Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ห้องสมุดประชาชนประจำตำบล 65.2

ห้องสมุดประชาชนประจำตำบล 65.2

Published by waryu06, 2022-08-26 09:03:47

Description: ห้องสมุดประชาชนประจำตำบล

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วนั ท่ี สิงหาคม ๒๕๖๕ เรื่อง รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการหอ้ งสมุดประชาชนประจำตำบล Tambon Library เรยี น ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำโโครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล Tambon Library ในระหว่างเดือนเมษายน ถึง กันยายน ๒๕๖๕ ณ กศน.ตำบลทั้ง ๙ แห่ง เพื่อสร้างนิสัยรักการ อ่าน เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้องสมุดประชาชนประจำตำบล จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความ สะดวกต่อการใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่านมากขึ้น บดั นโ้ี ครงการดงั กล่าวได้ดำเนนิ การเสรจ็ ส้ินเรียบร้อยแล้ว ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการดังกล่าว รายละเอียดตามเอกสารท่ีแนบมาพรอ้ มน้ี จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ (นางวารี ชูบวั ) บรรณารักษ์ชำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในระหว่างเมษายน ถึง กันยายน 2565 เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปรับปรุงห้องสมุดประชาชนประจำตำบล จัดบรรยากาศและดำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่ง เรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเกิดนิสัยรักการอ่านมากขึ้น นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน คร้งั ต่อไป ผูจ้ ัดทำ สงิ หาคม 2565

สารบัญ หนา้ 1-8 บทที่ 1 บทนำ 9 - 27 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 28 - 33 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินการตามโครงการ 34 - 38 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 39 – 41 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ บรรณานกุ รม ภาคผนวก รูปภาพ รายชอ่ื แบบประเมินความพงึ พอใจ คำสัง่ โครงการ คณะผจู้ ัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชอื่ โครงการ โครงการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมที่ 6 โครงการหอ้ งสมุดประชาชนประจำตำบล 2.  สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเปา้ หมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพอ่ื พฒั นาคนในทุกมติ ิและในทุกชว่ งวัยให้เป็นคนดี เกง่ และมคี ุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชว่ งวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รักษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมืองดีของชาติ มีหลกั คิดทีถ่ กู ต้อง มที กั ษะที่จา่ เป็นในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3และอนรุ กั ษภ์ าษาท้องถิ่น มนี ิสัยรักการเรยี นรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนื่องตลอดชีวิต ส่กู ารเปน็ คนไทยท่ีมที กั ษะสูง เป็นนวตั กร นักคดิ ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอ่ืน ๆ โดย มสี ัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบด้วย (1) ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัย เรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมใหผ้ ูส้ ูงอายุเป็นพลังในการขบั เคล่ือนประเทศ ประเดน็ ท่ี 6 การสรา้ งสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก หอ้ งเรียน และ (4) การพัฒนาระบบฐานข้อมลู เพ่อื การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์  สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์ 3.1 ปรบั เปล่ยี นค่านยิ มคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินยั จติ สาธารณะ และพฤติกรรม ทพ่ี งึ ประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุข อย่างจริงจัง 3.2 พฒั นาศักยภาพคนให้มีทักษะความรูแ้ ละความสามารถในการดำรงชีวิตอยา่ งมคี ุณคา่ 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทกั ษะการทำงานและการใช้ชีวิตท่ีพร้อมเขา้ สู่ตลาดงาน

2 3.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 3.3.6 จดั ทำสอื่ การเรยี นรู้ที่เป็นส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละสามารถใช้งานผา่ นระบบอปุ กรณ์ส่อื สารเคลื่อนท่ี ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลิตหนงั สอื สื่อการอา่ นและการเรียนรูท้ ี่มีคุณภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมดุ โบราณสถาน อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ รวมท้งั ส่งเสรมิ ใหม้ ีระบบการจัดการความรู้ทเี่ ป็นภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่  สอดคล้องกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศึกษาธิการ) 1. การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพื่อคุณวฒุ ิ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความรอบรแู้ ละทกั ษะชวี ติ เพ่ือเป็นเครอื่ งมือใน การดำรงชวี ิตและสรา้ งอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ ภาวะและทัศนคติที่ดีตอ่ การดูแลสุขภาพ 1.2 การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต - จดั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกชว่ งวัย เน้นส่งเสรมิ และยกระดับทกั ษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน กศน. จดุ เนน้ การดําเนนิ งานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตที่เน้นการพัฒนาทักษะทีจ่ ําเป็นสำหรับแตล่ ะชว่ งวยั และ การจดั การศึกษาและการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบริบทพ้ืนท่ี 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชวี ิตทเ่ี หมาะกับชว่ งวัย 3. ดา้ นองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรคู้ ณุ ภาพ 3.3 ปรบั รปู แบบกิจกรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ท่เี น้น Library Delivery เพอื่ เพ่ิมอัตราการอ่าน และการรูห้ นงั สือของประชาชน 3.5 สง่ เสรมิ และสนับสนุนการสรา้ งพ้ืนที่การเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- Learning Space เพือ่ การสร้างนิเวศการเรียนรู้ใหเ้ กิดขึ้นสังคม  สอดคล้องกบั ตวั ชี้วัดการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.1 ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

3 อัธยาศัย ตวั บ่งช้ีท่ี 2.1 การกำหนดโครงการหรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.2 ผ้จู ัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตาม ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.3 สอื่ หรือนวตั กรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้ือต่อการจดั การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ผู้รับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา ตวั บง่ ช้ีที่ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเ่ี น้นการมสี ว่ นรว่ ม ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตวั บ่งชี้ที่ 3.7 การสง่ เสริม สนับสนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา ตวั บ่งช้ีท่ี 3.8 การสง่ เสริม สนับสนนุ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพงึ พอใจ ควรเพิม่ ขอ้ เหตผุ ล ข้อคิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นั้นจงึ ให้คะแนนมากหรอื นอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถปุ ระสงคเ์ ป็นรปู ธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เน่ืองและนำผลการประเมินท่ไี ดไ้ ปวเิ คราะหถ์ ึงอุปสรรค และนำไปวางแผน ปรับปรุง พัฒนาในปีต่อไป 3. หลักการและเหตุผล ห้องสมุดประชาชนและ กศน. ตำบล เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิติของประชาชนในชุมชน โดยเน้น การมีส่วนร่วมการ จัดการศึกษาของชุมชนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชน ได้รับการศึกษาตลอดชวี ติ อย่างทั่วถึงและมีคณุ ภาพ ครู กศน.ตำบลและบรรณารกั ษ์ จึงเป็นผู้ขับเคลื่อน ในการเป็น ผู้จัดการศึกษาการเรียนรู้ การพัฒนาการจัดกิจกรรม ในรูปแบบที่หลากหลายตรงกับความต้องการของชุมชน เพื่อ ยกระดับคุณภาพ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของ ประชาชน

4 ดังนี้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน จึงดำเนินการจัด ห้องสมุด ประชาชนตำบล จัดไว้เพื่อให้บริการสารสนเทศไปสู่ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนในพืน้ ท่ี ที่ไม่สามารถมาใชบ้ รกิ าร ในห้องสมุดประชาชนในตัวอำเภอได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในพื้นที่ได้รับความสะดวกในการเข้าร่วมการเรียนรู้จาก การศกึ ษา ตามอัธยาศัย 4.2. เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้รับสารสนเทศ อยา่ งแพร่หลาย 4.3. เพอ่ื ส่งเสริมใหน้ ักเรียน นักศกึ ษา และประชาชนประชาชนสามารถศึกษาคน้ คว้าได้ดว้ ยตนเอง กล้าคิด กลา้ แสดงออก และใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 4.4 เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้านการบริการห้องสมุดแก่ชุมชนของห้องสมุดประชาชนตำบลและ ห้องสมุดประชาชนอำเภอ ให้เปน็ ทร่ี ้จู ักในวงกว้าง 4.5 เพอื่ กระจายความรู้ ส่ือด้านการศึกษา และวัฒนธรรมไปสทู่ ้องถ่นิ 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จำนวน 150 คน เชงิ คณุ ภาพ 1. นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในพื้นที่ได้รับความสะดวกในการเข้าร่วมการเรียนรู้จาก การศึกษาตามอธั ยาศัย 2. นักเรียน นักศึกษา และประชาชนประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้รับสารสนเทศ อยา่ งแพร่หลาย 3. สง่ เสริมให้นักเรียน นกั ศึกษา และประชาชนประชาชนสามารถศึกษาค้นควา้ ได้ด้วยตนเอง กล้า คิดกลา้ แสดงออก และใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 4. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้านการบริการห้องสมุดแก่ชุมชนของห้องสมุดประชาชนตำบลและ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ ให้เปน็ ที่รจู้ ักในวงกว้าง 5. กระจายความรู้ สือ่ ด้านการศกึ ษา และวฒั นธรรมไปสทู่ อ้ งถิ่น

6. วธิ ดี ำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ ก 1. ขนั้ เตรียมการ กล่มุ เป้าหมาย เพื่อจัดประชุมครูและบุคลากรทางการ ครแู ละบคุ ลากร ช 2. ประชมุ กรรมการ ศกึ ษา กศน. อำเภอชนแดน ว ดำเนินงาน - ช้ีแจงทำความเขา้ ใจรายละเอียด จำนวน 21 คน 3. จัดเตรยี มเอกสาร โครงการ วสั ดุ อุปกรณ์ในการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนินโครงการ ครูและบคุ ลากร ดำเนนิ โครงการ - จดั ทำโครงการและแผนการดำเนินการ กศน. อำเภอชนแดน เพื่ออนุมัติ - แตง่ ตง้ั กรรมการดำเนนิ งานตาม จำนวน 21 คน โครงการ กรรมการฝา่ ยท่ีไดร้ บั เพอ่ื ประชุมทำความเข้าใจกบั กรรมการ ดำเนนิ งานทุกฝ่ายในการจัดกิจกรรม มอบหมาย โครงการและการดำเนินงาน เพื่อดำเนนิ การจดั ทำ จัดซื้อ วสั ดอุ ุปกรณ์ ท่ีใช้ในการดำเนนิ การ

5 กลุ่มเปา้ หมาย พืน้ ทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ชแ้ี จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ ชีแ้ จงวัตถุประสงค์ บทบาทหนา้ ท่ี กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซื้อวสั ดุอุปกรณ์ในการจดั โครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ ก กลุ่มเปา้ หมาย 4. ดำเนนิ การจดั กิจกรรม 1. เพอื่ ดำเนินการปรับปรงุ ภูมิทศั นห์ อ้ งสมุด 1.หอ้ งสมดุ ประชาชน ห 5. สรุป/ประเมนิ ผล ประชาชนประจำตำบลใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ ประจำตำบล จำนวน เ และรายงานผล โครงการ ของคนในชมุ ชน 9 แห่ง ต 2. จัดมมุ ตา่ งๆ ภายใน กศน.ตำบล เชน่ 2. นักเรยี น นกั ศกึ ษา ก มมุ หนังสอื พมิ พ์ มุมหนงั สือนอกเวลา มุม และประชาชนทวั่ ไป อินเทอรเ์ น็ต จำนวน 150 คน 3. จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านและการ เรียนรู้ เพอ่ื ใหก้ รรมการฝา่ ยประเมนิ ผลเก็บ ตามกระบวนการ รวบรวมข้อมลู และดำเนินการประเมินผล ประเมนิ โครงการ การจดั กิจกรรม 5 บท จำนวน 3 เลม่

6 กลมุ่ เปา้ หมาย พื้นทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชิงคณุ ภาพ) ห้องสมดุ ประชาชนประจำตำบลเปน็ แหล่ง กศน.ตำบลทงั้ 9 แหง่ เม.ย. ถงึ - ก.ย.65 เรยี นร้ขู องคนในชุมชน เปน็ แหล่งเรียนรู้ ตลอดชวี ติ พร้อมใหบ้ ริการแก่ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

7 7. วงเงินงบประมาณ ไมใ่ ช้ 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ยรายไตรมาส ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 - - - - 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ชำนาญการ ชื่อ - สกลุ : นางวารี ชบู ัว เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 เบอรโ์ ทรศัพทท์ ี่ทำงาน : 056 – 761667 อีเมลล์ : [email protected] ผู้ร่วมดำเนินการ ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางลาวนิ สเี หลือง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสุรัตน์ จันทะไพร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ตำแหนง่ ครปู ระจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ตำแหนง่ ครูประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปัญญา ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชน นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ตำแหน่ง ครูประจำศูนยก์ ารเรียนชุมชน นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธิ์ ตำแหน่ง นักจัดการงานท่ัวไป นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหนง่ พนกั งานบริการ นายอำพล เพชรสขุ

8 10. เครอื ข่าย 10.1 บา้ นหนงั สือชมุ ชนในพ้ืนทอ่ี ำเภอชนแดน 10.2 หมบู่ ้าน กศน.พอเพยี ง 10.3 หน่วยงานภาครฐั และเอกชน 10.4 กศน.ตำบลทุกแหง่ 11.โครงการทเ่ี กยี่ วข้อง 11.1 โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 11.2 โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 11.3 โครงการประชาสมั พนั ธ์งาน กศน. 11.4 โครงการส่งเสริมและพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครือข่าย 11.5 โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ 12.1 เปน็ แกนนำในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน และสรา้ งเครือข่ายอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 12.2 เปน็ ผู้ท่สี ามารถจัดกจิ กรรมเพ่อื ส่งเสริมการอา่ นได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของพนื้ ท่ี เหมาะสมกับ ชว่ งวยั เพศ และอาชพี ของกลมุ่ เปา้ หมาย 12.3 เป็นผู้ท่ีสามารถทำงานรว่ มกับหนว่ ยงาน และภาคีเครอื ข่ายได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 13. ดชั นวี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ (outcome) เด็ก เยาวชน และประชาชนท่ัวไปรกั การอ่าน เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ที่ดีขน้ึ 14. การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพงึ พอใจผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม / โครงการ 14.2 สรุป/รายงานผลการจัดกจิ กรรม

9 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กศน.ตำบล: แหล่งเรยี นรูข้ องชุมชน ความเปน็ มา การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2552-2561) ได้ให้ความสำคัญเรื่องการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและ การเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารจัดการ เพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่า งมี คุณภาพ ให้บรรลวุ สิ ยั ทศั นท์ ี่กำหนดไว้ “คนไทยไดเ้ รยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ” กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงได้มนี โยบายให้มีการจัดต้ัง กศน.ตำบลข้ึนเพื่อให้เปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ระดบั ตำบล เป็นแหลง่ เรียนรู้ สำหรับประชาชนเพอ่ื ประชาชนได้ใช้ในการแสวงหาความรเู้ พ่ือใหเ้ กิดสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ความหมาย กศน.ตำบล หมายถึง หน่วยจดั กจิ กรรมการเรียนรู้การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี ตง้ั อยใู่ นระดับตำบล/แขวง หลกั การ หลักการทำงาน กศน. ตำบล ยึดชุมชนเป็นฐานในการทำงานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหท้ ุกภาคสว่ นในชมุ ชน/สงั คม เขา้ มามสี ่วนรว่ มเป็นภาคีเครือขา่ ยในการ ดำเนนิ การจดั กจิ กรรม กศน. ตำบล ทง้ั ในฐานะผูใ้ หบ้ รกิ าร ผรู้ ับบริการ มสี ่วนร่วมเปน็ เจ้าของ ร่วมคดิ ร่วมทำ ร่วม แก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนและ ชุมมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตำบล ที่เป็นคนในชุมชนให้การส่งเสรมิ สนับสนุน ติดตามดูแลและร่วมประเมินผล การดำเนนิ งาน กศน. ตำบล วตั ถุประสงค์ กศน. ตำบล จัดตั้งข้ึนโดยมวี ัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้ ประชาชนไดร้ ับการศึกษาตลอดชีวิตอย่างท่วั ถึงและมีคณุ ภาพ 2) เพื่อสร้างและขยายภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในชุมชน 3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี เครอื ขา่ ย

10 4) เพื่อประสานและเชื่อมโยงการดำเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนและภาค ประชาชน การดำเนินงาน กศน.ตำบล 1. การบริหารจดั การ มีแนวทางในการดำเนนิ งาน ดงั น้ี 1) ด้านอาคารสถานที ปรับปรุงอาคารสถานที่ทั้งภายในและภายนอกให้มีความพร้อมในการให้บริการให้มี ความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย เหมาะสมและมีบรรยากาศเอื้อต่อการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) ด้านวัสดุ ครุภัณฑ์ จัดหา วัสดุ และครุภัณฑ์ พื้นฐานเพื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย เพียงพอกับความต้องการ เช่น คอมพวิ เตอร์สำหรับบริการสืบค้นข้อมูล โปรเจก็ เตอรเ์ ครื่องเล่นดวี ีดี อุปกรณ์รบั สัญญาณดาวเทียม วิทยุ ฯลฯ และดแู ล บำรงุ รักษาวัสดุ และครภุ ณั ฑ์ ให้อยใู่ นสภาพทีพ่ รอ้ มใช้งาน 3) จัดหาส่ือการเรยี นรปู้ ระเภทตา่ ง ๆ ทง้ั สอื่ เอกสารสิง่ พมิ พ์ และ สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4) ด้านบคุ ลากร หัวหน้า กศน. ตำบล ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุน และประสานการทำงานกับครู ศรช. ชุมชนและภาคี เครือข่าย ปฏิบัติหน้าที่ประจำ ในพื้นที่ กศน. ตำบล ที่รับผิดชอบได้รับการอบรมพัฒนาอย่างเป็นระบบและ ต่อเนอ่ื งตามแผนท่ี อำเภอหรือจงั หวดั กำหนด ครู กศน. จัดกิจกรรม กศน. ในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่รับผิดชอบ ประสานการทำงานร่วมกับหัวหน้า กศน. ตำบล ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ย คณะกรรมการ กศน. ตำบล ดำเนินการสรรหา คณะกรรมการ กศนตำบล ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงาน กศน. กำหนด สร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่คณะกรรมการ กศน. ตำบล เกี่ยวกับการดำเนินงาน กศน. ตำบล เสริมสรา้ งแรงจงู ใจและความพร้อมในการเข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรม กศน. ตำบล.ทำหนา้ ที่เป็นเลขานุการ ในการจัดประชุมคณะกรรมการ กศน. ตำบล อาสาสมัคร กศน. ตำบล ดำเนินการสรรหาและ เสริมสร้างแรงจูงใจ ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด กจิ กรรม กศน. ตำบล ภาคีเครือข่าย แสวงหา รวบรวมและจัดทำทำเนียบภาคีเครือข่ายในระดับตำบล สร้างความเข้าใจให้แก่ ภาคีเครือข่ายเกี่ยวกับการดำเนินงาน กศน.ตำบล เสริมสร้างแรงจูงใจและความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดกจิ กรรม กศน.ตำบล

11 2. กจิ กรรมหลักของ กศน. ตำบล 1) ศูนยข์ ้อมลู ขา่ วสารของชุมชน (Information center) 1.1) พัฒนาระบบฐานข้อมแู ละสารสนเทศระดับชุมชน ให้ครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทนั สมัยโดยใช้แบบเก็บข้อมูล ของสำนักงาน กศน. จัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ประมวลผลเป็นรายตำบล จัดทำร ะบบฐานข้อมูล สารสนเทศ และนำมาใช้ในการบริหารจัดกจิ กรรม 1.2) จดั ทำแผนพัฒนคุณภาพ กศน. ตำบล และแผนปฏิบัติการประจำปี นำเสนอแผน ต่อคณะกรรมการ กศน. ตำบล และภาคีเครอื ขา่ ย และเสนอแผนให้ กศน. อำเภอ /เขตพจิ ารณา อนมุ ตั ิ 1.3) เสนอความรขู้ ้อมูลข่าวสารสารสนเทศของชุมชนให้ถูกต้องและทันสมัยโดยเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มี ความจำเปน็ ตอ่ การดำรงชวี ิตประจำวนั เช่นข้อมลู เกยี่ วกบั แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชนการตลาดชมุ ชน สินคา้ ชมุ ชน ฯลฯ จัดทำข้อมูลสารสนเทศเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เอกสาร แผนภูมิ แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้ 2) ศูนยส์ รา้ งโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) 2.1) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย โดยประสานงาน/วางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย ในชุมชน เช่นคณะกรรมการชุมชน อบต. พัฒนาที่ดิน สถานีอนามัย พัฒนากรตำบล สหกรณ์ ปศุสัตว์ประมง ตำรวจกำนัน ผู้ใหญบ่ ้าน อสม. อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน วัด มสั ยดิ โรงเรียน ฯลฯ เพ่ือจัดกจิ กรรมบริการชมุ ชน รวบรวมและ เผยแพรอ่ งค์ความรขู้ องภาคเี ครือข่าย ในการจดั การเรียนรู้ 2.2) เชือ่ มโยงรปู แบบการให้บริการของหน่วยงานภาคีเครือขา่ ย กับ กศน. ตำบลโดย สง่ เสริมและหรือจัด กจิ กรรมรว่ มกับภาคีเครือข่าย เชน่ ศนู ยซ์ ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)(สอศ.) ชมรมคุ้มครองผบู้ ริโภค (สคบ.) ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (กระทรวงไอซีที) มุมวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต (สสวท.) บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ธนาคารเคล่ือนที่ การป้องกนั บรรเทาสาธารณภัย อำเภอเคลื่อนที่ ฯลฯ พฒั นารูปแบบกจิ กรรมให้หลากหลายและ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเพื่อสร้างโอกาส การเรียนรู้ให้กับประชาชน 2.3) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารโดยจัดทำเว็บไซด์ กศน.ตำบลใช้ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการติดต่อกับผู้เรยี น/ผูร้ ับบริการ สืบค้น รวบรวมและการเผยแพร่ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และ แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ 3) ศนู ยก์ ารเรียนชุมชน (Learning Center) 3.1) ออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมการศึกษา ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายโดย กศน. ตำบล และกศน. อำเภอ ร่วมกับกลุ่มเป้าหมายในการออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมหรือโครงการ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน. กิจกรรม/โปรแกรมหรือโครงการควรมีลักษณะที่บูรณาการระหวา่ ง วิถชี ีวิต การทำงานและการเรียนรู้

12 3.2) จัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหแ้ กป่ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายในชมุ ชน 3.2.1) ส่งเสริมการรู้หนังสือ โดยจัดทำแผนการแก้ปัญหาผู้ไม่รู้หนังสือสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ใน ตำบลอย่างชัดเจน จัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ ในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ – ๕๙ ปี เป็นลำดับแรก 3.2.2) การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำแผนยกระดับการจัดการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจำแนกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน เช่น ผู้เรียนที่ออกกลางคัน เด็กเร่ร่อน ผูส้ งู อายุ ผดู้ ้อยโอกาส ผพู้ กิ าร กลมุ่ ผยู้ า้ ยถ่ิน ผนู้ ำท้องถน่ิ กลุ่มอาชีพประชากรวัยแรงงาน เป็นต้น วางแผนการจัด การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และรายงานผลการดำเนินงาน 3.2.3) การศึกษาต่อเนื่องการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จะต้องให้ความสำคัญและดำเนินการ จัด การศึกษาตอ่ เนื่องประเภทการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพเป็นลำดับแรกโดย จดั ทำแผนจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/ หลักสูตรอาชีพระยะสั้น ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและชุมชนโดยเน้นการเพิ่มทักษะทางด้าน เทคโนโลยสี มัยใหม่และอาชีพใหมท่ ่สี อดคลอ้ งกับสภาวการณ์ปจั จบุ นั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดทำแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ความจำเป็นของผู้เรียนและชุมชน เช่น การป้องกันสาธารณภัย สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรพั ย์สนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เปน็ ต้น การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน จดั ทำแผนการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนใช้รูปแบบ ท่เี หมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย โดยการฝึกอบรม การประชมุ สัมมนา การจัดเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสม เช่น จัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย จัดกระบวนการเรียนรู้ในการเป็นพลเมืองดีของชุมช น สังคม ของประเทศ เพื่อนำไปสู่ความปรองดองสมานฉันท์ เศรษฐกิจชุมชน และการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ จัดการศึกษาตอ่ เน่ืองโดยใช้หลักสูตรบรู ณาการ เพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยนื ตามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3.2.4) การศึกษาตามอัธยาศัย การส่งเสริมการอ่านโดย จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน ในรูปแบบต่างๆ เช่น ครอบครัวรักการอ่าน มุมส่งเสริมการอ่านในชุมชน กศน.ตำบลเคลื่อนที่ อาสาสมัคร สง่ เสรมิ การอ่าน กระเปา๋ ความรู้สชู่ ุมชน หีบหนังสอื สู่หมู่บา้ น จุดบรกิ ารการอา่ นชมุ ชน มุมอ่านหนงั สือท่ที ่ารถ ร้าน เสรมิ สวย รา้ นตดั ผม สถานีอนามัย เป็นตน้ จัดบริการสื่อ โดยจัดบริการสื่อประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมและหลากหลาย เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ (นสพ.) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสาธิต สื่อทดลอง วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เป็นต้น บริการ Student Channel เพื่อเสริมศักยภาพให้กับโรงเรียนดีประจำตำบล บริการการศึกษาทางไกล (ETV) ให้กับนักศึกษา กศน. และ ประชาชนท่วั ไป

13 4) ศนู ยช์ ุมชน (Community Center) จัดและส่งเสริมให้ กศน. ตำบล เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชนเช่น เวทีชาวบ้าน สภากาแฟ สถานท่ีพบปะเสวนา แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ตลาดนดั อาชพี กจิ กรรมศาสนา วฒั นธรรม เวทปี ระชาธปิ ไตย กีฬา ฯลฯโดยครู กศน.ตำบลเป็นผู้ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้ง อบต. อบจ. เทศบาล ตลอดจนภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทงั้ อาสาสมัคร ในชุมชน เชน่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริม การอ่าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้าราชการบำนาญ เยาวชน ผู้นำท้องถิ่น ในการจัดกิจกรรม เกิดกระบวนการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนื่องไปสู่สงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3. การมีส่วนรว่ มของชุมชน การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน มีแนวทางในการดำเนินการ ดงั นี้ 1) ประชาสมั พันธเ์ พื่อสรา้ งกระแสใหป้ ระชาชนและทกุ ภาคสว่ นของชุมชนเห็นความสำคัญและเข้าร่วมใน การดำเนินกจิ กรรม กศน. ตำบล และจัดให้มกี ารยกย่องเชิดชเู กยี รติ เป็นต้น 2) สง่ เสริมให้ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาและพฒั นางาน กศน.ตำบล อยา่ ง ต่อเน่อื งและมสี ว่ นรว่ มในการนิเทศ ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งาน กศน. ตำบล 3) เสรมิ สรา้ งและพฒั นาระบบเครือขา่ ยการเรียนรู้ ภายในตำบล และระหว่างตำบล เช่น แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิ ปัญญาท้องถนิ่ โรงเรยี นดีประจำตำบลศูนย์ ICT ตำบล เป็นต้น 4. การนิเทศ ตดิ ตามและรายงานผล 1) การนเิ ทศ ตดิ ตามผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี โดยจัดทำแผนการนเิ ทศ ตดิ ตามผล การจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ี ประสานภาคีเครอื ข่ายร่วมนิเทศ ติดตามผล จัดใหม้ ปี ระชานเิ ทศกิจกรรมในพ้ืนท่ี 2) การรายงานผลการจัดกจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี โดยจัดทำปฏิทินการรายงานผลการจดั กจิ กรรมจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมผลการจัดกจิ กรรม จดั ทำรายงานผลการปฏบิ ัติงาน รายงานข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ ง ตามแบบและระยะเวลาทีก่ ำหนด และรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานประจำปีของ กศน. ตำบล บทบาทหน้าท่ี กศน.ตำบล มีบทบาทสำคญั ในการจัดและสง่ เสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชน และสรา้ งสังคมแห่ง การเรยี นรใู้ นชุมชน โดยมหี ัวหนา้ กศน.ตำบล เปน็ กลไกหลกั ในการขับเคล่ือนและมีหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องทำหน้าที่ สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ดงั นี้ 1. บทบาทหนา้ ทขี่ องหัวหนา้ กศน. ตำบล 1) การวางแผนจัดทำฐานข้อมลู ชุมชน จัดทำแผนพัฒนา กศน. ตำบล และจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี 2) การจัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ได้แก่ การส่งเสริมการรู้หนังสือการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และ การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง

14 จัดและส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ ส่งเสริมการอ่าน จัดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ บริการข่าวสารข้อมูล และสื่อที่หลากหลาย จัดและส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุดประชาชนตำบล ห้องสมุดชุมชน มุม หนงั สือบ้าน 3) บริการการเรยี นรใู้ นชุมชนร่วมกับภาคีเครือขา่ ย – ศูนยซ์ ่อมสร้างเพื่อชมุ ชน (Fix it Center) รว่ มกับ (สอศ.) – ชมรมคุม้ ครองผ้บู ริโภค ร่วมกบั (สคบ.) – ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชุมชน ร่วมกับ (กระทรวงไอซที ี) – มุมวิทยาศาสตร์เพ่ือชวี ิตร่วมกับ (สสวท.) – หนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นที่ รว่ มกบั โรงพยาบาล สถานีอนามัย – ธนาคารเคลอื่ นท่ี – การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ร่วมกับกรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย -อำเภอเคล่อื นท่ี รว่ มกับอำเภอ 4) สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคี เครือข่าย องค์กรชุมชนผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัคร สง่ เสรมิ การอา่ น เปน็ ตน้ 5) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดำเนินงานของ กศน. ตำบล ในรูปแบบต่างๆ 6) รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน รายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามแบบรายงานและระยะเวลาที่กำหนด และรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจำปขี อง กศน. ตำบล 2. บทบาทหนา้ ท่ีของ กศน. อำเภอ / เขต ท่ีมีต่อ กศน. ตำบล 1) สรา้ งความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับนโยบายจดุ เนน้ ของ สำนกั งาน กศน. 2) สนับสนุนงบประมาณตามแผนปฏบิ ัติงานประจำปี ของ กศน. ตำบล 3) จดั ซ้อื จดั หาส่อื วัสดุ อุปกรณ์ ท่จี ำเปน็ ต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และการใหบ้ ริการ 4) พฒั นาหัวหนา้ กศน. ตำบล อาสาสมัคร กศน. ตำบล และคณะกรรมการ กศน. ตำบล 5) ประสานภาคเี ครอื ข่ายเข้าร่วมจัดกิจกรรมระดบั ตำบล 6) ร่วมกบั กศน. ตำบล จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 7) จดั และพฒั นาระบบงานธุรการของ กศน. ตำบล 8) นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน กศน. ตำบล 9) สรปุ วิเคราะห์ ผลการดำเนนิ งาน กศน. ตำบล ในระดบั อำเภอ รายงานสำนกั งาน กศน. 10) เสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัตงิ าน ในรปู แบบต่างๆ

15 3. บทบาทหนา้ ทีข่ อง สำนกั งาน กศน. จงั หวดั /กทม. ท่มี ีตอ่ กศน. ตำบล 1) ชแี้ จงนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงาน 2) สนับสนนุ งบประมาณตามแผนปฏบิ ตั งิ านประจำปี ของ กศน. ตำบล 3) พฒั นาหัวหนา้ กศน. ตำบล อาสาสมคั ร กศน. ตำบล และคณะกรรมการ กศน. ตำบล 4) ประสานภาคีเครือขา่ ยระดบั จงั หวัดเข้าร่วมจัดกิจกรรมระดับตำบล 5) จดั และพัฒนาระบบงานธุรการของ กศน. ตำบล 6) กำกับ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน กศน. ตำบล 7) เสรมิ สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัตงิ าน ในรปู แบบตา่ งๆ 4. บทบาทหนา้ ทีข่ อง สถาบัน กศน. ภาค ทม่ี ตี อ่ กศน. ตำบล 1) สนับสนุนส่อื การเรียนรู้ 2) ร่วมพฒั นาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษานอกระบบ 3) จัดเวทแี สดงผลงานทางวิชาการระดับภาค 4) ร่วมพัฒนาครู กศน. ตำบล 5) วจิ ยั เพอ่ื การพัฒนาการดำเนินงาน กศน. ตำบล กศน.ตำบล หมายถงึ หนว่ ยจดั กิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ ต้งั อยู่ในระดบั ตำบล/แขวง การส่งเสริมการอา่ นโดย จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ในรูปแบบต่างๆ เชน่ ครอบครวั รักการอา่ น มุมสง่ เสรมิ การอา่ นในชมุ ชน กศน.ตำบลเคลอื่ นท่ี อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน กระเป๋า ความร้สู ูช่ มุ ชน หีบหนังสอื สหู่ มูบ่ ้าน จุดบรกิ ารการอ่านชุมชน มมุ อา่ นหนังสือท่ที ่ารถ รา้ นเสรมิ สวย รา้ นตดั ผม สถานอี นามยั เปน็ ตน้ จัดบรกิ ารสอื่ โดยจดั บรกิ ารสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมและหลากหลาย เช่น สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ (นสพ.) สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอ่ื สาธิต สอ่ื ทดลอง วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เปน็ ต้น บรกิ าร Student Channel เพอื่ เสริม ศักยภาพใหก้ บั โรงเรยี นดีประจำตำบล บริการการศกึ ษาทางไกล (ETV) ให้กบั นักศึกษา กศน. และประชาชนทวั่ ไป กศน.ตำบล เป็นหน่วยงานในสังกดั กศน. อำเภอ มีฐานะเป็นหนว่ ยจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยเพื่อสง่ เสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชนและสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรใู้ นชมุ ชน หอ้ งสมดุ ประชาชนหรือห้องสมุดประจำตำบลเปน็ ห้องสมดุ สาธารณะท่ีตั้งขนึ้ เพ่ือให้บริการประชาชนซึ่ง อย่ใู นชุมชนต่างๆ ในประเทศไทยมาเป็นเวลายาวนาน บทบาทหนา้ ท่ีของห้องสมดุ ประชาชนมีท้งั ด้านการให้ข้อมูล ข่าวสาร ต่างๆ การศึกษา การวิจัย ศิลปะและวัฒนธรรม สันทนาการ และนอกจากนั้นยังเป็นสถาบันบริการ สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ของการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึง การศึกษา ตลอดชวี ติ ภารกิจหลักของห้องสมุดประชาชน ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ การอ่านของประชาชนใน ชมุ ชน ซงึ่ กิจกรรมการ ส่งเสริมการอ่านนั้น จะสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้ใชบ้ ริการห้องสมุด และ เหมาะสมกับผู้ใช้บริการทั้งด้านเพศ วัย ศาสนา เชื้อชาติ และอาชีพ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านมีมากมาย หลายประเภท เช่น กิจกรรมสัปดาห์หนังสือเพ่ือ

16 เกษตรกร กิจกรรมบรรณารักษ์สัญจร กิจกรรมส่งเสริม การอ่านบ้านหนังสืออัจฉริยะ กิจกรรมหนังสือของฉัน แบง่ ปันกนั อา่ น กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื พ่อบา้ นแมบ่ า้ น กจิ กรรมเลา่ นทิ านเพอ่ื สง่ เสริมการอา่ น เปน็ ตน้ ความสำคญั ของห้องสมุดและแหล่งเรยี นรู้ ความหมายของห้องสมดุ คำว่า “ห้องสมุด” มีคำที่ใช้กันอยู่หลายคำในประเทศไทย สมัยก่อนเรียกส่า “หอหนังสือ” ห้องสมุดตรง กับภาษาอักฤษวา่ Library มาาจากศัพท์ภาษาละตนิ ว่า Libraria ห้องสมุด คือ สถานที่รวยรวมสรรพวิทยาการต่างๆ ซึ่งได้บันทึกไว้ในรูปแบบหนังสือ วาสาร ต้นฉบับ ตัวเขียน สิ่งตีพิมพ์อื่นๆ หรือโสตทัศนวัสดุ และมีการจัดอย่างมีระเบียบเพื่อบริการแก่ผู้ใช้ ในอันที่ส่งเสริมการ เรียนรู้และความสรรโลงใจตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้จัดหาและ จดั เตรียมให้บริการแก่ผใู้ ช้ห้องสมุด หอ้ งสมุดชุมชน/ห้องสมุดประชาชน เป็นรูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนประเภทหนึ่ง ซ่ึงปัจจุบันการดําเนินงานห้องสมดุ ประชาชนตำบล จัดตั้งขน้ึ โดยมจี ุดม่งุ หมายใหม้ ีการจัดการ เรียนรูแ้ ละจดั กจิ กรรมที่มคี วามยืดหยุ่นตามความต้องการของประชาชน เพื่อให้สามารถเรียนรู้ได้ ตลอดชีวิตและตอบสนองต่อความต้องการการเรียนรู้ของประชาชนในชุมชน ให้บริการ หนงั สือทกุ ประเภทตั้งแต่พัฒนาการของเดก็ เล็ก เยาวชนผสู้ นใจเฉพาะดา้ น มีบรกิ ารส่อื วารสารส่งิ พมิ พต์ ่าง ๆ ท่ี มี ความทนั สมัย และควรจัดให้มสี ่ือซ่ึงสามารถก่อให้เกิดลักษณะของการเรียนรทู้ รี่ ่ืนรมย์และมี ชวี ิตชีวา เช่น วีดิทัศน์ เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียงแผ่นเสียง ภาพสไลด์Iรวมถึงอินเตอร์เน็ตด้วย ก็ได้ แหล่งที่มาของหนังสือและส่ือ ประเภทต่าง ๆ นอกเหนือจากงบประมาณขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแล้ว ยังได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานเอกชน และประชาชนทั่วไป ที่ต้องการเห็นคนมีการ อ่านหนังสือและมีความรู้มากขึ้น ที่อ่านหนังสือ ประจำหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนอีกประเภทหนึ่งที่ เป็นที่ให้ประชาชนได้รับทราบข่าวสาร และ ความรู้ต่างๆ ส่งเสรมิการอ่านหนงัสอืและป้องกันการลืมหนังสือ รวมทั้งเพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน หนังสือของ ประชาชน ความสำคญั ของห้องสมุด ห้องสมุดเปน็ แหลง่ รวมรวมสรรพวิทยาตา่ งๆ หาลายสาขา สำหรบั บรกิ ารผทู้ ่ีต้องการศกึ ษาหาความรหู้ รือ ค้นคา้ วข้อมลู ต่างๆ ความสำคญั ของหอ้ งสมุดพอสรุปได้ ดังน้ี 1. หอ้ งสมดุ เป็นท่ีรวบรวมวิทยาการตา่ งๆ ทมี่ ีความสำคัญต่อการเรียนการสอน ซง่ึ ทงั้ ที่ผู้เรียนและผู้สอน ใช้เป็นสถานที่ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม ทำให้การเรียนการสอนทันสมัยอยู่เสมอ ทำให้ผู้สอนมีความรู้ใหม่ๆ และรอบรู้ในเรื่องที่สอนมากขึ้น ผู้เรียนสามารถเข้าไปค้นคว้าหาความรู้ในแขนงวิชาที่เรียนตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ.2542 ที่มุ่งจัดการเรียนการสอยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ห้องสมุดจึงกลายเป็น แหล่งข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการเรยี นการสอนมากยิ่งขึ้น ห้องสมุดต้องมีความสมบูรณ์ พร้อมที่จะให้ผู้เรียนและ ผ้สู อนใช้ เปน็ แหล่งคน้ ควา้ อย่างกวา้ งขวางและเพยี งพอต่อความต้องการ

17 2. หอ้ งสมดุ เป็นแหล่งสารนิเทศที่มีความสำคัญต่อการค้นคว้าวิจัย การเลอื กการอ่านหนังสือเพ่ือค้นคว้า หาความรู้ใหม่ ประดิษฐ์คิดค้นใหม่ได้โดยอิสระตามความสนใจของแต่ละบุคคลสามารถค้นหาคำตอบที่ต้องการ อย่างมีระบบวธิ ี โดยการใช้สารนเิ ทศต่างๆ ที่มีอยูใ่ นห้องสมุดเพ่อื ความสมบรู ณ์ ถูก๖องและเพิ่มคุณค่าของการวิจัย 3. ห้องสมุดเป็นแหล่งสารนิเทศที่เปิดโอกาสให้ทุกคนเลือกศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระตามความต้องการ ของแตล่ ะคนภายใตเ้ งือ่ นไขระเบียบจ้อบังคับของหอ้ งสมุดไมจ่ ำกัดสิทธิและโอกาสในการศึกษาคน้ คว้า 4. ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลที่ส่งเสริมการอ่านและค้นคว้าด้วยตนเอง การอ่านเป็นการพัฒนาความรู้ ความคิดประสบการณ์ ทักษะทางภาษา และการอ่านเป็นการศึกษาที่ไม่สิ้นสุด ห้องสมุดจึงเป็นสถานที่สำคัญต่อ การอา่ นหนังสือ ถอื เปน็ แหล่งขอ้ มูลสำหรับการอา่ นทีด่ ที สี่ ุดแหล่งหนึ่ง 5. หอ้ งสมดุ เป็นสถานที่สำหรบั การพฒั นาคุณภาพชีวติ เพราะเปน็ ศนู ยร์ วมความร้คู วามคดิ ที่ปิดโอกาสให้ ทุกคนแสวงหาความรู้ได้ตามต้องการเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษาและประชาชนให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ทำให้เกิดความคิดในการพัฒนางานอาชีพของตนและเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการป ระกอบ อาชพี รวมทัง้ เป็นแหลง่ สง่ เสริมความบนั เทงิ การอา่ นจึงเป็นการส่งเสริมคุณภาพชวี ติ ทดี่ ขี องประชาชน 6. ห้องสมุดเป็นสถานที่ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงามจาการที่สภาพสังคมและวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ทำให้มีการแลกเปลี่ยนและเลียนแบบวัฒนธรรมระหว่างชนชาติอย่างกว้างขวาง หอ้ งสมุดจึงกลายเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารความรูเ้ กี่ยวกับการอนุรักษว์ ฒั นธรรมของชาติให้คงอยู่ ห้องสมุด เป็นแหล่งรวบรวมสารนิเทศด้านสงั คมและวัฒนธรรมเพื่อเผยแพร่ให้อนุชนรุ่นหลงั ได้รู้จักและรักษาสืบต่อไป และ เป็นศูนย์รวมของคนในสังคมทีเข้ามาใช้ ห้องสมุดเป็นจำนวนมากทำให้ผู้ใช้รู้จักระเบียบ ข้อบังคับ และมารยาทใน การใช้ห้องสมุดร่วมกัน เป็นการสร้างวัฒนธรรมทีด่ ีงามอย่างหนึง่ และห้องสมุดยังเป็นศูนย์รวมกิจกรรมต่างๆ ของ สังคม เช่น การจดั นทิ รรศการวนั สำคญั ของชาติ 7. ห้องสมุดจะเป็นแหล่งข้อมลู ที่ผู้อ่านสามารถประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการเรียนรูไ้ ด้มากทีส่ ุด เนื่องจาก ห้องสมุดส่วนใหญ่เป็นแหล่งข้อมูลที่ให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าเป็นคลังแห่งความเรียนรู้ที่ให้อิสระแก่ผู้ใชเ้ พื่อนำมา เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาความเจริญก้าวหน้าและใช้ในการประกอบธุรกิจต่างๆ โดยผู้ใช้บริการ ไม่ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยในการไม่หาซื้อหนงั สือ เอกสาร ข้อมูลจากแหลง่ ตา่ งๆ จึงสามารถประหยัดค่าใชจ้ ่ายไดม้ าก จะ เห็นได้ว่าห้องสมุดมีความสำคัญกบั ผู้ใชห้ ้องสมุดอย่างมาก ถา้ ผใู้ ชร้ ้คู ณุ ค่าในสมบตั ิทุกช้ินท่ีมีอยู่ในห้องสมุด รู้จักใช้ อย่างถูกวิธี ระมัดระวังอย่างให้หนังสือ เอาสาร หรือสื่อสารนิเทศต่าง ๆ ในห้องสมุดฉีกขาดหรือสูญหาย ก็นับว่า ผู้ใช้ช่วยกันดูแลทรัพย์สมบัติส่วนรวมให้คงอยู่สืบไป อีกทั้งเป็นการฝึกนิสัยในการรู้จักระมัดระวังอยู่เสมอ ๆ จน กลายเปน็ นสิ ยั ท่ีตดิ ตัวผ้ใู ช้ตลอดไป

18 วัตถุประสงคข์ องห้องสมุด วตั ถุประสงคส์ ำคญั ของห้องสมดุ โดยทว่ั ไปมี 5 ประการ คือ 1. เพื่อการศึกษา (Education) ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมทรัพยากรสารนิเทศหลายรูปแบบทุกสาขาวิชาของ สถาบันการศึกษาทุกระดับ เป็นสถานที่ที่นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์และบุคคลทัว่ ไปทุกระดับตั้งแต่ชัน้ อนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาเขา้ ไปศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรูเ้ พิม่ เติมด้วยตนเองไดอ้ ย่างกว้างขวาง สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองนอกจากการเรียนการสอนในห้องเรียน ผู้ศึกษาจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ใน ห้องสมุดประกอบคำสอนของครูอาจารย์จึงมีความรู้อย่างสมบูรณ์ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาถึงชั้นสูงก็อาจใช้ห้องสมุด ศึกษาต่อไปตลอดชีพ เพราะหอ้ งสมดุ เป็นแหลง่ วิชาใหค้ ้นหาส่งิ ท่สี งสัยไดต้ ลอดเวลา 2. เพื่อให้ความรู้และข่าวสาร (Information) ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมสรรพวิทยาการทุกสาขา เปิดโอกาส ใหท้ ุกคนแสวงหาความรู้ ข่างสารต่าง ๆ อย่างกวา้ งขวาง ตามความสนใจของแตล่ ะคนอย่างไม่มีข้อจำกัด ห้องสมุด เป็นศูนย์กลางสำหรับนักศึกษาวิชาการใหม่ ๆ และติดตามข่างความเคลื่อนไหวทั้งภายในภายนอกประเทศทั่วโลก ทำให้เป็นคนทันสมัยทันโลก มีความคิดริเริ่มใหม่ ๆ ที่จะช่วยพัฒนาประเทศ ช่วยให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ มี ความรบั ผดิ ชอบ 3. เพอ่ื การคน้ คา้ วิจยั (Research) หอ้ งสมุดเปน็ ท่ีเกบ็ รักษาหนงั สือและวสั ดอุ ุปกรณ์ทุกชนิดไวส้ ำหรับ ใหบ้ รกิ าร ผทู้ ท่ี ำการวจิ ยั เรอ่ื งใหม่ ๆ ขน้ึ มาย่อมต้องค้นควา้ เร่อื งท่ีมีอย่เู ดิมเสยี ก่อน หอ้ งสมุดเปน็ ศนู ย์รวมของ ความรู้ ผูใ้ ช้สามารถเลือกศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการของตนเองอย่างกว้างขวา้ ง โดยเฉพาะในห้องสมดุ ของ สถาบันการศึกษาระดับอดุ มศึกษามหี น้าทีส่ ำคญั อยา่ งยิ่งประการหนง่ึ คือ ส่งเสรมิ การค้นควา้ และวจิ ัย จงึ ต้องจัดหา เอกสารทจี่ ำเปน็ สำหรับการค้นคว้าและวจิ ยั การคน้ ควา้ วจิ ยั จะชว่ ยใหเ้ กดิ พัฒนาการในวิชาการในสาขาตา่ ง ๆ 4. เพื่อความจรรโลงใจ (Inspiration) การอา่ นหนังสอื นอกจากเปน็ การรวบรวมข่างสารความรตู้ า่ ง ๆ แล้วยังสามารถให้ความสุขทางใจ เพราะห้องสมุดเปน็ แหล่งรวบรวมทรพั ยากรทั้งรูปของสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวสั ดุ ตา่ ง ๆ ส่งเสริมให้ผู้ใช้เกดิ ความรู้ความคิดสรา้ งสรรค์ เม่ือผูใ้ ช้ได้ใช้ประโยชน์จากวสั ดสุ ารต่าง ๆ ทม่ี ใี นห้องสมุดแล้ว อาจได้รับความประทับใจจนเกิดแรงบันดาลใจใหม้ ีความคดิ สร้างสรรคห์ รือเกิดความจรรโลงใจ ความเจริญงอกงาม ทางจติ ใจ สรา้ งสรรค์ความดีแกต่ นเองละสังคมทำให้เกดิ ความช่นื ชมในความคดิ ท่ดี งี ามของผอู้ ่นื

19 5. เพื่อนันทนาการ (Recreation) ห้องสมุดมิได้มีเฉพาะข่าวสารความรู้ทางวิชาการเท่านั้น แต่ยังมีความ เพลดิ เพลนิ ในรปู แบบต่าง ๆ ท่รี วบรวมไว้ให้บริการผู้ใช้หอ้ งสมุดให้ไดผ้ ่อนคลายและได้รบั ความเพลิดเพลินจากการ อ่าน ซึ่งถือว่าเป็นการพักผ่อนหย่อนใจที่ดีที่สุดทำให้คนเรารู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เป็นงานอดิเรกอย่าง หน่ึง ทว่ี างหนงั สอื บนโตะ๊ องค์ประกอบของหอ้ งสมุด หอ้ งสมดุ คอื แหล่งรวบรวมวสั ดุเพ่อื การศึกษาและคน้ ควา้ วจิ ัย แบง่ เปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ได้ดงั น้ี 1. สิ่งตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสาร จุลสาร ในสาขาวิชาตา่ ง ๆ หนังสือเป็นความรู้ ท่ัวไป หนังสอื ที่มีคุณค่าถาวรและหนังสืออ้างองิ 2. หนงั สอื ตัวเขยี น ได้แก่ สมดุ ย่อย หนังสอื อ่าน และตน้ ฉบบั ท่ีเขยี นด้วยลายมอื อ่ืน ๆ 3. โสตทศั นวัสดุ ได้แก่ ภาพยนตรส์ ารคดี ฟลิ ์มสครปิ สไลด์ แถบเสียง แผ่นเสียง ลูกโลก แผนท่ี รูปภาพ 4. วสั ดยุ อ่ สว่ น ได้แก่ ไมโครฟลิ ์ม ไมโครการด์ ไมโครฟชิ ซ่งึ ตอ้ งใชเ้ ครื่องอา่ นเปน็ พเิ ศษ ส่วนประกอบสำคัญของห้องสมุด คือ อาคารสถานที่ วัสดุเพื่อการศึกษาและค้นคว้าวิจัย บรรณารักษ์ที่มี คณุ วฒุ ิทางบรรณารกั ษ์ศาสตร์และมีเจ้าหน้าท่ีห้องสมดุ ในจำนวนท่ีเพยี งพอทำหนา้ ทีใ่ ห้บรกิ ารอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องหอ้ งสมดุ และมเี งินงบประมาณอย่างเพียงพอ ประเภทของห้องสมดุ และแหล่งเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด สถานที่รวบรวมทรัพยากรสารนิเทศต่าง ๆ ที่เลือกสรรแล้ว เข้ามาไว้บริการแก่ผู้ใช้ให้ทันสมัยและ สอดคล้องกับความต้องการ โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหา รวบรวม จัดเก็บ และให้บริการ อย่างมีระบบเป็นแหล่งสารนิเทศที่เก่าแก่และที่สำคัญที่สุด ที่จัดให้บริการสารนิเทศอย่างกว้างขวางแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ 1.1 หอสมุดแห่งชาติ นับเป็นห้องสมุดท่ีใหญท่ ี่สดุ ในประเทศ ดำเนิน การโดยรัฐบาลหน้าที่หลัก คอื รวบรวมหนังสือส่ิงพิมพแ์ ละสื่อความรู้ ทุกกอย่างทผ่ี ลิตขน้ึ ในประเทศ และทกุ อย่างท่ีเก่ียวกับประเทศ ไม่ว่าจะ จดั พิมพ์ ในประเทศใด ภาษาใด

20 1.2 ห้องสมุดประชาชน เช่นเดียวกับหอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประ- ชาชนดำเนินการโดยรัฐ อาจจะเปน็ รฐั บาลกลาง รัฐบาลทอ้ งถิน่ หรือเทศบาล แลว้ แตร่ ะบบการปกครองของแตล่ ะประเทศ ตามความหมาย เดิม ห้องสมดุ ประ ชาชนเป็นหอ้ งสมุดทป่ี ระชาชนต้องการใหม้ ใี นชมุ ชน 1.3 ห้องสมดุ ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลยั เปน็ หอ้ งสมดุ ที่ต้ังอยู่ใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ทำหน้าที่สง่ เสริมการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร โดยการจัดรวบรวมหนังสือและสื่อความรู้อ่ืน ๆ ในหมวดวิชาต่าง ๆ ตามหลกั สูตร ช่วยเหลือในการค้นควา้ วจิ ยั ของอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา 1.4 ห้องสมุดโรงเรียน เป็นห้องสมุดที่ตั้งอยู่ในโรงเรียนมัธยม และ โรงเรียนประถมศึกษา มี หนา้ ทสี่ ่งเสริมการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรโดย การรวบรวมหนงั สือและสือ่ ความรู้อ่ืน ๆ ตามรายวชิ า แนะนำสั่ง สอนการใช้ หอ้ งสมุดแกน่ กั เรียน 1.5 ห้องสมุดเฉพาะ คือห้องสมุดซึ่งรวบรวมหนังสือในสาขาวิชาบาง สาขาโดยเฉพาะ มักเป็น ส่วนหนึ่งของหน่วยราชการ องค์การ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทำหน้าที่จัดหาหนังสือและให้บริการความรู้ ขอ้ มลู และข่าวสาร เฉพาะเรือ่ งทเี่ กีย่ วข้องกับการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานนัน้ ๆ 2. ศนู ยบ์ รกิ ารสารนเิ ทศ แหล่งสารนิเทศ หมายถึง สถานที่หรือแหล่งที่ดำเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศ ได้แก่ การจัดหา การจัดเก็บ การรวบรวม หรือผลิตทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพื่อให้บริการและเผยแพร่แก่ผู้ใช้บริการ ได้แก่ สถาบันสารนิเทศ เช่น ห้องสมุด ศูนย์เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลที่ใช้ชื่ออื่น ๆ ซึ่งมีลักษณะการให้บริการท่ี คลา้ ยคลึงกนั เช่น ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร สำนกั วทิ ยบรกิ าร เป็นตน้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้สารนิเทศตามความต้องการได้จากแหล่งสารนิเทศหลายประเภท คือ แหล่งบริการ สารนิเทศประเภทสถาบัน ประเภทบุคคล และประเภทเครือข่าย ศูนย์บริการสารนิเทศหลายแห่งเป็น แหล่งสารนิเทศที่มีจุดมุ่งหมายในการให้บริการ เน้นเฉพาะบางสาขาเฉพาะด้าน หรือจัดให้บริการบางประเภท เท่าน้นั ศนู ยบ์ รกิ ารสารนเิ ทศสามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ 2.1 ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารนิเทศ เป็นสถานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการสารนิเทศแก่ผู้ใช้เฉพาะ กลมุ่ เช่น นกั วชิ าการ นกั วิจยั ได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าและปฏิบตั ิงาน 2.2 ศูนย์ข้อมูล เป็นสถานที่บริการสารนิเทศ มีหน้าที่ผลิตและประเมินค่าและให้บริการข้อมูล ตวั เลขสถติ ติ า่ ง ๆ เพื่อเผยแพรอ่ ยา่ งเป็นระบบ โดยการตีพมิ พร์ วบรวมและเผยแพร่ผ่านคอมพวิ เตอร์ เช่น ข้อมูลสำ มะโนประชากร ข้อมลู สถติ ิการเกษตร การศึกษา ข้อมูลการคา้ ระหว่าประเทศ เปน็ ต้น 2.3 หนว่ ยงานทางสถติ ิ ทำหน้าที่รวบรวมข้อมลู ตัวเลขสถติ ิเพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการวางแผน การ ตดั สนิ ใจ หรอื ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ คาดการณ์ คะเนสถานการณ์ หนว่ ยงานทางสถติ มิ หี ลายประเภท ได้แก่ 2.3.1 หน่วยงานทางสถิติในสายงานบริหาร เชน่ หนว่ ยงานในระดับกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ 2.3.2 หน่วยงานสถิติเฉพาะเรื่อ เช่น หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บสถิติเฉพาะเรื่องของ กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เชน่ ศนู ยส์ ถติ กิ ารเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2.3.3 หนว่ ยงานสถิติขนาดใหญ่ เช่น สำนักงานสถิตแิ หง่ ชาติ

21 2.3.4 หน่วยประผลข้องมูลสถิติโดยใชค้ อมพิวเตอร์ เช่น ศูนย์คอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน ตา่ ง ๆ 2.3.5 ศูนยก์ ารศกึ ษาวิชาการเฉพาะเร่อื ง เช่น สถาบันประชากรศึกษาทบวงมหาวิทยาลัย 2.4 ศูนย์วิเคราะห์สารนิเทศ ทำหน้าที่รวบรวมประมวลผล ประเมินค่า และจัดเก็บสารนิเทศ นำเสนอเฉพาะเรอ่ื ง วา่ จะมปี ระโยชนต์ อ่ นักวิชาการและผ้ทู ส่ี นใจติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมความร้นู ั้น ๆ 2.5 ศูนย์แจกจ่ายสารนิเทศ คือ หน่วยงานที่ทำหน้าที่รวบรวมจัดเก็บหลักฐานผลงานต่าง ๆ ทำ หน้าที่เผยแพร่และให้บริการ ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการใช้สารนิเทศ เช่น ศูนย์อีสานศึกษามหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ศูนย์ขอ้ มูลวจิ ยั สภาวิจัยแหง่ ชาติ 2.6 ศูนย์แนะแหล่งสารนิเทศ เป็นหน่วยงานช้ีแหล่งสารนิเทศให้บริการตอบคำถาม แนะนำไป ยังแหลง่ สารนิเทศตา่ ง ๆ เช่น ศูนยว์ ารสาร โดยจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2.7 หอจดหมายเหตุ ทำหน้าท่ีเกบ็ รกั ษาจดหมายเหตุ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ 2.8 สถาบนั บริการสารนิเทศเชิงพาณิชย์ เป็นศูนยท์ ใี่ หบ้ ริการการดำเนินงานเชิงพาณิชย์มีหลาย รูปแบบ กว้าขวางอาจดำเนินการโดยองค์การหรือบุคคล มีหน้าที่จัดเก็บ รวบรวม ประเมินค่า และเผยแพร่ สารนเิ ทศตามความต้องการของผู้ใชส้ ารนเิ ทศ เชน่ ศนู ยส์ ง่ ออกกระทรวงพาณิชย์ ศูนยบ์ รกิ ารสารนิเทศเชิงพาณิชย์ 3. สถานที่ทีเ่ ปน็ แหลง่ เรียนรู้สารสนเทศ เป็นแหล่งสารนิเทศที่มีประโยชน์ต่อการค้นคว้าเป็นแหล่งที่จะเข้าใจถึงสารนิเทศด้วยการเดินทาง ยัง สถานที่นั้น ๆ อาจเป็นข้อมูลจริง หรือรวบรวมข้อมูล จำลองข้อมูล ได้แก่ โบราณสถานต่าง ๆ โบราณวัตถุต่าง ๆ พิพธิ ภัณฑ์ อนสุ าวรยี ์ สวนสตั ว์ ฯลฯ 3.1 พิพิธภัณฑ์ เป็นสถานที่เก็บรวบรวมแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่มีค่าต่อการรวบรวม เก็บ รักษา ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ได้จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้ประกอบการจัดแสดง พิพิธภัณฑ์ที่สำคัญ ได้แก่ พพิ ธิ ภณั ฑ์สถานแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์แหง่ ชาติในภมู ภิ าค พิพธิ ภัณฑจ์ ังหวดั ฯลฯ 3.2 ศาสนสถาน เป็นแหล่งรวมวิทยาการแขนงต่าง ๆ ทั้งด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิต กรรม และอนื่ ๆ เช่น วัดสำคัญในพระพุทธศาสนา เชน่ วดั โพธ์ิ เป็นสถานทีร่ วบรวมความรู้ตำรานวดแผนไทย ฤาษี ดดั ตน และหอไตรเคยี ง ตำหนักสมเดจ็ พระมหาสมนเจา้ กระพระยาปรมานุชิตชิโนรสฯ เป็นตน้ 3.3 สำนักข่าวสารสถานทูต ในสถานทูตหรือสถานเอกอัครราชทูตของต่างประเทศ จะมี หน่วยงานทำหน้าที่รวบรวมข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ให้บริการตอบคำถาม แนะนำ ชี้แจง และเผยแพร่ แกผ่ ูส้ นใจ ซ่งึ สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ได้ 3.4 สถานประกอบการ เป็นสถานประกอบการทางอุตสาหกรรม องค์กร บริษัท ห้างร้าน มี หน่วยงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข่าวสารความรู้ความเข้าใจต่อประชาชน นำชม แนะนำ ให้บริการ แลกเปลี่ยน ขา่ วสาร ฝึกประสบการณ์ เปน็ ตน้ 3.5 ศูนยเ์ ยาวชน เปน็ แหลง่ รวมความรู้ สถานทีพ่ ักและจดั กิจกรรมรว่ มกันของเยาวชนในยามว่าง ส่งเสรมิ ใหเ้ ยาวชนใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ซึ่งจะได้ทั้งความรู้และความเพลดิ เพลิน เชน่ ศูนย์เยาวชนไทย-ญ่ีปุ่น ดินแดงกจิ กรรมจะเน้นหนักด้านการกฬี า ศนู ยเ์ ยาวชนประจำตำบลเปน็ สถานท่ีแลกเปลย่ี นข่าวสารกจิ กรรมความรู้ กฬี า และอ่นื ๆ ของเยาวชนในแต่ละตำบลและบรเิ วณใกล้เคียง

22 3.6 หน่วยงานและองคก์ รท้ังภาครฐั และเอกชน เปน็ แหล่งสารนเิ ทศเฉพาะดา้ นใหบ้ ริการข่างสาร ความรู้ในเรื่องที่หน่วยงาน หรือองค์กรดำเนินกิจการ เช่น โครงการโรงไฟฟ้าสูบกลับลำตะคอง องค์กรพัฒนา เอกชนภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เป็นต้น 4. แหลง่ สารนเิ ทศประเภทบุคคล แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้รอบรู้ในสาขาต่างๆ ผู้ต้องการ สารสนเทศจากบุคคล ต้องไปพบปะสนทนาหรอื สอบถามจากผู้เช่ียวชาญนน้ั โดย ตรงจึงจะไดส้ ารสนเทศที่ต้องการ 5. แหลง่ สารนิเทศประเภทเครอื ข่าย เป็นแหล่งสารนิเทศที่ให้ความร่วมมือผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดดำเนินงานและให้บริการสารนิเทศ รว่ มกันปฏิบัตงิ านในลักษณะเครือข่ายถ่ายเทแลกเปล่ียนสารนิเทศซง่ึ กนั และกนั เปน็ การใชท้ รัพยากรรว่ มกันอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อลดความสูญเสีย ประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาส่วนภูมิภาค เครือข่ายราชมงคล เครือข่ายความรว่ มมือระหว่างหอ้ งสมุดเกษตร เปน็ ต้น บรกิ ารของห้องสมุด ห้องสมุดที่ดีควรมีการจัดบริการที่สอนงความต้องการของผู้ใช้อย่างกว้างขวาง ผู้ใช้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและสามารถใช้ห้องสมุดในการเพิ่มพูนความรู้ตลอดจนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชวี ิตประจำวนั ได้เป็นอย่างดี ดังน้นั หอ้ งสมุดทดี่ คี วรจัดหา จดั ระเบยี บและจัดบริการดงั ต่อไปน้ี 1. บริการทรัพยากรสารนเิ ทศ หอ้ งสมดุ จะคัดเลือกและจัดหาวัสดสุ ารนิเทศหนังสือและวัสดุ ส่ิงพมิ พ์ โสตทศั นว์ สั ดุ เตรียมไวเ้ พอื่ ใหบ้ รกิ ารแก่ผู้ใช้ 2. บรกิ ารให้ยมื และรับคนื วัสดุสารนิเทศ ส่ิงพมิ พ์ หรอื เอกสาร โดยจัดหาวัสดุสารนิเทศใน รปู แบบต่าง ๆ ไว้บริการ และอนญุ าตให้ยืมไปใช้นอกสถานทไี่ ด้ และนำกลับมาคนื ในระยะเวลาที่กำหนดไว้ 3. บรกิ ารสืบคน้ สารนเิ ทศอเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บริการอินเตอร์เนต็ บรกิ ารฐานขอ้ มูลซีดรี อม ซดี ีรอม มัลติมิเดีย 4. จัดบริการแนะนำการอ่าน บริการตอบคำถาม บริการช่วยการค้นคว้า บริการแนะนำการใช้ ห้องสมดุ แนะนำหนงั สอื ดหี รอื หนังสือที่หนา้ สนใจ หนงั สือทจี่ ดั หาเขา้ ห้องสมุดใหม่ ๆ เพ่ือให้ผ้บู รกิ ารไดท้ ราบ 5. มีหนังสืออ้ายงอิง หนังสือสำรองที่สงวนไว้เฉพาะในห้องสมุดหรือให้ขอยืมได้ในเวลาจำกัด ใน กรณีที่หนังสือมีจำนวนน้อย แต่มีผู้ใช้จำนวนมากอาจจะแยกออกมาเพื่อบริการเฉพาะกลุ่ม และเปิดโอกาส ให้ผู้ ใช้ได้ใชห้ นังสอื อา้ งอิงอย่างทวั่ ถงึ กันและควรจดั บรกิ ารหนงั สือจองดว้ ย 6.บรกิ ารโสตทัศนวสั ดแุ ละอุปกรณ์ เช่น ชุดศึกษาวดิ ีทศั นด์ ว้ ยตนเอง เคร่ืองฉายภาพน่งิ รายการโทรทัศนผ์ า่ นดาวเทยี ม แผน่ ซีดเี พลง หรือภาพยนตร์ 7. บริการยืมหรือถ่ายสำเนาเอกสารระหว่างห้องสมุดหากหนังสือหรือเอกสารที่ผู้ใช้ต้องการไม่มี บริการ ณ ห้องสมุดแห่งนั้นสามารถติดต่อไปยังห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแห่งอื่นที่มีเอกสารนั้น ๆ เพื่อขอถ่าย เอกสารหรือยมื ฉบับจริง 8. บรกิ ารรวบรวมบรรณานุกรมหรอื จดั ทำสาระสงั เขป เชน่ บริการรวบรวมรายชอ่ื เอกสาร เฉพาะเรื่องสำหรับนักวิจัยที่กำลังศึกษาเรื่องนั้น ๆ จัดทำดรรชนีบทความจากวารสารเป็นบริการที่ทำขึ้นเพื่อ อำนวยความสะดวกแก่ผใู้ ชใ้ นการค้นคว้าหาบทความเร่ืองจ่าง ๆ ที่ดพี ิมพ์ในวารสารภาษาไทย

23 9. มีการจัดหนงั สือเป็นหมวดหม่ตู ามระบบสากลไวใ้ นช้ันเปิดเพอื่ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถหยบิ ไดด้ ้วย ตนเองโดยสะดวก ทำเป็นคู่มือหรอื เคร่อื งมือทช่ี ่วยอำนวยความสะดวกในการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ของห้องสมดุ เชน่ บตั รรายการ รายชอ่ื หนงั สือ คูม่ อื การใช้หอ้ งสมุด 10. บริการถ่ายสำเนาเอกสารส่ิงพิมพ์หรือโสตทัศน์วัสดุ เช่น การนำสำเนาเทปโทรทัศน์รายการ สารคดี ซึ่งถอื เปน็ บรกิ ารพิเศษเพ่ือการศกึ ษา 11. บริการสง่ เสริมการใช้ เชน่ ตอบคำถามและช่วยการค้นควา้ ปฐมนิเทศ/นำชมห้องสมุด แนะนำวิธสี ืบค้นข้อมลู บรกิ ารขา่ งสารทนั สมัย จัดนิทรรศการ จดั ทำเอกสาร แผน่ ผบั คู่มือตา่ ง ๆ เชน่ แนะนำการใช้ ห้องสมุด 12. บรกิ ารความร้สู ูช้ มุ ชน เช่น การรณรงคใ์ ห้ความรู้แกค่ นในชุมชน โครงการส่งเสรมิ การรู้ หนังสือ โครงการสง่ เสริมการรกั การอา่ นแกเ่ ยาวชน การอบรมระยะส้นั ๆ เช่น การค้นสารนิเทศอินเตอรเ์ นต็ การ จัดปาฐกถา อภิปราย โต้วาที ฉายภาพยนตร์ เปน็ ต้น 13. บริการคน้ หาขอ้ มลู เป็นบรกิ ารที่ห้องสมดุ ไดจ้ ัดให้มีฐานข้อมลู ในเร่ืองต่าง ๆ ไว้ให้แก่ผู้ใช้เช่น ฐานขอ้ มลู รายการสาธารณโดยวธิ ีออนไลน์ ซง่ึ ห้องสมดุ จัดทำขึน้ โดยผู้ใชส้ ามารถค้นหารายการที่ต้องการใช้ได้ด้วย ตนเอง นอกจากนี้ห้องสมุดอาจจะจัดซื้อฐานข้อมูลในรูปซีดีรอม ซึ่งมีหลายสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ทางด้านธุรกิจ ฯลฯ ผุใ้ ช้ตอ้ งให้เจา้ หนา้ ทช่ี ว่ ยคน้ ข้อมูลทตี่ อ้ งการ 14.จัดสถานที่สะอาดเรียบร้อยเหมาะสมเป็นห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการไดร้ ับความสะดวกสบาย ตามสมควร เช่น มีแสงสว่างเพียงพอ มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งสบาย ปราศจาดเสียงรบกวนทำลานสมาธิ มีอากาศถ่ายเท หรอื มพี ัดลมระยาสบอากาศ 15. จัดบริการอำนวยความสะดวกอื่น ๆ เช่น จัดสถานที่พิเศษสำหรับนักค้นคว้าวิจัยในระดับสงู บริการถ่ายสำเนาหนงั สือและภาพ บรกิ ารเคร่อื งอ่านเอกสารสำเนา ตามคำวามจำเปน็ และระดับความตอ้ งการของ ผู้ใชบ้ รกิ าร จัดสง่ เอกสารใหแ้ ก่ผใู้ ช้บรกิ าร เป็นต้น

24 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน หมายถงึ การกระทำตา่ ง ๆ เพือ่ ให้เดก็ เกดิ ความสนใจทีจ่ ะอ่าน เหน็ ความสำคัญ ของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน เกิดความมุ่งมั่นที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งนี้ การอ่านหนังสือ เป็นทกั ษะสำคญั ทักษะหน่งึ ในชีวิตประจำวัน เพราะการอา่ นหนงั สือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนเราได้เป็นอย่างดี ยิ่ง เมื่อคนเราอ่านหนงั สือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความเพลิดเพลิน การที่เดก็ จะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้นั้นจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้งครอบครัว โรงเรียน และชมุ ชน ในการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นให้แก่เด็ก กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นคอื การกระตุน้ ดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ เพ่อื ให้ผู้อ่านสนใจการอา่ นจนกระทั่งมนี ิสัยรกั การอา่ น และได้พฒั นาการอา่ นจนกระท่ังมีความสามารถในการอา่ น นำประโยชน์จาการอ่านไปใชไ้ ดต้ รงตาม วัตถุประสงค์ของการอา่ นทุกประเภท (ฉววี รรณ คหู าภนิ ันทน์, 2542 : 93)

25 กรมวชิ าการ (อ้างถึงใน ฉววี รรณ คหู าภินนั ทน์, 2542 : 93) ให้ความหมายวา่ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านคอื การกระทำเพ่อื 1. เรา้ ใจบคุ คลหรือบุคคลท่เี ป็นเปา้ หมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสอื โดยเฉพาะหนังสือท่ีมี คณุ ภาพ 2. เพือ่ แนะนำชักชวนให้เกดิ ความพยายามทจี่ ะอ่านให้แตกฉาน สามารถนำความรูจ้ ากหนงั สอื ไปใช้ ประโยชน์ เกิดความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ดีข้นึ 3. เพอ่ื กระต้นุ แนะนำให้อยากรู้ อยากอ่านหนงั สือหลายอยา่ ง เปิดความคดิ ให้กว้าง ให้มกี ารอ่านต่อเน่ือง จนเป็นนิสัย พัฒนาการอ่านจนถงึ ข้นั ทสี่ ามารถวเิ คราะหเ์ ร่ืองที่อา่ นได้ 4. เพอื่ สร้างบรรยากาศทจี่ ูงใจให้อ่าน ดังน้นั สามารถกล่าวได้ว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึงกิจกรรมต่างๆทหี่ ้องสมุดจัด ขนึ้ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ เกิดการอ่านอยา่ งต่อเนือ่ งจนกระท่ังเป็นนสิ ยั รักการอา่ น เช่น การเล่านทิ าน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนังสือทนี่ า่ สนใจ เป็นต้น ลักษณะของกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านท่ีดี 1. เร้าความสนใจ เชน่ การจัดนทิ รรศการที่ดึงดคู วามสนใจ การตอบปัญหา มรี างวัลต่างๆ การใชส้ ื่อ เทคโนโลยีใหม่ๆเขา้ มาช่วย 2. จูงใจใหอ้ ยากอ่านและกระตนุ้ ใหอ้ ยากอ่าน เชน่ ขา่ วท่ีกำลังเป็นท่สี นใจ หรือหวั ข้อเรื่องท่เี ปน็ ท่สี นใจ เช่น การวจิ ัย การเตรียมตัวสอบ การสมัครงาน เปน็ ต้น 3. ไม่ใช้เวลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกับเพศ ระดับอายุ การศึกษา 4. เป็นกิจกรรมที่ม่งุ ไปสู่หนงั สือ วัสดกุ ารอา่ น โดยการนำหนังสอื หรือวัสดกุ ารอา่ นมาแสดงทุกคร้ัง 5. ใหค้ วามสนุกสนานเพลดิ เพลิน แฝงการเรียนร้ตู ามอธั ยาศัยจากการร่วมกิจกรรมดว้ ย ความหมายและความสำคญั ของหอ้ งสมุด ห้องสมุดประชาชน หมายถงึ ห้องสมดุ ทีต่ ั้งข้ึนเพือ่ ให้บริการแกป่ ระชาชน โดยไม่จำกดั เพศ วยั เช้ือชาติ ศาสนา และพนื้ ความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทกุ หมวดวิชา และอาจมีการบรกิ ารบางเรอ่ื งเป็นพิเศษ ตามความต้องการของท้องถิน่ และจะจดั ให้บริการแกป่ ระชาชนโดยไมค่ ดิ มูลคา่ บทบาทหน้าทข่ี องห้องสมุดประชาชน มี 3 ประเภท คอื 1. หน้าท่ีทางการศกึ ษา ห้องสมุดประชาชนเปน็ แหล่งให้การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น มีหนา้ ทใี่ ห้ การศกึ ษาแกป่ ระชาชนท่วั ไป ทุกระดับการศึกษา 2. หน้าท่ที างวฒั นธรรม ห้องสมดุ ปะชาชนเปน็ แหล่งสะสมมรดกทางปญั ญาของมนุษย์ ที่ถ่ายทอดเป็น วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น ทีห่ ้องสมดุ ตง้ั อยู่

26 3. หน้าทที่ างสังคม ห้องสมดุ ประชาชนเปน็ สถาบนั ทางสงั คมได้รับเงินอดุ หนุนจากรัฐบาลและทอ้ งถิ่นมา ดำเนนิ กจิ การ จึงมหี น้าท่ี แสวงหาข่าวสารข้อมูลทมี่ ีประโยชน์มาบรกิ ารประชาชน ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยมหี น่วยงานตา่ งๆรับผิดชอบ ดงั น้ี 1. ห้องสมุดประชาชนสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร สงั กัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด ประชาชนระดบั จงั หวดั และระดบั อำเภอ นอกจากน้ีกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นยังได้จดั ที่อ่านหนังสือประจำ หมบู่ ้าน ท่ีอา่ นหนังสอื ในวดั และห้องสมุดเคลอื่ นท่ี 2. หอ้ งสมุดประชาชน สงั กัดกรงุ เทพมหานคร มีทัง้ หมด 12 แห่ง ไดแ้ ก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลมุ พนิ ี หอ้ งสมดุ ประชาชนซอยพระนาง หอ้ งสมดุ ประชาชนปทมุ วัน หอ้ งสมุดประชาชนอนงคาราม หอ้ งสมดุ ประชาชนวัด สังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมดุ ประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวดั รชั ฎาธิษฐาน วรวิหารตล่ิงชนั หอ้ งสมุดประชาชนประเวช หอ้ งสมดุ ประชาชนวัดลาดปลาเคา้ หอ้ งสมุดประชาชนภาษีเจริญ หอ้ งสมุดประชาชนวัดราชโอรส 3. หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เปน็ ห้องสมุดท่ีธนาคารพาณชิ ยเ์ ปดิ ข้นึ เพ่ือบรกิ ารสงั คม และ เพ่อื ประชาสมั พันธ์กจิ การของธนาคารให้เป็นท่รี จู้ กั แพรห่ ลาย เชน่ หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจำกัด 4. หอ้ งสมุดประชาชนของรัฐบาลตา่ งประเทศ โดยได้รบั การสนบั สนุนจากรฐั บาลต่างประเทศ เชน่ หอ้ งสมดุ บริติชเคาน์ซลิ ของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร ทต่ี ้ังอยู่บรเิ วณสยามสแควร์ กรุงเทพมหานคร 5. หอ้ งสมดุ ประชาชนเสยี ค่าบำรุง หอ้ งสมดุ ประชาชนประเภทนี้ให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านนั้ โดยผ้ทู ี่ เปน็ สมาชกิ จะต้องเสยี คา่ บำรุงตามระเบยี บของหอ้ งสมดุ ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ นีลสนั เฮย์ ตั้งอยู่ทถ่ี นนสุริวงศ์ กรงุ เทพมหานคร บทบาทและความสำคัญของหอ้ งสมสุดต่อสังคมในด้านตา่ ง ๆ 1. เป็นสถานทเ่ี พื่อสงวนรกั ษาและถา่ ยทอดวฒั นธรรม หอ้ งสมุดเปน็ แหล่งสะสมวิวฒั นาการของมนษุ ย์ ต้ังแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั ถ้าไม่มแี หล่งคน้ ควา้ ประเภทห้องสมดุ เป็นศนู ยก์ ลางแล้ว ความรู้ต่างๆ อาจสูญหายหรือ กระจัดกระจายไปตามที่ต่างๆ ยากแก่คนรนุ่ หลังจะติดตาม 2. เป็นสถานทีเ่ พื่อการศกึ ษา ค้นคว้าวจิ ัย หอ้ งสมดุ ทำหนา้ ทีใ่ ห้การศึกษาแกป่ ระชาชนทุกรูปแบบ ทง้ั ใน และนอกระบบการศึกษา เริ่มจากการศึกษาข้นั พน้ื ฐานถงึ ระดบั สงู 3. เปน็ สถานทส่ี รา้ งเสริมความคิดสร้างสรรคแ์ ละความจรรโลงใจ ห้องสมดุ มีหน้าท่ีรวบรวมและเลือกสรร ทรัพยากร สารสนเทศ เพ่ือบริการแก่ผูใ้ ช้ ซ่ึงเป็นสงิ่ ท่มี คี ุณค่าผู้ใช้ไดค้ วามคิดสร้างสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสงั คมต่อไป 4. เป็นสถานท่ปี ลูกฝังนสิ ัยรกั การอ่านและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต หอ้ งสมุดจะชว่ ยให้บุคคลสนใจในการอา่ น และรักการอ่านจนเป็นนิสัย 5. เปน็ สถานทส่ี ่งเสรมิ การาใชเ้ วลาว่างในเป็นประโยชน์ ห้องสมุดเปน็ สถานทีร่ วบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพ่ือบริการแก่ผูใ้ ช้ตามความสนใจและอ่านเพ่ือฆา่ เวลา อ่านเพ่อื ความเพลิดเพลิน หรอื อา่ นเพอ่ื สาระบนั เทงิ ไดท้ ้งั สน้ิ นับว่าเป็นการพักผอ่ นอยา่ งมีความหมายและให้ประโยชน์

27 6. เป็นสถานทีส่ ง่ เสรมิ ความเป็นประชาธปิ ไตย หอ้ งสมดุ เป็นสาธารณะสมบัติ มีส่วนสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลรู้จกั สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ขี องพลเมือง กล่าวคือ เมอื่ มีสิทธิในการใช้กย็ ่อมมีสิทธิในการบำรุงรักษาร่วมกนั และให้ความร่วมมือ กับหอ้ งสมุดดว้ ยการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ แบบแผนของห้องสมุด

28 บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินงานตามโครงการ 1. วิธกี ารดำเนนิ งาน ข้ันเตรยี มการ เพือ่ จดั ประชมุ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - ชแี้ จงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ - ชแ้ี จงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพ่อื อนุมตั ิ - แต่งตงั้ กรรมการดำเนินงานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ น้อยจนั ทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธิ์ เดตะอุด ครผู ้ชู ่วย กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวัณย์ สิทธิกรวยแก้ว ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝา่ ยตดิ ต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ติดต่อประสานงานสถานท่ีจดั การจดั กิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชูบวั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ยิง่ สุก ครู ศรช.

29 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบกิ จา่ ยพัสดุ และการเงนิ ตามโครงการให้ถูกตอ้ งเรียบรอ้ ยและทนั ต่อเวลาประกอบด้วย 3.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 3.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสมั พันธ์ มหี น้าท่ี ส่งข่าวประชาสมั พันธ์ ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 4.12 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานทว่ั ไป 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีมีหน้าที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ เตรียมใบความรู้ ใบงาน กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ สง่ เสรมิ การอา่ นจากหนงั สอื และสอื่ ออนไลน์ สื่อการเรียนการสอน เกม และกิจกรรม นนั ทนาการ ดังน้ี 5.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 5.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครูอาสาสมัครฯ 5.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.5 นางลาวนิ สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 5.6 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ นั ธ์ ครู กศน. ตำบล 5.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 5.10 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล

30 5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 5.13 นายศิวณชั ญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.14 นางสาวกัญญาณฐั จนั ปัญญา ครู ศรช. 5.15 นายปัณณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. 5.16 นางสาวอษุ า ย่ิงสกุ ครู ศรช. 5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ครู ศรช. 5.18 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานท่วั ไป 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบียน ให้กรรมการมีหน้าท่จี ดั เตรียมเอกสารสำหรับการลงทะเบยี น และรับลงทะเบยี น ผู้เข้ารว่ มโครงการ ดงั นี้ 6.1 นางสาวอษุ า ย่งิ สกุ ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จันปญั ญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมินผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพงึ พอใจ ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ และจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลงั เสรจ็ สน้ิ โครงการ ดงั นี้ 7.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 7.3 นางสาวอษุ า ย่งิ สุก ครู ศรช.

2. ขัน้ ดำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ ก กล่มุ เปา้ หมาย 1. ข้นั เตรียมการ เพอื่ จดั ประชุมครูและบุคลากรทางการ ครูและบุคลากร ช ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ว - ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน โครงการ - ช้แี จงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการ เพอื่ อนมุ ัติ - แตง่ ต้ังกรรมการดำเนนิ งานตาม โครงการ 2. ประชุมกรรมการ เพือ่ ประชุมทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนนิ งาน ดำเนนิ งานทุกฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน 3. จดั เตรยี มเอกสาร เพื่อดำเนินการจดั ทำ จัดซือ้ วสั ดอุ ุปกรณ์ กรรมการฝา่ ยท่ีไดร้ บั วัสดุ อปุ กรณใ์ นการ ทีใ่ ชใ้ นการดำเนนิ การ มอบหมาย ดำเนนิ โครงการ

31 กล่มุ เป้าหมาย พ้ืนท่ดี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ชแ้ี จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ ช้แี จงวัตถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ท่ี กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซือ้ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ ก 4. ดำเนินการจัด กลมุ่ เปา้ หมาย กิจกรรม 1. เพ่ือดำเนนิ การปรบั ปรงุ ภูมิทศั นห์ อ้ งสมุด 1.ห้องสมดุ ประชาชน 5. สรปุ /ประเมินผล และรายงานผล ประชาชนประจำตำบลให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ ประจำตำบล จำนวน แ โครงการ ของคนในชุมชน 9 แหง่ 2. จัดมุมตา่ งๆ ภายใน กศน.ตำบล เชน่ 2. นกั เรียน นักศึกษา มุมหนังสือพิมพ์ มุมหนงั สือนอกเวลา มุม และประชาชนทวั่ ไป อินเทอร์เน็ต จำนวน 300 คน 3. จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านและการ เรยี นรู้ เพอื่ ให้กรรมการฝา่ ยประเมินผลเก็บ ตามกระบวนการ รวบรวมข้อมลู และดำเนนิ การประเมนิ ผล ประเมนิ โครงการ การจัดกิจกรรม 5 บท จำนวน 3 เล่ม

32 กลมุ่ เปา้ หมาย พืน้ ที่ดำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชิงคณุ ภาพ) กศน.ตำบลท้ัง 9 แหง่ เม.ย. ถึง - หอ้ งสมุดประชาชนประจำตำบลเป็น ก.ย.65 แหล่งเรยี นรขู้ องคนในชมุ ชน เป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวติ พรอ้ มให้บริการแก่ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

33 3. ข้ันสรุปการจดั กิจกรรม 1. ดชั นวี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลติ (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 1.2 ตัวชี้วัดผลลพั ธ์ ( outcome ) นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทวั่ ไปรักการอา่ น เพ่อื พัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีข้นึ 2. การตดิ ตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม / โครงการ 2.2 สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรม

34 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การศกึ ษาความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายท่ีร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมท่ี 6 โครงการหอ้ งสมุดประชาชนประจำตำบล แบ่งออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 103 29.51 หญิง 246 70.49 รวม 349 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 6 โครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในครั้งนี้ เป็นเพศหญิง มากที่สุด จำนวน 246 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 70.49 อายุ ช่วงอายุ จำนวน ร้อยละ ตำ่ กวา่ 15 ปี 1 0.29 15 - 29 ปี 270 77.36 30 – 39 ปี 46 13.18 40 - 49 ปี 17 4.87 50 - 59 ปี 8 2.29 60 ปีขน้ึ ไป 7 2.01 349 100 รวม จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 6 โครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในครั้งนี้ เป็นช่วงอายุ 15-29 ปีขึ้นไป มาก ทส่ี ดุ จำนวน 270 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 77.36

35 การศกึ ษา ระดับการศกึ ษา จำนวน รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา 19 5.44 131 37.54 ม.ต้น 199 57.02 ม.ปลาย - ปวช./ปวส. - - ปรญิ ญาตรี - - สงู กว่าปรญิ ญาตรี 349 - รวม 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 6 โครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในครั้งนี้ การศึกษาระดับ ม.ปลาย มากที่สุด จำนวน 199 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 57.02 อาชพี อาชพี จำนวน รอ้ ยละ รับจ้าง 168 48.13 เกษตรกรรม 17 4.87 ผนู้ ำชมุ ชน 1 0.29 ค้าขาย 14 4.01 รับราชการ - นักเรียน/นกั ศึกษา 105 - อืน่ ๆ ระบุ 44 30.09 รวม 349 12.61 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 6 โครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในครั้งนี้ เป็นอาชีพรับจ้าง มากที่สุด จำนวน 168 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.13

36 ส่วนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นและความพงึ พอใจต่อโครงการ 2.1 เกณฑ์การพิจารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.49 อยู่ในระดับ น้อยท่ีสดุ 1.50 – 2.49 อย่ใู นระดับ น้อย 2.50 – 3.49 อย่ใู นระดับ ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยู่ในระดับ มาก 4.50 - 5 อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด ๒.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด 4 อยู่ในระดับ มาก ๓ อยู่ในระดบั ปานกลาง ๒ อยู่ในระดบั นอ้ ย 1 อย่ใู นระดบั น้อยท่ีสุด 2.3 สาระความพึงพอใจ

ตอนท่ี ๒ ความคิดเหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ขอ้ รายการ ประเมิน (คน) มากท่สี ดุ 5 1 กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 349 254 2 เน้ือหาของสอ่ื การเรียนรตู้ รงกับความต้องการของผู้รับบริการ 349 214 3 การจัดกิจกรรมมสี อ่ื การเรียนรู้ท่หี ลากหลาย 349 227 4 กิจกรรมสง่ เสรมิ การมมี นุษย์สัมพันธ์อนั ดตี ่อกัน 349 231 5 สถานทจ่ี ัดกิจกรรมเหมาะสมท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ 349 245 6 ระยะเวลาการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 349 236 7 ท่านมีความประทบั ใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมคร้งั น้ี 349 243 8 การประชาสัมพันธ์และชวนเชญิ 349 228 9 ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณใ์ นการจัดกิจกรรม 349 230 10 การนำประโยชนไ์ ปใชใ้ นการเข้าร่วมกจิ กรรมในคร้งั น้ี 349 243 11 ทา่ นคดิ วา่ ควรมีการจัดกจิ กรรมในลกั ษณะนี้ต่อเน่ือง 349 255 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปท่านยินดเี ขา้ ร่วมโครงการน้ีอีก 349 261 รวมทั้งหมด 4188 2867 ร้อยละ 100 68.46

37 ระดบั ผลการประเมนิ เฉลย่ี S.D. ประมวล ร้อยละ ด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด ผล 92.32 88.37 4 321 89.34 89.97 74 9 6 6 4362 0.77 มากทส่ี ุด 90.54 90.60 85 35 12 3 4.42 0.87 มาก 90.66 76 34 6 6 4.47 0.87 มาก 88.60 70 42 3 3 4.50 0.80 มาก 89.86 90.49 62 28 9 5 4.53 0.86 มากที่สดุ 91.75 92.26 78 24 6 5 4.53 0.81 มากที่สดุ 90.18 62 35 5 4 4.53 0.82 มากที่สุด 64 42 9 6 4.43 0.92 มาก 68 46 3 2 4.49 0.80 มาก 57 41 5 3 4.52 0.82 มากท่ีสุด 53 34 5 2 4.59 0.77 มากทส่ี ุด 46 38 3 1 4.61 0.74 มากทสี่ ุด 795 408 72 46 4.51 0.82 มากทส่ี ดุ 18.98 9.74 1.72 1.0984

38 จากตาราง สรุปได้ว่า ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมที่ 6 โครงการหอ้ งสมุดประชาชน ประจำตำบล ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.18 ตอนท่ี ๓ ข้อเสนอแนะ ๑. ได้ความรเู้ พ่มิ ขึน้ อยากให้จัดโครงการแบบนี้อกี ๒. อยากให้จัดกจิ กรรมแบบน้ีอกี

39 บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ การบรู ณาการการเรยี นรู้ • มีการนำความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต กระตุ้นและส่งเสริม นิสัยให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมทักษะและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กและ เยาวชน และสง่ เสรมิ ให้เดก็ และเยาวชนมคี วามคดิ สร้างสรรค์และมีจินตนาการ ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายและเครอื ขา่ ย - การมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ยในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย - การสนับสนุนใหภ้ าคีเครอื ข่ายจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั การนำความรู้ไปใช้ - ส่งเสริมและสนบั สนนุ การอ่านใหเ้ ป็นวาระแหง่ ชาติ นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไปเขา้ ถงึ และมีโอกาสได้อา่ นหนังสือ ส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม มีนสิ ัยรักการอ่านนำไปส่กู ารเรยี นรู้ และ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ีขึน้ การดำเนนิ งานทว่ั ไป เชิงปริมาณ - กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไป จำนวน 150 คน - จำนวนกลมุ่ ตัวอย่าง นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทวั่ ไป จำนวน 349 คน 1) ชาย จำนวน 103 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.51 2) หญงิ จำนวน 246 คน คิดเป็นร้อยละ 70.49 เชิงคณุ ภาพ 1. นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนในพ้ืนท่ีได้รับความสะดวกในการเข้าร่วมการเรียนรู้จาก การศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นักเรียน นักศึกษา และประชาชนประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้รับ สารสนเทศอยา่ งแพร่หลาย 3. ส่งเสริมให้นักเรียน นักศกึ ษา และประชาชนประชาชนสามารถศึกษาคน้ ควา้ ได้ด้วยตนเอง กลา้ คิดกล้า แสดงออก และใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ 4. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้านการบริการห้องสมุดแก่ชุมชนของห้องสมุดประชาชนตำบล และหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอ ใหเ้ ปน็ ทีร่ ูจ้ กั ในวงกวา้ ง

40 5. กระจายความรู้ สือ่ ด้านการศกึ ษา และวัฒนธรรมไปสู่ท้องถิ่น ผลการดำเนนิ งานตามตัวช้ีวัดความสำเร็จ 1. เป้าหมาย จำนวน 150 คน มผี ู้เขา้ รว่ มกิจกรรม จำนวน 1,278 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย 2. จำนวนผรู้ ว่ มกจิ กรรม จำนวน 1,278 คน ผา่ นกิจกรรม จำนวน 1,278 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ผลการดำเนนิ งานบรรลุเป้าหมาย สรปุ ผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 6 โครงการห้องสมุดประชาชนประจำตำบล ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 90.18 สรปุ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ/กจิ กรรม ที่เข้าร่วม 1. กจิ กรรมท่จี ัดสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.32 2. เนื้อหาของสื่อการเรียนรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 88.37 3. การจดั กจิ กรรมมสี ื่อการเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นร้อยละ 89.34 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็น รอ้ ยละ 89.97 5. สถานท่ีจัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อย ละ 90.54 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.60 7. ท่านมีความประทับใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมครัง้ น้ี อยูใ่ นระดบั ความพึงพอใจ มากทีส่ ุด คิดเป็นรอ้ ย ละ 90.66 8. การประชาสมั พนั ธแ์ ละชวนเชิญ อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 88.60 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็น รอ้ ยละ 89.86 10.การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 90.49 11.ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเนื่อง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.75 12.หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการน้ีอีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 90.18

41 ขอ้ เสนอแนะ 1. ได้ความรเู้ พิ่มขนึ้ อยากให้จัดโครงการแบบน้ีอีก 2. อยากใหจ้ ดั กิจกรรมแบบนี้อีก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook