Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6ปริศนาอ่านคำ

6ปริศนาอ่านคำ

Published by waryu06, 2021-07-02 09:04:40

Description: 6ปริศนาอ่านคำ

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ เรื่อง สรุปผลการปฏิบตั ิงานโครงการส่งเสรมิ การเรียนรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน กจิ กรรมปริศนา...อา่ นคำ เรยี น ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนได้จดั ทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรบั นักศึกษาและ ประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ ในวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ กศน.ตำบลชนแดน อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อส่งเสริมใหน้ ักศึกษา กศน.อำเภอชนแดนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จัก แหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตใหด้ ขี นึ้ บดั น้ีโครงการดงั กลา่ วไดด้ ำเนนิ การเสรจ็ ส้ินเรยี บรอ้ ยแล้ว หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จงึ ขอสรปุ ผลการปฏิบัติงานโครงการดังกล่าวรายละเอียดตาม เอกสารท่ีแนบมาพร้อมน้ี จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ นางวารี ชูบวั บรรณารักษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปรศิ นา...อ่านคำ ในวันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ กศน.ตำบลชนแดน อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ เพ่ือสง่ เสริมให้นักศึกษา กศน.อำเภอชนแดนได้ศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมดว้ ยตนเอง และรูจ้ ักแหลง่ ข้อมูล วิธีการ เข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว การส่งเสริมประชาสัมพันธ์กิจกรรมและสามารถรับบริการต่างๆ ของ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้ และส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตใหด้ ีขน้ึ นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปผล การปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการดำเนินงาน ต่อไป หากมขี ้อเสนอแนะประการใดโปรดแจง้ คณะผจู้ ัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงในครั้งต่อไป ผู้จดั ทำ ธันวาคม 2563

สารบญั หนา้ 1-6 บทที่ 1 บทนำ 7 - 24 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 25 - 31 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 32 - 36 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 37 - 39 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทที่ 1 บทนำ 1.ช่อื โครงการ โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมท่ี 2 โครงการสง่ เสริมการเรยี นรู้สำหรับนักศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ 2. สอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. : 2.1 12 ภารกจิ “เร่งดว่ น” ข้อที่ 2 ขับเคลื่อนนโยบายของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย์) ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรม 2.2 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชที้ ี่ 1.1 ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.3 สือ่ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการจัดการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นร่วม ตวั บง่ ชี้ที่ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ท่ี 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคเี ครือขา่ ยใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้

2 2.3 ของเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมนิ ความพึงพอใจ ควรเพิ่มขอ้ เหตุผล ขอ้ คิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะว่าเพราะเหตุใดข้อ นั้นจึงใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถว้ นเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนอื่ งและนำผลการประเมนิ ที่ได้ไปวเิ คราะห์ถงึ อปุ สรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาในปตี อ่ ไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนในชุมชน การจัดกิจกรรมในเชิงรุก เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ของคนในชุมชน ปัจจุบนั ห้องสมุดประชาชนได้จัดหาทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบสำหรับให้บริการ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อมัลติมเี ดีย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และผู้รบั บรกิ าร และเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้และผู้รับบริการต้องรู้แนวทางในการเข้าถึง ทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะรูปแบบ เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและได้รบั ประโยชนจ์ ากทรัพยากรสารสนเทศนน้ั ๆ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมผู้ใช้และผู้รับบริการได้ศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้สามารถรับบริการต่างๆของห้องสมุดได้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนจึงได้จัดโครงการ ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ำหรบั นกั ศึกษาและประชาชน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่อื ให้นักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปเข้าถงึ และมีโอกาสไดอ้ า่ นหนงั สือ 4.1 เพือ่ กระตุ้นใหน้ ักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารบั บริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 4.2 เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทว่ั ไปมีความรู้ความเขา้ ใจการเขา้ ถงึ แหลง่ สาร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและตรงตามความตอ้ งการ 4.4 เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปมนี สิ ยั รักการอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตให้ดีขึ้น

3 5. เปา้ หมาย จำนวน 1,000 คน เชงิ ปริมาณ นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไป เชงิ คณุ ภาพ 1. นักเรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อ่านหนังสอื 2. นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปเขา้ มารับบรกิ ารในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากข้ึน 3. นกั เรยี น นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปมคี วามร้คู วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศไดอ้ ยา่ ง ประสทิ ธิภาพและตรงตามความตอ้ งการ 4. นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปมีนิสัยรักการอา่ นนำไปสู่ การเรยี นรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ให้ดขี น้ึ 6. วธิ ีดำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนินการ - 1. ขน้ั เพือ่ จัดประชมุ ครูและ ครแู ละบุคลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 เตรียมการ บคุ ลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ - ชี้แจงทำความเข้าใจ ชนแดน ชนแดน 2. ประชุม รายละเอียดโครงการ กรรมการ - ชแ้ี จงแนวทางในการ กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 - ดำเนินงาน ดำเนินโครงการ ชนแดน - จัดทำโครงการและ แผนการดำเนนิ การเพื่อ อนุมตั ิ - แตง่ ต้งั กรรมการ ดำเนนิ งานตามโครงการ เพ่อื ประชุมทำความเข้าใจ ครูและบุคลากร 20 คน กบั กรรมการดำเนนิ งานทุก กศน. อำเภอ ฝา่ ยในการจดั กิจกรรม ชนแดน โครงการและการดำเนินงาน

4 กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 3. จัดเตรียม กรรมการฝ่ายที่ ดำเนินการ 15 ธ.ค.63 5,750 เอกสาร วสั ดุ เพือ่ ดำเนนิ การจดั ทำ จัดซือ้ ได้รับมอบหมาย ต.ค.63 - อปุ กรณ์ในการ วสั ดุอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ - กศน. อำเภอ - ดำเนินโครงการ ดำเนนิ การ นกั เรยี น มี.ค.64 4. ดำเนนิ การ นกั ศกึ ษา และ ชนแดน จดั กจิ กรรม 1. รักการอา่ นผา่ นส่ือ ประชาชนทว่ั ไป ม.ี ค.64 - ออนไลน์ 600 คน พน้ื ที่อำเภอ 5. สรุป/ 2. กจิ กรรมสืบสาน ตาม ชนแดน ประเมินผล วัฒนธรรมประเพณี กระบวนการ และรายงานผล ลอยกระทง ประเมิน 50 คน โครงการ 3. ปรศิ นา...อ่านคำ โครงการ 5 บท 4. อ่านดมี รี างวลั 20 คน กศน. อำเภอ 5. อ่านสรา้ งอาชีพ 50 คน ชนแดน 6. สุภาษิต สำนวนไทย 100 คน 180 คน เพื่อใหก้ รรมการฝ่าย รวม ประเมนิ ผลเกบ็ รวบรวม 1,000 ขอ้ มลู และดำเนินการ คน ประเมินผลการจดั กจิ กรรม 2 เลม่ 7. วงเงินงบประมาณ จากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนนิ งาน ค่าจัดกิจกรรมสำหรบั ห้องสมดุ ประชาชน รหัสงบประมาณ 36005 เป็นเงิน 5,750.- บาท (ห้า พนั เจด็ รอ้ ยหา้ สิบบาทถ้วน) รายละเอยี ดดังนคี้ อื คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 5,750 บาท รวมเป็นเงิน 5,750 บาท

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 5 แผนการใช้จ่ายรายไตรมาส ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 - 5,750 - - 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางวารี ชูบวั ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 9.2 นางสาวอษุ า ยง่ิ สุก ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน 9.4 ครู กศน.ตำบล 9.5 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.6 ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน 10. เครอื ข่าย 10.1 วัดพระพทุ ธบาทชนแดน 10.2 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลนำ้ ลดั 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลโคกสำราญ 10.4 กศน.ตำบลทั้ง 9 แห่ง 11.โครงการที่เกีย่ วข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 11.3 โครงการประชาสมั พันธง์ าน กศน. 11.4 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทำงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย 12. ผลลัพธ์ 12.1 นักเรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อา่ นหนงั สอื 12.2 นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนท่วั ไปเขา้ มารับบรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนมากข้นึ 12.3 นักเรยี น นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปมีความรคู้ วามเขา้ ใจการเขา้ ถึงแหลง่ สารสารสนเทศได้อย่าง ประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ 12.4 นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไปมนี สิ ัยรกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นา คุณภาพชีวิตใหด้ ีขนึ้

6 13. ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปรกั การอา่ น เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ิตท่ีดีข้ึน 14. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

7 บทท่ี 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง ความหมายของคำ คำ เป็นกล่มุ เสียงทป่ี ระกอบด้วยเสยี งพยัญชนะ เสียงสระ และเสยี งวรรณยุกต์ทีป่ รากฏได้โดยอสิ ระและ มคี วามหมาย คำ ต้องเป็นกลุ่มคำที่มคี วามหมายเสมอ ส่วนพยางค์ เป็นกลุ่มเสยี งเช่นกัน ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ พยางค์ 1 พยางค์ ถ้ามีความหมายก็เป็นคำ 1 คำ ถ้าพยางค์1 พยางค์ ไม่มี ความหมายก็ไม่ถือวา่ เป็นคำ คำพยางค์จึงเป็นส่วนหน่งึ ของคำ เชน่ ดี 1 พยางค์ 1 คำ สัปดาห์ 2 พยางค์ 1 คำ ชนบท 3 พยางค์ 1 คำ ราชธานี 4 พยางค์ 1 คำ ชนดิ ของคำ ตามหลกั ภาษาไทยแบง่ ได้ 7 ชนดิ คอื 1. คำท่ีใช้เรียกช่ือคน สัตว์ สิ่งของ เรียกว่า คำนาม คำนามจะเป็นช่ือท่ีเก่ียวกับคน สัตว์ ส่ิงของ หรืออาจ เป็นคำเกี่ยวกับนามธรรม เชน่ นามเกยี่ วกบั คน เชน่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า สกุ รี เจี๊ยบ ป๋ิว นามเก่ียวกบั สัตว์ เชน่ ช้าง ม้า ววั ควาย ปู ปลา นามเก่ียวกบั ส่งิ ของ - รา่ งกาย เช่น มอื หูตา - ของใช้ เช่น ดินสอ แกว้ - ท่อี ย่อู าศยั เช่น บา้ น ตกึ - ธรรมชาติ เช่น ลม นำ้ ไฟ ดนิ ดาว นามท่เี ป็นนามธรรม เชน่ ความดี ความรกั ความชั่ว 2. คำที่ใชแ้ ทนชื่อคน สตั ว์ สง่ิ ของ เรียกวา่ คำสรรพนาม เชน่ ผม เธอ ทา่ นคุณข้าพเจา้ - คำที่แสดงอาการหรือแสดงสภาพของคำนามหรือคำสรรพนาม เรียกว่า คำกริยา เช่น น่ัง พูด กนิ เดนิ อา่ น เท่ียว นอน ทำ เขยี น - คำทใ่ี ช้ประกอบคำอน่ื ใหม้ เี นอื้ ความชดั เจนขน้ึ เรียกว่า คำวิเศษณ์ เช่น สวย งาม ดี ชัว่ สด - คำที่ใช้นำหน้าคำนาม คำสรรพนาม หรือ คำกริยา ท่ีทำหน้าท่ีคล้ายนาม เพ่ือบอกให้รู้หน้าที่ หรือตำแหนง่ ของคำเหลา่ น้ัน เรยี กว่า คำบพุ บท เชน่ ใน บน ของ ที่ จน

8 - คำท่ใี ชเ้ ช่อื มคำหรอื ความใหเ้ ป็นเรือ่ งเดียวกัน เรียกวา่ คำสันธาน เช่น และ จงึ ถ้า เพราะ - คำทเ่ี ปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงความรู้สกึ หรืออารมณ์ เรียกว่า คำอุทาน เป็นคำท่ีเปล่งออกมา โดยมไิ ด้ตงั้ ใจจะให้มคี วามหมายประการใด แต่สามารถสือ่ ใหร้ ู้สึกวา่ มีความรสู้ กึ อย่างไร เชน่ อยุ๊ โอ๊ย เอ๊ะ อพโิ ธ หน้าท่ีของคำ คำต่างๆไม่ว่าจะเป็นคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และคำอุทานจะเข้า ประโยคโดยการเรียงคำในประโยค คำใดจะทำหน้าท่ีอะไร และจะเป็นคำชนิดใดนั้น จะดูได้จากตำแหน่งของคำใน ประโยค เช่น คำว่า \" ขัน \" เราไม่สามารถจะบอกได้ว่าเป็นคำนา คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จนกว่าคำนั้นจะเข้ารูป ประโยค เชน่ - ไก่ ขันตอนเช้า - ฉันลกุ ขึ้นนำ ขันไปตักน้ำลา้ งหนา้ - ฉนั เหน็ เจ้าปุยเดินมาดูน่า ขัน คำวา่ \" ขัน \" เมื่อเข้าประโยคจะบอกหน้าที่ของคำในประโยคว่า ขัน คำแรกเป็นคำกริยา ขัน คำทสี่ องเป็น คำนาม และขนั คำทสี่ ามเปน็ คำวเิ ศษณ์ คำนาม คำนาม เป็นคำเรียกช่ือคน สัตว์ ส่ิงของท่ีเป็นรูปธรรม ซ่ึงเป็นคำที่เห็นได้จับต้องได้ และคำท่ีแสด ง นามธรรม เปน็ คำที่แสดง บาป บุญ คุณ โทษ หรือคำที่แสดงทางจิตใจ เช่น ความดี ความชั่ว ความสามัคคีเป็นต้น คำนามเหลา่ น้ี จะทำหนา้ ท่เี ป็นประธาน หรือกรรมของประโยค 1. ชนิดของคำนาม คำนามแบง่ ออกเป็น 5 ชนดิ คอื 1. สามานยนาม เป็นคำนามท่เี ป็นชอื่ ทวั่ ไป เชน่ เมฆ ฝน คน ต้นไม้ แมว 2. วสิ ามานยนาม เป็นคำนามทใี่ ช้เรียกช่ือเฉพาะ เช่น โบว์ เจ๊ียบ ปว๋ิ กิ่ง 3. สมุหนาม เป็นคำนามที่ใช้เรียกช่ือคน สัตว์ ส่ิงของ ที่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นหมวดหมู่ เช่น ฝูง คณะ บรษิ ทั 4. ลกั ษณนาม เป็นคำนามทใี่ ชบ้ อกลักษณะของคำสามานยนาม คำลักษณนามแบ่งออกได้ ดงั น้ี ลกั ษณยามบอกชนดิ เชน่ พระพุทธรปู 2 องค์ พระภกิ ษุ 2 รูป เล่ือย 2 ปน้ื ขลุ่ย 2 เลา ลักษณนามบอกอาการ เชน่ บุหรี่ 4 มวน พลู 2 จบี ไต้ 5 มัด ดอกไม้ 3 กำ ผ้า 7 พับ ลักษณนามบอกรปู ร่าง เช่น รถ 1 คัน อิฐ 2 ก้อน ไม้ไผ่ 3 คำ สร้อย 5 สาย ไม้ขีด 1 กลัก ลักษณนามบอกหมวดหมู่ เช่น ฟืน 1 กอง เส้ิอ 3 ชดุ นก 2 ฝูง คน 5 พวก นกั เรยี น 4 คณะ ลักษณนามบอกจำนวนหรอื มาตรา เชน่ ตะเกยี บ 2 คู่ ดินสอ 5 โหล งา 3 ลิตร ขนม 20 ถงุ

9 ลักษณนามซ้ำคำนามข้างหน้า ได้แก่ วดั 2 วดั อำเภอ 2 อำเภอ คน 2 คน คะแนน 10 คะแนน 5. อาการนาม เปน็ คำนามที่เกิดจากคำกริยา หรอื คำวิเศษณ์ทม่ี ีคำว่า การ และ ความ นำหนา้ การ จะนำหน้าคำกริยา เช่น การน่งั การเดนิ การกนิ การนอน การออกเสยี ง การปราศรัย ความ จะนำหน้าคำกรยิ าท่ีเป็นความนึกคดิ ทางจิตใจ เช่น ความคดิ ความรกั ความดี ความเข้าใจ *** ข้อสังเกต*** ถ้า การ และ ความ นำหน้าคำนามจะเปน็ คำประสมที่มใิ ช่อาการนาม เช่น การบ้าน การเมือง การไฟฟา้ ความแพง่ ความอาญา ความศึก 2. หน้าทข่ี องคำนาม คำนามมหี นา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปนี้ คอื ทำหนา้ ท่ีเป็นประธานของประโยค เชน่ - นักเรยี น เรยี นหนังสอื - หมา กดั แมว - บรรจง เขยี นจดหมาย ทำหน้าท่ีเป็นกรรมหรอื ผู้ถูกกระทำ เชน่ - นกั เรยี นกนิ ขา้ ว - ความดีทำให้เกดิ ความสุข - เด็กๆเตะ ฟตุ บอลในสนาม ใช้ขยายนามเพอ่ื ทำให้นามท่ถี ูกขยายชัดเจนขน้ึ เช่น - นายสุวัฒน์ ทนายความฟ้องนายปญั ญา พอ่ ค้า - นายบุญมาเป็นขา้ ราชการ ครู ใช้เปน็ สว่ นสมบูรณห์ รือส่วนเติมเตม็ เช่น - เขาเป็นครแู ต่นอ้ งเป็น หมอ - เขาเหมือน พอ่ ใช้ตามหลงั คำบุพบทเพือ่ ทำหนา้ ท่บี อกสถานที่ หรือขยายกริยาใหม้ เี นื้อความบอกสถานทีช่ ดั เจนขนึ้ เช่น - เธออยูใ่ น หอ้ ง ( ตามหลงั บุพบทใน ) - เขาอยู่ทเ่ี ชียงใหม่ ( ตามหลังบพุ บทที่ ) - เขาไป โรงเรียน ( ขยายกริยาไป ) ใชบ้ อกเวลาโดยขยายคำกรยิ าหรอื คำนามอนื่ เชน่ - เขาชอบมา ค่ำๆ - พ่อจะไปเชยี งใหม่วันอาทติ ย์ - มะนาว หน้าแล้งราคาแพง

10 ใช้เปน็ คำเรยี กขานได้ เช่น - คุณแมค่ ะ คณุ ปา้ มาหาคะ่ - สดุ า ชว่ ยหาของให้ฉนั ทีซิ - นักเรยี น เธอรบี ทำงานเรว็ ๆ คำสรรพนาม คำสรรพนาม เป็นคำทีใ่ ช้แทนคำนามท่กี ล่าวมาแล้วเพ่อื ทำใหเ้ นอ้ื ความมีความสละสลวยย่งิ ขน้ึ 1. ชนดิ ของคำสรรพนาม คำสรรพนามแบ่งได้ 6 ชนดิ คอื 1. บรุ ษุ สรรพนาม เปน็ สรรพนามใช้แทนผพู้ ูด ผฟู้ งั และผูท้ ก่ี ล่าวถึง แบ่งออกเปน็ บุรุษที่ 1 ได้แก่ ฉัน ข้าพเจ้า กระผม ผม ดิฉัน เรา อาตมา ข้าพระพุทธเจ้า เป็นบุรุษสรรพ นามทใี่ ช้แทนผพู้ ดู บุรุษท่ี 2 ได้แก่ เธอ ท่าน คุณ ใต้เท้า พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท แก เป็นบุรุษสรรพนามท่ีใช้ แทนผูท้ ี่เราพดู ดว้ ย บุรุษที่ 3 ได้แก่ เขา พวกเขา มนั พระองค์ เปน็ บุรษุ สรรพนามทเ่ี ราพูดถึงหรอื ผูพดู กล่าวถึง 2. ประพันธสรรพนาม เป็นสรรพนามท่ีใช้เชื่อมประโยค ทำหน้าที่แทนคำนาม หรือสรรพนามท่ีอยู่ ขา้ งหนา้ และยงั ทำหน้าที่เชอื่ มประโยคโดยให้ ประโยค 2 ประโยคมีความเช่อื มกนั ไดแ้ กค่ ำว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อนั เชน่ - บคุ คล ผ้ไู มป่ ระสงคอ์ อกนาม บริจาคเงิน 100 บาท - ผู้หญิง ท่ีอยู่ในบา้ นนั้นเป็นย่าของผม - ไม้บรรทัด อนั วางบนโต๊ะเป็นของเธอ 3. วิภาคสรรพนาม เป็นสรรพนามบอกความช้ีซ้ำท่ี ใช้แทนนามหรือสรรพนาม ที่แยกออกเป็นส่วนๆ หรือเป็นคนๆ หรอื พวก ได้แก่ บ้าง ต่าง กัน เช่นนักกีฬา ต่างดีใจที่ได้ชัยชนะเด็กนักเรียน บ้างก็อ่านหนังสือ บ้างก็ รอ้ งเพลงพ่นี ้องคยุ กัน 4. นิยมสรรพนาม เป็นสรรพนามท่ีใช้แทนนามช้ีเฉพาะเจาะจง หรือบอกความใกล้ไกล ที่เป็น ระยะทางใหผ้ ้พู ดู กบั ผ้ฟู งั เขา้ ใจกัน ได้แก่คำวา่ นี่ น่ัน โนน่ นี้ นัน้ โนน้ เชน่ - นีเ่ ป็นกระเป๋าใบทีเ่ ธอให้ฉัน - โนน่ เป็นเทือกเขาถนนธงชัย - น่ี เปน็ ของเธอ นเ้ี ป็นของฉัน 5. อนิยมสรรพนาม เป็นสรรพนามใช้แทนนามบอกความไม่ช้ีเฉพาะเจาะจงท่ีแน่นอนลงไป ได้แก่ ใคร อะไร ท่ไี หน ผู้ใด บางครัง้ ก็เป็นคำซ้ำๆ เช่น ใครๆ อะไรๆ ไหนๆ เช่น - ใคร จะไปกับคณุ พอ่ กไ็ ด้ - ผู้ใด เปน็ คนชวั่ เรากไ็ ม่ไปคบค้าสมาคมดว้ ย

11 - ไหนๆ กน็ อนได้ 6. ปฤจฉาสรรพนาม เป็นสรรพนามใช้ถามท่ีใช้แทนนามที่มีเรื้อความเป็นคำถาม เชน่ ใคร อะไร ผูใ้ ด ไหน ปฤจฉาสรรพนามตา่ งกบั อนิยมสรรพนาม ก็คือ อนิยมสรรพนามใช้ในประโยคบอกเลา่ หรอื ปฏิเสธ แต่ปฤจฉา สรรพนามใชใ้ นประโยคคำถาม เชน่ - ใคร มาหาฉนั ? - อะไร อยใู่ ตโ้ ต๊ะ ? - ไหน เปน็ บ้านของเธอ ? 2. หน้าท่ีของคำสรรพนาม สรรพนามใชแ้ ทนคำนามจึงทำหนา้ ท่เี ช่นเดยี วกับคำนาม ดงั นี้ 1. ใชเ้ ปน็ ประธานของประโยค เชน่ - เขา ไปกบั คณุ พ่อ - ใคร อยูท่ ี่นนั่ - ทา่ น ไปกบั ผมหรอื 2. ใช้เป็นกรรมของประโยค เช่น - แม่ด ฉุ ัน - เขา เอาอะไรมา - เด็กๆกิน อะไรๆกไ็ ด้ 3. เป็นผรู้ บั ใช้ เชน่ - คุณแมใ่ หฉ้ ันไปสวน 4. เปน็ สว่ นสมบูรณ์หรือสว่ นเติมเตม็ เชน่ - คณุ เปน็ ใคร 5. ใชเ้ ชือ่ มประโยค เช่น - เขาพาฉันไปบา้ น ท่ีฉันไม่เคยไป - เขามีความคิด ซึง่ ไมเ่ หมือนใคร - คน ทไ่ี ปกบั เธอเป็นน้องฉนั 6. ใช้ขยายนามที่ทำหน้าท่ีเป็นประธาน หรือกรรมของประโยค เพ่ือเน้นความท่ีแสดงความรูส้ ึกของ ผ้พู ดู จะวางหลงั คำนาม - คุณคร ูท่านไมพ่ อใจท่เี ราไมต่ ้ังใจเรียน - ฉนั แวะไปเยย่ี มคณุ ครู ท่านมา

12 การใช้คำสรรพนาม มขี ้อสงั เกตดงั น้ี คอื 1. บุรุษสรรพนามบางคำจะใชเ้ ปน็ บุรษุ สรรพนามบุรษุ ท่ี 2 หรือ บรุ ษุ ท่ี 3 ก็ได้ ท่าน มาหาใครครบั (บุรุษที่ 2) เธอไปกบั ทา่ นหรือเปลา่ (บรุ ุษท่ี 3) เธอ อยบู่ า้ นนะ (บรุ ุษที่ 2) 2. บุรุษสรรพนามจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามฐานะของบุคคล วัยและเพศของบุคคล เช่น ผม ใช้กับผู้พูดเป็น ชาย แสดงความสุภาพ , ขา้ พระพุทธเจ้า ใชพ้ ดู กับพระมหากษัตริยห์ รอื เจา้ ายชั้นสงู เป็นต้น 3. คำนามอาจใชเ้ ป็นสรรพนามไดใ้ นการสนทนา เช่น - ป๋ยุ มาหาคณุ พ่ีเม่ือวานน้ี ( ปุย๋ ใชแ้ ทนผู้พูด ) คำกริยา คำกริยา คือ คำท่ีแสดงอาการของนามหรือสรรพนามเพื่อให้รู้ว่า นามหรือสรรพนามน้ันทำหน้าท่ีอะไร หรอื เปน็ การแสดงการกระทำของประธานในประโยค 1. ชนดิ ของคำกรยิ า คำกริยาแบ่งได้ 5 ชนิด คอื 1.1 อกรรมกริยา คือกริยาท่ไี ม่ตอ้ งมีกรรมมารบั ก็ได้ใจความสมบูรณ์ เช่น - ฉนั ยืนแต่แมน่ ่งั - ไก่ขนั แต่หมาเห่า - พ้นื บ้านสกปรกมาก คำลักษณวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่างๆทำหน้าท่ีเป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค ถือว่าเป็น กรยิ าของประโยค เชน่ - ฉนั สงู เท่าพ่อ - ดอกไม้ดอกน้ีหอม - พืน้ สะอาดมาก 1.2 สกรรมกริยา คอื กรยิ าที่มีกรรมมารับจงึ จะไดใ้ จความสมบรู ณ์ เชน่ - ฉนั กินข้าว - แมห่ ิว้ ถังนำ้ - พ่อ ขายของ กริยาบางคำต้องมกี รรมตรงและกรรมรอง เช่น - ให้ ฉนั ใหด้ ินสอน้อง หมายถงึ ฉัน ใหด้ ินสอแกน่ อ้ ง - แจก ครู แจกดนิ สอนกั เรียน หมายถงึ คร ูแจกดินสอใหน้ ักเรยี น

13 - ถวาย ญาติโยม ถวายอาหารพระภิกษุ หมายถึง ญาติโยม ถวายอาหารแด่พระภิกษุ ดนิ สอ อาหาร เปน็ กรรมตรง นักเรียน พระภิกษุ นอ้ ง เปน็ กรรมรอง 1.3 วิกตรรถกริยา เป็นกริยาที่ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ต้องอาศัยคำนาม สรรพนาม หรือคำ วิเศษณ์มาเติมข้างหลังหรอื มาขยายจึงจะได้ใจความ ได้แก่กริยาคำว่า ว่า เหมือน คล้าย เท่า คือ เ ส มื อ น ป ร ะ ดุ จ แ ป ล ว่ า เ ช่ น - นายสิ เป็นพอ่ คา้ ข้าว - เธอ คลา้ ยฉัน - ทำไดเ้ ชน่ นี้เป็นดีแน่ 1.4 กริยานุเคราะห์ คือกริยาช่วย เป็นคำที่ช่วยให้กริยาอ่ืนท่ีอยู่ข้างหลังได้ความครบ เพื่อบอกกาล หรือบอกการกระทำให้สมบูรณ์ ได้แก่ กำลัง คง จะได้ ย่อม เตย ให้ แล้ว เสร็จ กริยานุเคราะห์จะวางอยู่หน้า คำกริยาสำคญั หรอื หลังคำกริยาสำคัญก็ได้ เช่น - เขา ย่อมไปท่ีนน่ั - เขา ถูกครูดุ - พ่อ กำลังมา - นอ้ งทำการบา้ น แลว้ - ฉัน ต้องไปกบั คณุ แมว่ นั พรุ่งน้ี 1.5 กริยาสภาวมาลา คือ กริยาท่ีทำหน้าท่ีเป็นคำนาม จะเป็น ประธาน กรรม หรือ บทขยายของ ประโยคกไ็ ด้ เช่น นอนหลับ เป็นการพกั ผอ่ นทีด่ ี (ประธานของประโยค) ฉนั ชอบไป เท่ยี วกบั เธอ (เปน็ บทกรรม) ฉันมาเพอ่ื ดเู ขา (เปน็ บทขยาย) 2. หนา้ ท่ขี องคำกรยิ า คำกรยิ าจะทำหน้าทเี่ ปน็ ภาคแสดงของประโยค จะมีตำแหน่งในประโยคดงั น้ี - อยหู่ ลังประธาน เช่น เธอ กินข้าว - อยู่หนา้ ประโยค เช่น เกดิ น้ำท่วมฉบั พลัน คำกริยาทำหนา้ ที่เป็นส่วนขยายคำนาม เชน่ - เ ด็ ก เ ร่ ร่ อ น ยื น ร้ อ ง ไ ห้ เ ร่ ร่ อ น เ ป็ น ก ริ ย า ข ย า ย ค ต ำ น า ม เ ด็ ก - ปลา ตาย ไมม่ ีขายในตลาด ตาย เปน็ กริยาขยายคำนามปลา

14 คำกริยา ทำหนา้ ที่เปน็ กริยาสภาวมาลาเป็นประธานกรรมหรือบทขยาย เชน่ - อ่ า น ห นั งสื อ ช่ ว ย ให้ มี ค ว า ม รู้ อ่ า น ห นั ง สื อ เป็ น ป ร ะ ธ า น ข อ ง ก ริ ย า ช่ ว ย - แม่ไมช่ อบ นอนดกึ นอนดกึ เปน็ กรรมของกริยาชอบ คำวเิ ศษณ์ คำวิเศษณ์ เป็นคำที่ใช้ประกอบคำนาม สรรพนาม กริยา และคำวิเศษณ์ เพื่อให้ข้อความนั้นชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น คนอว้ นต้องเดนิ ชา้ คนผอมเดนิ เร็ว ( ประกอบคำนาม \" คน \" ) เขาทั้งหมด เปน็ เครอื ญาตกิ นั ( ประกอบคำสรรพนาม \" เขา \" ) เขาเป็นคนเดนิ เรว็ ( ประกอบคำกรยิ า \" เดนิ \") 1. ชนิดของคำวเิ ศษณ์ คำวิเศษณ์แบ่งเปน็ 10 ชนิด 1. ลักษณวิเศษณ ์ เป็นคำวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่างๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด สัณฐาน กลิ่น รส บอกความรูส้ ึก เชน่ ดี ชัว่ ใหญ่ เล็ก ขาว กลม หวาน ร้อน เยน็ เชน่ - น้ำรอ้ น อย่ใู นกระตกิ เขียว - จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก - ผมไม่ชอบกนิ ขนมหวาน 2. กาลวเิ ศษณ์ เปน็ คำวเิ ศษณบ์ อกเวลา เช่น เชา้ สาย บ่าย เย็น อดตี โบราณ อนาคต คนโบราณเป็นคนมคี วามคิดดีๆ ฉันไปก่อน เขาไปหลงั 3. สถานวิเศษณ ์ เปน็ คำวเิ ศษณ์บอกสถานที่ เช่น ใกล้ ไกล บน ลา่ ง เหนอื ใต้ ซ้าย ขวา เช่น - เธออยู่ใกล้ ฉนั อยู่ไกล - รถเธอแลน่ ทางซา้ ย ส่วนรถฉนั แล่นทางขวา คำวิเศษณน์ ้ีถ้ามคี ำนามหรอื สรรพนามอยขู่ า้ งหลงั คำดังกลา่ วน้จี ะกลายเปน็ บุพบทไป เช่น - เขาน่ังใกล้ฉัน - เขายนื บนบันได - เขานั่งใต้ตน้ ไม้ 4. ประมาณวิเศษณ์ เป็นคำวเิ ศษณ์บอกจำนวน หรือปริมาณ เช่น หนึ่ง สอง สาม สม่ี าก น้อย ทหี่ นึ่ง ท่ีสอง หลาย ตา่ ง บรรดา บา้ ง กนั คนละ เช่น - เขามสี ุนขั หน่งึ ตวั - พอ่ มสี วนมาก - บรรดา คนที่มา ลว้ นแตก่ นิ จทุ ัง้ ส้ิน

15 5. นิยมวิเศษณ ์ เป็นคำวิเศษณ์บอกความช้ีเฉพาะ เช่น นี่ น้ัน โน้น ทั้งน้ี ทั้งน้ัน เอง เฉพาะ เทียว ดอก แน่นอน จรงิ เชน่ - วชิ าเฉพาะอยา่ งเปน็ วิชาชีพ - คนอย่างน้ีกม็ ีดว้ ยหรือ - ฉนั จะมาหาเธอแนๆ่ 6. อนยิ มวเิ ศษณ ์ เป็นคำวเิ ศษณท์ ่ีประกอบบอกความไม่ช้เี ฉพาะ เชน่ ใด อ่ืนๆ ก่ี ไหน อะไร เช่น - เธออา่ นหนังสืออะไรก็ได้ - เธอพูดอยา่ งไร คนอน่ื ๆกเ็ ชอื่ เธอ - เธอจะนง่ั เก้าอต้ี วั ไหนก็ได้ 7. ปฤจฉาวิเศษณ ์ เป็นคำวิเศษณ์บอกความถาม หรือ ความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน อะไร ทำไม อย่างไร เชน่ - เธอจะทำอย่างไร - สง่ิ ใดอยูบ่ นชั้น - เธอจะไปไหน 8. ประติชญาวิเศษณ ์ เป็นคำวิเศษณ์ใช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ขา คะ จ๋า โว้ย เช่น - หนขู า หนูจะไปไหนคะ - คณุ ครคู รบั ผมส่งงานครับ - ปลิวโวย้ เพ่อื นคอยแลว้ โวย้ 9. ประติเษธวิเศษณ ์ เป็นคำวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิใช่ มิได้ หา ไม่ หามไิ ด้ ใช่ - เขาไมท่ ำก็ไม่เป็นไร เพราะเขามใิ ช่ลูกฉัน - รา่ งกายนีห้ าใชส่ ัตว์ ใช่บคุ คล ใช่ตัวตนเราเขา - ของน้ีไมใ่ ช่ของฉนั ฉันจงึ รับไปไมไ่ ด้ 10. ประพันธวิเศษณ์ เป็นคำวิเศษณ์ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ เพื่อเช่ือมประโยคให้มีความ เก่ยี วขอ้ งกัน เช่น ท่ี ซ่ึง อัน อย่างที่ชนดิ ที่ ทวี่ ่า เพอ่ื วา่ ให้ เช่น - เด็กคนนี้เป็นเดก็ ฉลาดอยา่ งท่ไี มค่ ่อยไดพ้ บ - เขาพดู ให้ฉนั ไดอ้ าย - เขาทำงานหนักเพือ่ ว่าเขาจะไดม้ เี งินมาก

16 ที่ ซงึ่ อนั เปน็ คำประพนั ธวเิ ศษณ์ตา่ งกบั คำประพันธสรรพนาม ดังน้ี ที่ ซึ่ง อัน ท่ีเป็นประพันธสรรพนาม จะใช้แทนนามท่ีอยู่ข้างหน้า และวางติดกับนามหรือ สรรพนาม ท่ีจะแทนและเปน็ ประธานของคำกริยาทต่ี ามมาขา้ งหลงั เชน่ - คนทอ่ี ยู่น้นั เปน็ ครูฉนั - ตน้ ไม้ซึ่งอยูห่ นา้ บา้ นควรตัดทง้ิ ส่วน ที่ ซึ่ง อัน ท่ีเป็นประพันธวิเศษณ์ จะใชป้ ระกอบคำกริยาหรือคำวเิ ศษณ์ จะเรียงหลงั คำ อน่ื ทไี่ ม่ใช่เปน็ คำนามหรือคำสรรพนามดงั ตัวอย่างข้างต้น 2. หนา้ ท่ีของคำวิเศษณ์ หน้าท่ีของคำวิเศษณ์ใช้เป็นส่วนขยายจะขยายนาม สรรพนาม กริยา หรือ คำวิเศษณ์ และยังทำ หน้าทเ่ี ป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยคได้แก่ 1. ทำหนา้ ท่ขี ยายนาม - คนหนมุ่ ย่อมใจรอ้ นเป็นธรรมดา - บา้ นใหญห่ ลังนั้นเปน็ ของผม 2. ทำหนา้ ทขี่ ยายสรรพนาม - ใครบา้ งจะไปทำบญุ - ฉนั เองเป็นคนเขา้ มาในหอ้ งน้ำ 3. ทำหนา้ ท่ขี ยายคำกรยิ า - เขาพดู มาก กินมาก แตท่ ำน้อย - เมอื่ คนื นีฝ้ นตกหนัก 4. ทำหนา้ ทข่ี ยายคำวเิ ศษณ์ - ฝนตกหนักมาก - เธอว่ิงเรว็ จรงิ ๆ เธอจึงชนะ คำบุพบท เป็นคำท่ีใช้หน้าคำนาม คำสรรพนาม หรือคำกริยาสภาวมาลา เพ่ือแสดงความสัมพันธ์ของคำ และ ประโยคที่อยหู่ ลงั คำบุพบทว่ามีความเก่ยี วข้องกบั คำหรือประโยคท่อี ยู่ข้างหน้าอยา่ งไร เช่น - ลูกชายของนายแดงเรยี นหนังสือไม่เกง่ แต่ลูกสาวของนายดำเรยี นเก่ง - ครูทำงานเพ่ือนกั เรยี น - เขาเลี้ยงนกเขาสำหรับฟงั เสียงขัน

17 1. ชนดิ ของคำบุพบท คำบุพบทแบ่งเปน็ 2 ชนดิ 1. คำบุพบทท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำต่อคำ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างคำนามกับคำนาม คำนามกับคำสรรพนาม คำนามกับคำกริยา คำสรรพนามกับคำสรรพนาม คำสรรพนามกับคำกริยาคำกริยากับ คำนาม คำกริยากับคำสรรพนาม คำกริยากบั คำกริยา เพ่ือบอกสถานการณใ์ หช้ ดั เจนดังต่อไปนี้ บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ เชน่ - ฉนั ซื้อสวน ของนายฉลอง (นามกบั นาม) - บ้าน ของเขาใหญ่โตแทๆ้ (นามกับสรรพนาม) - อะไร ของเธออยใู่ นถุงนี้ (สรรพนามกบั สรรพนาม) บอกความเกยี่ วขอ้ ง - เธอตอ้ งการมะมว่ ง ในจาน (นามกบั นาม) - ฉนั ไป กบั เขา (กรยิ ากบั สรรพนาม) - พอ่ เหน็ แก่แม่ (กรยิ ากบั นาม) บอกการใหแ้ ละบอกความประสงค์ - แกงหมอ้ นเ้ี ปน็ ของ สำหรับใส่บาตร (นามกบั กริยา) - พ่อใหร้ างวัล แก่ฉนั (นามกบั สรรพนาม) บอกเวลา - เขามา ตงั้ แตเ่ ช้า (กริยากบั นาม) - เขาอยูเ่ มืองนอก เม่ือปีทแี่ ลว้ (นามกับนาม) บอกสถานท่ี - เธอมา จากหวั เมอื ง (กรยิ ากับนาม) บอกความเปรยี บเทยี บ - เขาหนัก กวา่ ฉัน (กรยิ ากับนาม) - เขาสงู กวา่ พ่อ (กรยิ ากบั นาม) 2. คำบุพบทท่ีไม่มีความสัมพันธ์กับคำอ่ืนส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้เป็นการทักทาย มักใช้ในคำ ประพันธ์ เช่น ดูกร ดูก้อน ดรู าชา้ แต่ คำเหลา่ น้ใี ช้นำหนา้ คำนามหรอื สรรพนาม ดูกร ทา่ นพราพมณ์ ทา่ จงสาธยายมนตบ์ ชู าพระผ้เู ป็นเจา้ ดว้ ย ดูกอ่ น ภิกษุท้งั หลาย การเจริญวิปสั สนาเปน็ การปฏบิ ัติธรรมของท่าน ดรู า สหายเอ๋ย ทา่ นจงทำตามคำท่เี ราบอกท่านเถดิ ชา้ แตท่ ่านท้งั หลาย ข้าพเจา้ ยนิ ดีมากท่ที า่ นมาร่วมงานในวนั น้ี

18 ข้อสังเกตการใช้คำบุพบท 1. คำบพุ บทต้องนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม หรอื คำกริยาสภาวมาลา เช่น เขาม่งุ หน้าสูเ่ รือน ปา้ กินขา้ ว ด้วยมือ ทกุ คนควรซือ่ สัตย ต์ ่อหนา้ ที่ 2. คำบพุ บทสามารถละได้ และความหมายยงั คงเดิม เช่น เขาเปน็ ลูกฉัน (เขาเป็นลูก ของฉนั ) แม่ใหเ้ งินลูก (แม่ให้เงนิ แกล่ ูก) ครคู นน้ีเชยี่ วชาญภาษาไทยมาก (ครคู นนเี้ ช่ยี วชาญ ทางภาษาไทยมาก) 3. ถา้ ไมม่ ีคำนาม หรือคำสรรพนามตามหลงั คำนนั้ จะเป็นคำวเิ ศษณ์ เชน่ เธออยู่ใน - พ่อยืนอยูร่ มิ เขานงั่ หน้า - ใครมา ก่อน ตำแหน่งของคำบพุ บท ตำแหน่งของคำบุพบท เป็นคำท่ีใช้นำหน้าคำอ่ืนหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคำ หรือประโยคที่อยู่หลังคำบุพ บท มคี วามสมั พันธ์กบั คำหรือประโยคข้างหน้า ดังนั้นคำบุพบทจะอยู่หนา้ คำต่างๆ ดงั น้ี 1. นำหนา้ คำนาม เขาเขยี นจดหมาย ด้วยปากกา เขาอยทู่ บี่ ้านของฉนั 2. นำหน้าคำสรรพนาม เขาอยูก่ ับฉนั ตลอดเวลา เขาพูด กบั ท่านเมอ่ื คืนน้ีแล้ว 3. นำหนา้ คำกริยา เชน่ เขาเหน็ แกก่ นิ โตะ๊ ตัวนจี้ ดั สำหรับอภิปรายคนื น้ี 4. นำหน้าคำวิเศษณ์ เช่น เขาวงิ่ มา โดยเร็ว เธอกลา่ ว โดยซ่อื

19 คำสันธาน คำสนั ธาน เปน็ คำจำพวกหนึ่งที่ใช้เช่ือมคำ เช่ือมความและเชือ่ มประโยคใหต้ ิดต่อเป็นเร่ืองเดียวกันและ สละสลวย 1. ชนดิ และหนา้ ท่ีของคำสนั ธาน 1. เชื่อมคำกับคำ ได้แก่ คำว่า และ กับ ดังตัวอย่าง - บุตรชายและบุตรสาวต้องเลย้ี งดูบดิ าและมารดา - นายดำกบั นายแดงเดินทางไปด้วยกนั 2. เชอื่ มประโยคกับประโยค ได้แก่ คำว่า หรือ และ เพราะ เพราะ… จึง แต่ ฯลฯ ดัง ตวั อยา่ ง - เธออยากจะได้เสอ้ื หรือกางเกง - หลอ่ นร้องไห้จนนำ้ ตาแทบเป็นสายเลอื ด - เพราะ เขาไม่ขยันอา่ นหนงั สอื เขาจึงสอบตก - ผมชอบอาหารภาคเหนือแต่เขาชอบอาหารภาคใต้ 3. เช่ือมข้อความกบั ข้อความ ได้แก่คำวา่ เพราะฉะนั้น แม้วา่ …. ก็ เพราะ…. จงึ ฯลฯ เช่น - ชาวตา่ งชาตเิ ขาเข้ามาอยเู่ มอื งไทย เขาขยันหมัน่ เพียร ไมย่ อมใหเ้ วลาผ่านไปโดย เปลา่ ประโยชน์ เขาจึงรำ่ รวยจนเกอื บจะซื้อแผ่นดินไทยได้ท้ังหมดแลว้ เพราะฉะนนั้ ขอให้พ่ีนอ้ งชาวไทยทง้ั หลาย จงตื่นเถิด จงพากนั ขยันทำงานทกุ ชนดิ เพื่อจะไดร้ ักษาผนื แผ่นดนิ ของไทยไว้ 4. เช่ือมความใหส้ ละสลวย ได้แก่คำว่า ก็ อนั วา่ อย่างไรกต็ าม อนึ่ง เป็นตน้ เช่น - ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ เขาก็เป็นคนดคี นหนึ่ง - อนั วา่ กริ ิยามารยาทอันงดงามน้นั ย่อมเป็นที่ชน่ื ชมของผู้ท่ีพบเห็น - อย่างไรกต็ าม ฉนั จะต้องหาทางช่วยเหลอื เขาใหไ้ ด้ 2. ข้อสงั เกต เนือ่ งจากหน้าทสี่ ำคัญของคำสันธาน ได้แก่ การเชอ่ื มคำ ประโยค และข้อความ ให้เก่ียวเน่อื งกนั นั้น โปรดดู เพ่ิมเติมในบทว่าดว้ ยเรอ่ื งประโยค คำอุทาน คำอทุ าน เป็นคำทเ่ี ปลง่ ออกมาโดยไม่คำนึงถึงความหมาย แต่เนน้ ท่กี ารแสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ของผู้พูด 1. ชนิดของคำอุทาน 1. คำอทุ านบอกอาการ คือ คำอทุ านท่ีเปลง่ ออกมาเพ่ือให้รู้อาการต่าง ๆ ของผ้พู ดู เชน่ อาการดีใจ เสียใจ ตกใจ และประหลาดใจ เปน็ ตน้ ไดแ้ ก่คำวา่ เอ๊ะ โอ๊ย อ๊ะ เฮ่ เฮ้ย โธ่ อนิจจา แหม ว้า วา้ ย วุ้ย เป็นตน้ อนึ่ง หลังคำอทุ านพวกน้ีมักมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กำกบั เสมอ ดังตวั อยา่ ง - แหม! หลอ่ จริง - เฮ้ย! อยา่ เดนิ ไปทางนน้ั

20 - โธ!่ หมดกนั 2. คำอทุ านเสริมบท คือ คำอุทานท่ีใชเ้ ป็นคำสรอ้ ยหรอื เสริมบท เพอื่ ให้เสียงหรือความกระชับ สละสลวยขนึ้ แบ่งออกได้เปน็ 3 ชนดิ คอื 2.1 คำอทุ านเสริมบทท่ีใชเ้ ป็นคำสรอ้ ย ส่วนมากพบเป็นคำข้นึ ต้นและลงท้ายบทประพันธ์ ประเภทโคลงและรา่ ย เติมลงไปเพื่อแสดงความรู้สึกบ้าง เพ่ือทำให้คำประพนั ธ์มีพยางค์ครบตามฉันทลักษณบ์ ้าง ได้แก่คำวา่ โอ้ อ้า โอว้ ่า เถิด นา พ่อ แฮ เฮย เอย ฯลฯ ดังตัวอยา่ ง - โอ้ ศรเี สาวลกั ษณ์ล้ำ แลโลม โลกเอย - โฉมควรจักฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤๅ - พระสุเมรุเปื่อยเป็นตม ทบทา่ ว ลงนา 2.2 คำอุทานเสริมบทท่ีใชเ้ ปน็ คำแทรกระหว่างคำหรือข้อความ ไดแ้ ก่คำว่า นา เอย เอย่ เอ๋ย โวย ฯลฯ ดงั ตวั อยา่ ง - เด็กเอ๋ยเดก็ น้อย - สัตวอ์ ะไรเอ่ยไมม่ ีหัว - กบเอยทำไมจึงรอ้ ง 2.3 คำอุทานเสริมบทท่ีใชเ้ ป็นคำเสรมิ เพ่อื ต่อถ้อยคำขา้ งหน้าให้ยาวออกไป แต่ไมต่ ้องการ ความหมายทีเ่ สรมิ นั้น ดังตัวอยา่ ง - วัดวาอาราม - รถรา - หนังสือหนงั หา - ผา้ ผอ่ นท่อนสไบ คำอนุภาค คำอนุภาค บางทเี รยี กว่า คำเสริม หลักภาษาแนวใหม่ไดก้ ำหนดคำอนุภาคขึ้นตา่ งไปจากหลกั ภาษาเดมิ คำอนุภาคนี้ในหลักภาษาเดิมจดั อยู่ในคำวิเศษณ์ แต่หลกั ภาษาแนวใหม่เนน้ การสือ่ สารโดยเฉพาะภาษาพูด จงึ จัด คำพวกหนึง่ ซ่ึงเปน็ คำวิเศษณ์ ในหลกั ภาษาเดมิ ท่ีใช้ภาษาพูด มาเป็นคำอนุภาค หรือคำเสริม เพ่ือเน้นเจตนาของผู้ พดู เปน็ การบอกเล่า สั่ง ถาม ขู่ อ้อนวอน ขอร้อง แนะนำ เชิญชวน บงั คบั เป็นต้น คำอนภุ าคหรือคำเสริมนี้ เปน็ การเนน้ ความให้เด่นชดั เพ่ือแสดงเจตนาของผู้พดู มักใช้ในประโยคท่ีพูดจา กันมากกว่าจะใชใ้ นประโยคท่ีเปน็ ภาษาเขียน คำอนุภาคหรือคำเสริมทเ่ี ป็นคำลงทา้ ยประโยคอาจแตกต่างกันไป ตามลักษณะ เจตนา ในการส่ือสารของผูพ้ ดู

21 1. ชนดิ ของคำอนุภาค คำอนภุ าคแบง่ เปน็ 2 ชนดิ คือ 1. อนภุ าคท่เี ป็นส่วนคำลงท้ายประโยค ไดแ้ ก่ คำวา่ นะ เถอะ หรอก ซิ นะ่ แนะ่ หนอ ละ กระมัง ครับ ค่ะ คะ ไหม หรอื คำเหลา่ นนี้ กั ภาษาศาสตร์ถอื ว่าเป็นคำเสรมิ เข้าไปในประโยค เพอื่ เน้นเจตนาของผูพดู วา่ ต้องการเนอื้ ความบอกเลา่ ขอรอ้ ง สง่ั สงสยั บังคับ อนญุ าต คำอนุภาคเหลา่ น้ี ในตำราหลักภาษาไทยเดมิ ถือวา่ เป็นคำวเิ ศษณ์ ส่วนคำวา่ ไหม หรือ ถือวา่ เป็นปฤจฉาวเิ ศษณ์ เปน็ ต้น ตัวอย่างคำอนุภาคทีเ่ ปน็ ส่วนของคำลงทา้ ย มากบั ฉัน นะ (ชักชวน) มากับฉัน เถอะน่า (ชักชวน) ของพวกน้ี แม่จะไวใ้ สบ่ าตร น่ะ (อธบิ ายแสดงเหตผุ ล) ผมไปกอ่ น นะ (ขออนุญาต) เดินเร็วๆ ซิ (คำส่งั ) ฝนตกแลว้ ซิ (บอกกลา่ ว) ไป เถอะ (อนุญาต หรอื ชกั ชวน) ขนมอรอ่ ย จงั เลย (เน้นความ) ผมไมเ่ ห็นดว้ ย หรอก (บอกกล่าว) หนูช่อื อะไร จ๊ะ (ความสภุ าพ) รถไฟคงมาช้าอีก กระมัง (คาดคะเน) 2. อนภุ าคท่ไี ม่ได้เป็นสว่ นคำลงท้ายประโยค จะใช้ประกอบคำเพอ่ื ให้คำ หรือความเด่นชัดขนึ้ อาจอยู่ ตน้ ประโยค ระหว่างประโยคกไ็ ด้ จะเป็นการเน้นความ เชน่ คุณ นัน่ แหละ คณุ เลย่ี งไดก้ เ็ ลยี่ งเถดิ ปัญหา นะ่ หรือ ผมเสนอใหเ้ กบ็ ไว้ก่อน เด็ก น่ะน้า ยง่ิ ตยี งิ่ ดอื้ ฉนั รหู้ รอก ว่าเขาไมด่ ี นน่ั แหละ ฉนั บอกเธอแล้วก็ไมเ่ ชอ่ื เถอะน่า เธอกร็ ูเ้ อง

22 จริงแหละ ถา้ เขาตายพวกเธอก็ลำบาก เหรอ ผมไม่รูเ้ รอ่ื งเลย 2. หนา้ ทีข่ องคำอนภุ าค 1. ใช้แสดงเจตนาของผู้พูด ไปเด๋ียว นีน้ ะ (สัง่ ) ไป เถอะนะลูก (อนุญาต) ฝนจะตก นะ เอาร่มไปดว้ ย (เกลี้ยกล่อม) 2. ใช้แสดงการถาม เขาจะไปหรอื ยงั เธอเอามารึเปล่า 3 ใช้ประกอบคำหรอื ความให้เดน่ ชดั พอ่ รหู้ รอกว่าลูกดีใจมากทีส่ อบเข้ามหาวิทยาลัยได้ เดก็ น่นี ้า ทำอะไรก็ไม่ผดิ **ข้อสังเกต ** คำอนุภาคนอกจากจะมีหน้าทแี่ สดงเจตนาของผู้พูดแลว้ ยงั จะทำหนา้ ที่คล้ายคำวิเศษณ์ คือ เป็นสว่ นประกอบคำใหช้ ดั เจนอกี ด้วย

23 ความหมายของการวาดรูป การวาดรูป หมายถึง การถ่ายทอดอารมณความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลนั้น ๆ ออกมาเป็นภาพตาม จินตนาการของมนุษย์บนวัตถุชนิดต่าง ๆ เช่น กระดาษ, อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้, ผ้า, ตึกราบ้านช่อง และอีก มากมายทเ่ี ราเหน็ เป็นภาพไมว่ ่าจะเปน็ ภาพการต์ นู ภาพคนเหมอื น ภาพท่ีเปน็ ลายเสน้ ภาพสถานทตี่ ่างๆ ประโยชน์ของการวาดรูป การวาดภาพระบายสเี ป็นการวาดภาพหรอื ระบายสโี ดยใช้ดินสอสี สีเทยี น สนี ำ้ สีโปสเตอร์ พู่กนั ฯลฯ แล้ววาดบนกระดาษหรอื วัสดอุ ยา่ งอนื่ ซงึ่ มปี ระโยชน์ ดงั นี้ - ฝึกการลากเส้นและรูปทรงต่างๆ - ไดแ้ สดงออกถึงความรสู้ ึกนึกคิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ - ฝึกการควบคมุ กล้ามเนื้อและประสาทสมั พันธ์ระหวา่ งมือกบั ตา

24 - ฝกึ การใชส้ ี ทดลองสี เชน่ การผสมสีต่างๆ - ได้ผอ่ นคลายความเครียด ลดความกดดนั ทางอารมณ์และส่งเสริมให้มจี ิตใจที่ดีงาม - ฝึกการทำงานตามลำพงั และเป็นกลุม่ - ฝึกความรบั ผิดชอบ เชน่ การเก็บวัสดุใหเ้ รียบรอ้ ย ฉะน้นั ไม่ว่าคนทุกเพศทุกวัยควรหนั มาทำกิจกรรมสบายๆ สร้างเสรมิ จินตนาการไดท้ ำกิจกรรมดังกลา่ ว โดยวาดภาพและระบายสอี ยา่ งอสิ ระและเลา่ ส่ิงทท่ี ุกคนทำ เปน็ ต้น อปุ กรณใ์ นการวาดรูป ในการเขียนรูป เราต้องใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ยางลบ ดินสอดำ สีตางๆ จานสี พู่กัน เป็นต้น เม่ือใช้เสร้จเเล้ว ต้อง ลา้ งทำความสะอาด และเกบ็ รักษาใหถ้ กู วิธีด้วย 1. ดนิ สอดำ วธิ ีใช้เเละการเกบ็ รักษา ใช้ในการรา่ งภาพต่างๆ เมือ่ ใช้เสร็จเเลว้ ใหน้ ำไปเกบ็ ไวใ้ นกล่อง 2. ยางลบ วิธีใช้เเละการเก็บรักษา ใช้ลบเส้นดินสอ เม่ือใช้เสร็จเเล้ว ควรทำความสะอาดโดยใช้นิ้วถูสิ่งสกปรกท่ีติด อยอู่ อก แล้วเก็บใสก่ ล่อง 3. กระดาษวาดเขยี น วิธีใช้เเละดเู เลรกั ษา ใช้เป็นพน้ื รองรบั ภาพทวี่ าดและทำงานศิลปะอ่ืนๆ ไมค่ วรเก็บด้วยวิธีการหัก พับ หรอื งอ 4. จานสี วธิ ีใช้เเละดูเเลรักษา ใช้เเบ่งสีจากหลอดหรอื ขวด และใช้ผสมสี เม่ือใช้เสร็จเเลว้ ลา้ งให้สะอาด เชด็ ให้เเห้ง แล้วนำไปเก็บ 5. พูก่ นั วิธีใช้และดแู ลรักษา ใช้ระบายสีน้ำหรือโปสเตอร์ เม่ือใช้เสร็จเเล้วล้างขนพู่กันให้สะอาด เเล้วลูบปลายขน ใหเ้ รยี บแหลม ท้ิงไวใ้ หเ้ เหง้ ก่อนไปเกบ็ ควรหาหลอดดดู ไปสวมตรงขนพ่กู นั เพื่อป้องกันไม่ใหบ้ ดิ งอ 6. สีดินสอ (สีไม้) วธิ ีใช้และดูแลรกั ษา ใช้ระบายสี ถ้าไส้กดุ ใหใ้ ช้กบเหลาดินสอหรือมมีดเกลา เมื่อใชเ้ สรจ็ เเล้วให้เกบ็ ใส่ในกล่อง 7. สีน้ำ วธิ ีใชเ้ เละดูแลรกั ษา ใช้ระบายสี เม่ือจะใช้ให้บีบสีออกมาผสมน้ำก่อน และถ้าใช้เสร็จเเล้ว ให้ปิดผาหลอด จนเเน่น แล้วนำไปเกบ็ ไวใ้ นกล่อง 8. สโี ปสเตอร์ วธิ ใี ช้เเละดแู ลรกั ษา ใช้ระบายสี เมื่อจะใชใ้ ห้ตกั สีออกมาผสมกบั น้ำตามสัดสว่ นที่เหมาะสม และถ้าใช้เสร็จ เเลว้ ให้ปิดฝาจนสนิทก่อนนำไปเก็บ เพ่ือปอ้ งกนั สแี ห้ง

25 บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงานตามโครงการ 1. วธิ ีการดำเนินงาน ข้ันเตรียมการ เพอื่ จดั ประชมุ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอยี ดโครงการ - ชแ้ี จงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การเพื่ออนมุ ัติ - แต่งตง้ั กรรมการดำเนินงานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบดว้ ย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจันทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ครผู ูช้ ่วย กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สิทธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยตดิ ตอ่ ประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานที่จัดการจัดกจิ กรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ย่งิ สกุ ครู ศรช. 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจ่ายพสั ดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ

26 3.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศิวณัชญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์วิทยุห้างทองเรดิโอ เสียงตามสาย วิทยุชุมชน ประชาสัมพันธท์ างออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยิ่งสุก ครู ศรช. 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าที่ให้กรรมการมีหน้าที่จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และประชาชน มีหน้าที่จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และ สื่อออนไลน์ ส่อื การเรยี นการสอน เกม และกจิ กรรมนนั ทนาการ ดังน้ี 5.1 กิจกรรมรักการอา่ นผ่านสื่อออนไลน์ 5.1.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.1.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครอู าสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล

27 5.1.13 นายศวิ ณชั ญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.2 กจิ กรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณลี อยกระทง 5.2.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.2.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.3 นางสาวลาวัณย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครูอาสาสมัครฯ 5.2.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.2.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.2.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.2.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.2.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.2.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 5.2.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.2.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.2.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.2.13 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.2.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.2.15 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.2.16 นางสาวอุษา ยิ่งสกุ ครู ศรช. 5.2.17 นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.3 กจิ กรรมปริศนา...อา่ นคำ บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.3.1 นางวารี ชูบัว ครู กศน. ตำบล 5.3.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู ศรช. 5.3.3 นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.3.4 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.3.5 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์

28 5.4 กจิ กรรมอ่านดีมรี างวัล บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.4.1 นางวารี ชบู ัว ครูอาสาสมัครฯ 5.4.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครู กศน. ตำบล 5.4.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.4.4 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู ศรช. 5.4.5 นายศวิ ณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.4.6 นางสาวกญั ญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.4.7 นางสาวอษุ า ย่ิงสุก 5.5 กจิ กรรมอ่านสรา้ งอาชีพ บรรณารักษช์ ำนาญการ 5.5.1 นางวารี ชบู วั ครูอาสาสมัครฯ 5.5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.5.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.5.4 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.5.5 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.5.6 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.5.10 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.5.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู ศรช. 5.5.13 นายศิวณัชญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.5.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปัญญา ครู ศรช. 5.5.15 นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ครู ศรช. 5.5.16 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 5.5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ 5.6 กิจกรรมสภุ าษติ สำนวนไทย บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.6.1 นางวารี ชบู วั ครอู าสาสมัครฯ 5.6.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.6.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ครู กศน. ตำบล 5.6.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร

29 5.6.5 นางลาวนิ สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 5.6.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.6.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.6.8 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 5.6.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.6.10 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.6.11 นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.6.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.6.13 นายศิวณชั ญ์ อศั วสัมฤทธิ์ ครู ศรช. 5.6.14 นางสาวกัญญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 5.6.15 นายปณั ณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. 5.6.16 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช. 5.6.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์ ครู ศรช. 6. ฝา่ ยรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรียมเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบียน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอุษา ยงิ่ สุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพึงพอใจ ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานหลงั เสร็จส้ินโครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 7.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 7.3 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 7.4 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช.

30 2. ขัน้ ดำเนินการ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 20 คน ดำเนนิ การ - 1. ขัน้ เพื่อจัดประชุมครูและ ครูและบุคลากร 20 คน กศน. อำเภอ พ.ย.63 - เตรยี มการ บุคลากรทางการศึกษา กศน. อำเภอ 5,750 - ชแี้ จงทำความเข้าใจ ชนแดน - ชนแดน - 2. ประชมุ รายละเอยี ดโครงการ กรรมการ - ชีแ้ จงแนวทางในการ ครูและบุคลากร 600 คน กศน. อำเภอ 14 ธ.ค.63 ดำเนินงาน ดำเนนิ โครงการ กศน. อำเภอ 50 คน ชนแดน 3. จดั เตรียม - จัดทำโครงการและ ชนแดน 20 คน เอกสาร วัสดุ แผนการดำเนนิ การเพ่ือ กรรมการฝ่ายท่ี 50 คน กศน. อำเภอ 15 ธ.ค.63 อปุ กรณ์ในการ อนมุ ัติ ไดร้ ับมอบหมาย 100 คน ชนแดน ดำเนินโครงการ - แต่งตั้งกรรมการ 180 คน 4. ดำเนินการ ดำเนินงานตามโครงการ นกั เรยี น รวม พืน้ ที่อำเภอ ต.ค.63 จดั กจิ กรรม เพอ่ื ประชุมทำความเข้าใจ นกั ศกึ ษา และ 1,000 คน ชนแดน - กับกรรมการดำเนินงานทุก ประชาชนทั่วไป ฝา่ ยในการจดั กจิ กรรม ม.ี ค.64 โครงการและการดำเนนิ งาน เพื่อดำเนินการจัดทำ จดั ซอื้ วสั ดุอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการ ดำเนินการ 1. รักการอา่ นผ่านสื่อ ออนไลน์ 2. กจิ กรรมสืบสาน วัฒนธรรมประเพณี ลอยกระทง 3. ปริศนา...อา่ นคำ 4. อ่านดมี ีรางวลั 5. อ่านสร้างอาชีพ 6. สภุ าษิต สำนวนไทย

31 กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ ม.ี ค.64 - 5. สรุป/ เพ่ือให้กรรมการฝ่าย ตาม 2 เลม่ กศน. อำเภอ ประเมินผล ประเมินผลเก็บรวบรวม และรายงานผล ข้อมลู และดำเนินการ กระบวนการ ชนแดน โครงการ ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม ประเมนิ โครงการ 5 บท 3. ข้นั สรุปการจัดกิจกรรม 1. ดัชนวี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์ (outcome) นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทัว่ ไปรักการอ่าน เพ่อื พฒั นาคุณภาพ ชีวิตที่ดขี นึ้ 2. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกจิ กรรม

32 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ ส่งเสรมิ การเรียนร้สู ำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กิจกรรมปรศิ นา...อ่านคำ แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป เพศ รอ้ ยละ จำนวน 36.70 เพศ 63.30 ชาย 11 100 หญงิ 19 รวม 30 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ ในครั้งนี้ เปน็ เพศหญิง มากที่สุด จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 63.30 ช่วงอายุ อายุ รอ้ ยละ ตำ่ กวา่ 15 ปี จำนวน - 15 - 29 ปี 30 – 39 ปี - 66.70 40 - 49 ปี 20 6.70 50 - 59 ปี 2 6.70 60 ปีขนึ้ ไป 2 16.70 5 3.30 รวม 1 100 30 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ ในคร้ังนี้ เปน็ ช่วงอายุ 15 - 29 ปี มากท่สี ุด จำนวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.70

33 ระดบั การศึกษา การศึกษา ร้อยละ ประถมศึกษา จำนวน - ม.ตน้ - 30.00 ม.ปลาย 9 70.00 ปวช./ปวส. 21 ปรญิ ญาตรี - - สูงกวา่ ปริญญาตรี - - รวม - - 30 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ ในคร้งั น้ี การศกึ ษาระดบั ม.ปลาย มากท่ีสุด จำนวน 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.00 อาชีพ อาชพี ร้อยละ รับจ้าง จำนวน 76.70 เกษตรกรรม 23.30 ผู้นำชุมชน 23 คา้ ขาย 7 - รบั ราชการ - - นักเรยี น/นกั ศึกษา - - อื่นๆ ระบุ - - รวม - - - 100 30 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อธั ยาศัย กจิ กรรมท่ี 2 โครงการส่งเสริมการเรยี นรสู้ ำหรับนักศึกษาและประชาชน กจิ กรรมปรศิ นา...อา่ นคำ ในครั้งน้ี เป็นอาชพี รบั จ้างมากท่ีสดุ จำนวน 23 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.70

34 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู ความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อโครงการ 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.49 อยูใ่ นระดับ น้อยท่ีสดุ 1.50 – 2.49 อยู่ในระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยูใ่ นระดับ ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยู่ในระดบั มาก 4.50 - 5 อยใู่ นระดบั มากที่สุด 2.2 เกณฑ์การให้คะแนน 5 อยใู่ นระดับ มากทส่ี ดุ 4 อยู่ในระดับ มาก 3 อย่ใู นระดับ ปานกลาง 2 อยู่ในระดับ น้อย 1 อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ข้อ รายการ ประเมนิ (คน) มากทส่ี ุด 5 1 กจิ กรรมทจ่ี ัดสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ 30 28 2 เน้ือหาของส่ือการเรยี นรู้ตรงกับความต้องการของผูร้ ับบริการ 30 27 3 การจดั กิจกรรมมสี ือ่ การเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย 30 30 4 กจิ กรรมสง่ เสริมการมมี นุษย์สัมพันธ์อันดตี ่อกนั 30 30 5 สถานทจี่ ัดกิจกรรมเหมาะสมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ 30 30 6 ระยะเวลาการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 30 29 7 ทา่ นมคี วามประทบั ใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมครงั้ นี้ 30 30 8 การประชาสมั พนั ธแ์ ละชวนเชิญ 30 30 9 ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณใ์ นการจัดกิจกรรม 30 30 10 การนำประโยชนไ์ ปใช้ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 30 29 11 ทา่ นคดิ ว่าควรมีการจัดกจิ กรรมในลักษณะน้ตี ่อเน่ือง 30 30 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปทา่ นยินดเี ข้าร่วมโครงการน้ีอกี 30 29 รวมทั้งหมด 360 352 ร้อยละ 100 97.78

35 ระดับผลการประเมิน เฉลย่ี S.D. ประมวล รอ้ ยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สดุ ผล 4 321 2 0 0 0 4.93 0.25 มากทส่ี ดุ 98.67 3 0 0 0 4.90 0.31 มากทส่ี ุด 98.00 0 0 0 0 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ 100.00 0 0 0 0 5.00 0.00 มากที่สุด 100.00 0 0 0 0 5.00 0.00 มากที่สดุ 100.00 1 0 0 0 4.97 0.18 มากทส่ี ุด 99.33 0 0 0 0 5.00 0.00 มากที่สุด 100.00 0 0 0 0 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ 100.00 0 0 0 0 5.00 0.00 มากที่สดุ 100.00 1 0 0 0 4.97 0.18 มากท่ีสุด 99.33 0 0 0 0 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ 100.00 1 0 0 0 4.97 0.18 มากที่สุด 99.33 8 0 0 0 4.98 0.15 มากทสี่ ุด 99.56 2.22 0.00 0 0

36 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อ่านคำ ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจใน ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 99.56 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ -

37 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การบรู ณาการการเรยี นรู้ • มีการนำความรูท้ ไ่ี ด้รับไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวันได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป มีนิสัยรักการอ่าน และมีความคิด สร้างสรรค์ มนี ิสยั รกั การอา่ นนำไปสูก่ ารเรยี นรู้ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตให้ดขี ้นึ ความรว่ มมือของกลุ่มเป้าหมายและเครือข่าย - การมสี ว่ นร่วมของภาคีเครือขา่ ยในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย - การสนบั สนุนใหภ้ าคีเครอื ข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การนำความรไู้ ปใช้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปเข้าถึง และมีโอกาสได้อ่าน หนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหด้ ีข้ึน การดำเนินงานท่วั ไป เชิงปรมิ าณ - กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา กศน.อำเภอชนแดน จำนวน 20 คน - จำนวนกลุม่ ตัวอย่าง นักศกึ ษา กศน.อำเภอชนแดน จำนวน 30 คน 1) ชาย จำนวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.70 2) หญงิ จำนวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.30 เชิงคณุ ภาพ 1. นกั เรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปเขา้ ถึง และมีโอกาสไดอ้ า่ นหนังสอื 2. นกั เรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปเข้ามารับบริการในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนมากขึน้ 3. นกั เรยี น นักศกึ ษาและประชาชนท่ัวไปมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการเข้าถงึ แหลง่ สาร สารสนเทศไดอ้ ย่างประสิทธภิ าพและตรงตามความต้องการ 4. นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนท่ัวไปมีนสิ ยั รกั การอ่านนำไปสู่ การเรยี นรู้ และ พฒั นาคุณภาพชีวติ ให้ดขี ึ้น

38 ผลการดำเนนิ งานตามตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ 1. เปา้ หมาย จำนวน 20 คน มผี ู้เขา้ รว่ มกิจกรรม จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย 2. จำนวนผู้รว่ มกิจกรรม จำนวน 30 คน ผา่ นกจิ กรรม จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานบรรลเุ ปา้ หมาย สรุปผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้สำหรบั นักศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนาอ่านคำ ในภาพรวม อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 99.56 สรปุ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ/กิจกรรม ท่ีเขา้ ร่วม 1. กิจกรรมทจี่ ัดสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ อยูใ่ นระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.67 2. เน้ือหาของส่ือการเรียนรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.00 3. การจัดกิจกรรมมีส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 100 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 100 5. สถานที่จัดกิจกรรมเหมาะสมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็น ร้อยละ 100 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 99.33 7. ท่านมีความประทับใจในการเข้าร่วมกิจกรรมคร้ังนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 100 8. การประชาสมั พันธ์และชวนเชิญ อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 100 10.การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ี อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 99.33 11.ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะน้ีต่อเนื่อง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 100

39 12.หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการน้ีอีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 99.33 ข้อเสนอแนะ -

40 ภาคผนวก

ภาพ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมท่ี ๒ โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูส้ ำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กจิ กรรมปรศิ นา...อา่ นคำ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2563 ณ กศน.ตำบลชนแดน อาเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์

ภาพ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมท่ี ๒ โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูส้ ำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กจิ กรรมปรศิ นา...อา่ นคำ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2563 ณ กศน.ตำบลชนแดน อาเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์

ภาพ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมท่ี ๒ โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูส้ ำหรบั นักศกึ ษาและประชาชน กจิ กรรมปรศิ นา...อา่ นคำ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2563 ณ กศน.ตำบลชนแดน อาเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์

แบบประเมินความพึงพอใจโครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมท่ี ๒ โครงการส่งเสริมการเรียนรสู้ ำหรับนกั ศึกษาและประชาชน กิจกรรมปริศนา...อา่ นคำ

ท่ปี รกึ ษา คณะผู้จัดทำ นายสมประสงค์ น้อยจนั ทร์ นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน นางวารี ชบู วั ครผู ู้ชว่ ย บรรณารักษช์ ำนาญการ คณะทำงาน/รวบรวมข้อมูล นายสมประสงค์ น้อยจนั ทร์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน นายเกรียงฤทธ์ิ เดตะอุด ครผู ชู้ ว่ ย นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น นางสุรตั น์ จันทะไพร ครู กศน.ตำบล นายเกรยี งไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน.ตำบล นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน.ตำบล นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน.ตำบล นางลาวนิ สีเหลอื ง ครู กศน.ตำบล นายปัณณวฒั น์ สุขมา ครู ศรช. นายศิวณชั ญ์ อัศวสมั ฤทธิ์ ครู ศรช. นางสาวกญั ญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. นางสาวอุษา ย่งิ สกุ ครู ศรช. นางสาววรางคณา น้อยจันทร์ ครู ศรช. ออกแบบปก/ผู้พิมพ/์ สำเนา บรรณารกั ษ์ชำนาญการ นางวารี ชบู ัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook