Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9สุภาษิต

9สุภาษิต

Published by waryu06, 2021-07-07 02:24:28

Description: 9สุภาษิต

Search

Read the Text Version

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วนั ท่ี มนี าคม ๒๕๖๔ เร่อื ง สรปุ ผลการปฏิบตั งิ านโครงการสง่ เสรมิ การเรียนรูส้ ำหรับนกั ศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย เรียน ผ้อู ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ตามท่ี หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จดั ทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและ ประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2564 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป ไดศ้ ึกษาคน้ คว้าเพิม่ เติมดว้ ยตนเอง และรูจ้ กั แหลง่ ขอ้ มลู วิธกี ารเขา้ ถึงข้อมูลท่ี ถูกต้องและรวดเร็ว การประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนได้ ส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น บัดนี้โครงการ ดงั กล่าวได้ดำเนนิ การเสร็จส้นิ เรยี บร้อยแลว้ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานโครงการดงั กล่าวรายละเอียดตาม เอกสารทแี่ นบมาพรอ้ มนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย ประจำเดอื นกุมภาพันธ์ - มนี าคม 2564 เพ่อื ส่งเสริมใหน้ ักเรยี น นกั ศกึ ษา และ ประชาชนทั่วไป ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและ รวดเร็ว การประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มนี ิสัยรักการอา่ นนำไปส่กู ารเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตให้ดีขึน้ น้นั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน ครั้งต่อไป ผจู้ ดั ทำ มนี าคม 2564

สารบญั หนา้ 1-6 บทที่ 1 บทนำ 7 - 32 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 33 - 39 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 40 - 44 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 45 - 46 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทที่ 1 บทนำ 1.ช่อื โครงการ โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมท่ี 2 โครงการสง่ เสริมการเรยี นรู้สำหรับนักศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมสภุ าษิต สำนวนไทย 2. สอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. : 2.1 12 ภารกจิ “เร่งดว่ น” ข้อที่ 2 ขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย์) ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรม 2.2 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผรู้ บั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชที้ ี่ 1.1 ผู้รบั บริการมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.2 ผู้จัดกจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.3 สือ่ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการจัดการศกึ ษาตาม อัธยาศยั ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 ผู้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นร่วม ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ท่ี 3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคเี ครือขา่ ยใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.8 การส่งเสริม สนบั สนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้

2 2.3 ของเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมนิ ความพึงพอใจ ควรเพิ่มขอ้ เหตุผล ขอ้ คิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นั้นจึงใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถว้ นเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนอื่ งและนำผลการประเมนิ ที่ได้ไปวเิ คราะห์ถงึ อปุ สรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาในปตี อ่ ไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนในชุมชน การจัดกิจกรรมในเชิงรุก เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ของคนในชุมชน ปัจจุบนั ห้องสมุดประชาชนได้จัดหาทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบสำหรับให้บริการ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อมัลติมเี ดีย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และผู้รบั บรกิ าร และเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้และผู้รับบริการต้องรู้แนวทางในการเข้าถึง ทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะรูปแบบ เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและได้รบั ประโยชนจ์ ากทรัพยากรสารสนเทศนน้ั ๆ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมผู้ใช้และผู้รับบริการได้ศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้สามารถรับบริการต่างๆของห้องสมุดได้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนจึงได้จัดโครงการ ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่อื ให้นักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปเข้าถงึ และมีโอกาสไดอ้ า่ นหนงั สือ 4.1 เพือ่ กระตุ้นใหน้ ักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 4.2 เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทว่ั ไปมีความรู้ความเขา้ ใจการเขา้ ถงึ แหลง่ สาร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและตรงตามความตอ้ งการ 4.4 เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ยั รักการอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้ดีขึ้น

3 5. เปา้ หมาย จำนวน 1,000 คน เชิงปรมิ าณ นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทว่ั ไป เชงิ คุณภาพ 1. นกั เรยี น นักศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไปเข้าถงึ และมีโอกาสได้อา่ นหนงั สอื 2. นักเรยี น นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บรกิ ารในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 3. นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไปมีความรู้ความเข้าใจการเข้าถึงแหล่งสารสารสนเทศไดอ้ ยา่ ง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 4. นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ ให้ดีข้ึน 6. วิธดี ำเนินการ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ - 1. ขัน้ เพอ่ื จัดประชุมครูและ ครูและบคุ ลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ - ชี้แจงทำความเขา้ ใจ ชนแดน ชนแดน 2. ประชุม รายละเอียดโครงการ กรรมการ - ชี้แจงแนวทางในการ กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 - ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ ชนแดน - จดั ทำโครงการและ แผนการดำเนินการเพื่อ อนุมัติ - แตง่ ต้งั กรรมการ ดำเนินงานตามโครงการ เพือ่ ประชมุ ทำความเข้าใจ ครแู ละบคุ ลากร 20 คน กับกรรมการดำเนนิ งานทุก กศน. อำเภอ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม ชนแดน โครงการและการดำเนินงาน

4 กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 3. จัดเตรยี ม กรรมการฝา่ ยที่ ดำเนนิ การ 15 ธ.ค.63 5,750 เอกสาร วัสดุ เพอื่ ดำเนนิ การจัดทำ จัดซอ้ื ได้รับมอบหมาย อปุ กรณ์ในการ วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการ - กศน. อำเภอ ต.ค.63 - ดำเนนิ โครงการ ดำเนนิ การ นกั เรยี น - 4. ดำเนนิ การ นักศกึ ษา และ ชนแดน จดั กจิ กรรม 1. รกั การอ่านผ่านสื่อ ประชาชนท่ัวไป ม.ี ค.64 ออนไลน์ 600 คน พืน้ ที่อำเภอ 5. สรุป/ 2. กจิ กรรมสบื สาน ตาม ชนแดน มี.ค.64 - ประเมินผล วฒั นธรรมประเพณี กระบวนการ และรายงานผล ลอยกระทง ประเมิน 50 คน โครงการ 3. ปริศนา...อา่ นคำ โครงการ 5 บท 4. อ่านดมี ีรางวัล 20 คน กศน. อำเภอ 5. อ่านสร้างอาชีพ 50 คน ชนแดน 6. สภุ าษิต สำนวนไทย 100 คน 180 คน เพื่อให้กรรมการฝ่าย รวม ประเมินผลเกบ็ รวบรวม 1,000 ข้อมลู และดำเนินการ คน ประเมินผลการจัดกิจกรรม 2 เลม่ 7. วงเงินงบประมาณ จากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผ้รู ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั กิจกรรมการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน ค่าจัดกิจกรรมสำหรับห้องสมุดประชาชน รหัสงบประมาณ 36005 เป็นเงิน 5,750.- บาท (ห้าพันเจ็ดรอ้ ยหา้ สิบบาทถว้ น) รายละเอียดดงั นค้ี ือ คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 5,750 บาท รวมเปน็ เงนิ 5,750 บาท

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 5 แผนการใช้จ่ายรายไตรมาส ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 - 5,750 - - 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางวารี ชูบวั ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 9.2 นางสาวอษุ า ยง่ิ สุก ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน 9.4 ครู กศน.ตำบล 9.5 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.6 ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน 10. เครอื ข่าย 10.1 วัดพระพทุ ธบาทชนแดน 10.2 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลนำ้ ลดั 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลโคกสำราญ 10.4 กศน.ตำบลทั้ง 9 แห่ง 11.โครงการที่เกีย่ วข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 11.3 โครงการประชาสมั พันธง์ าน กศน. 11.4 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย 12. ผลลัพธ์ 12.1 นักเรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อา่ นหนงั สอื 12.2 นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ มารับบรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนมากข้นึ 12.3 นักเรยี น นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปมีความรคู้ วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศได้อย่าง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 12.4 นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นา คุณภาพชีวิตใหด้ ีขนึ้

6 13. ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปรกั การอา่ น เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ิตท่ีดีข้ึน 14. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

7 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ความหมายของสำนวนไทย สำนวนไทย คือถ้อยคำหรือข้อความท่ีกล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมี ความหมายอ่ืนแฝงอยู่[1]หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า สำนวน คือถ้อยคำ กลมุ่ คำ หรือความท่ีเรียบเรียงขึ้นในเชิง อุปมาอุปมัยโดยมีนัยแฝงเร้นซ่อนอยู้อย่างลึกซ้ึง แยบคาย เพื่อให้ผู้รับได้ไปตีความ ทำความเข้าใจด้วยตนเองอีก ชัน้ หน่ึง ซง่ึ อาจแตกต่างไปความหมายเดิมหรืออาจคล้ายคลึงกับความหมายเดมิ กไ็ ด้ สันนิษฐานว่า สำนวนน้นั มีอยู่ ในภาษาพูดก่อนท่ีจะมีภาษาเขียนเกิดข้ึนในสมัยสุโขทัย โดยเม่ือพิจารณาจากข้อความในศิลาจารึกพ่อขุน รามคำแหงแลว้ กพ็ บว่ามีสำนวนไทยปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ เชน่ ไพรฟ่ า้ หนา้ ใส หมายถงึ ประชาชนอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ สำนวนสุภาษิตไทยรวมถึงคำพังเพยน้ัน นิยมใช้กันมาอย่างยาวนานและแพร่หลาย นับเป็นอีกหนึ่งใน วัฒนธรรมที่น่าภาคภูมิใจของไทยเรา สำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยนั้น เกิดจากพฤติกรรมการใช้ ชีวิตประจำวันของผู้คนท่ีทำให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆข้ึน ท้ังทางดีและทางร้าย จนมีการนำส่ิงท่ีเกิดข้ึนมาเรียบเรียง ถอ้ ยคำใหม่ในเชิงส่ังสอนหรือเปรียบเทียบ จนเกิดเป็นสํานวนไทย สุภาษิตคำพังเพย และ สุภาษิตสำนวนไทยใน ทีส่ ดุ สำนวน สุภาษิต คำพังเพยน้ัน ดูเผนิ ๆจะคลา้ ยกนั มากจนแยกกันแทบไมอ่ อก ซง่ึ ในความเป็นจรงิ แลว้ ท้ัง 3 คำมีความแตกต่างกันอยู่ โดยท่ีสํานวนไทยจะเป็นการพูดเชิงเปรียบเทียบและมักจะไม่แปลความหมายตรงๆ เช่น กินน้ำใต้ศอก ส่วนสุภาษิตจะเป็นเชิงสั่งสอนหรือให้ข้อคิด เช่น หัวล้านได้หวี วานรได้แก้ว และสุดท้ายคำพังเพย จะเปน็ ลักษณะของการเปรียบเทยี บของสองส่ิง เชน่ กวา่ ถัว่ จะสกุ งาก็ไหม้ เป็นตน้ ทมี่ าของสำนวนไทย 1 สำนวนทเี่ ก่ยี วกบั ชีวติ ความเปน็ อยู่ ข้าวเหลอื เกลืออิ่ม ทรัพย์ในดินสนิ ในนำ้ บา้ นเคยอยู่อเู่ คยนอน 2 สำนวนเกยี่ วกบั พืช ขงิ กร็ าข่ากแ็ รง มะกอกสามตะกรา้ ปาไม่ถูก ใบไมร้ ่วงจะออกชอ่ 3 สำนวนเกี่ยวกบั สตั ว์ โง่เงา่ เตา่ ตุ่น ตีปลาหนา้ ไซ นกมหี หู นูมีปีก 4 สำนวนเกยี่ วกับนิทาน ก้ิงก่าไดท้ อง กระตา่ ยตืน่ ตูม เห็นกงจกั รเป็นดอกบัว ชาวนากับงูเหา่

8 สำนวน สภุ าษติ ไทย ท่ีเรามักจะได้ยินและเหน็ กนั อยบู่ ่อย ๆ มดี ังนี้ หมวด ก. กงเกวียนกำเกวยี น - เวรสนองเวร กรรมสนองกรรม กบในกะลาครอบ - ผู้มปี ระสบการณแ์ ละความรู้น้อย แตส่ ำคญั ตนวา่ มีความรมู้ าก กรวดนำ้ คว่ำกะลา, กรวดน้ำควำ่ ขัน – ตัดขาดไมข่ อเกยี่ วข้องด้วย กระเชอกน้ รว่ั – สุรยุ่ สรุ ่าย, ไม่ร้จู ักเก็บหอมรอมรบิ , ไมป่ ระหยดั กระดังงาลนไฟ – ผ้หู ญิงทเี่ คยแต่งงานหรือผ่านผ้ชู ายมาแลว้ ย่อมรู้จักชัน้ เชงิ ทางปรนนิบัติ และเอาอกเอา ใจผ้ชู ายไดด้ กี ว่าผหู้ ญงิ ทย่ี ังไม่เคยแตง่ งาน กระดี่ได้น้ำ – อาการแสดงความดอี กดใี จ ตน่ื เต้นจนตัวสัน่ กระตา่ ยขาเดยี ว – ยืนกรานไมย่ อมรบั กระตา่ ยตน่ื ตูม – คนท่ีแสดงอาการตน่ื ตกใจง่ายโดยไม่ทันสำรวจใหถ้ อ่ งแท้ก่อน กระตา่ ยหมายจนั ทร์ – ผชู้ ายหมายปองผู้หญิงทมี่ ีฐานะดกี ว่า กระโถนท้องพระโรง – ผู้ที่ใคร ๆ ก็ใช้ได้ หรอื ผทู้ ่ีใคร ๆ ก็พากนั รมุ ใช้อยู่คนเดยี ว กวนนำ้ ใหข้ ุน่ – ทำเรื่องราวที่สงบอยู่แลว้ ใหเ้ กดิ วนุ่ วายขึ้นมา กวา่ ถว่ั จะสกุ งาก็ไหม้ – ลักษณะของการทำงานท่ีมีความลังเล ทำให้แกป้ ัญหาได้ไม่ทนั ท่วงที เม่ือไดอ้ ยา่ ง หนึง่ แตต่ ้องเสียอกี อย่างหนึ่งไป กาคาบพรกิ – ลกั ษณะทค่ี นผิวดำแต่งตัวด้วยเสอื้ ผ้าสีแดง กำแพงมหี ูประตูมชี อ่ ง, กำแพงมีหูประตูมีตา – การทีจ่ ะพูดหรอื ทำอะไรให้ระมัดระวัง แม้จะเปน็ ความลบั เพียงไร กอ็ าจมีคนลว่ งรู้ได้ กนิ ทีล่ ับไขท่ีแจ้ง – เปดิ เผยเรื่องทท่ี ำกันในท่ลี ับ กินน้ำใตศ้ อก – จำต้องยอมเปน็ รองเขา, ไมเ่ ทยี มหน้าเทยี มตาเทา่ (มักหมายถงึ เมยี น้อยทีต่ ้องยอมลง ใหแ้ กเ่ มียหลวง) กินบนเรอื นขี้บนหลังคา – เนรคณุ กนิ ปนู ร้อนท้อง – ทำอาการมีพริ ธุ ขึน้ เอง, แสดงอาการเดอื ดร้อนขึ้นเอง เกลยี ดตวั กนิ ไข่ เกลยี ดปลาไหลกินน้ำแกง – เกลยี ดตัวเขา แตอ่ ยากได้ผลประโยชน์จากเขา เกลอื จ้ิมเกลือ – ไม่ยอมเสียเปรียบกนั , แกเ้ ผด็ ใหส้ าสมกัน เกลือเปน็ หนอน – ญาตมิ ติ ร สามภี รรยา บุตรธิดา เพื่อนรว่ มงาน หรอื คนในบ้านที่คดิ ทรยศ,หนอนบ่อนไส้ เก่ยี วแฝกมุงปา่ – ทำอะไรเกินกำลงั ความสามารถของตวั แกวง่ เท้าหาเสี้ยน – รนหาเรือ่ งเดอื ดร้อน ใกล้เกลือกินด่าง – มองข้ามหรือไม่รู้คา่ ของดีทอี่ ย่ใู กลต้ ัวซึ่งจะเปน็ ประโยชนแ์ กต่ น กลบั ไปแสวงหาส่งิ อืน่ ทดี่ อ้ ยกว่า

9 ไกแ่ ก่แมป่ ลาช่อน – หญิงค่อนข้างมีอายุทม่ี ีมารยาและเล่ห์เหล่ยี มมาก และมีกิริยาจัดจ้าน ไกลปนื เทีย่ ง – ไมร่ ู้อะไรเพราะอยู่ห่างไกลความเจริญ ไกเ่ หน็ ตนี งู งเู หน็ นมไก่ – ต่างฝ่ายต่างรู้ความลบั ของกันและกนั หมวด ข. ขนทรายเข้าวัด – หาประโยชนใ์ หส้ ่วนรวม ขนมผสมน้ำยา – พอดกี นั จะวา่ ขา้ งไหนดีกวา่ กันไมไ่ ด้ ขนหนา้ แข้งไม่ร่วง – ไมก่ ระทบกระเทือนถึงเดอื ดรอ้ น ขม่ เขาโคขืนให้กินหญ้า – บงั คับขนื ใจผอู้ ื่นให้ทำตามที่ตนต้องการ ขว้างงูไม่พน้ คอ – ทำอะไรแล้วผลรา้ ยกลับมาสู่ตวั เอง ขวานผ่าซาก – โผงผางไมเ่ กรงใจใคร ขายผา้ เอาหน้ารอด – ยอมสละสิง่ สำคญั เพ่อื รักษาช่ือเสียงไว้ ขิงกร็ า ขา่ ก็แรง – ต่างไมย่ อมลดละกัน ขีช่ ้างจับตั๊กแตน – ลงทนุ มากแตไ่ ด้ผลนอ้ ย เข็นครกข้ึนภูเขา – ทำงานท่ยี ากลำบากอยา่ งยง่ิ โดยต้องใช้ความพยายามและอดทนอย่างมาก เขา้ ตามตรอกออกตามประตู – ทำตามธรรมเนยี มประเพณี เขา้ เมืองตาหล่ิว ตอ้ งหลว่ิ ตาตาม – ประพฤตติ นให้เหมาะสมกับกาละเทศะ เขียนด้วยมอื ลบด้วยตีน – ยกย่องแลว้ กลบั ทำลายในภายหลัง เขยี นเสอื ให้ววั กลวั – ทำอย่างใดอยา่ งหนง่ึ เพื่อให้อกี ฝา่ ยหนง่ึ เสียขวญั หรือเกรงขาม ไข่ในหิน – ของทีต่ ้องระมัดระวังทะนถุ นอมอย่างยง่ิ หมวด ค. , ฆ. คดในข้อ งอในกระดกู – มสี ันดานคดโกง คนรักเทา่ ผืนหนงั คนชงั เท่าผืนเสือ่ – คนรกั มีน้อย คนชงั มีมาก คบคนใหด้ หู นา้ ซื้อผา้ ใหด้ เู นื้อ – คนรกั มีนอ้ ย คนชังมีมาก คมในฝกั – มีความร้คู วามสามารถ แต่เมื่อยังไม่ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้เหน็ ควา้ นำ้ เหลว – ไม่ได้ผลตามต้องการ ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไมร่ อด – มีความรูม้ าก แต่ไมร่ จู้ ักเอาความรู้มาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ คางคกข้ึนวอ – คนทีม่ ีฐานะต่ำตอ้ ย พอได้ดบิ ได้ดกี ็มักแสดงกิรยิ าอวดดี ลมื ตวั โคแกช่ อบกนิ หญ้าอ่อน – ชายสูงอายทุ ช่ี อบผู้หญิงรุ่นสาว ฆา่ ความอยา่ เสยี ดายพรกิ – ทำการใหญ่ไม่ควรตระหนี่

10 หมวด ง. , จ. งมเขม็ ในมหาสมุทร – ทำกจิ ที่สำเรจ็ ได้ยาก งอมืองอตีน – เกยี จครา้ น, ไม่สนใจขวนขวายการทำงาน เงยหนา้ อา้ ปาก – มฐี านะดีข้ึนกวา่ เดิมพอทัดเทยี มเพ่ือน จบั แพะชนแกะ – ทำอยา่ งขอไปที ไมไ่ ด้อย่างน้ีกเ็ อาอย่างนั้นเขา้ แทน เพอื่ ใหล้ ลุ ว่ งไป จบั เสอื มอื เปลา่ – แสวงหาประโยชน์โดยตัวเองไม่ต้องลงทนุ จุดไต้ตำตอ – พูดหรือทำสง่ิ ใดสิ่งหนึง่ บังเอิญไปโดนเจา้ ตัวเข้า โดยที่ผู้พูดไม่รตู้ วั หมวด ช. , ซ. ชนักติดหลงั – ความชว่ั หรอื ความผดิ ท่ยี ังติดตวั อยู่ ชกั น้ำเข้าลกึ ชกั ศึกเข้าบา้ น – ชักนำศตั รูเข้าบ้าน ชกั ใบให้เรอื เสีย – พูดหรอื ทำขวาง ๆ ให้การสนทนาหรือการงานเขวออกนอกเร่ืองไป ชกั แมน่ ้ำทั้งห้า – พูดจาหวา่ นล้อมยกยอบุญคณุ เพ่อื ขอสิ่งท่ีประสงค์ ชกั หนา้ ไมถ่ ึงหลัง – มรี ายได้ไม่พอกบั รายจา่ ย ช้า ๆ ไดพ้ ร้าเล่มงาม, ช้า ๆ ไดพ้ ร้าสองเล่มงาม – ค่อย ๆ คิด คอ่ ย ๆ ทำแลว้ จะสำเรจ็ ผล ชา้ งตายทัง้ ตัว เอาใบบัวมาปดิ ไมม่ ดิ – ความชว่ั หรือความผิดรา้ ยแรงท่คี นรู้ทวั่ กันแล้ว จะปดิ อยา่ งไรก็ไมม่ ดิ ชงิ สุกก่อนห่าม – ทำส่งิ ทย่ี งั ไมส่ มควรแกว่ ัน หรอื ยังไม่ถงึ เวลา (มักหมายถึงการลกั ลอบได้เสียกันก่อนแตง่ งาน) ชุบมือเปบิ – ฉวยประโยชน์จากคนอนื่ โดยไม่ไดล้ งทนุ ลงแรง ซื้อควายหนา้ นา ซ้ือผ้าหน้าตรุษ, ซือ้ ควายหนา้ นา ซื้อผ้าหน้าหนาว – ซ้อื ของไม่คำนงึ ถงึ กาลเวลายอ่ มได้ของแพง, ทำอะไรไมเ่ หมาะกับกาลเวลายอ่ มได้รบั ความเดือดร้อน หมวด ฒ. , ด. เฒา่ หวั งู – คนแกห่ รือคนมีอายมุ ากท่ีมเี ลห่ ์เหลีย่ มหรือกลอุบาย หลอกเด็กผหู้ ญิงในทางกามารมณ์ ดูช้างให้ดูหาง ดนู างใหด้ ูแม่, ดูววั ให้ดหู าง ดูนางใหด้ ูแม่ – ใหร้ ู้จกั พจิ ารณาลักษณะบุคคลหรือผู้หญงิ ทจ่ี ะ เลอื กเปน็ คู่ครอง เดด็ ดอกไมร้ ่วมต้น – เคยทำบุญกุศลร่วมกนั มาแต่ชาติก่อน จึงมาอย่รู ว่ มกันในชาติน้ี เดนิ ตามหลงั ผ้ใู หญ่ หมาไม่กดั – ประพฤติตามอยา่ งผู้ใหญ่ย่อมปลอดภัย ไดท้ ีขี่แพะไล่ – ซ้ำเติมเม่ือผูอ้ ื่นเพล่ียงพล้ำ

11 หมวด ต. ตกกระไดพลอยโจน – จำเป็นที่จะต้องยอมเขา้ ไปเกย่ี วข้องกบั เหตุการณท์ เ่ี กิดขึ้นเม่ือไม่มีทางเลี่ยง ตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ – ตกอยใู่ นทคี่ บั ขนั อยา่ งไรกไ็ ม่เปน็ อันตราย ตบมือขา้ งเดยี วไม่ดงั – ทำอะไรฝ่ายเดียวไมเ่ กิดผล ตกั น้ำใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา – ใหร้ ู้จักฐานะของตนและเจียมตวั ตดั ชอ่ งนอ้ ยแตพ่ อตวั – เอาตัวรอดแตผ่ เู้ ดยี ว ตัดไฟตน้ ลม, ตัดไฟหวั ลม – ตัดตน้ เหตุเพื่อไม่ให้เหตกุ ารณ์ลุกลามต่อไป ตัดหางปลอ่ ยวดั – ตัดขาดไมเ่ กีย่ วข้อง ไมเ่ อาเปน็ ธรุ ะอีกต่อไป ตำนำ้ พริกละลายแมน่ ้ำ – ลงทุนไปโดยไดผ้ ลประโยชน์ไม่คุ้มทนุ ตตี นก่อนไข,้ ตีตนตายกอ่ นไข้ – กังวลทุกขร์ ้อนหรือหวาดกลัวในเร่อื งท่ียงั ไม่เกดิ ขน้ึ ตนี ถีบปากกดั – มานะพยายามทำงานทุกอย่างเพือ่ ปากท้องโดยไม่คำนึงถึงความเหน่อื ยยาก ตวี ัวกระทบคราด – โกรธคนหน่ึงแต่ทำอะไรเขาไม่ได้ ไพลไ่ ปรงั ควานอกี คนหน่ึง เต้ียอมุ้ คอ่ ม – คนที่มฐี านะต่ำต้อยหรือยากจน แตร่ บั ภาระเล้ยี งดูคนทมี่ ีฐานะเช่นตนอีก แตงร่มใบ – มผี วิ เป็นนวลใยในวยั สาว หมวด ถ. , ท. ถ่มนำ้ ลายรดฟ้า – ประทุษร้ายตอ่ ส่งิ ท่ีสูงกวา่ ตน ตัวเองย่อมได้รับผลรา้ ย ถอนรากถอนโคน – ทำลายให้สน้ิ เสี้ยนหนาม ถีล่ อดตาช้าง หา่ งลอดตาเลน็ – ดูเหมอื นรอบคอบถ่ีถว้ น แต่ไมร่ อบคอบถ่ีถว้ นจริง เถรสอ่ งบาตร – คนทที่ ำอะไรตามเขาท้ัง ๆ ท่ไี มร่ เู้ ร่ืองราว ทรัพย์ในดิน สินในนำ้ – สง่ิ ที่มอี ยู่หรือเกิดตามธรรมชาติ อันอาจนำมาใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ได้ ทองไมร่ ูร้ อ้ น – เฉยเมย,ไม่กระตือรือร้น, ไม่สะดงุ้ สะเทือน ทำคณุ บชู าโทษ โปรดสัตว์ไดบ้ าป – ทำคุณแต่กลับเปน็ โทษ ทำดีแตก่ ลบั เปน็ ร้าย ทำนาบนหลังคน – หาผลประโยชน์ใสต่ นโดยขดู รดี ผอู้ ืน่ ทำบุญเอาหน้า – ทำบุญเพือ่ อวดผอู้ น่ื ไม่ใช่ทำดว้ ยใจบรสิ ุทธิ์ เทอื กเถาเหล่ากอ - เชอื้ สายวงศ์ตระกลู ทส่ี บื เนื่องต่อกันมา หมวด น. นกสองหวั – คนทท่ี ำตวั ฝักใฝ่เขา้ ด้วยทง้ั 2 ฝ่ายท่ีไม่เป็นมิตรกันโดยหวังประโยชน์เพอ่ื ตน นายวา่ ขข้ี ้าพลอย – พลอยพดู ผสมโรงตเิ ตียนผู้อืน่ ตามนายไปดว้ ย น้ำทว่ มทงุ่ ผกั บงุ้ โหรงเหรง – พูดมากแต่ได้เน้ือหาสาระน้อย

12 นำ้ มาปลากนิ มด น้ำลดมดกินปลา – ทใี ครทีมัน นำ้ รอ้ นปลาเป็น นำ้ เย็นปลาตาย – คำพดู ทต่ี รงไปตรงมา อาจไม่ถูกใจผ้ฟู ัง แต่ไมเ่ ปน็ พิษเป็นภัย คำพดู ท่ี ไพเราะอ่อนหวาน ซึ่งถูกใจผู้ฟัง แต่อาจเปน็ โทษเป็นภัยได้ หมวด บ. บัวไมใ่ หช้ ำ้ นำ้ ไม่ให้ขนุ่ – รจู้ ักผอ่ นปรนเขา้ หากนั มิให้กระทบกระเทอื นใจกนั บ่างช่างยุ – คนท่ชี อบพูดสอ่ เสยี ดยยุ งใหเ้ ขาแตกกัน บ้าหอบฟาง – บา้ สมบัติ เหน็ อะไร ๆ เป็นของมีค่าจะเอาท้ังนนั้ , อาการท่หี อบหิ้วสงิ่ ของพะรงุ พะรงั บญุ ทำกรรมแตง่ – บุญหรอื บาปที่ทำไวใ้ นชาตกิ ่อน เป็นเหตุทำใหร้ ูปรา่ งหนา้ ตาหรือชีวิตของคนเราในชาติ น้ี สวยงาม ดี ช่ัว เปน็ ตน้ เบย้ี นอ้ ยหอยน้อย – มเี งนิ น้อย, มไี ม่มาก หมวด ป. ปลอ่ ยลกู นกลกู กา – ปลอ่ ยให้เป็นอิสระ, ไม่เอาผิด ปลอ่ ยเสือเข้าปา่ – ปล่อยศตั รูไปอาจกลบั มาทำรา้ ยภายหลงั อีก ปลาหมอตายเพราะปาก – คนท่ีพดู พลอ่ ยจนไดร้ บั อันตราย ปลาใหญ่กนิ ปลาเลก็ – คนท่มี ีอำนาจหรือผใู้ หญ่ท่ีกดข่ขี ่มเหงผู้อ่อนแอหรือผู้นอ้ ย ปลกู เรอื นคร่อมตอ – กระทำสิง่ ซ่งึ ลว่ งล้ำ ก้าวก่ายสิทธขิ องผอู้ ื่น จะโดยรูเ้ ทา่ ไม่ถงึ การณ์หรอื ไม่ก็ตาม ปลกู เรือนตามใจผ้อู ยู่ ผูกอตู่ ามใจผนู้ อน – ทำตามความพอใจของผู้ท่จี ะได้รบั ผลโดยตรง ปอกกลว้ ยเข้าปาก – งา่ ย ปากปราศรัยใจเชือดคอ – พดู ดีแตใ่ จคดิ ร้าย ปากไม่สิน้ กลิ่นน้ำนม – ยงั เป็นเด็ก ปากวา่ ตาขยิบ – พูดอยา่ งหนงึ่ แตท่ ำอีกอยา่ งหนึ่ง ปากหวานกน้ เปรยี้ ว – พดู จาอ่อนหวานแต่ไมจ่ รงิ ใจ ปิดทองหลงั พระ – ทำความดีแต่ไม่ได้รับการยกย่อง เพราะไม่มีใครเหน็ คุณค่า ปดิ ประตตู แี มว – รังแกคนไม่มที างสู้ และไม่มที างหนีรอดไปได้ ปกี กลา้ ขาแขง็ – พ่งึ ตัวเองได้ (เป็นคำทผ่ี ้ใู หญม่ กั ใชก้ ลา่ วเชงิ ตำหนิตเิ ตียนผู้น้อย) เป็ดขนั ประชันไก่ – ผทู้ ่ีมีความรู้ความสามารถน้อย แต่อวดแสดงแข่งกบั ผทู้ ี่มีความรคู้ วามสามารถสูง ไปไหนมาสามวาสองศอก – ถามอยา่ งหนึ่งตอบไปอกี อยา่ งหน่ึง

13 หมวด ผ. ฝ. ผกั ชโี รยหน้า – การทำความดีเพียงผิวเผิน ผา้ ขีร้ ้วิ ห่อทอง – คนมง่ั มแี ตแ่ ต่งตวั ซอมซ่อ ผซี ้ำดำ้ พลอย – ถูกซำ้ เติมเมื่อพลาดพลงั้ ลง หรือเม่ือคราวเคราะห์ร้าย ฝนตกข้หี มูไหล คนจญั ไรมาพบกัน – พลอยเหลวไหลไปด้วยกนั ฝนท่ังใหเ้ ป็นเข็ม – เพียรพยายามสุดความสามารถจนกวา่ จะสำเรจ็ ผล ฝากปลาไว้กบั แมว – ไว้วางใจคนท่ไี ม่ควรไว้วางใจ ฝากผฝี ากไข้ – ขอยึดเปน็ ที่พึ่งจนวนั ตาย ฝ่าคมหอกคมดาบ – เสีย่ งภยั ในสงคราม, เสี่ยงอันตรายจากอาวธุ นานาชนิด หมวด พ. ฟ. พบไมง้ ามเมอื่ ยามขวานบิ่น – พบหญิงสาวทีต่ ้องใจเม่ือแก่ พระศุกรเ์ ข้าพระเสาร์แทรก – ความทุกข์ยากเกดิ ซ้อน ๆ เข้ามาในขณะเดียวกัน พระอฐิ พระปูน – นง่ิ เฉย, ไม่รู้สกึ ยินดียนิ รา้ ย พลกิ หน้ามือเป็นหลงั มือ – เปล่ียนแปงหรือทำใหผ้ ิดไปจากเดิมอยา่ งตรงกันขา้ ม พออ้าปากกเ็ หน็ ล้นิ ไก่ – รทู้ ันกนั พดู ไปสองไพเบ้ีย นิ่งเสยี ตำลงึ ทอง – พูดไปไม่มปี ระโยชน์ นิ่งเสียดีกวา่ เพชรตัดเพชร – คนเก่งตอ่ คนเกง่ มาต่อสกู้ นั แพ้เปน็ พระ ชนะเป็นมาร – การยอมแพท้ ำให้เรื่องสงบ ฟงั ไม่ได้ศัพท์ จบั ไปกระเดียด – ฟังไม่ได้ความแจม่ ชัด แลว้ เอาไปพูดต่อ ไฟสุมขอน – อารมณร์ ้อนรมุ่ ท่ีคกุ ร่นุ อยใู่ นใจ หมวด ม. มะกอกสามตะกรา้ ปาไม่ถูก – พดู จาตลบตะแลงพลิกแพลงไปมาจนจบั คำพูดไม่ทัน มะพรา้ วตนื่ ดก ยาจกต่ืนมี – เหอ่ หรอื ตนื่ เตน้ ในสิ่งท่ีตนไมเ่ คยมไี ม่เคยได้จนเกนิ พอดี มัดมอื ชก – บังคบั หรือใช้วิธีการใด ๆ ให้อีกฝ่ายหนง่ึ ตกอยู่ในอำนาจและจัดการเอาตามใจชอบ มากหมอมากความ – มากคนกม็ ากเร่ือง ม้าดีดกะโหลก – มีกริ ยิ ากระโดกกระเดกลุกลนหรือไม่เรยี บร้อย มที องเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรอื นไหว – มีสมบตั ิเพียงเลก็ น้อย แต่กงั วลจนนอนไมห่ ลบั มือถือสาก ปากถือศีล – มักแสดงตัวว่าเปน็ คนมีศีลธรรม แต่กลับประพฤติช่ัว มือไมพ่ าย เอาเท้าราน้ำ – ไม่ชว่ ยแล้วยงั ขัดขวางการทำงานของผู้อื่น ไม่ดตู ามา้ ตาเรือ – ไม่พิจารณาให้รอบคอบ

14 ไม่มีมูลฝอยหมาไมข่ ี้ – ไม่มีเหตยุ ่อมไมม่ ผี ล ไมเ่ หน็ น้ำตดั กระบอก ไมเ่ ห็นกระรอกโก่งหนา้ ไม้ – ดว่ นทำไปทั้ง ๆ ที่ยงั ไม่ถงึ เวลาอนั ควร ไม้ใกล้ฝั่ง – แกใ่ กล้ตาย ไม้หลกั ปักขี้ควาย, ไม้หลกั ปกั เลน – โลเล, ไม่แนน่ อน ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก – อบรมสง่ั สอนเด็กใหป้ ระพฤติดไี ด้ง่ายกวา่ อบรมส่งั สอนผใู้ หญ่ หมวด ย. ยกตนขม่ ท่าน – พดู ทบั ถมผู้อื่นแสดงใหเ้ หน็ ว่าตวั เหนือกวา่ ยกภูเขาออกจากอก – โลง่ ใจ, หมดวิตกกังวล ยกเมฆ – เดาเอา, นึกคาดเอาเอง; กุเรื่องขึ้น ยกหางตวั เอง – ยกยอตนเอง ยิงปนื นดั เดยี วไดน้ กสองตวั – ทำอย่างเดยี วไดผ้ ล 2 อย่าง ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา – เยาะเย้ยด้วยกิริยาท่าทาง ยืนกระตา่ ยขาเดยี ว – พดู ยนื ยนั อยู่คำเดียว ไม่เปล่ยี นความคดิ เดิม ยใุ ห้รำตำใหร้ ่วั – ยใุ ห้ผดิ ใจกัน, ยุใหแ้ ตกกัน หมวด ร. รกั ดีหามจวั่ รกั ช่ัวหามเสา – ใฝด่ จี ะมคี วามสุขความเจรญิ ใฝ่ชว่ั จะได้รับความลำบาก รักพ่ีเสยี ดายน้อง - ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี รกั ยาวใหบ้ นั่ รักสัน้ ให้ต่อ – รักจะอยดู่ ้วยกันนาน ๆ ใหต้ ดั ความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รกั จะอยู่กัน ส้ัน ๆ ใหค้ ิดอาฆาตพยาบาทเขา้ ไว้ ราชรถมาเกย – โชค ลาภ หรอื ยศตำแหนง่ มาถึงโดยไม่ร้ตู วั ราชสีหส์ องตวั อยู่ถำ้ เดยี วกนั ไมไ่ ด้ – คนท่ีมอี ำนาจหรืออิทธิพลพอ ๆ กันอยู่รวมกนั ไมไ่ ด้ รำไม่ดโี ทษปีโ่ ทษกลอง – ทำไมด่ หี รอื ทำผดิ แลว้ ไมร่ ับผดิ กลบั โทษผอู้ ื่น รดี เลอื ดกบั ปู – เคยี่ วเข็ญหรือบีบบงั คับเอากบั ผทู้ ี่ไม่มีจะให้ รู้งู ๆ ปลา ๆ – รเู้ ลก็ ๆ นอ้ ย ๆ, ร้ไู มจ่ ริง ร้ไู วใ้ ชว่ ่า ใสบ่ ่าแบกหาม – เรียนรไู้ วไ้ ม่หนกั เร่ยี วหนักแรงหรอื เสยี หายอะไร รู้หลบเป็นปกี รู้หลีกเปน็ หาง – ร้จู ักเอาตวั รอดหรือปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับเหตุการณ์ เรยี นผกู ตอ้ งเรยี นแก้ – รู้วธิ ีทำก็ตอ้ งรวู้ ิธีแก้ไข เรอื รม่ ในหนอง ทองจะไปไหน – คนในเครอื ญาตแิ ตง่ งานกันทำให้ทรัพยม์ รดกไม่ตกไปอยู่กบั ผูอ้ ่ืน เรือลม่ เมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ – มอี ุปสรรคเมอื่ ใกล้จะสำเร็จ

15 หมวด ล. ลม้ หมอนนอนเส่ือ – ปว่ ยจนต้องนอนพักรักษาตวั ลางเนอื้ ชอบลางยา – ของสิ่งเดียวกัน คนหนง่ึ ชอบแต่อีกคนหนึ่งกลับไมช่ อบ ล้ินกบั ฟัน – การระทบกระท่ังกันบา้ งแต่ไม่รนุ แรงของคนที่ใกลช้ ิดกัน ลิ้นตวัดถึงใบหู – พดู จาตลบตะแลงเชือ่ ไม่ได้ ลกู ไก่อยใู่ นกำมือ – ผู้ทีต่ กอยู่ภายใตอ้ ำนาจ ไมม่ ที างหนีหรือทางต่อสู้ ลูกไมห้ ล่นไมไ่ กลต้น – ลกู ย่อมไมต่ ่างกับพ่อแมม่ ากนัก เล่นกับหมา หมาเลยี ปาก – ลดตัวลงไปหรือวางตวั ไมเ่ หมาะสมจงึ ถกู ลามปาม เลีย้ งลกู เสอื ลูกจระเข้ – เลี้ยงลูกศตั รหู รอื ลูกคนพาลจะได้รับความเดือดร้อนในภายหลัง เลือกท่ีรักมักทีช่ ัง – ลำเอยี ง เลอื กนกั มกั ไดแ้ ร่ – เลอื กนกั มักจะได้ที่ไม่ดี (มักใช้พูดตำหนิผูเ้ ลือกคู่ครอง) เลอื ดข้นกวา่ น้ำ – ญาตพิ ่ีน้องยอ่ มดีกว่าคนอืน่ หมวด ว. ศ. วดั รอยเทา้ – คอยเทียบตัวเองกบั ผทู้ ีเ่ หนือกว่าเพื่อชิงดชี งิ เด่นวันพระไมม่ ีหนเดยี ว – วนั หน้ายังมโี อกาส อีก (มักใช้พูดเปน็ เชงิ อาฆาต) วัวลมื ตนี – คนท่ไี ด้ดแี ล้วลืมฐานะเดิมของตน วัวสันหลงั หวะ – คนท่มี คี วามผดิ ตดิ ตวั ทำให้มีความหวาดระแวง วัวหายล้อมคอก – เร่ืองเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข วา่ แต่เขาอเิ หนาเป็นเอง – ตำหนผิ ้อู น่ื เร่ืองใดแล้วตนกก็ ลับทำในเรื่องนัน้ เสียเอง ศิษย์คิดล้างครู – ศษิ ยเ์ นรคณุ ท่มี ุ่งคดิ จะทำลายลา้ งครบู าอาจารย์ ศษิ ย์นอกครู – ศิษยท์ ่ีประพฤติไมต่ รงตามคำส่งั สอนของครูบาอาจารย์ หมวด ส. สรา้ งวมิ านในอากาศ – ใฝ่ฝนั ถงึ ความมั่งมี, คิดคาดหรอื หวังจะมี หรอื เปน็ อะไรอยา่ งเลิศลอย สวยแตร่ ูป จูบไมห่ อม – มีคปู ร่างหนา้ ตาสวย แต่มีความประพฤติและกริ ิยามารยาทไมด่ ี สวรรคอ์ ยใู่ นอก นรกอยใู่ นใจ – ความสุขทเี่ กิดจากการทำความดี หรอื ความทุกข์ทเี่ กดิ จากการทำความชั่ว ย่อมอย่ใู นใจของผูท้ ำเอง สอนจระเข้ให้วา่ ยน้ำ – สอนส่ิงทเ่ี ขารดู้ ีหรือทีเ่ ขาถนดั อย่แู ล้ว สันหลงั ยาว – คำเรียกคนเกยี จคร้านเอาแตน่ อน สาวไส้ใหก้ ากิน – เอาความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอืน่ ร้เู ป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน

16 สิ้นไรไ้ ม้ตอก – ยากไร้, ขดั สนถึงที่สดุ , ไม่มีทรัพย์สมบตั ิติดตัว สบิ เบย้ี ใกล้มือ – ของหรือประโยชน์ท่คี วรไดก้ ็เอาไว้ก่อน สซี อใหค้ วายฟงั – แนะนำคนโงไ่ ม่มีประโยชน์ สุกเอาเผากนิ – ทำลวก ๆ, ทำพอเสรจ็ ไปคราวหนึ่ง ๆ สุนัขจนตรอก – คนทฮ่ี ดึ สู้อย่างไม่คดิ ชวี ิต เสน้ ผมบังภูเขา – เร่อื งงา่ ย ๆ แต่คดิ ไมอ่ อก เสอื ซ่อนเล็บ – ผู่ท่ีมีความเก่งกล้าสามารถแตไ่ มย่ อมแสดงออกมาใหป้ รากฏ เสือนอนกนิ –คนที่ไดร้ ับผลประโยชนห์ รอื ผลกำไร โดยไม่ต้องลงทุนลงแรง ใส่ตะกรา้ ล้างน้ำ – ทำให้หมดราคี, ทำใหห้ มดมลทิน หมวด ห. หนักไม่เอา เบาไมส่ ู้ – ไม่มีความอดทนทจี่ ะทำการงาน หนามยอกเอาหนามบ่ง – ตอบโตด้ ว้ ยวิธีการทำนองเดียวกัน หน้าไหวห้ ลังหลอก – ต่อหนา้ ทำเป็นดี แตล่ บั หลงั ก็นินทาหรอื หาทางทำร้าย หนเี สือปจระเข้ – หนภี ยั อันตรายอยา่ งหนง่ึ แล้วต้องพบภยั อันตรายอีกอย่างหนง่ึ หมาหวงราง – คนทห่ี วงแหนสงิ่ ที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไมย่ อมให้คนอน่ื หมาสองราง – คนทีท่ ำตัวเข้าด้วยท้ัง 2 ฝา่ ยท่มี ักไม่เปน็ มิตรกนั โดยหวงั ประโยชนเ์ พอ่ื ตน หมาหวงหา้ ง – คนท่หี วงชองที่ตนไม่มีสทิ ธ์ิ หมาเห่าใบตองแห้ง – คนท่ีเก่งแต่พูด หมายนำ้ บอ่ หนา้ – มุ่งหวังจะไดส้ ่งิ ท่ยี งั มาไม่ถึง หอกข้างแคร่ – คนใกลช้ ิดท่ีอาจคิดร้ายข้ึนมาเม่ือไรกไ็ ด้ หัวมงั กุท้ายมังกร – ไมเ่ ข้ากัน, ไม่กลมกลืนกนั หัวล้านได้หวี – ผู้ทีไ่ ดส้ ง่ิ ซง่ึ ไม่เปน็ ประโยชน์แกต่ น หุงขา้ วประชดหมา ป้ิงปลาประชดแมว – ทำประชด ซ่ึงรังแตจ่ ะเสียประโยชน์ เห็นกงจกั รเปน็ ดอกบวั – เหน็ ผดิ เป็นชอบ, เหน็ สิง่ ท่ไี มถ่ ูกต้องวา่ เป็นสิ่งที่ถูกต้อง เห็นข้ีดกี วา่ ไส้ – เหน็ คนอื่นดีกว่าญาตพิ ่ีน้อง เห็นช้างข้ี ขตี้ ามชา้ ง – ทำเลียนแบบคนใหญ่คนโตหรอื คนม่ังมีทงั้ ๆ ทตี่ นไม่มีกำลงั ทรัพย์หรอื ความสามารถพอ เหยยี บข้ไี ก่ไม่ฝ่อ – หยิบหย่ง, ทำอะไรไม่จรงิ จัง, ไม่เอาการเอางาน เหยียบเรือสองแคม – ทำทีเข้าดว้ ยทั้ง 2 ฝา่ ย

17 หมวด อ. อดเปรย้ี วไวก้ ินหวาน – อดใจไวก้ ่อน เพราะหวงั สง่ิ ทดี่ กี วา่ ข้างหนา้ ออ้ ยเข้าปากชา้ ง – ส่ิงหรือประโยชนท์ ีต่ กอยู่ในมือแล้วไม่ยอมคนื อาบน้ำร้อนมาก่อน – เกิดกอ่ นจงึ มปี ระสบการณม์ ากกว่า เอาทองไปรกู่ ระเบื้อง, เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ – โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาล หรือคนท่มี ีฐานะตำ่ กว่าเปน็ การไมส่ มควร เอามะพรา้ วหา้ วไปขายสวน – แสดงความร้หู รืออวดร้กู บั ผูท้ ี่รูเ้ รอ่ื งดีกว่า เอามือซุกหีบ – หาเร่ืองเดือดรอ้ นหรือความลำบากใสต่ ัวโดยใช่ที่ เอาไมซ้ ีกไปงดั ไม้ซุง – คดั ค้านผใู้ หญ่ ผู้ทมี่ ีอำนาจมากกว่า หรอื ผู้ทม่ี ีฐานะสูงกว่า ย่อมไม่สำเร็จ และอาจ ได้รับผลร้ายแก่ตัวเองอีกด้วย เอาหไู ปนา เอาตาไปไร่ – แสร้งทำเปน็ ไมร่ ไู้ ม่เห็น กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทำต่าง ๆ เพ่ือให้เด็กเกิดความสนใจที่จะอ่าน เห็น ความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินท่ีจะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งนี้ การ อ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งในชีวิตประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเรา ได้เป็นอย่างดีย่ิง เม่ือคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความ เพลิดเพลิน การที่เด็กจะเกดิ ทักษะการอ่านหนังสือได้น้ันจำเป็นจะต้องอาศัยความรว่ มมือจากบุคคลหลายฝ่าย ท้ัง ครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน ในการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นใหแ้ ก่เด็ก

18 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านคือ การกระตุ้นด้วยวธิ ีการต่างๆ เพ่ือให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระทั่งมีนิสัยรัก การอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระท่ังมีความสามารถในการอ่าน นำประโยชน์จาการอ่านไปใช้ได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของการอา่ นทุกประเภท (ฉวีวรรณ คหู าภินันทน์, 2542 : 93) กรมวิชาการ (อ้างถึงใน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์, 2542 : 93) ให้ความหมายว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน คือ การกระทำเพือ่ 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลท่ีเป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสือที่มี คณุ ภาพ 2. เพ่ือแนะนำชักชวนให้เกิดความพยายามท่ีจะอ่านให้แตกฉาน สามารถนำความรู้จากหนังสือไปใช้ ประโยชน์ เกิดความเข้าใจในเรอ่ื งตา่ งๆ ดีขึน้ 3. เพื่อกระตุ้น แนะนำใหอ้ ยากรู้ อยากอา่ นหนังสือหลายอย่าง เปิดความคิดให้กวา้ ง ให้มีการอ่านต่อเนอ่ื ง จนเป็นนิสัย พัฒนาการอา่ นจนถงึ ขั้นทีส่ ามารถวเิ คราะหเ์ ร่ืองท่ีอา่ นได้ 4. เพือ่ สรา้ งบรรยากาศที่จูงใจให้อ่าน ดังนั้น สามารถกลา่ วได้ว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถงึ กิจกรรมตา่ งๆที่หอ้ งสมดุ จดั ขึ้นเพ่ือส่งเสริมให้ เกิดการอ่านอย่างต่อเนื่องจนกระท่ังเป็นนิสัยรักการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนังสอื ที่นา่ สนใจ เป็นต้น ลกั ษณะของกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นท่ีดี 1. เร้าความสนใจ เช่น การจัดนิทรรศการท่ีดึงดูความสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใช้สื่อ เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาชว่ ย 2. จูงใจให้อยากอ่านและกระตุ้นให้อยากอ่าน เช่น ข่าวที่กำลังเป็นท่ีสนใจ หรือหัวข้อเร่ืองท่ีเป็นท่ีสนใจ เช่น การวิจยั การเตรยี มตวั สอบ การสมคั รงาน เป็นตน้ 3. ไมใ่ ชเ้ วลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกบั เพศ ระดบั อายุ การศกึ ษา

19 4. เป็นกิจกรรมที่มุ่งไปส่หู นงั สอื วสั ดุการอ่าน โดยการนำหนงั สอื หรือวัสดกุ ารอา่ นมาแสดงทุกครง้ั 5. ใหค้ วามสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ แฝงการเรียนรตู้ ามอัธยาศยั จากการรว่ มกจิ กรรมดว้ ย ความหมายและความสำคญั ของห้องสมดุ ห้องสมุดประชาชน หมายถึง ห้องสมุดท่ตี งั้ ข้นึ เพ่ือใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน โดยไมจ่ ำกดั เพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา และพ้ืนความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทุกหมวดวิชา และอาจมีการบริการบางเรื่องเป็นพิเศษ ตามความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน และจะจดั ให้บริการแก่ประชาชนโดยไมค่ ิดมูลค่า บทบาทหน้าที่ของหอ้ งสมุดประชาชน มี 3 ประเภท คอื 1. หน้าที่ทางการศึกษา ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งให้การศึกษานอกระบบโรงเรียน มีหน้าที่ให้ การศึกษาแกป่ ระชาชนทว่ั ไป ทุกระดบั การศกึ ษา 2. หน้าท่ีทางวัฒนธรรม ห้องสมุดปะชาชนเป็นแหล่งสะสมมรดกทางปัญญาของมนุษย์ ท่ีถ่ายทอดเป็น วัฒนธรรมท้องถิน่ ทห่ี อ้ งสมดุ ต้ังอยู่ 3. หน้าที่ทางสังคม ห้องสมุดประชาชนเป็นสถาบันทางสังคมได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและท้องถิ่นมา ดำเนนิ กิจการ จึงมหี นา้ ท่ี แสวงหาข่าวสารขอ้ มูลท่ีมปี ระโยชน์มาบรกิ ารประชาชน หอ้ งสมดุ ประชาชนในประเทศไทยมหี น่วยงานตา่ งๆรับผิดชอบ ดงั นี้ 1. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ นอกจากนี้กรมการศึกษานอกโรงเรียนยังได้จัดท่ีอ่านหนังสือประจำ หมู่บา้ น ท่ีอา่ นหนงั สือในวัด และหอ้ งสมดุ เคล่อื นท่ี 2. ห้องสมุดประชาชน สังกัดกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 12 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี ห้องสมดุ ประชาชนซอยพระนาง หอ้ งสมดุ ประชาชนปทุมวนั ห้องสมุดประชาชนอนงคาราม ห้องสมุดประชาชนวัด สังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษฐาน วรวิหารตล่ิงชัน ห้องสมุดประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดประชาชนภาษีเจริญ ห้องสมุดประชาชนวดั ราชโอรส 3. ห้องสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมุดที่ธนาคารพาณิชย์เปิดข้ึนเพ่ือบริการสังคม และ เพอื่ ประชาสมั พันธก์ จิ การของธนาคารใหเ้ ปน็ ท่ีรจู้ ักแพร่หลาย เช่น หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจำกดั 4. ห้องสมุดประชาชนของรัฐบาลต่างประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างประเทศ เช่น หอ้ งสมดุ บรติ ชิ เคาน์ซลิ ของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร ท่ีตง้ั อยู่บริเวณสยามสแควร์ กรงุ เทพมหานคร 5. ห้องสมุดประชาชนเสียค่าบำรุง ห้องสมุดประชาชนประเภทนี้ให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น โดยผู้ท่ี เป็นสมาชิกจะต้องเสียค่าบำรุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดนีลสันเฮย์ ตั้งอยู่ท่ีถนนสุริวงศ์ กรงุ เทพมหานคร

20 บทบาทและความสำคญั ของห้องสมสุดต่อสังคมในด้านต่าง ๆ 1. เป็นสถานที่เพ่ือสงวนรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นแหล่งสะสมวิวัฒนาการของมนุษย์ ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าไม่มีแหล่งค้นคว้าประเภทห้องสมุดเป็นศูนย์กลางแล้ว ความรู้ต่างๆ อาจสูญหายหรือ กระจัดกระจายไปตามทต่ี า่ งๆ ยากแกค่ นรุ่นหลังจะติดตาม 2. เป็นสถานท่ีเพ่ือการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ห้องสมุดทำหน้าท่ีให้การศึกษาแก่ประชาชนทุกรูปแบบ ทั้งใน และนอกระบบการศึกษา เรมิ่ จากการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานถึงระดับสูง 3. เป็นสถานท่ีสร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์และความจรรโลงใจ ห้องสมุดมีหน้าท่ีรวบรวมและเลือกสรร ทรัพยากร สารสนเทศ เพ่ือบริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าผู้ใช้ได้ความคิดสร้างสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคมตอ่ ไป 4. เปน็ สถานที่ปลกู ฝังนิสยั รักการอ่านและการเรียนร้ตู ลอดชีวติ หอ้ งสมดุ จะชว่ ยใหบ้ คุ คลสนใจในการอ่าน และรกั การอ่านจนเปน็ นิสยั 5. เป็นสถานที่ส่งเสริมการาใช้เวลาว่างในเป็นประโยชน์ ห้องสมุดเป็นสถานท่ีรวบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพื่อบริการแก่ผู้ใช้ตามความสนใจและอ่านเพ่ือฆ่าเวลา อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรืออ่านเพ่ือ สาระบันเทิงไดท้ ง้ั สิน้ นับว่าเป็นการพักผ่อนอย่างมีความหมายและใหป้ ระโยชน์ 6. เป็นสถานที่ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ห้องสมุดเป็นสาธารณะสมบัติ มีส่วนส่งเสริมให้บุคคลรู้จัก สทิ ธิและหน้าท่ีของพลเมอื ง กล่าวคอื เม่ือมสี ทิ ธิในการใช้กย็ อ่ มมีสิทธิในการบำรุงรักษาร่วมกนั และให้ความร่วมมือ กับห้องสมุดดว้ ยการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ แบบแผนของหอ้ งสมุด ความหมายของสอ่ื สง่ิ พิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาท่ีเกี่ยวกับ“สื่อส่ิงพิมพ์”ไว้ว่า “ส่ิงพิมพ์ หมายถึง สมดุ แผน่ กระดาษ หรือวตั ถุใด ๆ ทพี่ ิมพข์ ้นึ รวมตลอดทง้ั บทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบาย สี ใบประกาศ แผ่นเสยี ง หรอื สงิ่ อ่ืนใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกนั ” “ส่อื หมายถงึ ก. ทาการติดต่อให้ถงึ กนั ชกั นาให้ รู้จักกัน น. ผู้หรือส่ิงทท่ี าการติดต่อให้ถึงกนั หรอื ชักนาให้รู้จักกัน” “พิมพ์ หมายถึง ก. ถ่ายแบบ, ใช้เครื่องจักรกด ตัวหนังสือหรือภาพ เป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้า ทาให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดย การกดหรือการใช้พิมพ์หิน เคร่ืองกล วิธีเคมี หรือวิธีอ่ืนใด อันอาจให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์ขึ้นหลายสาเนา น. รูป , รูปรา่ ง, ร่างกาย, แบบ” ดังน้ัน “สอ่ื ส่ิงพมิ พ”์ จงึ มีความหมายว่า “สิ่งท่ีพิมพ์ขึ้น ไมว่ า่ จะเป็นแผ่นกระดาษหรอื วตั ถุ ใด ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็นช้ินงานท่ีมีลักษณะเหมือน ต้นฉบับข้ึนหลายสาเนาในปรมิ าณมากเพื่อเป็นสิ่งท่ี ทาการติดตอ่ หรอื ชักนาให้บคุ คลอนื่ ไดเ้ หน็ หรอื ทราบ ขอ้ ความตา่ ง ๆ”

21 สิ่งพิมพ์เพ่ือการศึกษา หมายถึง สิ่งที่พิมพ์ข้ึนในรูปแบบต่างๆ ท้ังหนังสือ ตารา เอกสาร วารสารต่างๆ ที่ ให้ความรู้ เนื้อหาสาระท่ีมีประโยชน์ เช่น หนังสือเรียนภาษาไทย ป. 6 หรืออาจเป็นชุดภาพประกอบการศึกษา เช่น ภาพประกอบการศกึ ษาชดุ อาหารไทย เป็นตน้ และสามารถนามาใช้ในการศกึ ษาได้ ความเป็นมา ส่ิงพิมพ์ถือได้ว่าเป็นสิ่งท่ีความสำคัญย่ิงควบคู่มากับการพัฒนาการของมนุษยชาติ และจัดเป็นสื่อมวลชน ประเภทหนึ่งท่ีมีความสำคัญมาตลอดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในการถ่ายทอดความรู้วิชาการ และเพ่ือการติดต่อ ส่ือสารสาหรับมนุษยชาติ ดังคำจำกัดความของพจนี พลสิทธิ์ (2536 : 3) สรุปความเป็นมาและความสาคัญของ สิ่งพิมพ์ ว่า “ส่ิงพิมพ์” นับเป็นวัสดุที่แสดงถึงพัฒนา การความเจริญก้าวหน้าทางด้านสติปัญญา ของมนุษย์ ความคิด จินตนาการ เจตคติ ความฝัน ชวี ิต วัฒนธรรม สังคม เหตุการณ์ เร่ืองราวต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ลายุคสมัย สามารถเก็บรักษาสืบทอดจาดชนรุ่นหนึ่งไปสู่ชนรุ่นหลัง ความคิดในเรื่องการพิมพ์นี้นอกเหนือจาก เพื่อเป็น เครื่องมือในการบันทึกความคิด จินตนาการ ความรู้ และเหตกุ ารณ์ต่างๆ แล้วยังเป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่าชนชาติ ต่าง ๆ ในโลกนลี้ ้วนมคี วามพยายามทีจ่ ะพัฒนาความคิดของตนให้เจริญกา้ วหน้าทนั สมยั อย่างตอ่ เน่ือง ความคิดใน เรอื่ งการพิมพท์ ่ีมีจุดประสงค์เรม่ิ แรกก็คงเพ่ือให้มีการแพร่หลายเรอื่ งความคิด ความรู้ ไปสู่ชนรุ่นหลงั และเพื่อให้มี หลาย ๆ สาเนาจะได้เก็บรักษาให้คงอยู่ได้นานปีนั้น ในยุคปัจจุบันชนรุ่นหลังได้สานต่อความคิดเร่ืองการพิมพ์ จนกระทั่งกลายเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัย และซับซ้อน สามารถผลิตส่ิงพิมพ์ได้หลากหลายชนิดตอบสนอง วัตถปุ ระสงค์ของมนุษยชาติไดก้ ว้างขวางนอกเหนือจากสอ่ื สิ่งพมิ พ์จะเป็นสื่อมวลชนทมี่ คี วามเก่ียวกันกบั มนุษยชาติ มานานนับพัน ๆ ปี และมีความเกา่ แก่กว่าส่ือมวลชนประเภทอื่นไม่ว่าจะเปน็ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือ อนิ เตอร์เน็ต ซึ่งเป็นส่อื ประเภทหนึ่งท่ีมีการใช้แพร่หลายไปท่ัวโลกเช่นในปัจจุบนั ก็ตาม แต่ส่ือส่ิงพิมพ์ก็ยงั เป็นส่อื ท่ี มีการใช้อย่างแพร่หลายเป็นท่ีนิยมของทุกชนชาติมิได้ย่ิงหย่อนไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทใดก็ตาม เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หรือส่ิงพิมพ์ประเภทต่าง ๆ สาเหตุสาคัญท่ีทาให้สื่อส่ิงพิมพ์ยังเป็นที่ นยิ มแพรห่ ลายมาโดยตลอด ก็เพราะบุคคลสามารถเลือกอา่ นได้ตามความเหมาะสม อีกท้งั ยังใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

22 ประวตั ิการพิมพใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงศรีอยุธยา ได้เริ่มแต่งและพิมพ์หนังสือคำสอนทางศาสนา คริสต์ ข้ึน และหลังจากนั้นหมอบรัดเลย์เข้ามาเมืองไทย และได้เริ่มด้านงานพิมพ์จนสนใจเป็นธุรกิจด้านการพิมพ์ ใน เมอื งไทย พ.ศ.2382 ได้พมิ พ์เอกสารทางราชการเป็นช้ินแรก คือ หมายประกาศห้ามสูบฝ่ิน ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระ น่ังเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเม่ือวันที่ 4 ก.ค.2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรก ข้ึน คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างส้ัน ออกเดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 ม.ิ ย. พ.ศ.2404 ได้พิมพ์หนังสือเล่มออกจำหน่ายโดยซ้ือลิขสิทธ์จิ าก หนังสือนริ าศลอนดอนของหมอ่ มราโชทัยและ ได้เริม่ ต้นการซื้อขาย ลิขสิทธิหน่ายในเมอื งไทย หมอบรัดเลย์ได้ถึงแก่กรรมในเมืองไทยกิจการ การพิมพ์ของไทยจึง เริ่มต้นเป็นของไทย หลังจากน้ันใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจึงนา เคร่ืองพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เป็นครั้งแรก โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชนาเครื่องหล่อเรียงพิมพ์ Monotype มาใช้กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทยไดจ้ ัดโรงพิมพธ์ นบตั รในเมืองไทยข้นึ ใช้เอง ประเภทของสือ่ สิ่งพมิ พเ์ พือ่ การศึกษา สื่อส่งิ พิมพ์ประเภทหนังสือ 1. หนังสือตำรา เป็นส่ือที่พิมพ์เป็นเล่ม ประกอบด้วยเนื้อหาการเรียนการสอนโดยอธิบายเนื้อหาวิชาอย่างละเอียดชัดเจน อาจมีภาพถ่ายหรอื ภาพเขียนประกอบเพ่ือเพ่มิ ความสนใจของผู้เรียน หนังสือตาราน้ีอาจใช้เป็นสอ่ื การเรียนในวิชา นั้นโดยตรงนอกเหนือจากการบรรยายในชน้ั เรยี น หรอื อาจใชเ้ ป็นหนังสืออ่านประกอบหรอื หนงั สืออา่ นเพ่ิมเตมิ ก็ได้ การใช้หนังสือในการเรียนการสอนนับว่ามีประโยชน์แก่ผเู้ รยี นท้งั ในด้านการศึกษารายบุคคลเพ่อื ให้ผู้เรียนสามารถ ใชอ้ า่ นในเวลาทีต่ อ้ งการ และในดา้ นเศรษฐกจิ เน่อื งจากสามารถใชอ้ า่ นไดห้ ลายคนและเกบ็ ไวไ้ ด้เปน็ เวลานาน 2. แบบฝึกปฏิบตั ิ เป็นสมุดหรือหนังสือที่พิมพ์ข้ึนโดยมีเนื้อหาเป็นแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพื่อเป็นการเพ่ิมทักษะหรือ ทดสอบผเู้ รียน อาจมเี นื้อหาในรูปแบบคาถามใหเ้ ลอื กคาตอบ หรือเป็นต้นแบบเพ่ือให้ผู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิตามโดยอาจ มรี ปู ประกอบเพอ่ื ให้เข้าใจไดง้ ่ายย่ิงขน้ึ เช่น แบบคัดตวั อกั ษร ก ไก่ เปน็ ตน้ 3. พจนานุกรม เป็นหนังสือท่ีมเี นื้อหาเป็นคาศพั ท์และคาอธิบายความหมายของคาศัพท์ แตล่ ะคานั้น โดยการเรียงตามลา ดับจากอักษรตัวแจกถึงตัวสุดท้ายของภาษาท่ีต้องการจะอธิบาย คาศัพท์และคาอธิบายจะเป็นภาษาเดียวกันหรือ ต่างภาษาก็ได้ เช่น คาศัพท์ภาษาอังกฤษและมีคาอธิบายเป็นภาษาไทย หรือท้ังคาศัพท์และคาอธิบายต่างก็เป็น ภาษาองั กฤษ เป็นตน้ 4. สารานุกรม เป็นหนังสือที่พิมพ์ขึ้นเพ่ืออธิบายหัวข้อหรือข้อความต่างๆ ตามลาดับของตัวอักษร เพื่อให้ผู้อ่านสามารถ คน้ ควา้ เพื่อความรูแ้ ละการอ้างอิง โดยมรี ูปภาพ แผนภูมิ ฯลฯ ประกอบคาอธิบายให้ชัดเจนย่ิงขน้ึ 5. หนงั สอื ภาพและภาพชดุ ต่างๆ

23 เป็นหนังสอื ท่ีประกอบด้วยภาพต่างๆ ทเี่ ป็นเรื่องเดียวกันตลอดท้ังเล่ม ส่วนใหญจ่ ะเป็นหนังสอื ภาพท่พี ิมพ์ สอดสสี วยงาม เหมาะแกก่ ารเกบ็ ไว้ศึกษาหรือเป็นท่ีระลึก เช่น หนังสอื ภาพชุดพระท่ีน่งั วิมานเมฆ หรือหนังสือภาพ ชดุ ทัศนียภาพของประเทศต่างๆ เป็นตน้ 6. วิทยานิพนธแ์ ละรายงานการวจิ ยั เป็นสิ่งพิมพ์ท่ีพิมพ์ออกมาจานวนไม่มากนักเพ่ือเผยแพร่ไปยังห้องสมุด สถาบันการศึกษาต่างๆ หรือ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกับงานวจิ ัยน้นั เพอื่ ให้ผสู้ นใจใช้เป็นเอกสารคน้ คว้าขอ้ มลู หรือใชใ้ นการอา้ งอิง 7. สง่ิ พมิ พย์ อ่ ส่วน (Microforms) หนังสือที่เก่าหรือชารุดหรือหนังสือพิมพ์ท่ีมีอยู่เป็นจานวนมากย่อมไม่เป็นท่ีสะดวกในการเก็บรักษาไว้ จึง จำเปน็ ตอ้ งหาวิธีเก็บสิ่งพิมพ์เหล่านี้ไว้โดยอาศัยลกั ษณะการย่อส่วนลงให้เหลือเล็กท่สี ุดเท่าท่ีจะทาได้ เพื่อประหยัด เนื้อท่ีในการเก็บรักษาและสามารถที่จะนำมาใช้ได้สะดวก จึงมีวิธีการต่างๆ โดยอาศัยเนื้อที่ในการเก็บรักษาและ สามารถที่จะนามาใช้ได้สะดวก จงึ มวี ธิ กี ารต่างๆ โดยอาศัยเทคโนโลยใี นการทาส่งิ พมิ พ์ยอ่ สว่ น ได้แก่ ก. ไมโครฟลิ ์ม (Microfilm) เป็นการถ่ายหนังสือแต่ละหน้าลงบนม้วนฟิล์มท่ีมีความกว้างขนาด 16 หรือ 35 มิลลิเมตร โดยฟิล์ม 1 เฟรมจะ บรรจหุ น้าหนังสอื ได้ 1-2 หนา้ เรียงตดิ ตอ่ กันไป หนังสือเลม่ หนงึ่ จะสามารถบนั ทึกลงบนไมโครฟิล์มโดยใชค้ วามยาว ของฟลิ ์มเพียง 2-3 ฟุต ตามปกตจิ ะใช้ฟลิ ์ม 1 ม้วนต่อหนังสือ 1 เล่ม และบรรจุมว้ นฟิล์มลงในกลอ่ งเล็กๆ กล่องละ ม้วนเมื่อจะใชอ้ ่านก็ใส่ฟิล์มเข้าในเครอื่ งอา่ นที่มีจอภาพหรือจะอัดสาเนาหนา้ ใดกไ็ ดเ้ ช่นกนั ข. ไมโครฟิช (Microfiche) เป็นแผ่นฟิล์มแข็งขนาด 4 x 6 น้ิว สามารถบันทึกข้อความจากหนังสือโดยย่อเป็นกรอบเล็กๆ หลายๆ กรอบ แผน่ ฟิลม์ นจ้ี ะมีเนือ้ ทีม่ ากพอทีจ่ ะบรรจุหน้าหนงั สือท่ีย่อขนาดแล้วได้หลายร้อยหนา้ ตัวอกั ษรที่ย่อจะมีสีขาวบนพื้น หน้าหนังสอื สีดา สามารถอ่านได้โดยวางแผ่นฟิล์มลงบนเครื่องฉายท่ีขยายภาพให้ไปปรากฏบนจอภาพสาหรับอ่าน และจะอ่านหน้าใดกไ็ ด้เล่ือนภาพไปมา และยังสามารถนาไปพิมพ์บนกระดาษและอัดสาเนาได้ด้วย สือ่ สิ่งพมิ พเ์ พือ่ เผยแพร่ข่าวสาร – หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นสื่อส่ิงพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยนาเสนอเรื่องราว ข่าวสารภาพและความ คิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วิธีการพับรวมกัน ซึ่งสื่อสิ่งพิมพ์ชนิดนี้ ได้พิมพ์ออกเผยแพร่ทั้ง ลักษณะ หนงั สอื พิมพ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน – วารสาร, นิตยสาร เปน็ สื่อสงิ่ พิมพท์ ่ผี ลติ ขึ้นโดยนาเสนอสาระ ขา่ ว ความบันเทิง ทีม่ รี ปู แบบการนาเสนอ ที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจใหก้ ับผู้อา่ น ท้งั น้ีการผลิตนัน้ มีการ กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่ แนน่ อน ทั้งลกั ษณะวารสาร, นติ ยสารรายปกั ษ์ (15 วัน) และ รายเดือน

24 – จลุ สาร เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีผลติ ข้ึนแบบไม่มุ่งหวังผลกาไร เป็นแบบให้เปล่าโดยให้ผู้อ่านได้ศกึ ษาหาความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นครั้ง ๆ หรือลาดับต่าง ๆ ในวาระพิเศษ แสดงเนื้อหาเป็นข้อความท่ีผู้อ่าน อ่านแล้ว เข้าใจง่าย สิ่งพมิ พอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตข้ึนเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น บทบาทของสือ่ สิง่ พมิ พเ์ พื่อการศกึ ษา บทบาทของสื่อส่ิงพิมพ์ในสถานศึกษา ส่ือส่ิงพิมพ์ถูกนาไปใช้ในสถานศึกษาโดยท่ัวไป ซึ่งทาให้ผู้เรียน ผู้สอนเข้าใจในเน้ือหามากข้ึน เช่น หนังสือ ตารา แบบเรียน แบบฝึกหัดสามารถพัฒนาได้เป็นเนื้อหาในระบบ เครือข่ายอินเตอร์เนต็ ได้ แนวทางการประยุกต์ใช้สื่อส่ิงพิมพ์เพ่ือการเรียนการสอน หรือการศึกษา การใช้สิ่งพิมพ์เพ่ือการศึกษาในการเรียน การสอนน้ันจำแนกไดเ้ ป็น 3 วธิ ี คือ 1. ใชเ้ ปน็ แหลง่ ข้อมลู เกี่ยวกับวชิ าทีเ่ รยี น 2. ใช้เป็นวสั ดุการเรยี นร่วมกบั สื่ออื่นๆ 3. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนรูแ้ ละเพม่ิ พูนประสบการณ์ .จากวิธีการใช้ส่ิงพิมพ์ท้ัง 3 วิธีนั้น ผู้สอนสามารถนาสิ่งพิมพ์ทั้งท่ีเป็นส่ิงพิมพ์ท่ัวไป หรือส่ิงพิมพ์เพื่อการศึกษา โดยเฉพาะมาใชใ้ นการเรยี นการสอนก็ได้ ทั้งน้ีโดยพจิ ารณาตามลกั ษณะของสงิ่ พิมพ์และลักษณะของการใช้ ดงั นี้ 1. ส่ิงพมิ พ์ทีเ่ ขยี นข้ึนในลกั ษณะของหนงั สอื ตารา ใช้เพื่อการศกึ ษาในระบบโรงเรยี นตามหลกั สตู ร 2. ส่ิงพิมพ์ท่ีเขียนข้ึนในลักษณะบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อง่ายต่อการศึกษาด้วยตนเอง เหมาะสาหรับใช้ใน การศกึ ษาทางไกลรว่ มกับสอื่ อืน่ ๆ เช่น โทรทศั น์ เทปเสียงสรุปบทเรียน และการสอนเสรมิ เป็นตน้ 3. ส่ิงพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบฝึกปฏิบัติ คู่มือเรียน ฯลฯ อาจใช้ร่วมกับสื่อบุคคลหรือ สอ่ื มวลชนประเภทอน่ื ๆ ได้ 4. สิง่ พิมพ์ทั่วๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ท่ีมีคอลัมน์หรือบทความที่ให้ประโยชน์ ผู้สอนอาจแนะ นาให้ผ้เู รียนอ่านเพอ่ื เพิม่ พูนความรู้หรอื เพื่อนามาใชอ้ า้ งองิ ประกอบการคน้ คว้า 5. สิง่ พิมพ์ประเภทภาพชุด เป็นการให้ความรทู้ างรปู ธรรมเพอ่ื ใชใ้ นการเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ ทาใหผ้ ู้เรียน เข้าใจเหตุการณ์เร่ืองราวหรือสิ่งท่ีเป็นนามธรรมได้ชัดเจนข้ึน เช่น ภาพชุดชีวิตสัตว์ หรือภาพชุดพระราช

25 พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นต้น (สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, 9 กันยายน 2553) ประโยชนแ์ ละคุณค่าของสือ่ สิ่งพมิ พเ์ พ่อื การศกึ ษา 1. สื่อส่ิงพมิ พส์ ามารถเก็บไวไ้ ด้นาน สามารถนามาอ่านซา้ แลว้ ซา้ อีกได้ 2. สื่อสง่ิ พมิ พ์เป็นสอ่ื ทม่ี รี าคาถูกเมอื่ เทยี บกับสื่ออืน่ ๆ 3. สอ่ื ส่ิงพิมพเ์ ปน็ สื่อทีใ่ ชง้ า่ ย ไม่ยงุ่ ยาก 4. ส่ือสิ่งพิมพ์เป็นสื่อท่ีจัดทาได้ง่าย โดยครูผู้สอนสามารถทาได้เองได้ มีวิธีทาที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น ใบ งาน ใบความรู้ เปน็ ตน้ ข้อดแี ละขอ้ จากดั ของสือ่ สิ่งพมิ พเ์ พื่อการศึกษา ข้อดี 1. สามารถอ่านซา้ ทบทวน หรืออา้ งอิงได้ 2. เปน็ การเรียนรทู้ ดี่ สี าหรบั ผู้ท่สี นใจ 3. เป็นการกระต้นุ ใหค้ นไทยรกั การอา่ น ข้อจำกัด 1. ผมู้ ีปญั หาทางสายตา หรือผู้สูงอายุอา่ นไมส่ ะดวกในการใช้ 2. ข้อมลู ไม่สามารถปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้ทนั ท่วงทีได้ 3. ผ้ไู มร่ ู้หนงั สอื ไม่สามารถเข้าถึงได้ ความหมายของส่ือออนไลน์ ความหมายของสอ่ื สังคมออนไลน์ ส่ือสังคมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทัลที่เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม(Social Tool) เพ่ือใช้ ส่ือสารระหว่างกนั ในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซตแ์ ละโปรแกรมประยกุ ต์บนส่อื ใดๆ ที่มี

26 การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ท้ังที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม (Collaborative) อย่าง สรา้ งสรรค์ ในการผลิตเนอื้ หาขึ้นเอง (User-GenerateContent:UGC) ในรปู ของข้อมูลภาพและเสยี ง สำหรับในยุคน้ี เราคงจะหลีกเล่ียงหรือหนีคำว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปท่ีไหน ก็จะพบ เห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันน้ีเราจะมารู้จัก ความหมายของมนั กนั ครับ คำว่า “Social” หมายถงึ สังคม ซ่งึ ในทนี่ ี้จะหมายถงึ สงั คมออนไลน์ ซงึ่ มขี นาดใหมม่ ากในปัจจุบัน คำวา่ “Media” หมายถึง สื่อ ซ่งึ ก็คอื เนื้อหา เร่อื งราว บทความ วดี ีโอ เพลง รูปภาพ เปน็ ต้น ดังนั้นคำว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ท่ีมีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต พดู ง่ายๆ กค็ อื เวบ็ ไซต์ทบ่ี คุ คลบนโลกน้ีสามารถมีปฏสิ ัมพนั ธ์โต้ ต้ อบกนั ได้นน่ั เอง พ้ืนฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนษุ ย์หรือคนเราทต่ี ้องการติดต่อส่ือสารหรอื มี ปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บท่ีแสดงเนื้อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อ หรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเวบ็ พัฒนาเข้าสยู่ ุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเวบ็ ไซต์ท่ีเรียกว่า web application ซึ่ง ก็คอื เวบ็ ไซตม์ แี อพลิเคชันหรอื โปรแกรมต่างๆ ที่มาและความสำคญั สื่อสังคมออนไลน์กลับส่งอิทธิพลลบต่อชวี ิตประจำวนั และความสัมพันธข์ องคนในสังคมอย่างชดั เจนมาก ยงิ่ ขึ้นจนกลายเปน็ ประเด็นทางสังคม ที่ทง้ั ส่อื บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องให้ความสำคัญในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเหลา่ น้ี สื่อสังคมออนไลน์ใช้สือ่ สารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม ผา่ นทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บน สื่อใดๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม อย่างสร้างสรรค์ ในการผลติ เน้ือหาข้นึ ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง ทั้งน้ีการใช้ส่ือออนไลน์ต่างๆ ก็ต้องอยู่ในขอบเขตในความพอประมาณ เล่นในประมาณท่ีพอเหมาะเพ่ือ เป็นผลดตี อ่ สายตาและร่างกาย ประเภทสอื่ สงั คมออนไลน์ ประเภทของส่ือสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนำมาใช้โดยสามารถ แบง่ เป็นกลุ่มหลกั ดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ ส่ือส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดง ความคิดเหน็ เพ่มิ เติมได้ ซ่ึงการแสดงเน้ือหาของบล็อกน้นั จะเรยี งลำดับจากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเกา่ ผ้เู ขียนและ ผอู้ ่านสามารถคน้ หาเน้อื หายอ้ นหลังเพื่ออ่านและแก้ไขเพมิ่ เติมได้ตลอดเวลา

27 เช่น Exteen,Bloggang,Wordpress,Blogger,Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรับ เช่อื มต่อระหวา่ งบุคคล กลุ่มบคุ คล เพอ่ื ให้เกดิ เป็นกลุ่มสงั คม(Social Community) เพือ่ ร่วมกันแลกเปล่ียนและ แ บ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง กั น ทั้ ง ด้ า น ธุ ร กิ จ ก า ร เมื อ ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ช่ น Facebook, Hi5, Ning,Linkedin,MySpace,Youmeo,Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือท่ีเรียกกันว่า “บล็อกจ๋ิว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ ให้ บ ริการแก่บุ ค ค ลทั่ วไป สำห รับ ให้ ผู้ใช้บ ริก ารเขียน ข้อ ความ สั้ น ๆ ป ระม าณ 140 ตัวอั กษ รที่ เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพ่อื แสดงสถานะของตัวเองวา่ กำลังทำอะไรอยูห่ รอื แจ้งขา่ วสารตา่ งๆแกก่ ลุ่ม เพอื่ นในสังคมออนไลน์ (OnlineSocialNetwork) (Wikipedia,2010) ทัง้ นีก้ ารกำหนดให้ใชข้ ้อมลู ในรูปข้อความ สั้นๆ ก็เพ่ือให้ผู้ใช้ท่ีเป็นทั้ งผู้เขียนและผู้อ่าน เข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยม อยา่ งแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็วเน่ืองจากเนือ้ หาที่นำเสนอในวิดีโอออนไลนไ์ ม่ถูกจำกัดโดยผังรายการที่ แน่นอนและตายตัวทำให้ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถตดิ ตามชมได้อยา่ งต่อเนื่องเพราะไม่มีโฆษณาคน่ั รวมท้ังผู้ใชส้ ามารถ เลอื กชมเนอ้ื หาได้ตามความต้องการและยงั สามารถเช่อื มโยงไปยังเว็บวดิ โี ออ่ืนๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งได้จำนวนมากอกี ด้วย เช่น Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รูปภาพเพื่อนำมาใช้งานได้ ท่ีสำคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็น พ้ื น ที่ เพ่ื อ เส น อ ข า ย ภ า พ ที่ ต น เอ ง น ำ เข้ า ไ ป ฝ า ก ไ ด้ อี ก ด้ ว ย เช่ น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge)ซึ่งผู้เขียนส่วนใหญ่ อาจจะเป็นนักวชิ าการ นักวิชาชีพหรอื ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านตา่ งๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ซ่ึงผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองสว่ นหนึ่งของชีวติ ลงไป จดั เปน็ สือ่ สงั คมออนไลน์ ท่ีบรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ท่ีจะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านส่ือ เช่น สำนักข่าวรอยเตอร์ สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซ้ือพ้ืนท่ีเพ่ือให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กร ได้มีช่องทางในการนำเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้ส่ือออนไลน์ ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าท้ังหลัก และรองหรือ ผู้ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ท่ี ประสบผลสำเรจ็ และมชี อื่ เสยี ง คอื Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอความ รว่ มมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเว็บไซต์ท่ีมวี ัตถุประสงค์หลักเพ่ือค้นหา คำตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆท้ังทางธุรกิจ การศึกษา รวมท้ังการส่ือสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความ

28 ร่วมมือจากเครือข่ายทางสงั คมมาชว่ ยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเหน็ หรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนท่เี ขา้ มาให้ ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนท่ัวไปหรือผู้มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคมนัก ข่าว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd souring คือ ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพือ่ นำ ไปสู่การแกป้ ัญหาท่ี มปี ระสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรอื คัดกรองข้อมลู ซ่ึงเป็นปญั หาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting ห รื อ Podcast ม า จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ส อ ง ค ำ คื อ “Pod” กั บ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วนบุคคล ส่วน “Broadcasting” เป็นการนำสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การ บันทึกภาพและเสียงแล้วนำมาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพ่ือเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ที่สนใจดาวนโ์ หลดเพอื่ นำไปใช้งาน เชน่ Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะ เกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp ประโยชนข์ อง Social networks เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลีย่ นข้อมูลความรูใ้ นส่ิงทส่ี นใจรว่ มกันได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือต้ัง คาถามในเรื่องต่างๆ เพ่อื ใหบ้ ุคคลอนื่ ทส่ี นใจหรือมีคาตอบได้ชว่ ยกันตอบ 3. ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ต่อสื่อสารกบั คนอ่ืน สะดวกและรวดเรว็ 4. เป็นสื่อในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพ่ือให้ผู้อ่ืนได้เข้ามารับชมและ แสดงความคดิ เหน็ 5. ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความ เชอ่ื ม่นั ใหล้ ูกคา้ 6. ชว่ ยสรา้ งผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจา้ งงานแบบใหม่ๆ ขึ้น 7. คลายเครยี ดไดส้ ำหรบั ผใู้ ชท้ ต่ี ้องการหาเพอ่ื นคยุ เล่นสนกุ ๆ 8. สรา้ งความสมั พันธท์ ี่ดีจากเพอ่ื นสเู่ พือ่ นได้

29 จิตรกรรม (PAINTING) จิตรกรรม (Painting) หมายถึง ผลงานศลิ ปะทีแ่ สดงออกด้วยการขดี เขยี น การวาด และระบายสี เพือ่ ให้ เกิดภาพ เป็นงานศลิ ปะทม่ี ี 2 มิติ เปน็ รปู แบบไม่มคี วามลึกหรอื นนู หนา แต่สามารถเขียนลวงตาให้เหน็ ว่ามีความ ลกึ หรือนนู ได้ ความงามของจิตรกรรมเกดิ จากการใช้สีในลักษณะต่าง ๆ กัน ประเภทของจติ รกรรม 1. การวาดเส้น (DRAWING) เปน็ การวาดภาพโดยใช้ปากกา หรอื ดินสอ ขีดเขยี นลงไป บนพ้ืนผิววสั ดุ รองรบั เพ่ือให้เกดิ ภาพ การวาดเส้น คือ การขีดเขยี นให้เปน็ เส้นไม่วา่ จะเปน็ เส้นเลก็ หรือ เสน้ ใหญ่ ๆ มกั มสี เี ดยี ว แตก่ ารวาดเสน้ ไมไ่ ด้จำกดั ท่จี ะตอ้ งมสี ีเดียว อาจมสี หี ลาย ๆ สกี ไ็ ด้ การวาดเสน้ จดั เป็นพ้นื ฐานทสี่ ำคัญของงาน ศิลปะแทบทกุ ชนดิ เสน้ (line) หมายถึงจุดหลาย ๆ จุดที่เคล่ือนท่ีตอ่ เนื่องไปในท่วี ่างเปล่าจากทิศทางการเคลื่อนทตี่ า่ ง ๆ กนั เสน้ ถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอนั ดบั แรก ของการจัดภาพและออกแบบงานทัศนศลิ ป์ นอกจากนั้นเสน้ ทีม่ ี ทิศทางตา่ งๆ กนั ยังมีอทิ ธพิ ลต่อความร้สู ึกในการมองได้ เช่น เส้นตงั้ ฉาก ให้ความร้สู กึ สูง เด่น สง่า มั่นคง แขง็ แรง เส้นระดับ ใหค้ วามรสู้ กึ สงบ แน่นอน เส้นทะแยง ให้ความร้สู กึ แสดงความเร็ว ความไม่มง่ั คง เส้นโคง้ ใหค้ วามรสู้ กึ อ่อนนอ้ ม เศร้า ผิดหวัง เสน้ คด ให้ความรู้สกึ แสดงการเคล่ือนไหวอย่างอ่อนชอ้ ย เส้นประ ใหค้ วามรูส้ กึ แสดงความไมแ่ น่นอน ลังเล แตกแยก ลกั ษณะเส้นตา่ งๆ ทใี่ ช้ในการวาดภาพ

30 2. การระบายสี (PAINTING) เป็นการวาดภาพโดยการใช้พ่กู นั หรอื แปรง หรือวัสดุอยา่ งอื่น มาระบาย ใหเ้ กดิ เป็นภาพ การระบายสี ตอ้ งใชท้ ักษะการควบคุมสแี ละเคร่ืองมือมากกว่าการวาดเส้น ผลงานการระบายสีจะ สวยงาม เหมือนจริง และสมบรู ณแ์ บบมากกว่าการวาดเส้น ความหมายของการวาดภาพ การวาดภาพ คือ การถ่ายทอดอารมณ์ส่วนตัวของบุคคลนั้น ๆ ออกมาเป็นลวดลายบนวัตถุชนิด ตา่ ง ๆ เช่นกระดาษ, อุปกรณ์เครื่องมอื เคร่ืองใช้, ผ้า,ตกึ ราบา้ นช่อง และอกี มากมายท่ีเราเหน็ เป็นภาพไม่วา่ จะเป็น ภาพการ์ตนู ภาพคนเหมือนภาพที่เปน็ ลายเส้น เปน็ ตน้ ลักษณะของภาพจติ รกรรม งานจิตรกรรม ท่ีนิยมสรา้ งสรรค์ ขนึ้ มีหลายลักษณะ ดังนี้ คือ 1. ภาพทิวทัศน์ (LANDSCAPE PAINTING) เป็นภาพท่ีแสดงความงาม หรือความประทบั ใจในความงาม ของธรรมชาติ หรอื สงิ่ แวดล้อมของศิลปนิ ผวู้ าด ภาพทิวทัศนแ์ บ่งเปน็ ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ภาพทวิ ทศั นผ์ ืนน้ำ หรือ ทะเล (Seascape ) ภาพทิวทัศน์พ้นื ดิน (Landscape) ภาพทิวทศั น์ของชมุ ชนหรอื เมือง (Cityscape) ภาพวาดทิวทัศน์

31 2. ภาพคน (FIGURE PAINTING) เปน็ ภาพท่แี สดงกิริยาทา่ ทางต่าง ๆ ของมนษุ ย์แบบเต็มตัว โดยไมเ่ น้น แสดงความเหมือนของใบหน้า ภาพวาดคน ภาพวาดคนเหมอื น 3. ภาพคนเหมือน (POTRAIT PAINTING) เป็นภาพท่แี สดงความเหมือนของใบหนา้ ของคนๆ ใดคนหน่ึง 4. ภาพสัตว์ ( ANIMALS FIGURE PAINTING) แสดงกริ ิยาท่าทางของสตั ว์ในลักษณะตา่ ง ๆ ภาพวาดสตั ว์ 5. ภาพประกอบเรื่อง (ILLUSTRATION PAINTING) เป็นภาพทเ่ี ขียนขึน้ เพื่อบอกเลา่ เรื่องราว หรอื ถ่ายทอดเหตุการณต์ ่าง ๆ ให้ผอู้ ื่นไดร้ บั รู้ โดยอาจเปน็ ทงั้ ภาพประกอบเรื่องในหนงั สอื พระคมั ภีร์ หรอื ภาพเขยี น บนฝาผนงั อาคารสถาปัตยกรรมตา่ ง ๆ และรวมถึงภาพโฆษณาต่าง ๆ

32 6. ภาพหุ่นนงิ่ (STILL PAINTING) เป็นภาพวาดเก่ียวกับสงิ่ ของเครอื่ งใช้หรือวัสดตุ า่ งๆที่ไม่มกี าร เคลื่อนไหว เป็นสงิ่ ที่อยกู่ บั ที่ ภาพวาดหุ่นนงิ่ ภาพวาดฝาผนัง 7. ภาพจติ รกรรมฝาผนงั (MURAL PAINTING) เป็นภาพเขยี นทเี่ ขยี นไวต้ ามผนงั อาคาร โบสถ์ หรอื วหิ ารตา่ ง ๆ สว่ นใหญจ่ ะแสดงเร่ืองราวศาสนา ชาดก ประวัติของศาสดา กจิ กรรมของพระมหากษตั รยิ ์ บางแห่ง เขียนไวเ้ พื่อประดบั ตกแต่ง

33 บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงานตามโครงการ 1. วธิ ีการดำเนินงาน ข้ันเตรียมการ เพอื่ จดั ประชมุ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอยี ดโครงการ - ชแ้ี จงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การเพ่อื อนุมัติ - แต่งตง้ั กรรมการดำเนินงานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ครผู ้ชู ่วย กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมคั รฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยตดิ ตอ่ ประสานงาน มีหนา้ ท่ี ตดิ ตอ่ ประสานงานสถานที่จดั การจดั กิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจ่ายพสั ดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษช์ ำนาญการ

34 3.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์วิทยุห้างทองเรดิโอ เสียงตามสาย วิทยุชุมชน ประชาสมั พนั ธ์ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าท่ีให้กรรมการมีหน้าที่จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และประชาชน มีหน้าที่จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และ สอ่ื ออนไลน์ สื่อการเรยี นการสอน เกม และกจิ กรรมนันทนาการ ดังนี้ 5.1 กจิ กรรมรกั การอ่านผ่านสือ่ ออนไลน์ 5.1.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.1.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล

35 5.1.13 นายศวิ ณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.2 กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณลี อยกระทง 5.2.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.2.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.2.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.2.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.2.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.2.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.2.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 5.2.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.2.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.2.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.2.13 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.2.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.2.15 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.2.16 นางสาวอุษา ยิ่งสกุ ครู ศรช. 5.2.17 นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.3 กจิ กรรมปริศนา...อา่ นคำ บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.3.1 นางวารี ชูบัว ครู กศน. ตำบล 5.3.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู ศรช. 5.3.3 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.3.4 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.3.5 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์

36 5.4 กจิ กรรมอ่านดีมรี างวัล บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.4.1 นางวารี ชบู ัว ครูอาสาสมัครฯ 5.4.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครู กศน. ตำบล 5.4.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.4.4 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู ศรช. 5.4.5 นายศวิ ณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.4.6 นางสาวกญั ญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.4.7 นางสาวอษุ า ย่ิงสุก 5.5 กจิ กรรมอ่านสรา้ งอาชีพ บรรณารักษช์ ำนาญการ 5.5.1 นางวารี ชบู วั ครูอาสาสมัครฯ 5.5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.5.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.5.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.5.5 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.5.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.5.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.5.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู ศรช. 5.5.13 นายศิวณัชญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.5.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.5.15 นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ครู ศรช. 5.5.16 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ 5.6 กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.6.1 นางวารี ชบู วั ครอู าสาสมัครฯ 5.6.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.6.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.6.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร

37 5.6.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.6.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.6.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.6.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.6.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.6.10 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.6.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.6.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.6.13 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.6.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 5.6.15 นายปณั ณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. 5.6.16 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช. 5.6.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรียมเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบียน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอุษา ยงิ่ สุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพึงพอใจ ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลงั เสร็จส้ินโครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 7.3 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 7.4 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช.

38 2. ขัน้ ดำเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 20 คน ดำเนนิ การ - 1. ขนั้ เพอื่ จัดประชุมครูและ ครูและบคุ ลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 - เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ 5,750 - ชแี้ จงทำความเข้าใจ ชนแดน - ชนแดน - 2. ประชมุ รายละเอยี ดโครงการ กรรมการ - ช้แี จงแนวทางในการ ครแู ละบุคลากร 600 คน กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ กศน. อำเภอ 50 คน ชนแดน 3. จดั เตรียม - จดั ทำโครงการและ ชนแดน 20 คน เอกสาร วัสดุ แผนการดำเนนิ การเพื่อ กรรมการฝ่ายท่ี 50 คน กศน. อำเภอ 15 ธ.ค.63 อปุ กรณ์ในการ อนุมตั ิ ไดร้ ับมอบหมาย 100 คน ชนแดน ดำเนินโครงการ - แต่งตัง้ กรรมการ 180 คน 4. ดำเนนิ การ ดำเนินงานตามโครงการ นักเรียน รวม พืน้ ที่อำเภอ ต.ค.63 จัดกจิ กรรม เพอ่ื ประชุมทำความเข้าใจ นักศกึ ษา และ 1,000 คน ชนแดน - กับกรรมการดำเนนิ งานทุก ประชาชนทั่วไป ฝ่ายในการจัดกิจกรรม ม.ี ค.64 โครงการและการดำเนินงาน เพอื่ ดำเนนิ การจัดทำ จดั ซ้อื วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการ ดำเนินการ 1. รกั การอ่านผ่านสื่อ ออนไลน์ 2. กิจกรรมสืบสาน วฒั นธรรมประเพณี ลอยกระทง 3. ปริศนา...อา่ นคำ 4. อา่ นดีมีรางวัล 5. อ่านสรา้ งอาชีพ 6. สภุ าษติ สำนวนไทย

39 กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ ม.ี ค.64 - 5. สรุป/ เพื่อใหก้ รรมการฝ่าย ตาม 2 เลม่ กศน. อำเภอ ประเมินผล ประเมนิ ผลเกบ็ รวบรวม และรายงานผล ข้อมลู และดำเนนิ การ กระบวนการ ชนแดน โครงการ ประเมินผลการจดั กิจกรรม ประเมิน โครงการ 5 บท 3. ขน้ั สรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดชั นวี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 ตัวชีว้ ดั ผลลพั ธ์ (outcome) นกั เรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปรักการอา่ น เพอื่ พัฒนาคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ีขน้ึ 2. การตดิ ตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรม

40 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ สง่ เสริมการเรยี นรู้สำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน กจิ กรรมสุภาษิต สำนวนไทย แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป เพศ รอ้ ยละ จำนวน 30.52 เพศ 69.48 ชาย 65 100 หญิง 148 รวม 213 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ใน คร้ังน้ี เปน็ เพศหญิง มากท่ีสดุ จำนวน 148 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 69.48 ชว่ งอายุ อายุ ร้อยละ ต่ำกว่า 15 ปี จำนวน - 15 - 29 ปี 30 – 39 ปี - 62.91 40 - 49 ปี 134 6.57 50 - 59 ปี 14 10.34 60 ปีขน้ึ ไป 22 5.16 11 15.02 รวม 32 100 213 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ในครงั้ น้ี เป็นชว่ งอายุ 15 – 29 ปี มากทส่ี ดุ จำนวน 134 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.91

41 ระดับการศกึ ษา การศึกษา ร้อยละ ประถมศกึ ษา จำนวน 15.50 43.19 ม.ตน้ 33 41.31 ม.ปลาย 92 ปวช./ปวส. 88 - ปรญิ ญาตรี - - สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี - - รวม - 100 213 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอธั ยาศัย กจิ กรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรยี นรูส้ ำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ในครง้ั น้ี การศกึ ษาระดับ ม.ปลาย มากที่สุด จำนวน 88 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 41.31 อาชพี อาชพี ร้อยละ รบั จ้าง จำนวน 69.01 เกษตรกรรม 147 19.72 ผู้นำชุมชน คา้ ขาย 42 - รบั ราชการ - - นกั เรยี น/นกั ศึกษา - - อื่นๆ ระบุ - 11.27 รวม 24 - - 100 213 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ใน ครัง้ น้ี เป็นอาชพี รับจา้ งมากทส่ี ุด จำนวน 147 คน คดิ เป็นร้อยละ 69.01

42 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู ความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อโครงการ 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.49 อยูใ่ นระดับ น้อยท่ีสดุ 1.50 – 2.49 อยู่ในระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยูใ่ นระดับ ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยู่ในระดบั มาก 4.50 - 5 อยใู่ นระดบั มากที่สุด 2.2 เกณฑ์การให้คะแนน 5 อยใู่ นระดับ มากทส่ี ดุ 4 อยู่ในระดับ มาก 3 อย่ใู นระดับ ปานกลาง 2 อยู่ในระดับ น้อย 1 อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ขอ้ รายการ ประเมิน (คน) มากท่สี ดุ 5 1 กิจกรรมที่จดั สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ 213 197 2 เน้ือหาของสอ่ื การเรยี นรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ 213 183 3 การจัดกิจกรรมมสี อ่ื การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย 213 206 4 กิจกรรมสง่ เสริมการมีมนุษย์สัมพนั ธอ์ นั ดตี ่อกัน 213 195 5 สถานทจ่ี ัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 213 184 6 ระยะเวลาการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 213 187 7 ท่านมีความประทบั ใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมคร้งั น้ี 213 191 8 การประชาสัมพันธ์และชวนเชิญ 213 194 9 ความเหมาะสมวสั ดุ/อปุ กรณใ์ นการจัดกิจกรรม 213 189 10 การนำประโยชน์ไปใชใ้ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในคร้งั น้ี 213 186 11 ทา่ นคดิ วา่ ควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเน่ือง 213 194 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปท่านยินดเี ข้าร่วมโครงการน้ีอีก 213 203 รวมท้ังหมด 2556 2209 ร้อยละ 100 86.42

43 ระดบั ผลการประเมิน เฉลย่ี S.D. ประมวล รอ้ ยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสุด ผล 98.31 97.00 4 321 99.34 97.56 14 2 0 0 4.92 0.31 มากที่สุด 96.90 97.37 28 2 0 0 4.85 0.38 มากที่สดุ 97.65 7 0 0 0 4.97 0.18 มากทส่ี ุด 97.84 10 8 0 0 4.88 0.43 มากทส่ี ุด 97.00 96.90 25 4 0 0 4.85 0.41 มากทส่ี ดุ 98.03 99.06 24 2 0 0 4.87 0.37 มากทส่ี ุด 93.83 19 3 0 0 4.88 0.36 มากที่สุด 15 4 0 0 4.89 0.37 มากทีส่ ุด 16 8 0 0 4.85 0.45 มากท่สี ุด 21 6 0 0 4.85 0.43 มากที่สดุ 14 6 0 0 4.90 0.41 มากทส่ี ดุ 10 0 0 0 4.95 0.21 มากทส่ี ดุ 203 45 0 0 4.69 0.41 มากที่สดุ 7.94 1.76 0 0

44 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมสุภาษิต สำนวนไทย ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจใน ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 93.83 ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ -

45 บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การบรู ณาการการเรยี นรู้ • มีการนำความร้ทู ี่ได้รบั ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวันได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป มีนิสัยรักการอ่าน และมีความคิด สรา้ งสรรค์ มีนสิ ยั รักการอา่ นนำไปส่กู ารเรยี นรู้ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ให้ดขี ึน้ ความรว่ มมือของกลุ่มเปา้ หมายและเครือขา่ ย - การมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย - การสนบั สนุนให้ภาคเี ครือข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั การนำความรู้ไปใช้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปเข้าถึง และมีโอกาสได้อ่าน หนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดขี ึ้น การดำเนนิ งานทว่ั ไป เชงิ ปริมาณ - กลมุ่ เป้าหมาย นกั เรยี น นกั ศึกษา และประชาชนท่วั ไป จำนวน 180 คน - จำนวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนท่ัวไป จำนวน 213 คน 1) ชาย จำนวน 65 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.52 2) หญิง จำนวน 148 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69.48 เชงิ คณุ ภาพ 1. นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทั่วไปเขา้ ถึง และมีโอกาสไดอ้ ่านหนังสือ 2. นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทั่วไปเข้ามารับบริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากขึ้น 3. นักเรยี น นักศกึ ษาและประชาชนทั่วไปมคี วามรู้ความเข้าใจการเขา้ ถึงแหล่งสาร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 4. นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปมีนิสัยรกั การอา่ นนำไปสู่ การเรียนรู้ และ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ีข้นึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook