แพร่หลาย เช่น หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจำกัด 4. หอ้ งสมุดประชาชนของรฐั บาลต่างประเทศ โดยไดร้ ับการสนับสนนุ จากรฐั บาลตา่ งประเทศ เชน่ หอ้ งสมุดบริตชิ เคาน์ซลิ ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร ที่ตัง้ อยบู่ รเิ วณสยามสแควร์ กรงุ เทพมหานคร 5. ห้องสมุดประชาชนเสียคา่ บำรงุ ห้องสมุดประชาชนประเภทนใี้ ห้บริการเฉพาะสมาชิกเทา่ น้ัน โดยผูท้ ่ี เป็นสมาชิกจะต้องเสียคา่ บำรุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมดุ นลี สันเฮย์ ตง้ั อยทู่ ่ถี นนสุริวงศ์ กรงุ เทพมหานคร บทบาทและความสำคญั ของหอ้ งสมสดุ ต่อสังคมในดา้ นตา่ ง ๆ 1. เป็นสถานที่เพื่อสงวนรกั ษาและถา่ ยทอดวฒั นธรรม ห้องสมุดเป็นแหล่งสะสมววิ ัฒนาการของมนุษย์ ตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบัน ถ้าไม่มแี หล่งคน้ ควา้ ประเภทห้องสมดุ เปน็ ศนู ย์กลางแล้ว ความรู้ตา่ งๆ อาจสูญหายหรือ กระจดั กระจายไปตามที่ต่างๆ ยากแก่คนรุ่นหลงั จะตดิ ตาม 2. เป็นสถานท่ีเพื่อการศึกษา คน้ ควา้ วิจยั หอ้ งสมดุ ทำหน้าที่ใหก้ ารศึกษาแก่ประชาชนทุกรูปแบบ ทง้ั ใน และนอกระบบการศึกษา เริ่มจากการศึกษาข้ันพ้นื ฐานถึงระดบั สูง

13 3. เป็นสถานทีส่ ร้างเสริมความคดิ สรา้ งสรรค์และความจรรโลงใจ หอ้ งสมุดมหี นา้ ทรี่ วบรวมและเลอื กสรร ทรพั ยากร สารสนเทศ เพื่อบริการแกผ่ ู้ใช้ ซ่งึ เป็นส่ิงทม่ี คี ุณค่าผู้ใชไ้ ดค้ วามคิดสร้างสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกดิ ประโยชน์แกต่ นเองและสงั คมต่อไป 4. เปน็ สถานท่ีปลกู ฝังนิสัยรกั การอา่ นและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ห้องสมุดจะชว่ ยใหบ้ คุ คลสนใจในการอ่าน และรกั การอา่ นจนเป็นนสิ ัย 5. เป็นสถานท่ีสง่ เสรมิ การาใชเ้ วลาว่างในเปน็ ประโยชน์ ห้องสมดุ เปน็ สถานทีร่ วบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพ่ือบริการแกผ่ ู้ใช้ตามความสนใจและอา่ นเพื่อฆา่ เวลา อา่ นเพ่ือความเพลิดเพลิน หรอื อา่ นเพื่อ สาระบนั เทิงได้ท้ังสิ้น นับว่าเป็นการพักผอ่ นอยา่ งมีความหมายและใหป้ ระโยชน์ 6. เปน็ สถานท่ีสง่ เสรมิ ความเป็นประชาธปิ ไตย ห้องสมดุ เป็นสาธารณะสมบตั ิ มีส่วนส่งเสรมิ ให้บคุ คลรูจ้ ัก สิทธแิ ละหน้าทข่ี องพลเมือง กลา่ วคอื เม่ือมีสทิ ธใิ นการใช้ก็ย่อมมสี ทิ ธใิ นการบำรงุ รักษารว่ มกนั และให้ความร่วมมือ กับห้องสมุดด้วยการปฏิบัตติ ามระเบียบ แบบแผนของหอ้ งสมดุ ความหมายของสื่อส่ิงพมิ พ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใ้ ห้ความหมายคาท่ีเก่ียวกับ“สอื่ สงิ่ พมิ พ”์ ไว้วา่ “สง่ิ พมิ พ์ หมายถงึ สมดุ แผน่ กระดาษ หรอื วตั ถุใด ๆ ท่พี ิมพ์ขึน้ รวมตลอดทง้ั บทเพลง แผนที่ แผนผงั แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบาย สี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรอื ส่ิงอ่นื ใดอนั มีลักษณะเชน่ เดยี วกนั ” “สือ่ หมายถึง ก. ทาการติดต่อให้ถึงกนั ชกั นาให้ รจู้ กั กนั น. ผ้หู รือส่งิ ที่ทาการตดิ ตอ่ ให้ถึงกนั หรือชักนาให้รู้จักกัน” “พิมพ์ หมายถึง ก. ถ่ายแบบ, ใชเ้ ครอ่ื งจักรกด ตวั หนงั สือหรือภาพ เปน็ ต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้า ทาให้เปน็ ตัวหนังสอื หรือรปู รอยอยา่ งใด ๆ โดย การกดหรือการใช้พมิ พห์ นิ เครื่องกล วธิ เี คมี หรอื วธิ ีอนื่ ใด อนั อาจให้เกดิ เปน็ ส่ิงพิมพ์ขน้ึ หลายสาเนา น. รปู , รปู ร่าง, ร่างกาย, แบบ” ดงั นั้น “สอื่ สง่ิ พิมพ”์ จงึ มีความหมายวา่ “สิ่งทีพ่ มิ พข์ ้นึ ไม่วา่ จะเป็นแผ่นกระดาษหรือวตั ถุ ใด ๆ ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ อนั เกิดเป็นชิน้ งานท่มี ลี กั ษณะเหมือน ต้นฉบับขน้ึ หลายสาเนาในปริมาณมากเพื่อเป็นสงิ่ ที่ ทาการติดต่อ หรือชักนาให้บุคคลอื่นได้เหน็ หรือทราบ ข้อความต่าง ๆ” สิง่ พมิ พ์เพื่อการศึกษา หมายถึง สงิ่ ทีพ่ ิมพ์ข้ึนในรปู แบบตา่ งๆ ทงั้ หนังสือ ตารา เอกสาร วารสารตา่ งๆ ท่ี ใหค้ วามรู้ เนอ้ื หาสาระทมี่ ีประโยชน์ เช่น หนังสือเรยี นภาษาไทย ป. 6 หรอื อาจเป็นชดุ ภาพประกอบการศึกษา เช่น ภาพประกอบการศกึ ษาชุดอาหารไทย เปน็ ต้น และสามารถนามาใช้ในการศกึ ษาได้

14 ความเปน็ มา ส่ิงพิมพ์ถือได้ว่าเป็นส่ิงท่ีความสำคัญยิ่งควบคู่มากับการพัฒนาการของมนุษยชาติ และจัดเป็นส่ือมวลชน ประเภทหนึ่งท่ีมีความสำคัญมาตลอดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในการถ่ายทอดความรู้วิชาการ และเพ่ือการติดต่อ สื่อสารสาหรับมนุษยชาติ ดังคำจำกัดความของพจนี พลสิทธิ์ (2536 : 3) สรุปความเป็นมาและความสาคัญของ ส่ิงพิมพ์ ว่า “ส่ิงพิมพ์” นับเป็นวัสดุที่แสดงถึงพัฒนา การความเจริญก้าวหน้าทางด้านสติปัญญา ของมนุษย์ ความคิด จินตนาการ เจตคติ ความฝนั ชวี ิต วัฒนธรรม สังคม เหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ลายคุ สมัย สามารถเก็บรักษาสืบทอดจาดชนรุ่นหนึ่งไปสู่ชนรุ่นหลัง ความคิดในเรื่องการพิมพ์น้ีนอกเหนือจาก เพ่ือเป็น เคร่ืองมือในการบันทึกความคิด จินตนาการ ความรู้ และเหตุการณ์ต่างๆ แล้วยังเป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าชนชาติ ต่าง ๆ ในโลกนลี้ ้วนมคี วามพยายามทจี่ ะพัฒนาความคดิ ของตนให้เจริญก้าวหนา้ ทนั สมัยอย่างตอ่ เน่ือง ความคิดใน เรือ่ งการพิมพท์ ่ีมีจุดประสงค์เริ่มแรกก็คงเพื่อให้มกี ารแพร่หลายเรือ่ งความคิด ความรู้ ไปสู่ชนรุ่นหลัง และเพื่อให้มี หลาย ๆ สาเนาจะได้เก็บรักษาให้คงอยู่ได้นานปีน้ัน ในยุคปัจจุบันชนรุ่นหลังได้สานต่อความคิดเรื่องการพิมพ์ จนกระทั่งกลายเป็นเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และซับซ้อน สามารถผลิตส่ิงพิมพ์ได้หลากหลายชนิดตอบสนอง วตั ถปุ ระสงคข์ องมนุษยชาติได้กว้างขวางนอกเหนือจากสอื่ สิง่ พมิ พ์จะเปน็ สื่อมวลชนท่ีมีความเกยี่ วกันกบั มนุษยชาติ มานานนับพนั ๆ ปี และมคี วามเกา่ แกก่ ว่าสอ่ื มวลชนประเภทอน่ื ไม่วา่ จะเป็น วิทยุกระจายเสยี ง วิทยุโทรทัศน์ หรือ อนิ เตอร์เน็ต ซง่ึ เป็นสอ่ื ประเภทหน่ึงท่ีมีการใช้แพร่หลายไปทั่วโลกเช่นในปัจจุบันก็ตาม แต่ส่ือส่ิงพิมพ์ก็ยงั เป็นสอื่ ที่ มีการใช้อย่างแพร่หลายเป็นที่นิยมของทุกชนชาติมิได้ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทใดก็ตาม เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หรือส่ิงพิมพ์ประเภทต่าง ๆ สาเหตุสาคัญที่ทาให้ส่ือส่ิงพิมพ์ยังเป็นท่ี นยิ มแพรห่ ลายมาโดยตลอด ก็เพราะบุคคลสามารถเลอื กอา่ นไดต้ ามความเหมาะสม อีกท้ังยงั ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประวตั กิ ารพิมพใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงศรีอยุธยา ได้เร่ิมแต่งและพิมพ์หนังสือคำสอนทางศาสนา คริสต์ ขึ้น และหลังจากน้ันหมอบรัดเลย์เข้ามาเมืองไทย และได้เร่ิมด้านงานพิมพ์จนสนใจเป็นธุรกิจด้านการพิมพ์ ใน เมอื งไทย พ.ศ.2382 ไดพ้ มิ พเ์ อกสารทางราชการเป็นช้ินแรก คือ หมายประกาศห้ามสูบฝน่ิ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระ น่ังเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเม่ือวันที่ 4 ก.ค.2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรก ข้ึน คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างส้ัน ออกเดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 มิ.ย. พ.ศ.2404 ได้พิมพห์ นังสือเล่มออกจำหน่ายโดยซ้อื ลิขสิทธิจ์ าก หนังสือนริ าศลอนดอนของหม่อมราโชทัยและ ไดเ้ รมิ่ ตน้ การซ้ือขาย ลขิ สทิ ธิหน่ายในเมอื งไทย หมอบรัดเลยไ์ ด้ถึงแก่กรรมในเมืองไทยกิจการ การพิมพ์ของไทยจึง เร่ิมต้นเป็นของไทย หลังจากนั้นใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจึงนา เคร่ืองพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เป็นครั้งแรก โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชนาเครื่องหล่อเรียงพิมพ์ Monotype มาใช้กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทยได้จัดโรงพมิ พธ์ นบัตรในเมืองไทยขน้ึ ใช้เอง

15 ประเภทของสอื่ สง่ิ พิมพเ์ พ่ือการศึกษา ส่ือสิง่ พิมพ์ประเภทหนังสือ 1. หนังสอื ตำรา เป็นสื่อท่ีพิมพ์เป็นเล่ม ประกอบด้วยเนื้อหาการเรียนการสอนโดยอธิบายเน้ือหาวิชาอย่างละเอียดชัดเจน อาจมีภาพถ่ายหรอื ภาพเขียนประกอบเพ่ือเพม่ิ ความสนใจของผู้เรียน หนังสือตารานี้อาจใช้เป็นสอ่ื การเรียนในวิชา น้นั โดยตรงนอกเหนือจากการบรรยายในชน้ั เรยี น หรืออาจใช้เป็นหนังสืออ่านประกอบหรอื หนงั สืออ่านเพิ่มเติมก็ได้ การใช้หนังสือในการเรียนการสอนนับวา่ มีประโยชน์แก่ผ้เู รยี นท้งั ในด้านการศึกษารายบุคคลเพ่อื ให้ผู้เรียนสามารถ ใช้อ่านในเวลาท่ีตอ้ งการ และในด้านเศรษฐกจิ เนอ่ื งจากสามารถใชอ้ า่ นไดห้ ลายคนและเก็บไว้ได้เป็นเวลานาน 2. แบบฝึกปฏิบัติ เป็นสมุดหรือหนังสือท่ีพิมพ์ขึ้นโดยมีเนื้อหาเป็นแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพ่ือเป็นการเพ่ิมทักษะหรือ ทดสอบผู้เรียน อาจมเี น้ือหาในรูปแบบคาถามใหเ้ ลอื กคาตอบ หรือเป็นต้นแบบเพ่ือให้ผู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิตามโดยอาจ มรี ปู ประกอบเพอ่ื ให้เข้าใจได้งา่ ยย่ิงข้นึ เชน่ แบบคัดตวั อักษร ก ไก่ เปน็ ตน้ 3. พจนานกุ รม เป็นหนังสือท่ีมีเนอ้ื หาเปน็ คาศพั ท์และคาอธิบายความหมายของคาศัพท์ แต่ละคาน้ัน โดยการเรียงตามลา ดับจากอักษรตัวแจกถึงตัวสุดท้ายของภาษาท่ีต้องการจะอธิบาย คาศัพท์และคาอธิบายจะเป็นภาษาเดียวกันหรือ ต่างภาษาก็ได้ เช่น คาศัพท์ภาษาอังกฤษและมีคาอธิบายเป็นภาษาไทย หรือท้ังคาศัพท์และคาอธิบายต่างก็เป็น ภาษาอังกฤษ เปน็ ตน้ 4. สารานกุ รม เปน็ หนงั สือท่ีพมิ พ์ขนึ้ เพื่ออธิบายหวั ขอ้ หรอื ขอ้ ความตา่ งๆ ตามลาดบั ของตัวอักษร เพอื่ ให้ผู้อา่ นสามารถ ค้นควา้ เพ่ือความรู้และการอ้างอิง โดยมีรูปภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ ประกอบคาอธิบายใหช้ ัดเจนยง่ิ ขน้ึ 5. หนังสอื ภาพและภาพชุดต่างๆ เปน็ หนังสอื ท่ีประกอบดว้ ยภาพต่างๆ ทเี่ ปน็ เรอื่ งเดยี วกันตลอดทั้งเล่ม ส่วนใหญ่จะเป็นหนังสือภาพท่ีพิมพ์ สอดสสี วยงาม เหมาะแก่การเกบ็ ไว้ศึกษาหรือเป็นทร่ี ะลึก เช่น หนังสือภาพชุดพระท่นี ัง่ วิมานเมฆ หรือหนงั สือภาพ ชุดทัศนียภาพของประเทศตา่ งๆ เป็นตน้ 6. วิทยานพิ นธ์และรายงานการวิจัย เป็นสิง่ พมิ พท์ ี่พมิ พอ์ อกมาจานวนไม่มากนักเพ่อื เผยแพรไ่ ปยงั ห้องสมดุ สถาบนั การศึกษาต่างๆ หรอื หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องกบั งานวจิ ัยนั้น เพ่อื ให้ผู้สนใจใชเ้ ปน็ เอกสารคน้ คว้าข้อมลู หรือใช้ในการอ้างอิง 7. สิ่งพิมพ์ยอ่ ส่วน (Microforms) หนังสือทเ่ี ก่าหรอื ชารดุ หรือหนงั สอื พิมพท์ ่ีมีอยู่เป็นจานวนมากย่อมไม่เปน็ ทสี่ ะดวกในการเก็บรักษาไว้ จึง จำเปน็ ต้องหาวิธีเกบ็ สิง่ พิมพ์เหล่านีไ้ ว้โดยอาศยั ลักษณะการย่อส่วนลงให้เหลอื เล็กทีส่ ุดเท่าที่จะทาได้ เพ่ือประหยัด เน้ือทใ่ี นการเก็บรักษาและสามารถที่จะนำมาใช้ได้สะดวก จงึ มวี ธิ ีการต่างๆ โดยอาศัยเน้ือท่ใี นการเกบ็ รักษาและ สามารถทีจ่ ะนามาใช้ไดส้ ะดวก จงึ มวี ิธีการต่างๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีในการทาส่ิงพิมพย์ อ่ ส่วน ได้แก่

16 ก. ไมโครฟิล์ม (Microfilm) เป็นการถา่ ยหนงั สือแต่ละหน้าลงบนม้วนฟลิ ์มที่มคี วามกวา้ งขนาด 16 หรอื 35 มลิ ลิเมตร โดยฟิลม์ 1 เฟรมจะ บรรจุหน้าหนงั สอื ได้ 1-2 หน้าเรยี งติดต่อกนั ไป หนังสือเลม่ หน่ึงจะสามารถบันทกึ ลงบนไมโครฟลิ ม์ โดยใช้ความยาว ของฟิลม์ เพยี ง 2-3 ฟุต ตามปกติจะใช้ฟิล์ม 1 ม้วนต่อหนังสอื 1 เลม่ และบรรจุม้วนฟิล์มลงในกลอ่ งเล็กๆ กล่องละ ม้วนเม่อื จะใช้อ่านก็ใสฟ่ ิล์มเข้าในเคร่ืองอ่านที่มจี อภาพหรือจะอัดสาเนาหน้าใดก็ไดเ้ ชน่ กัน ข. ไมโครฟชิ (Microfiche) เป็นแผ่นฟลิ ์มแขง็ ขนาด 4 x 6 น้วิ สามารถบนั ทกึ ขอ้ ความจากหนังสอื โดยย่อเป็นกรอบเลก็ ๆ หลายๆ กรอบ แผ่นฟลิ ม์ น้จี ะมเี นื้อท่มี ากพอทจ่ี ะบรรจหุ น้าหนงั สือท่ีย่อขนาดแลว้ ไดห้ ลายรอ้ ยหนา้ ตวั อักษรทยี่ ่อจะมีสีขาวบนพ้นื หนา้ หนังสือสีดา สามารถอ่านไดโ้ ดยวางแผ่นฟลิ ์มลงบนเคร่ืองฉายทขี่ ยายภาพให้ไปปรากฏบนจอภาพสาหรบั อ่าน และจะอา่ นหน้าใดกไ็ ดเ้ ล่อื นภาพไปมา และยงั สามารถนาไปพมิ พ์บนกระดาษและอัดสาเนาได้ด้วย สอ่ื ส่ิงพมิ พ์เพ่ือเผยแพร่ข่าวสาร – หนงั สือพิมพ์ (Newspapers) เป็นส่ือส่ิงพมิ พ์ที่ผลิตขน้ึ โดยนาเสนอเรือ่ งราว ขา่ วสารภาพและความ คดิ เหน็ ในลกั ษณะของแผน่ พิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วธิ ีการพับรวมกนั ซ่ึงสอ่ื สิ่งพิมพ์ชนิดนี้ ได้พิมพอ์ อกเผยแพร่ทง้ั ลักษณะ หนงั สือพิมพร์ ายวนั , รายสปั ดาห์ และรายเดือน – วารสาร, นติ ยสาร เป็นส่ือสง่ิ พิมพท์ ผ่ี ลิตขึน้ โดยนาเสนอสาระ ขา่ ว ความบนั เทิง ที่มีรปู แบบการนาเสนอ ทโี่ ดดเด่น สะดดุ ตา และสร้างความสนใจให้กบั ผู้อ่าน ทงั้ นี้การผลิตนน้ั มกี าร กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่ แนน่ อน ท้ังลกั ษณะวารสาร, นิตยสารรายปักษ์ (15 วนั ) และ รายเดอื น – จลุ สาร เป็นส่อื สง่ิ พมิ พ์ที่ผลิตข้นึ แบบไมม่ งุ่ หวังผลกาไร เป็นแบบใหเ้ ปลา่ โดยใหผ้ ้อู า่ นไดศ้ กึ ษาหาความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นคร้งั ๆ หรอื ลาดบั ตา่ ง ๆ ในวาระพิเศษ แสดงเนื้อหาเป็นข้อความท่ผี ู้อา่ น อ่านแล้ว เขา้ ใจงา่ ย สง่ิ พิมพอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นสอ่ื ส่ิงพิมพท์ ่ผี ลติ ข้ึนเพ่ือใชง้ านในคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ ไดแ้ ก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น บทบาทของสอ่ื สิง่ พิมพเ์ พ่ือการศกึ ษา บทบาทของสื่อสงิ่ พิมพใ์ นสถานศกึ ษา สื่อสง่ิ พิมพ์ถกู นาไปใชใ้ นสถานศกึ ษาโดยทวั่ ไป ซ่ึงทาใหผ้ ้เู รียน ผสู้ อนเข้าใจในเน้ือหามากขึน้ เชน่ หนงั สือ ตารา แบบเรยี น แบบฝึกหัดสามารถพฒั นาได้เป็นเน้อื หาในระบบ เครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตได้

17 แนวทางการประยุกต์ใช้ส่ือส่ิงพิมพ์เพื่อการเรียนการสอน หรือการศึกษา การใชส้ ่งิ พิมพ์เพื่อการศึกษาในการเรียน การสอนนน้ั จำแนกได้เปน็ 3 วธิ ี คือ 1. ใชเ้ ปน็ แหลง่ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั วิชาทเี่ รยี น 2. ใช้เป็นวัสดกุ ารเรยี นรว่ มกบั สื่ออน่ื ๆ 3. ใช้เปน็ สื่อเสริมในการเรียนรู้และเพม่ิ พูนประสบการณ์ .จากวิธกี ารใช้สง่ิ พิมพท์ ง้ั 3 วิธนี ้นั ผู้สอนสามารถนาสง่ิ พิมพท์ ้งั ที่เปน็ ส่งิ พิมพ์ท่วั ไป หรอื สง่ิ พมิ พ์เพ่ือการศกึ ษา โดยเฉพาะมาใชใ้ นการเรียนการสอนก็ได้ ทงั้ น้ีโดยพจิ ารณาตามลักษณะของสงิ่ พมิ พแ์ ละลกั ษณะของการใช้ ดงั น้ี 1. สิ่งพิมพ์ทีเ่ ขียนขึ้นในลักษณะของหนงั สือตารา ใช้เพื่อการศึกษาในระบบโรงเรยี นตามหลักสตู ร 2. สิ่งพมิ พ์ท่ีเขยี นข้ึนในลกั ษณะบทเรยี นสาเรจ็ รูปเพื่อง่ายต่อการศึกษาดว้ ยตนเอง เหมาะสาหรบั ใช้ใน การศกึ ษาทางไกลรว่ มกับสอ่ื อื่นๆ เช่น โทรทัศน์ เทปเสียงสรปุ บทเรียน และการสอนเสริม เป็นต้น 3. สงิ่ พิมพ์เสรมิ การเรยี นการสอน เช่น แบบฝึกปฏบิ ตั ิ ค่มู อื เรียน ฯลฯ อาจใช้ร่วมกับสื่อบุคคลหรือ สื่อมวลชนประเภทอน่ื ๆ ได้ 4. สง่ิ พมิ พท์ ่วั ๆ ไป เช่น นิตยสาร หนงั สือพิมพ์ ฯลฯ ทมี่ ีคอลัมน์หรอื บทความทีใ่ ห้ประโยชน์ ผู้สอนอาจแนะ นาใหผ้ ูเ้ รียนอา่ นเพือ่ เพ่มิ พูนความรู้หรอื เพ่ือนามาใช้อ้างองิ ประกอบการค้นควา้ 5. ส่ิงพิมพ์ประเภทภาพชดุ เปน็ การให้ความรู้ทางรูปธรรมเพ่ือใชใ้ นการเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ ทาใหผ้ ู้เรยี น เข้าใจเหตุการณ์เร่ืองราวหรอื สง่ิ ทเ่ี ป็นนามธรรมไดช้ ัดเจนข้ึน เชน่ ภาพชุดชีวิตสัตว์ หรอื ภาพชดุ พระราช พธิ จี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ เป็นตน้ (สานกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร, 9 กันยายน 2553) ประโยชนแ์ ละคุณค่าของสื่อสิง่ พิมพเ์ พือ่ การศึกษา 1. สอื่ ส่งิ พมิ พ์สามารถเก็บไว้ได้นาน สามารถนามาอ่านซ้าแล้วซ้าอีกได้ 2. สอ่ื สิง่ พมิ พ์เป็นสื่อที่มรี าคาถูกเมื่อเทยี บกบั สอ่ื อื่นๆ 3. ส่ือสิ่งพมิ พเ์ ปน็ ส่อื ท่ีใชง้ า่ ย ไมย่ ุ่งยาก 4. ส่อื สงิ่ พมิ พ์เป็นสื่อทจ่ี ัดทาไดง้ ่าย โดยครูผสู้ อนสามารถทาได้เองได้ มวี ิธีทาทไี่ มย่ ุ่งยากซับซอ้ น เช่น ใบ งาน ใบความรู้ เป็นต้น

18 ขอ้ ดีและข้อจากดั ของส่ือส่ิงพมิ พเ์ พ่ือการศกึ ษา ข้อดี 1. สามารถอ่านซ้า ทบทวน หรอื อ้างอิงได้ 2. เปน็ การเรียนร้ทู ่ีดีสาหรับผูท้ ่ีสนใจ 3. เป็นการกระตุ้นให้คนไทยรักการอ่าน ขอ้ จำกัด 1. ผู้มีปญั หาทางสายตา หรือผสู้ ูงอายอุ ่านไม่สะดวกในการใช้ 2. ข้อมูลไมส่ ามารถปรบั ปรุงแกไ้ ขได้ทันท่วงทไี ด้ 3. ผู้ไม่รู้หนงั สอื ไมส่ ามารถเข้าถึงได้ ความหมายของส่ือออนไลน์ ความหมายของส่ือสังคมออนไลน์ ส่อื สงั คมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทลั ทเ่ี ปน็ เครื่องมือในการปฏิบัตกิ ารทางสงั คม(Social Tool) เพื่อใช้ ส่ือสารระหว่างกนั ในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเวบ็ ไซต์และโปรแกรมประยุกตบ์ นสอื่ ใดๆ ที่มี การเชอื่ มต่อกับอินเทอรเ์ น็ต โดยเนน้ ให้ผใู้ ชท้ งั้ ทีเ่ ป็นผูส้ ่งสารและผู้รบั สารมีส่วนร่วม (Collaborative) อยา่ ง สร้างสรรค์ ในการผลิตเนื้อหาขนึ้ เอง (User-GenerateContent:UGC) ในรปู ของข้อมูลภาพและเสยี ง สำหรับในยคุ นี้ เราคงจะหลีกเล่ียงหรือหนีคำวา่ Social Media ไปไมไ่ ด้ เพราะไม่วา่ จะไปที่ไหน ก็จะพบ เหน็ มันอยตู่ ลอดเวลา ซ่ึงหลายๆ คนกอ็ าจจะยงั สงสยั วา่ “Social Media” มันคอื อะไรกันแน่ วนั นี้เราจะมารจู้ กั ความหมายของมนั กันครบั คำว่า “Social” หมายถงึ สงั คม ซ่ึงในทีน่ ้จี ะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึง่ มขี นาดใหม่มากในปจั จุบัน คำวา่ “Media” หมายถึง ส่ือ ซ่งึ ก็คือ เน้ือหา เร่ืองราว บทความ วีดีโอ เพลง รปู ภาพ เป็นต้น ดังนัน้ คำวา่ Social Media จงึ หมายถงึ ส่ือสงั คมออนไลนท์ ่มี ีการตอบสนองทางสงั คมไดห้ ลายทิศทาง โดยผา่ นเครอื ข่ายอนิ เตอร์เน็ต พูดงา่ ยๆ ก็คอื เวบ็ ไซตท์ ่ีบุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏสิ ัมพันธโ์ ต้ ้ตอบกนั ได้น่ันเอง พ้นื ฐานการเกดิ Social Media กม็ าจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราทีต่ ้องการติดตอ่ ส่ือสารหรอื มี ปฏิสมั พันธ์กัน จากเดิมเรามเี ว็บในยุค 1.0 ซ่งึ ก็คือเวบ็ ทแี่ สดงเนอ้ื หาอยา่ งเดยี ว บุคคลแตล่ ะคนไม่สามารถตดิ ต่อ หรือโต้ตอบกนั ได้ แตเ่ มือ่ เทคโนโลยีเว็บพฒั นาเขา้ สยู่ ุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเวบ็ ไซตท์ ีเ่ รยี กวา่ web application ซง่ึ ก็คอื เวบ็ ไซต์มีแอพลเิ คชันหรือโปรแกรมต่างๆ

19 ทม่ี าและความสำคัญ สื่อสังคมออนไลน์กลับส่งอทิ ธิพลลบต่อชีวติ ประจำวนั และความสมั พนั ธข์ องคนในสังคมอย่างชัดเจนมาก ยิง่ ขึ้นจนกลายเป็นประเดน็ ทางสงั คม ที่ท้ังสือ่ บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องให้ความสำคัญในการป้องกนั และแก้ไขปัญหาเหลา่ น้ี ส่อื สงั คมออนไลนใ์ ชส้ ่ือสารระหว่างกนั ในเครือข่ายทางสงั คม ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยกุ ต์บน สอ่ื ใดๆ ทีม่ ีการเชื่อมตอ่ กบั อินเทอร์เน็ต โดยเน้นใหผ้ ้ใู ชท้ ้ังทเี่ ปน็ ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนรว่ ม อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในการผลติ เนอ้ื หาขึน้ ในรปู ของข้อมูล ภาพ และเสียง ทง้ั นก้ี ารใช้สือ่ ออนไลน์ตา่ งๆ ก็ต้องอยู่ในขอบเขตในความพอประมาณ เล่นในประมาณท่ีพอเหมาะเพ่อื เป็นผลดีตอ่ สายตาและรา่ งกาย ประเภทสอ่ื สังคมออนไลน์ ประเภทของสือ่ สังคมออนไลน์ มีด้วยกนั หลายชนิด ข้ึนอยู่กับลกั ษณะของการนำมาใช้โดยสามารถแบ่งเป็นกลมุ่ หลกั ดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ วา่ Blogs คอื ส่อื สว่ นบุคคลบนอินเทอรเ์ นต็ ที่ใช้เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปนั ให้บคุ คลอ่นื ๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอ่าน หรอื แสดงความ คดิ เห็นเพ่ิมเติมได้ ซ่ึงการแสดงเน้อื หาของบล็อกนนั้ จะเรยี งลำดบั จากเน้ือหาใหม่ไปสู่เน้ือหาเกา่ ผเู้ ขียนและผู้อ่าน สามารถค้นหาเน้ือหาย้อนหลังเพือ่ อ่านและแก้ไขเพ่ิมเตมิ ได้ตลอดเวลา เช่น Exteen,Bloggang,Wordpress,Blogger,Okanation 2. Social Networking หรือเครือขา่ ยทางสงั คมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรบั เชอื่ มต่อ ระหวา่ งบุคคล กลุ่มบคุ คล เพ่ือให้เกดิ เป็นกลุ่มสังคม(Social Community) เพอื่ รว่ มกันแลกเปลีย่ นและแบ่งปัน ข้อมูลระหวา่ งกนั ท้ังด้านธรุ กจิ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning,Linkedin,MySpace,Youmeo,Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรอื ท่ีเรียกกันว่า “บลอ็ กจวิ๋ ” ซง่ึ เป็นเวบ็ เซอร์วสิ หรือเวบ็ ไซต์ท่ี ให้บรกิ ารแก่บคุ คลทว่ั ไปสำหรับให้ผใู้ ชบ้ ริการเขยี นข้อความสน้ั ๆ ประมาณ 140 ตัวอักษรที่ เรยี กว่า “Status” หรือ “Notice” เพ่ือแสดงสถานะของตัวเองวา่ กำลงั ทำอะไรอยูห่ รือแจ้งข่าวสารต่างๆแก่กล่มุ เพ่อื นในสงั คมออนไลน์ (OnlineSocialNetwork) (Wikipedia,2010) ท้ังนก้ี ารกำหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความ สั้นๆ กเ็ พื่อให้ผู้ใช้ทีเ่ ป็นท้ังผู้เขียนและผอู้ ่านเขา้ ใจง่าย ทน่ี ิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคอื Twitter 4. Online Video เป็นเวบ็ ไซต์ที่ให้บริการวดิ ีโอออนไลนโ์ ดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย ซึ่งปจั จบุ นั ไดร้ บั ความนิยมอยา่ ง แพรห่ ลายและขยายตวั อยา่ งรวดเร็วเน่ืองจากเน้ือหาท่นี ำเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำกัดโดยผงั รายการท่ี แน่นอนและตายตัวทำให้ผู้ใช้บรกิ ารสามารถติดตามชมไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องเพราะไม่มีโฆษณาคัน่ รวมท้งั ผู้ใช้สามารถ เลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยังสามารถเช่อื มโยงไปยังเวบ็ วดิ โี ออนื่ ๆ ทเี่ กีย่ วข้องได้จำนวนมากอีกด้วย เชน่ Youtube, MSN, Yahoo

20 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ทีเ่ นน้ ใหบ้ ริการฝากรูปภาพโดยผใู้ ช้บรกิ ารสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รปู ภาพเพื่อนำมาใช้งานได้ ท่ีสำคญั นอกเหนือจากผู้ใชบ้ ริการจะมีโอกาสแบง่ ปนั รูปภาพแลว้ ยังสามารถใช้เป็น พนื้ ที่เพอ่ื เสนอขายภาพท่ีตนเองนำเข้าไปฝากได้อกี ดว้ ย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เปน็ เว็บไซต์ท่มี ีลกั ษณะเป็นแหล่งข้อมลู หรือความรู้ (Data/Knowledge)ซึง่ ผ้เู ขียนส่วนใหญอ่ าจจะ เปน็ นักวิชาการ นักวิชาชพี หรือผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นต่างๆ ทง้ั การเมือง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ซ่งึ ผใู้ ช้ สามารถเขยี นหรือแก้ไขข้อมูลได้อยา่ งอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองสว่ นหน่ึงของชีวิตลงไป จัดเปน็ สอื่ สงั คมออนไลน์ท่ี บรรดาผูท้ ่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสอ่ื สารระหวา่ งกนั บนอนิ เทอร์เน็ตในลกั ษณะโลกเสมอื นจริง (Virtual Reality) ซ่ึงผู้ ทจี่ ะเขา้ ไปใช้บรกิ ารอาจจะบริษัทหรอื องค์การดา้ นธุรกจิ ด้านการศึกษา รวมถงึ องคก์ ารด้านสอ่ื เชน่ สำนกั ข่าว รอยเตอร์ สำนกั ข่าวซีเอน็ เอ็น ต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการซ้ือพ้ืนท่ีเพอ่ื ให้บุคคลในบริษทั หรือองค์กรได้มชี อ่ งทางใน การนำเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใชส้ ื่อออนไลน์ ซง่ึ อาจจะเปน็ กลุม่ ลกู ค้าทงั้ หลัก และรองหรอื ผู้ที่ เกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกิจ ของบรษิ ัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบนั เวบ็ ไซต์ทใ่ี ชห้ ลัก Virtual Worlds ทปี่ ระสบผลสำเรจ็ และ มชี อื่ เสียง คอื Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลกั การขอความ ร่วมมอื จากบุคคลในเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเวบ็ ไซตท์ ่ีมวี ตั ถุประสงค์หลักเพอื่ คน้ หา คำตอบและวธิ ีการแกป้ ญั หาต่างๆท้งั ทางธุรกิจ การศกึ ษา รวมทัง้ การสื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความรว่ มมือ จากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบขอ้ มูลเสนอความคิดเหน็ หรอื ให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนทีเ่ ขา้ มาให้ข้อมลู อาจจะเปน็ ประชาชนท่ัวไปหรือผ้มู ีความเชยี่ วชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจหรอื แมแ้ ต่ในสังคมนักขา่ ว ข้อดีของ การใชห้ ลัก Crowd souring คอื ทำใหเ้ กิดความหลากหลายทางความคิดเพ่ือนำ ไปสู่การแก้ปัญหาท่มี ี ประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคดั กรองขอ้ มูลซ่ึงเปน็ ปญั หาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรอื Podcast มาจากการรวมตัวของสองคำ คือ “Pod” กบั “Broadcasting” ซ่ึง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อปุ สงคห์ รือความต้องการส่วนบุคคล สว่ น “Broadcasting” เปน็ การนำสอ่ื ตา่ งๆ มารวมกันในรปู ของภาพและเสยี ง หรืออาจกลา่ วง่ายๆ Podcast คือ การ บันทึกภาพและเสยี งแล้วนำมาไว้ในเวบ็ เพจ (Web Page) เพอื่ เผยแพรใ่ ห้บุคคลภายนอก (The public in general) ทสี่ นใจดาวน์โหลดเพื่อนำไปใช้งาน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเวบ็ บอรด์ ท่ผี ้ใู ช้อินเทอรเ์ น็ตสามารถแสดงความคิดเหน็ โดยอาจจะ เก่ยี วกบั สนิ คา้ หรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp

21 ประโยชนข์ อง Social networks เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลีย่ นข้อมูลความร้ใู นสิ่งทีส่ นใจรว่ มกันได้ 2. เปน็ คลังข้อมลู ความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคดิ เหน็ แลกเปลีย่ นความรู้ หรอื ตั้ง คาถามในเร่ืองต่างๆ เพ่ือใหบ้ ุคคลอื่นท่สี นใจหรือมีคาตอบได้ชว่ ยกันตอบ 3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการตดิ ตอ่ ส่อื สารกับคนอ่ืน สะดวกและรวดเรว็ 4. เปน็ ส่อื ในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดโิ อต่างๆ เพ่ือให้ผอู้ น่ื ได้เขา้ มารบั ชมและ แสดงความคิดเหน็ 5. ใช้เป็นส่อื ในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ หรือบริการลกู คา้ สาหรับบริษัทและองคก์ รตา่ งๆ ชว่ ยสรา้ งความ เชอื่ ม่ันให้ลูกค้า 6. ชว่ ยสรา้ งผลงานและรายไดใ้ ห้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหมๆ่ ข้ึน 7. คลายเครยี ดไดส้ ำหรบั ผใู้ ช้ท่ีต้องการหาเพ่ือนคุยเลน่ สนกุ ๆ 8. สรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี ีจากเพ่ือนสู่เพ่ือนได้

22 สตู รและวิธีการทำพมิ เสนนำ้ ประโยชน์ของ พิมเสนน้ำ ช่วยทำให้ช่ืนใจ แก้เป็นลม แก้หวัดคัดจมูก หน้ามืดตาลาย วิงเวียนศีรษะ แก้เคล็ด ขัดยอก แมลงสัตว์กัดต่อย แก้ปวดท้อง จุกเสียด ท้องอืด ฯลฯ ใช้ทาถูนวดบรรเทาอาการปวด อาการ อักเสบได้ นอกจากน้ี ยังใช้เป็นยาสูดดมแกห้ วดั แกว้ ิงเวียน เป็นลม แกแ้ มลงกัดตอ่ ยไดด้ ี อีกด้วย แต่ไม่ควรดมมาก ะอาจทำให้เยือบุจมูกอักเสบ หรือประสาทการรับรู้กลิ่นเสียได้ ใครท่ีกำลงั มองหา ท่ีไม่ต้องใช้ฝีมือและเงินทุนมาก นัก การทำ พิมเสนน้ำ ขายน่าจะเป็นคำตอบสำหรับคุณ ขายง่าย ผู้บริโภคนิยม ใช้เงินลงทุนต่ำ สามารถทำกันใน ครอบครัว ใช้เวลาวา่ งหลังเลิกงาน ถ้าหากใครไมม่ นั่ ใจว่าจะขายได้หรอื ไม่ แรกๆก็ลองซ้ือวตั ถุดิบมาลองทำแล้วขาย เ ล่ น ๆ ก็ ไ ด้ www.ThaiSMEsCenter.com ไ ด้ มี ขั้ น ต อ น แ ล ะ วิ ธี ก า ร ท ำ พิ ม เ ส น น้ ำ ม า ฝ า ก

23 วสั ดุ/อุปกรณ์ ขวดแก้วใสปากกว้างมฝี าปิด (ใช้ขวดกาแฟเปล่าลา้ งน้ำสะอาดแลว้ ก็ได้) ตาชง่ั ไซรงิ คฉ์ ดี ยาพลาสติก (ไมต่ ้องมีเขม็ ) ขวดบรรจพุ มิ เสนนำ้ ส่วนผสม แปง้ เมนทอล 16 กรัม พิมเสน 8 กรมั การบรู 4 กรัม ยคู าลิปตสั 2 ซซี ี วิธีการทำ นำสว่ นผสมทงั้ หมดใส่ในขวดแกว้ ปิดฝาแล้วเขยา่ ส่วนผสมจะค่อยๆ ละลายจนเป็นน้ำใส เขยา่ ไปเรื่อยๆ จนเขา้ กัน ดี นำไปบรรจุใส่ขวดหรือทำเปน็ ยาดำสำลี โดยปั้นสำลีใสใ่ นขวดพอประมาณ ใช้ไซริงค์ดูด พิมเสนนำ้ หยดใสส่ ำลี เม่ือบรรจุขวดแล้ว ปดิ ฉลากชอ่ื ผลิตภัณฑ์ท่ีขวดใหเ้ รียบร้อย และนำไปจำหน่าย ตลาด/แหลง่ จำหนา่ ย ตง้ั แผงขายตามยา่ นชมุ ชน ตลาด ปา้ ยรถเมล์ ท่ารถ-ท่าเรือโดยสาร สถานขี นส่ง งานวดั ฝากขายมนิ ิมาร์ท รา้ น ขายยา หรอื ติดต่อขายส่งตามร้านจำหน่ายของชำร่วยงานพิธตี ่าง ๆ

24 ขอ้ แนะนำ กอ่ นนำออกจำหน่าย ควรตดิ ต่อ อย. โดยติดต่อท่ีสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กองยา โทร. 590-7200 เพ่ือขออนุญาตการผลิตยา เมื่อได้รับใบอนุญาตการผลิตยาแล้ว จึงนำไปข้ึนทะเบียนตำรับยา เพ่ือแสดงว่า ออกจำหน่ายได้อย่างถูกกฎหมาย เพราะเป็นสินค้าที่มีคุณภาพผ่านการรับรองจาก อย. แล้ว สามารถนำไป ดัดแปลงเป็นของชำรว่ ยขายได้ โดยบรรจุในขวดเล็กๆ น่ารักแล้วตกแต่งขวดโดยใช้เสน้ ไหมสวย ๆ ติดกาวพันรอบ ขวด หรือตามแตจ่ ะดดั แปลง

25 การทำเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ วิธที ําเจลลา้ งมือแอลกอฮอล์ ทำไดเ้ อง ตอ้ งเตรยี มอะไรบ้าง วิธที ําเจลลา้ งมอื แอลกอฮอลเ์ พ่ือทำความสะอาดและป้องกันเช้อื โรคน้ันทำเองได้ไมย่ าก ชว่ งท่ขี องขาด ตลาดการทำเจลล้างมือเองเป็นการตอบโจทย์ทดี่ สี ุด อีกทง้ั ยังพกพาสะดวก ทดแทนการลา้ งมอื ไดใ้ นกรณีที่อยขู่ า้ ง นอกหรือไม่สะดวก หลาย ๆ คนอาจจะอยากรแู้ ล้ววา่ วิธีทําเจลล้างมอื แอลกอฮอลน์ ้นั ทำอย่างไรบ้าง แตก่ ่อนอ่ืน ตอ้ งเตรียมของกันหน่อย จะมีดงั ตอ่ ไปนี้

26 วิธีทําเจลล้างมือแอลกอฮอล์สูตรกรมวิทย์ฯ สตู รที่ 1 สูตรนีเ้ ราจะทำตามกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ทไี่ ด้แนะนำมา สามารถเปิดคลิปแลว้ ทำได้ทีละขัน้ ตอนเลย รบั รอง ว่าไมย่ าก อปุ กรณท์ ำเจลล้างมือ 1. น้ำรอ้ น 142.75 กรัม 2. 95% เอทิลแอลกอฮอล์ 350 กรมั 3. คารโ์ บพอล 940 2.5 กรัม 4. ไตรเอทาโนลามีน 1.75 กรัม 5. กลีเซอรนี 3 กรัม วธิ ที ำ ๑. ใหเ้ ทคารโ์ บพอล 940 ปรมิ าณ 2.5 กรัม ลงในน้ำร้อน คนอย่างสมำ่ เสมอจนละลายหมด จากน้นั ปล่อยใหพ้ องตัวเตม็ ที่ 2. เติม 95% เอทิลแอลกอฮอล์ ปรมิ าณ 350 กรัม ลงไป โดยระหว่างเตมิ ต้องคนอยู่ตลอด คนให้เขา้ กัน 3. ลำดับถดั มาคอ่ ย ๆ เติมไตรเอทาโนลามีน ปริมาณ 1.75 กรัม เพ่ือปรบั ความเป็นกรดด่าง 4. จากนั้นให้เตมิ กลีเซอรีน ปรมิ าณ 3 กรัม เปน็ การเพ่ิมความชุ่มชืน้ ให้กับผิว

27 วธิ ที าํ เจลลา้ งมือตามสูตรกรมอนามัยโลก สูตรที่ 2 สูตทําเจลล้างมือนเี้ ป็นอีกสตู รหนึ่งท่ีง่ายเชน่ เดยี วกนั ตามคำแนะนำของกรมอนามยั โลกหรือ WHO หากใครมี สว่ นประกอบตามนก้ี ็สามารถเริ่มต้นทำเจลลา้ งมือกันไดเ้ ลย อปุ กรณ์ 1. เอทานอล (Ethanol) 96% 8333 มล. 2. ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide) 3% 417 มล. 3. กลีเซอรอล (Glycerol) 98% 145 ml วิธีทำ 1. ให้เทเอทานอลลงไปในถงั ผสมหรอื ขวดท่ีเตรยี มไว้ 2. จากนนั้ เตมิ ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซดล์ งไปโดยใชก้ ระบอกตวง 3. เตมิ กลเี ซอรอลและน้ำตม้ สุกลงไปโดยใชก้ ระบอกตวง ให้เตม็ ขวดหรอื ถัง 4. ควรปิดฝาทนั ทีเมื่อเทเสร็จเพ่ือป้องกันการระเหย 5. ผสมให้เขา้ กันโดยการเขย่าขวดหรอื ถงั เบา ๆ เปน็ อนั เสร็จ 6. บรรจเุ จลลา้ งมอื ท่ีไดล้ งขวดเลก็ ๆ ท่ีเหมาะต่อการพกพา

28 วิธที าํ เจลลา้ งมือวา่ นหางจระเข้ สตู รท่ี 3 สตู รนีม้ ีอุปกรณน์ อ้ ยมาก ๆ สามารถหาไดง้ ่ายอีกด้วย จะทำอยา่ งไรน้ันตามไปดกู ันเลย อุปกรณ์ รับบิง้ แอลกอฮอล์ (Rubbing Alcohol) หรอื เอทลิ แอลกอฮอล์ ความเข้มข้นบรสิ ุทธอ์ิ ย่างนอ้ ย 91% เจลวา่ นหางจระเข้ วิธีทำ 1. ตวงแอลกอฮอล์ปริมาณ 2/3 ถ้วยตวง 2. เจลว่านหางจระเข้ 1/3 ถ้วยตวง 3. เทสว่ นผสมทง้ั สองอยา่ งเข้าด้วยกนั ในชาม และคนให้เข้ากัน รู้วิธีทําเจลล้างมือแอลกอฮอล์ไปแล้ว หากใครอยากทำสามารถหาซื้ออุปกรณ์ ส่วนผสมต่าง ๆ ได้ท่ีร้าน ขายเคมีภัณฑห์ รือรา้ นทขี่ ายอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ หากทำเจลล้างมอื แล้วควรใช้ใหห้ มดภายใน 30 วันเนื่องจาก ประสทิ ธภิ าพจะลดลงนน่ั เอง แตท่ างทด่ี ีที่สุดในการปอ้ งกันเชื้อโรคคือการล้างมือด้วยน้ำสบู่ ควรลา้ งมือ 7 ข้ันตอน ให้ครบทุกข้ัน รับรองว่ามือสะอาดปราศจากเช้ือโรคอย่างแน่นอน อีกทั้งอย่าลืมทำความสะอาดโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ท่ีมีการสมั ผสั อย่เู ป็นประจำ หากใครมีศิริบัญชาแอลกอฮอล์อยแู่ ล้วก็สามารถใช้ได้เช่นเดียวกัน ออกไปขา้ งนอกก็ตอ้ งใส่หนา้ กากอนามยั ทุกคร้งั

29 บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ งานตามโครงการ 1. วิธีการดำเนนิ งาน ขน้ั เตรยี มการ เพ่อื จัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการศึกษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพอ่ื อนุมตั ิ - แต่งต้ังกรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบดว้ ย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจนั ทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรยี งฤทธ์ิ เดตะอุด ครู กรรมการ 1.3 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวัณย์ สทิ ธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝ่ายตดิ ต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานที่จดั การจดั กจิ กรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวิน สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช.

30 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบกิ จา่ ยพัสดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบร้อยและทนั ต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 3.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศิวณัชญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝา่ ยประชาสัมพันธ์ มีหนา้ ท่ี ส่งข่าวประชาสมั พนั ธ์ ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษช์ ำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สีเหลอื ง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 4.12 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานทวั่ ไป 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ ส่งเสริมการอา่ นจากหนงั สอื และส่ือออนไลน์ ส่ือการเรียนการสอน เกม และกจิ กรรม นนั ทนาการ ดังนี้ 5.1.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 5.1.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รวยแก้ว ครูอาสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวิน สีเหลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล

31 5.1.10 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 5.1.13 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกัญญาณัฐ จันปญั ญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปัณณวัฒน์ สขุ มา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์ ครู ศรช. 5.1.18 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานทั่วไป 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบียน ใหก้ รรมการมหี น้าท่จี ัดเตรยี มเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรับลงทะเบียน ผู้เข้ารว่ มโครงการ ดังน้ี 6.1 นางสาวอษุ า ยิ่งสกุ ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณฐั จนั ปัญญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมินผลการดำเนินงาน ประเมนิ ความพงึ พอใจ ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ และจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลังเสรจ็ ส้ินโครงการ ดงั นี้ 7.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสาวอษุ า ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 7.3 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช.

2. ขนั้ ดำเนินการ กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขน้ั เตรียมการ ช เพื่อจัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว 2. ประชมุ กรรมการ ดำเนนิ งาน ศกึ ษา กศน. อำเภอชนแดน ช 3. จดั เตรยี มเอกสาร ข วสั ดุ อุปกรณ์ในการ - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน จ ดำเนนิ โครงการ โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพ่อื อนมุ ัติ - แตง่ ตั้งกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพือ่ ประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนินงานทกุ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพือ่ ดำเนินการจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ที่ใช้ในการดำเนนิ การ มอบหมาย

32 กลมุ่ เปา้ หมาย พน้ื ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชิงคณุ ภาพ) ธ.ค.64 - กศน. อำเภอ ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั โครงการ ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ที่ กศน. อำเภอ ธ.ค..64 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน ธ.ค.64 - จดั ซือ้ วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการจดั โครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย ก 4. ดำเนินการจัด นักเรียน นักศึกษา กิจกรรม เพอ่ื ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดชาวบ้านท่ี และประชาชนทวั่ ไป 1 อา่ นหนังสือของชุมชน ให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ จำนวน 150 คน ช 5. สรปุ /ประเมนิ ผล ของคนในชุมชน พ และรายงานผล 1. กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน วาดภาพ ตามกระบวนการ 2 โครงการ ระบายสี ประเมนิ โครงการ ห 2. กจิ กรรมอ่านผ่านคิวอารโ์ ค้ด 5 บท จำนวน 3 เล่ม น 3. กจิ กรรมรถห้องสมุดเคล่อื นที่ ส 4. กจิ กรรมอ่านดีมีอาชพี ป 5.กจิ กรรมปริศนาสภุ าษิตไทย ใ 6.กิจกรรมอกั ษรซอ่ นคำ ซ 7. กิจกรรม สง่ เสริมการอ่านผ่านแหลง่ เรียนรูใ้ นชมุ ชน ส เพ่ือให้กรรมการฝา่ ยประเมินผลเก็บ ต รวบรวมขอ้ มลู และดำเนินการประเมนิ ผล การจดั กจิ กรรม

33 กลุม่ เปา้ หมาย พ้ืนทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) ห้องสมดุ ประชาชน ม.ค. ถึง - 1. หอ้ งสมุดชาวบ้านทอ่ี ่านหนังสอื ของ อำเภอชนแดน มี.ค.65 ชมุ ชนเปน็ แหล่งเรียนรูข้ องคนในชุมชน พร้อมใหบ้ ริการแก่กลุ่มเปา้ หมายต่างๆ 2. ผใู้ ชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ชาวบ้านท่อี ่าน หนงั สอื ชุมชน(บา้ นหนงั สือชมุ ชน) มี นิสัยรักการอ่านเพิ่มมากขนึ้ และ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไป ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ผู้ที่มา ใชบ้ รกิ ารมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนเรยี นรู้ ซง่ึ กนั และกัน สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ม.ี ค.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

34 3. ขน้ั สรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 ตวั ชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปรักการอา่ น เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตท่ีดขี ึน้ 2. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

35 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 3 โครงการพัฒนาห้องสมุดชาวบา้ นทีอ่ า่ นหนังสือของชุมชน แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไป เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 74 28.14 หญงิ 189 71.86 รวม 263 100 จากตาราง สรปุ ได้วา่ ผ้ตู อบแบบสอบถาม ในครัง้ นี้ เปน็ เพศหญงิ มากที่สุด จำนวน 189 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 71.86 อายุ ช่วงอายุ จำนวน ร้อยละ ต่ำกวา่ 15 ปี 5 1.90 15 - 29 ปี 76 28.90 30 – 39 ปี 96 36.50 40 - 49 ปี 61 23.19 50 - 59 ปี 16 6.08 60 ปขี น้ึ ไป 9 3.42 263 100 รวม จากตาราง สรุปได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ในคร้งั นี้ เป็นช่วงอายุ 30 - 39 ปี มากท่ีสุด จำนวน 96 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 36.50

36 การศกึ ษา ระดับการศึกษา จำนวน รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา 21 7.98 82 31.18 ม.ตน้ 154 58.56 ม.ปลาย - ปวช./ปวส. 6 - ปรญิ ญาตรี - 2.28 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 263 รวม - 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ในครั้งนี้ การศกึ ษาระดบั ม.ปลาย มากท่ีสุด จำนวน 154 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 58.56 อาชีพ อาชพี จำนวน ร้อยละ รับจา้ ง 145 55.13 เกษตรกรรม 71 27.00 ผูน้ ำชุมชน 7 2.66 คา้ ขาย 4 1.52 รบั ราชการ - นักเรียน/นกั ศึกษา 36 - อน่ื ๆ ระบุ - 13.69 รวม 263 - 100 จากตาราง สรุปได้วา่ ผตู้ อบแบบสอบถาม ในครง้ั น้ี เปน็ อาชีพรับจ้าง มากที่สุด จำนวน 145 คน คิดเป็น ร้อยละ 55.13

37 สว่ นที่ 2 ข้อมลู ความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กิจกรรม 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.49 อยู่ในระดบั นอ้ ยที่สุด 1.50 – 2.49 อยูใ่ นระดับ น้อย 2.50 – 3.49 อยู่ในระดบั ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยูใ่ นระดบั มาก 4.50 - 5 อยใู่ นระดับ มากท่สี ุด 2.2 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน มากทส่ี ุด 5 อยใู่ นระดับ มาก 4 อยใู่ นระดบั ปานกลาง 3 อยู่ในระดับ น้อย 2 อยู่ในระดบั นอ้ ยทีส่ ุด 1 อยใู่ นระดับ

ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ขอ้ รายการ ประเมิน (คน) มากท่สี ดุ 1 กิจกรรมที่จดั สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ 263 5 2 เน้ือหาของสอ่ื การเรยี นรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ 263 231 3 การจัดกิจกรรมมสี อ่ื การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย 263 227 4 กิจกรรมสง่ เสริมการมีมนุษย์สัมพนั ธอ์ นั ดตี ่อกัน 263 243 5 สถานทจ่ี ัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 263 204 6 ระยะเวลาการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 263 197 7 ท่านมีความประทบั ใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมคร้งั น้ี 263 214 8 การประชาสัมพันธ์และชวนเชิญ 263 252 9 ความเหมาะสมวสั ดุ/อปุ กรณใ์ นการจัดกิจกรรม 263 236 10 การนำประโยชน์ไปใชใ้ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในคร้งั น้ี 263 247 11 ทา่ นคดิ วา่ ควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเน่ือง 263 231 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปท่านยินดเี ข้าร่วมโครงการน้ีอีก 263 209 244 รวมท้ังหมด 3156 2735 ร้อยละ 100 86.66

38 ระดับผลการประเมิน เฉล่ยี S.D. ประมวล รอ้ ยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ุด ผล 96.58 96.50 4 321 98.25 93.38 19 13 0 0 4.83 0.49 มากที่สุด 93.23 94.98 26 10 0 0 4.83 0.47 มากทส่ี ุด 99.16 17 3 0 0 4.91 0.32 มากทส่ี ุด 97.64 98.40 31 28 0 0 4.67 0.66 มากทส่ี ุด 97.34 94.68 43 23 0 0 4.66 0.63 มากทส่ี ดุ 98.10 32 17 0 0 4.75 0.56 มากที่สดุ 96.52 11 0 0 0 4.96 0.20 มากทีส่ ดุ 23 4 0 0 4.88 0.37 มากทส่ี ดุ 11 5 0 0 4.92 0.33 มากที่สดุ 29 3 0 0 4.87 0.37 มากที่สุด 38 16 0 0 4.73 0.56 มากที่สุด 13 6 0 0 4.90 0.36 มากทส่ี ุด 293 128 0 0 4.83 0.47 มากทส่ี ุด 9.28 4.06 0 0

39 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 3 โครงการพัฒนาห้องสมุด ชาวบ้านที่อ่านหนังสือของชุมชน ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 96.52 ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ -

40 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การบูรณาการการเรยี นรู้ • มีการนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป มีนิสัยรักการอ่าน และมีความคิด สรา้ งสรรค์ มีนสิ ยั รักการอ่านนำไปสูก่ ารเรียนรู้ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตให้ดขี น้ึ ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายและเครือขา่ ย - การมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ยในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย - การสนับสนนุ ใหภ้ าคเี ครือข่ายจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย การนำความรไู้ ปใช้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปเข้าถึง และมีโอกาสได้อ่าน หนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหด้ ีขึ้น การดำเนนิ งานทวั่ ไป จำนวน ๑๕๐ คน เชงิ ปริมาณ นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไป เชิงคุณภาพ ผู้ใชบ้ ริการห้องสมดุ ชาวบา้ นทอี่ ่านหนังสือชมุ ชน(บา้ นหนังสอื ชมุ ชน) มีนสิ ยั รกั การอา่ นเพิ่ม มากขึ้น และสามารถนำความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการอา่ นไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ ผู้ท่มี าใช้บริการมี การแลกเปลีย่ นเรยี นเรยี นรูซ้ ึ่งกนั และกนั ผลการดำเนินงานตามตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็ 1. ตัวช้วี ดั ผลผลติ (output) กล่มุ เป้าหมายที่เขา้ รว่ มโครงการฯ ๘๐ % มคี วามพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 2. ตวั ชว้ี ัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่วั ไปรกั การอ่าน เพ่ือพฒั นา คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีข้ึน

41 สรปุ ผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ ๓ โครงการพัฒนาห้องสมุดชาวบ้านที่อ่านหนังสือของชุมชน ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความ พึงพอใจในภาพรวมอยใู่ นระดับ มากทสี่ ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 96.52 สรปุ ความพึงพอใจตอ่ โครงการ/กจิ กรรม ทเ่ี ขา้ รว่ ม 1. กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 96.58 2. เนื้อหาของสอ่ื การเรียนรตู้ รงกับความต้องการของผ้รู ับบรกิ าร อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 96.50 3. การจัดกิจกรรมมีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.25 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 93.38 5. สถานทจี่ ัดกิจกรรมเหมาะสมท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อย ละ 93.23 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 94.98 7. ท่านมีความประทับใจในการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 99.16 8. การประชาสัมพนั ธ์และชวนเชิญ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากทสี่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.64 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 98.40 10. การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 97.34 11. ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเนื่อง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 94.68 12. หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการนี้อีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.10 ขอ้ เสนอแนะ 1. กศน.อำเภอชนแดน และห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนมาดำเนินการจัดกิจกรรมให้ประชาชน ในพื้นท่ีได้ดีมาก 2. มีความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook