Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้

บ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้

Published by waryu06, 2022-08-27 07:37:15

Description: บ้านหลังเรียน

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ 0210.5403/ วนั ท่ี สิงหาคม 2565 เรอ่ื ง รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการบ้านหลังเรียน เพ่ือนเรียนรู้ เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ตามที่ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดนไดจ้ ัดทำโครงการบ้านหลังเรยี น เพ่ือนเรียนรู้ ระหว่าง เดือนเมษายน ถึง กนั ยายน 2565 เพ่อื กระตุน้ และส่งเสรมิ ให้เด็กและเยาวชนมีนสิ ยั รักการอา่ น สง่ เสรมิ ทักษะ และพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ ส่งเสริมมีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ชว่ ยวางรากฐานให้เยาวชนเปน็ ผ้รู ักการเรียนรู้ และสนใจเรยี นรูต้ ลอดชีวิต บดั นโี้ ครงการดงั กล่าวได้ดำเนินการ เสรจ็ สน้ิ เรียบร้อยแล้ว ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงรายงานผลการดำเนินงานโครงการดังกล่าว รายละเอยี ดตามเอกสารทแ่ี นบมาพร้อมนี้ จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ (นางวารี ชบู วั ) บรรณารกั ษ์ชำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ ระหว่างเดือนเมษายน ถึง กันยายน 2565 เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมทักษะและพัฒนาการ ทางดา้ นร่างกายและจิตใจ สง่ เสรมิ มีนสิ ยั รักการอ่านและการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ชว่ ยวางรากฐาน ใหเ้ ยาวชนเป็นผรู้ ักการเรยี นรู้ และสนใจเรียนรู้ตลอดชีวติ นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน คร้งั ตอ่ ไป ผ้จู ดั ทำ สงิ หาคม 2565

สารบัญ หนา้ 1-8 บทท่ี 1 บทนำ 9 - 25 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 26 - 31 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การตามโครงการ 32 - 36 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การตามโครงการ 37 - 39 บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ บรรณานกุ รม ภาคผนวก รูปภาพ รายชื่อผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม แบบประเมินความพึงพอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผจู้ ัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชื่อโครงการ โครงการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั กิจกรรมท่ี 8 โครงการบา้ นหลังเรยี น เพือ่ นเรยี นรู้ 2.  สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ยั รักษาศีลธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มหี ลักคิดท่ีถูกตอ้ ง มที ักษะท่ีจ่าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มี ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ สู่การเปน็ คนไทยทมี่ ีทักษะสูง เปน็ นวตั กร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอื่น ๆ โดยมี สมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบด้วย (1) ช่วงการตงั้ ครรภ์/ปฐมวัย เนน้ การเตรยี มความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/ วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ ผ้สู ูงอายุเปน็ พลังในการขบั เคลื่อนประเทศ ประเด็นที่ 6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก หอ้ งเรยี น และ (4) การพฒั นาระบบฐานข้อมูลเพอื่ การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์  สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ 3.1 ปรับเปลีย่ นค่านยิ มคนไทยใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ทพ่ี งึ ประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่าง จริงจงั 3.2 พัฒนาศกั ยภาพคนใหม้ ที กั ษะความร้แู ละความสามารถในการดำรงชีวิตอยา่ งมคี ุณค่า 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรยี นและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มี ทักษะการทำงานและการใช้ชวี ติ ทพ่ี ร้อมเขา้ สู่ตลาดงาน

2 3.3 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 3.3.6 จัดทำสื่อการเรียนร้ทู ่ีเป็นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์สือ่ สารเคลอื่ นท่ี ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลิตหนงั สอื สอ่ื การอา่ นและการเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ ภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผู้สูงอายุ รวมทั้งส่งเสริมให้มีระบบการจดั การความรู้ท่ีเป็นภมู ิ ปญั ญาท้องถิ่น  สอดคลอ้ งกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศึกษาธกิ าร) 1. การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจดั การศึกษาเพ่ือคณุ วุฒิ พฒั นาผู้เรียนใหม้ คี วามรอบรู้และทักษะชีวติ เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการ ดำรงชีวติ และสรา้ งอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สุขภาวะและทศั นคติที่ดตี ่อการดูแลสุขภาพ 1.2 การเรียนรูต้ ลอดชีวติ - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. จุดเนน้ การดาํ เนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ทเ่ี น้นการพฒั นาทักษะทีจ่ าํ เป็นสำหรับแต่ละช่วงวยั และ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับแต่ละกลุม่ เปา้ หมายและบรบิ ทพ้ืนที่  สอดคล้องกบั ตวั ชี้วัดการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตวั บง่ ชที้ ่ี 1.1 ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกับ วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั บ่งชี้ที่ 2.2 ผ้จู ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.3 สื่อหรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจดั การศึกษาตาม อธั ยาศยั ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.4 ผรู้ ับบริการมีความพึงพอใจต่อการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย

3 มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม ตัวบง่ ช้ที ี่ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตัวบง่ ชที้ ่ี 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตวั บง่ ช้ที ่ี 3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ยให้มสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา ตัวบ่งช้ที ่ี 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพึงพอใจ ควรเพิ่มข้อเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะวา่ เพราะเหตุใดข้อ นน้ั จึงใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเป็นระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มีการออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนอ่ื งและนำผลการประเมนิ ท่ไี ด้ไปวเิ คราะห์ถงึ อุปสรรค และนำไปวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนาในปีต่อไป 3. หลักการและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ได้มอบหมายให้ห้องสมุดประชาชน อำเภอชนแดนจัดทำโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านและการเรียนรู้อย่าง ต่อเน่ืองตลอดชวี ติ จัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ บั ประชาชนกลุ่มเปา้ หมาย และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา ให้กับประชาชนในชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการสร้างสังคมแห่งการ เรยี นรใู้ นชมุ ชน ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยให้ นักเรยี นเรยี นท่ีบา้ นผา่ นส่ือแอพพลเิ คช่นั ออนไลน์ต่างๆ แตผ่ ปู้ กครองตอ้ งทำงานในชว่ งกลางวันหรือบางครอบครัวเด็ก อยู่กบั ป่ยู า่ ตายาย ทำให้การเรียนหรือการทำการบ้านไม่มคี นให้คำแนะนำ หรือชแี้ นะ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุดประชาชนอำเภอ ชนแดนจัดทำโครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมทักษะและพฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายและจิตใจ ส่งเสรมิ มีนิสัยรักการอ่านและการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอด ชวี ิต ช่วยวางรากฐานใหเ้ ยาวชนเป็นผรู้ ักการเรียนรู้ และสนใจเรยี นรู้ตลอดชีวติ เพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างพลเมือง ท่ีมีคณุ ภาพเปน็ กำลังสำคัญทจี่ ะพฒั นาประเทศชาตบิ า้ นเมอื งต่อไปในอนาคต

4 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่ือส่งเสรมิ ให้เด็กและเยาวชนมีนสิ ยั รักการอ่านและการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต 4.2 เพอ่ื ส่งเสรมิ ทักษะและพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเดก็ และเยาวชน 4.3 เพ่อื ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมีความคิดสร้างสรรคแ์ ละมีจินตนาการ 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ เดก็ และเยาวชน จำนวน 10 คน เชิงคุณภาพ 1. สง่ เสริมให้เดก็ และเยาวชนมีนิสัยรกั การอ่านและการเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ 2. สง่ เสริมทักษะและพฒั นาการทางดา้ นร่างกายและจติ ใจของเด็กและเยาวชน 3. ส่งเสริมใหเ้ ดก็ และเยาวชนมีความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละมีจินตนาการ

6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขั้นเตรียมการ ช เพื่อจัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว 2. ประชุมกรรมการ ดำเนนิ งาน ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ช 3. จัดเตรยี มเอกสาร ข วัสดุ อุปกรณใ์ นการ - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน จ ดำเนินโครงการ โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพ่อื อนมุ ัติ - แตง่ ตั้งกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนินงานทกุ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพ่ือดำเนินการจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การ มอบหมาย

5 กลุ่มเป้าหมาย พน้ื ทีด่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ช้แี จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซื้อวสั ดุอปุ กรณใ์ นการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค กลุ่มเปา้ หมาย ก 4. ดำเนนิ การจดั เดก็ และเยาวชน กิจกรรม บ้านหลงั เรียนเพื่อนเรียนรู้ จำนวน 10 คน ส 1. กิจกรรมสอนการบา้ น น 5. สรปุ /ประเมนิ ผล 2. วาดภาพระบายสี แ และรายงานผล 3. ศิลปะประดิษฐ์ โครงการ 4. สง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ ตามกระบวนการ ส เพือ่ ใหก้ รรมการฝ่ายประเมนิ ผลเก็บ ประเมินโครงการ ต รวบรวมขอ้ มูลและดำเนินการประเมินผล 5 บท จำนวน 3 เล่ม การจัดกิจกรรม

6 กลุ่มเป้าหมาย พ้นื ที่ดำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) 1. ห้องสมุดประชาชน เม.ย.ถงึ - สง่ เสริมสนบั สนุนให้เด็กและเยาวชนมี อำเภอชนแดน ก.ย.65 นสิ ยั รกั การอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ 2. โรงเรยี นในพื้นที่ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ขี ึ้น อำเภอชนแดน สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน กศน. อำเภอชนแดน ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA

7 7. วงเงินงบประมาณ ไมใ่ ช้ 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ยรายไตรมาส ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 - - - - 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ตำแหน่ง : บรรณารกั ษ์ชำนาญการ ชื่อ - สกลุ : นางวารี ชบู ัว เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 เบอรโ์ ทรศัพทท์ ี่ทำงาน : 056 – 761667 อีเมลล์ : [email protected] ผู้ร่วมดำเนินการ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางลาวนิ สเี หลือง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสุรัตน์ จันทะไพร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นายเกรียงไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ตำแหนง่ ครูประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ตำแหนง่ ครูประจำศนู ย์การเรยี นชุมชน นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปัญญา ตำแหน่ง ครูประจำศูนยก์ ารเรียนชุมชน นายปณั ณวัฒน์ สุขมา ตำแหน่ง ครูประจำศนู ยก์ ารเรียนชุมชน นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธิ์ ตำแหน่ง นกั จดั การงานท่ัวไป นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหนง่ พนกั งานบริการ นายอำพล เพชรสขุ

8 10. เครอื ขา่ ย 10.1 กศน.ตำบลทง้ั 9 แห่ง 10.2 สถานศึกษาของรฐั และเอกชน 10.3 โรงเรยี นบา้ นดงลาน หมู่ 16 ตำบลลาดแค 11.โครงการท่เี กย่ี วขอ้ ง 11.1 โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น 11.3 โครงการประชาสมั พันธ์งาน กศน. 11.4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานรว่ มกบั เครือข่าย 11.5 โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ 12.1 เพมิ่ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ การอ่านในแหล่งเรยี นรู้ใกลต้ วั และมหี นงั สอื ทห่ี ลากหลายให้บริการ 12.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ประชาชน ทกุ ชว่ งวัย ใหม้ นี สิ ยั รกั การอา่ น 12.3 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนในพนื้ ที่มีอาชีพ 13. ดชั นวี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลัพธ์ ( outcome ) เดก็ และเยาวชนมีนสิ ยั รักการอ่าน เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีขน้ึ 14. การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรุป/รายงานผลการจดั กิจกรรม

9 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง การอา่ นคืออะไร การอา่ น คอื การแปลความหมายของตัวอักษรท่ีอา่ นออกมาเปน็ ความรคู้ วามคิด และเกดิ ความเขา้ ใจ เร่อื งราวทีอ่ ่านตรงกบั เรอ่ื ราวทผ่ี ู้เขียนเขียน ผอู้ า่ นสามารถนำความรู้ ความคิด หรอื สาระจากเร่ืองราวท่ีอา่ นไป ใช้ให้เกิดประโยชนไ์ ด้ การอ่านจึงมีความสำคัญ ดังนี้ 1) การอ่านเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผู้ท่ีอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน จำเป็นต้องอ่าน หนังสือเพื่อการศึกษาหาความร้ดู ้านตา่ ง ๆ 2) การอา่ นเปน็ เคร่อื งมอื ชว่ ยใหป้ ระสบความสำเรจ็ ในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้จาก การอ่านไปพัฒนางานของตนได้ 3) การอ่านเป็นเคร่อื งมอื สบื ทอดทางวฒั นธรรมของคนรนุ่ ตอ่ ๆ ไป 4) การอ่านเป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมีความคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ท่ีได้จากการอ่าน เมือ่ เก็บสะสมเพมิ่ พูนนานวันเข้า ก็จะทำใหเ้ กดิ ความคดิ เกิดสติปญั ญา เป็นคนฉลาดรอบรูไ้ ด้ 5) การอา่ นเป็นกจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กิดความเพลดิ เพลนิ บนั เทิงใจ เปน็ วธิ หี นงึ่ ในการแสวงหาความสุขให้กบั ตนเองท่ีง่ายทีส่ ุด และไดป้ ระโยชนค์ ้มุ คา่ ที่สุด 6) การอ่านเปน็ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทำให้เปน็ คนท่ีสมบูรณ์ท้งั ด้านจิตใจและบุคลิกภาพ เพราะเม่อื อา่ น มากย่อมรูม้ าก สามารถนำความรไู้ ปใช่ในการดำรงชวี ติ ได้อย่างมคี วามสขุ 7) การอ่านเปน็ เครื่องมอื ในการพัฒนาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวตั ิศาสตร์ และสงั คม 8) การอ่านเปน็ วธิ ีการหน่งึ ในการพัฒนาระบบการสื่อสารและการใชเ้ คร่ืองมือทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ตา่ ง ๆ พฒั นาการของเดก็ ในแต่ละช่วงวัย การเปลยี่ นแปลงทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาแตล่ ะชว่ งชีวิต 1.1 วยั ทารก คอื วยั ตั้งแตแ่ รกเกดิ จนถงึ 1 ปี มกี ารเปลีย่ นแปลงดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี - ด้านร่างกาย น้ำหนักแรกคลอดประมาณ 3,000 กรมั เมอ่ื ครบ 1 ปี จะเพ่มิ ขน้ึ ประมาณ 3 เท่า - ส่วนสูงหรือความยาวประมาณ 54 เซนติเมตร และส่วนสูงจะเพ่ิมขึ้นประมาณ 1.5 เท่า เมื่ออายุ ครบ 1 ปี - ขนาดรอบศีรษะแรกคลอดประมาณ 35 เซนติเมตร เมื่อครบ 1 ปี จะมีขนาดรอบศีรษะ ประมาณ 45 เซนติเมตร - ฟนั ซี่แรกจะขนึ้ เมอ่ื อายุ 6-8 เดือน และเม่ือครบ 1 ปี จะมฟี นั ประมาณ 12 ซ่ี - ดา้ นจติ ใจและอารมณ์ 1-3 เดือน ส่งเสยี งร้องเมื่อรสู้ กึ หิว รจู้ กั ย้ิมเมื่อถูกหยอกล้อ รอ้ งไหเ้ มื่อโกรธ ทำเสียงดังเม่ือดีใจ

10 4-6 เดอื น หวั เราะเสยี งดัง รอ้ งไห้เม่ือโกรธหรอื ถูกขัดใจ อารมณ์เปลีย่ นแปลงรวดเร็ว 7-9 เดือน รอ้ งไหเ้ ม่ือไมพ่ อใจและมีอารมณ์กลวั มากขน้ึ แสดงความรักด้วยการโอบกอด ตอบสนองต่อการ ถกู ดุและร้องไห้ 10-12 เดือน แสดงอารมณด์ ีใจ เสยี ใจมากขึน้ เมื่อมีคนเลน่ ด้วยจะหัวเราะเสยี งดงั สามารถเขา้ ใจอารมณ์ ผู้อน่ื ได้ ดา้ นสังคม เร่ิมพฒั นาการทางสังคมกับบุคคลใกลช้ ดิ ในครอบครัว และผ้ทู เ่ี ลยี้ งดู 1-2 เดือน จอ้ งหน้าและตอบสนองผู้หยอกล้อได้ 3-5 เดือน ชอบให้คนอยู่ใกล้ๆ สนใจเสยี งคนพูดคยุ 12 เดือน จะสามารถเลน่ กับผู้อ่ืนได้ ดา้ นสติปญั ญา แสดงออกและโต้ตอบดว้ ยการเคลื่อนไหวรา่ งกายเร่ิมเรยี นรกู้ ารพดู คุยกบั ผู้อ่ืนด้วยการพูดทีละคำ 1.2 วยั กอ่ นเรยี น คือ วยั ตัง้ แต่ 1 ปี จนถึง 6 ปี มีการเปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆดังนี้ ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นนำ้ หนกั และสว่ นสงู จะเพ่ิมข้นึ ช้ากว่าวยั ทารถเมอื่ อายุ 1 ปี จะมีฟันน้ำนมประมาณ 12 ซ่ีฟันน้ำนมจะรบ 20 ซ่ี เมอื่ อายุประมาณ 3 ปี และฟันนำ้ นมจะเริ่มหยดุ โดยมฟี นั แท้ขน้ึ มาแทนท่ี ดา้ นจิตใจและอารมณ์ มอี ารมณเ์ ปลีย่ นแปลงง่าย โดยอารมณโ์ กรธและดใี จจะเกิดขน้ึ บอ่ ยเมื่ออายคุ รบ 2 ปี จะเรม่ิ รู้จักอจิ ฉา ผู้อนื่ กลวั คนแปลกหนา้ สามารถควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ดขี ้ึนเม่ืออายุประมาณ 4 ปี ดา้ นสงั คม สงั คมสว่ นใหญ่จะเป็นผ้ทู ี่เล้ียงดแู ละคนในครอบครวั เมื่อเรม่ิ เข้าโรงเรยี นจะมีความสัมพันธ์กบั เพื่อน แต่อาจมีการ ทะเลาะกัน เพราะยงั ขาดประสบการณใ์ นการเล่นกับเพอ่ื นรู้จักปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั ผใู้ หญ่ ด้านสติปญั ญา 1-3 ปี สนใจส่งิ ใหม่ๆ พูดร้เู ร่ือง ใช้ภาษาได้คล่อง 4 ปี สามารถพูดเป็นประโยคได้สมบรู ณ์ นบั เลขได้ รจู้ กั เวลา ชอบซักถาม 5 ปี มีความอยากรู้ อยากเห็น รู้จักใชเ้ หตผุ ลในการอธบิ ายข้อมลู 6 ปี พดู ได้คล่องแคลว่ ชา่ งซกั ถาม ทำงานร่วมกบั เพ่อื นและผู้ใหญ่ได้

11 1.3 วัยเรียน คือ วยั ทม่ี ีอายุตั้งแต่ 6-12 ปี มกี ารเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ดังนี้ ด้านรา่ งกาย มกี ารเจรญิ เตบิ โตสม่ำเสมอ ร่างกายขยายออกทางส่วนสงู มากกว่าสว่ นกวา้ ง นำ้ หนกั เพ่ิมขึ้นเฉล่ียปีละ 2-3 กโิ ลกรัม สว่ นสูงเพ่ิมขึ้นเฉล่ียปลี ะ 4-5 เซนตเิ มตร โดยส่วนใหญเ่ พศหญิงจะตัวโตกว่าเพศชายวยั เดยี วกันมี กลา้ มเนื้อแขง็ แรง คล่องแคล่วว่องไว สามารถใช้มือและนว้ิ ทำงานได้ดี ด้านจติ ใจและอารมณ์ ต้องการการยอมรบั จากกลมุ่ เพอ่ื น มีอารมณ์โกรธเมอ่ื ถูกล้อเลียน มอี ารมณ์กลวั นอ้ ยลงรสู้ ึกอจิ ฉาเพื่อนที่ ไดร้ บั ความรักหรือความสนใจ ด้านสงั คม ชอบรวมตวั เล่นกันเปน็ กล่มุ ไม่ชอบอยู่คนเดียว เรียนรู้การอยูร่ ่วมกัน ภายใต้กฎ ระเบยี บ ร้จู ักเหน็ อกเห็น ใจชว่ ยเหลือเพ่อื นในกลมุ่ มีความซ่ือสัตยต์ ่อกลุ่ม ดา้ นสตปิ ัญญา มีความคดิ ท่เี ปน็ รูปธรรมมากข้นึ สามารถคิดได้อย่างมีเหตุผล เปรยี บเทยี บสง่ิ 2 ส่งิ ไดม้ ีความอยากรอู้ ยาก เหน็ อ่านและเขียนหนงั สือได้คลอ่ ง อ่านและเขียนหนงั สือได้คล่อง 1.4 วยั รนุ่ คอื วัยทีม่ ีอายุตงั้ แต่ 12-20 ปี มีการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ดงั นี้ ด้านร่างกาย น้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว แขนขายาว มือและเท้าใหญข่ ึน้ มีลักษณะทางเพศชดั เจน เชน่ เพศหญิงมีหนา้ อกใหญข่ ึ้น สะโพกผาย เพศชายมีกลา้ มเน้อื เป็นมัดแข็งแรง ไหล่กว้าง มีขนหนา้ แข้ง เสยี งแตก เสียงแตก-ห้าว ด้านจติ ใจและอารมณ์ มอี ารมณเ์ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว มีความสนใจเพศตรงข้าม มีความเช่ือมน่ั ในตนเองสูง ตอ้ งการอสิ ระ ดา้ นสังคม มีพฤติกรรมการแต่งกายเลียนแบบเพื่อนในกลุ่มและเป็นเอกลกั ษณ์ของกลุม่ ต้องการเปน็ ที่ยอมรบั ของ กลมุ่ เพ่ือน และเป็นอิสระจากพ่อแมแ่ ละครอบครัว ด้านสติปญั ญา สามารถเขา้ ใจสิง่ ที่เปน็ นามธรรมไดด้ ี สามารถใชค้ ำพดู และถอ้ ยคำทีล่ กึ ซึ้งเปรียบเทียบสิ่งต่างๆได้ดี ชอบ เรยี นร้ดู ว้ ยการปฏิบัตเิ พ่ือให้ได้รบั ความรู้และประสบการณ์

12 ประวตั ิห้องสมุดประชาชน กรมการศึกษานอกโรงเรยี นได้พิจารณาเห็นว่าเพื่อสนองพระราชปณิธานและแนวทางพระราชดำริในการ ส่งเสริมการศึกษาสำหรับประชาชน ตามที่ทรงแสดงไว้ในโอกาสต่าง ๆ เช่น ในโอกาสทท่ี รงมพี ระมหกรุณาธิคุณ เสด็จเป็นองค์ประธานในการประชุม สมัชชาสากลว่าด้วยการศึกษาผู้ใหญ่ วันท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2533 ได้ทรงพระราชทานลายพระหตั ถ์เชิญชวนให้ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ขอพระราชทานพระราชานุญาตดำเนินโครงการจัดต้ังห้องสมดุ ประชาชน ซึง่ ท่ี ได้รับพระราชทานนามว่า ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” โดยจะเร่ิมก่อสร้างห้องสมุดรุ่นแรก จำนวน 37 แห่ง เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ พระชนมายุ 36 พรรษา ในปี 2534 และจะวางแผนดำเนินการจัดตั้งอย่างต่อเน่ืองจนครบทุกอำเภอภายใน ระยะเวลา 10 ปี ระหว่างปี 2534 – 2543 ซึ่งเป็นเวลาที่องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นทศวรรษ แหง่ การส่งเสรมิ การรู้หนงั สอื ห้องสมุดประชาชนแต่ละแหง่ จะสร้างขนึ้ ด้วยความร่วมมือของประชาชนในทอ้ งถิ่นหน่วยงาน ภาครัฐและ เอกชน จากความจงรักภักดีและความสำนกึ ใน พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี เพื่อพร้อมใจน้อมเกลา้ ฯ ถวายเพื่อสนองพระราชปณธิ าน ในชุมชนมแี หลง่ ความรู้ท่ีพร้อมพรัง่ สมบูรณ์ ซง่ึ เป็นแบบอย่างของการพัฒนา หอ้ งสมุดสืบต่อไปโดยมีการจัดส่วนบรกิ ารและกิจกรรมคือ 1. หอ้ งอา่ นหนงั สือทัว่ ไป 2. มมุ เดก็ และครอบครวั 3. หอ้ งอเนกประสงค์ 4. หอ้ งโสตทัศนศึกษา 5. ห้องเฉลิมพระเกยี รติ สาระสำคญั วัตถุประสงค์ในการจัดต้ังมุ่งท่ีกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ชุมชนในชนบท ด้วยการจัดตั้งและ พัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอ ให้เป็นแหล่งความรู้สำหรับประชาชนทุกเพศทุกวัย และเป็นศูนย์กลาง สนับสนุนการผลิตและเผยแพร่เอกสารสิ่งพิมพ์ไปสู่ที่อ่านหนังสือในระดับหมู่บ้าน ท้ังนี้ โดยได้กำหนด วตั ถุประสงค์เฉพาะในการดำเนนิ การไว้ดงั ต่อไปน้ี 1. พฒั นารูปแบบของห้องสมุดประชาชนอำเภอ เพื่อสนองตามแนวพระราชดำริ เพ่ือให้เป็นตวั อยา่ งของ ห้องสมดุ ในอนาคตที่จะเป็นแหลง่ ความรู้และศูนย์กลางสนับสนนุ เครือขา่ ยการเรียนรู้ในระดับหมบู่ า้ น 2. จัดตั้งห้องสมุดประชาชนอำเภอให้ครบทุกอำเภอ โดยจะคัดเลือกอำเภอที่มีความพร้อมและความ จำเป็นเร่งด่วน ดำเนินการจัดตั้งเป็นรุ่นแรกจำนวน 37 แห่ง ในช่วงปี 2534 – 2535 เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ

13 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทยอยการจัดตั้งในอำเภออื่น จนครบท่ัวท้ังประเทศ ในช่วงปี 2536 – 2543 3. พัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอท่ีจัดตั้งอยู่เดมิ แล้วให้มีคณุ ภาพและมีความพร้อมทจ่ี ะใหบ้ ริการตาม บทบาทและภารกิจของห้องสมุดในอนาคต 4. ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนรณรงค์ส่งเสริการอ่าน เพ่ือกระตุ้นให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เห็นความสำคัญของการอ่าน และการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน เพ่ือจะได้มีส่วน ร่ ว ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใน ก า ร ด ำ เนิ น โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ห้ อ ง ส มุ ด ที่ จ ะ จั ด ต้ั ง ข้ึ น จ า ก วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ดังกล่าว กรมการศึกษานอกโรงเรียน จึงมีนโยบายให้ห้องสมุดประชาชนทุกประเภท ซึ่งรวมทั้งห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ด้วย มกี ิจกรรมหลักการดงั นี้ 1. ศนู ย์ขอ้ มูลข่าวสารชุมชนมกี ิจกรรมทจ่ี ดั ในลกั ษณะดังน้ี 1.1) ด้านสง่ เสริมการอ่านและการค้นคว้า เช่น การประกวดการอา่ น การจัดนทิ รรศการ การเล่า นทิ าน การเล่าเรื่องจากหนังสือ การประกวดยอดนักอา่ น การโตว้ าที การปาฐกถา เปน็ ต้น 1.2) ดา้ นการใช้ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ เชน่ การอภิปราย การบรรยาย การศกึ ษาดงู านในทอ้ งถิ่น การ รวบรวบผลงานของภูมิปัญญาในท้องถ่ิน เปน็ ต้น 1.3) ด้านหอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ีสู่ชุมชน เช่น การนำย่าม ถงุ กระเป๋า หบี เรอื รถยนต์ รถไฟเคลื่อน ไปตามชุมชน จัดหาหนงั สือไปบริการตามจดุ หรือ หน่วยงานสำคญั เช่น เรือนจำ โรงงาน บ้านพกั คนชรา โรงพยาบาล เป็นต้น 1.4) ดา้ นส่งเสรมิ การรวมกลุ่มประชาชนตาม ความร้แู ละความสนใจ เชน่ กลมุ่ สนใจ กลมุ่ วิชาชพี ชุมชนต่าง ๆ เช่นชมรมนักอา่ น ชมรมอนุรักษธ์ รรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ชมรมสมนุ ไพร การแขง่ ขนั กีฬา เป็นต้น 1.5) ดา้ นครอบคัวสัมพันธ์ เช่น จัดใหม้ ีสนาม เดก็ เล่น จัดมุมเด็กและมมุ ครอบครัว จำตามวนั สำคัญ ๆ เช่น วนั พ่อ วนั แม่ วันครอบครัว วันตรวจสุขภาพ เปน็ ต้น 2. ศูนยส์ ง่ เสริมการเรียนรู้ของชุมชนมีกิจกรรมทจ่ี ดั ในลกั ษณะดังน้ี 2.1) ด้านแนะแนวการศึกษานอกโรงเรียน เช่น แนะแนวการศึกษาอาชีพทำเนียบตลาดแรงงาน แหล่งทรพั ยากร จัดปา้ ยนิเทศ ตลาดนดั ทวั ร์อาชีพ ศึกษาดูงาน เปน็ ตน้ 2.2) ด้านจัดและให้บริการชุดทดลอง ชุดสาธิตต่าง ๆ เช่น สาธิตการทดลองนวัตกรรม ใหม่ๆ เช่น เคร่ืองดักยุง ระบบน้ำหยด การทดสอบความช้ืนของข้าว การทดลองการเป็นกรดเป็นด่างของ ดนิ เปน็ ต้น 2.3) ด้านจัดพ้ืนท่ีสำหรับบริการตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนของสถาบันต่าง ๆ เช่น จัดมุม ทางไกล ตนเองช้นั เรยี น มุม มสธ. มมุ มร. เป็นต้น

14 3. ศูนยก์ ลางการจดั กจิ กรรมของชุมชน หรือเปน็ ศนู ย์ประชาคมมีกจิ กรรมท่ีจดั ในลักษณะ ดังนี้ 3.1) บรกิ ารสถานทจี่ ดั ประชมุ สมั มนา การแสดงผลิตภัณฑ์ เชน่ การจดั ประชุมสมาชกิ ชมุ ชน สมาคม และ แสดงกิจกรรมชมรม จดั มมุ แสดงสินคา้ พน้ื เมือง จัดแสดงศิลปวัฒนธรรมพนื้ บ้าน การ แตง่ งาน เปน็ ต้น 3.2) กิจกรรมเด็กและครอบครัว เช่น วนั เดก็ วันแม่ วนั พ่อ การบรรยายเกย่ี วกบั เด็กและ ครอบครัว เปน็ ตน้ 3.3) กิจกรรมอเนกประสงค์ของชุมชน เชน่ ศิลปวฒั นธรรม การแต่งงาน การดำเนนิ การเชงิ ธรุ กจิ สนามเด็กเลน่ เปน็ ต้น 4. พฒั นาเครอื ขา่ ยการเขียนรู้ในชมุ ชน มีกิจกรรมทจ่ี ัดในลักษณะ ดงั น้ี 4.1) ด้านข้อมลู ข่าวสารและสื่อ เชน่ การหมนุ เวียนส่ือสารนเิ ทศไปยังห้องสมดุ โรงเรียน 4.2) ด้านการพัฒนา การผลิต เผยแพร่และฝกึ อบรม เชน่ ผลติ เอกสาร แผ่นปลิว อบรมบคุ ลากร ทเี่ ก่ยี วข้องในดำเนินงานเพ่ือทีจ่ ะให้การเผยแพร่สื่อสารนิเทศสู่เครือข่ายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เป็นตน้ จากวัตถุประสงค์ทั้ง 5 ข้อดังกล่าว กรมการศึกษานอกโรงเรียนจัดเพื่อให้ประชาชนในชุมชนทุก เพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา ทุกอาชีพได้รับการศึกษานอกโรงเรียนจากการจัดบริการและกิจกรรม ห้องสมุด เพ่ือใช้ในการปรับปรุงอาชีพ ความเป็นอยู่ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน เป็นการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี สง่ เสรมิ สนับสนนุ การศกึ ษาในระบบและนอกระบบโรงเรียนอีกส่วนหนงึ่ ด้วย บทบาทหนา้ ที่ 1. ศูน ย์ข่าวสารและข้อ มูล ของชุม ช น ห มายถึ ง จัด ห้ อ งสมุ ดให้ เป็ น แห ล่งศึก ษ าห า ความรู้ ค้นคว้า วจิ ัย โดยมีการจดั บริการหนังสือ เอกสารสิ่งพมิ พ์ ส่ือโสตทศั น์ 2. ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การเรียนรขู้ องชมุ ชน เป็นแหล่งสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. ศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน หมายถึง การให้บริการแก่ชุมชน ในการจัดกิจกรรม การศึกษา และศิลปวัฒนธรรม เช่นการประชุมขององค์กร การจัดกิจกรรมวันสำคัญตามประเพณี การจัดสวน สุขภาพ สนามเดก็ เลน่ และสวนสาธารณะ เปน็ ต้น 4. ศูนย์กลางสนับสนุนเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน หมายถึง การจัดให้เกิดกระบวนการที่จะเชื่อม ประสานระหวา่ งห้องสมุดและแหล่งความรู้ในชุมชนอ่ืน ๆ เชน่ ที่อ่านหนังสือประจำหมบู่ ้าน สถานศึกษา แหล่ง ประกอบการ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น สบื เนอ่ื งจากปี 2548 ซ่ึงเป็นปที สี่ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญ พระชนมายุครบ 50 พรรษา ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ อันเนื่องด้วยการศึกษา ศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรม จึงได้พิจารณาเห็นสมควรสนองพระราชดำริในการส่งเสริมให้ชุมชนได้มี ห้องสมุดเพื่อเป็นแหล่ง ความรู้ จังหวัดอำนาจเจริญจึงเร่ิมริเร่ิมดำเนินโครงการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัด อำนาจเจริญ ข้ึนเพ่ือเป็นการเทิดพระเกียรติ ในวโรกาสท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช

15 กุมารี ทรงเจริญพระชนมายุรบ 50 พรรษา ท้ังเป็นสัญลักษณ์แห่งความเทิดทูนบูชาที่ประชาชนชาวไทยมีต่อ พระองค์ และเป็นการบุกเบิกพัฒนาในการจัดตั้งห้องสมุดประชาชน และบริการข่าวสารข้อมูลแก่ประชาชนใน ลกั ษณะห้องสมดุ อิเลก็ ทรอนิกส์ โดยประชาชนและหน่วยงานภาครฐั และเอกชนทม่ี ีความจงรักภกั ดี และสำนึกใน น้ำพระราชหฤทัยท่ีทรงมุ่งม่ัน และส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาสำหรับประชาชน ซ่ึงสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ จังหวัดอำนาจเจริญที่ว่า “ประชาสังคมเข้มแข็ง แห่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณ ภาพดี มีโอกาสทาง การศึกษา พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต” ตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดอำนาจเจริญ เมื่อคราวประชุม วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2548 โดย นายสมพงษ์ อนุยุทธพงษ์ ผ้วู ่าราชการจังหวัดอำนาจเจริญ (ขณะนนั้ ) ได้มี มติให้ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดอำนาจเจริญ ก่อสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัด อำนาจเจริญ โดยก่อสรา้ งทบี่ ริเวณใกลส้ ่ีแยกไฟแดง อาคารสำนกั งานสาธารณสุขอำเภอเมืองอำนาจเจริญเดิมบน พ้ืนที่ 2 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา ในวงเงินงบประมาณ 7,500,000 บาท (เจ็ดล้านห้าแสนบาทถ้วน) ประจำปี งบประมาณ 2548 โดยใช้แบบแปลนมาตรฐานห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” สำนักบริหารงาน การศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ชนิดขยายข้างสองช้ัน กระทรวงศึกษาธิการได้นำความขึ้นกราบ บังคมทูลขอพระราชทาน พระราชานุญาตเข้าร่วมโครงการก่อสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”จังหวัด อำนาจเจรญิ เป็นลำดบั ที่ 85 โดยทำสญั ญากอ่ สรา้ ง เมื่อวันท่ี 15 กันยายน 2548 เร่ิมดำเนินการก่อสรา้ งประมาณเดอื นกุมภาพนั ธ์ 2549 กระท่งั ส่งมอบ ครง้ั สุดท้ายเมื่อวนั ท่ี 25 ธันวาคม 2549 ภายในอาคารห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จงั หวดั อำนาจเจรญิ จดั เป็นหอ้ งสมุดสำหรับ ปัจจุบันและอนาคต ไม่ไดบ้ ริการเฉพาะยืม – คนื หนังสอื เท่านัน้ แต่จะมีกิจกรรมต่าง ๆ ทส่ี นองความต้องการ ของประชาชน อาทิ ช้ันล่าง เปน็ สว่ นของการใหบ้ ริการ สื่อ/หนังสือที่ครบถ้วน เชน่ มมุ หนังสอื ท่ัวไป มมุ หนังสือวารสาร ห้องหนงั สอื นวนิยาย หอ้ งหนงั สอื อ้างอิง ห้องเด็กและครอบครัว มุมหนังสอื พระราช นิพนธ์ เครื่องคอมพวิ เตอร์ มัลติมเี ดีย มุมบริการอนิ เตอร์เน็ต ช้นั บน ประกอบด้วย ห้องเฉลิมพระเกียรติ ห้องอำนาจเจริญ ซึง่ แสดงนิทรรศการความเปน็ มา ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถนิ่ จังหวัดอำนาจเจริญ หอ้ ง พระพุทธศาสนา และห้องโสตทัศนศึกษา

16 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน หมายถึง การกระทำต่างๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสนใจท่ีจะอ่าน เห็นความสำคัญ ของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ทั้งนี้ การอ่านหนังสือ เปน็ ทักษะสำคัญทกั ษะหนง่ึ ในชีวติ ประจำวัน เพราะการอ่านหนงั สอื จะพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของคนเราได้เป็นอย่างดี ยิง่ เมื่อคนเราอ่านหนังสือจะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความเพลิดเพลิน การท่ีเด็ก จะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้น้ันจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย ทั้งครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านใหแ้ ก่เด็ก

17 กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นคอื การกระต้นุ ดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ เพอ่ื ใหผ้ ู้อ่านสนใจการอา่ นจนกระทั่งมีนสิ ัยรัก การอา่ น และได้พฒั นาการอ่านจนกระทง่ั มคี วามสามารถในการอ่าน นำประโยชนจ์ าการอ่านไปใช้ไดต้ รงตาม วัตถปุ ระสงค์ของการอ่านทุกประเภท (ฉวีวรรณ คหู าภนิ นั ทน์, 2542 : 93) กรมวชิ าการ (อ้างถงึ ใน ฉววี รรณ คหู าภินันทน์, 2542 : 93) ใหค้ วามหมายวา่ กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน คือ การกระทำเพื่อ 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลทเ่ี ป็นเปา้ หมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสอื โดยเฉพาะหนงั สอื ที่มี คณุ ภาพ 2. เพอื่ แนะนำชักชวนใหเ้ กิดความพยายามท่จี ะอ่านใหแ้ ตกฉาน สามารถนำความรู้จากหนังสือไปใช้ ประโยชน์ เกิดความเข้าใจในเรอ่ื งตา่ งๆ ดีขึ้น 3. เพ่ือกระต้นุ แนะนำให้อยากรู้ อยากอา่ นหนังสือหลายอย่าง เปดิ ความคิดใหก้ ว้าง ให้มกี ารอ่านต่อเน่ือง จนเป็นนสิ ัย พฒั นาการอา่ นจนถงึ ขน้ั ที่สามารถวเิ คราะหเ์ รื่องที่อา่ นได้ 4. เพอ่ื สร้างบรรยากาศท่ีจูงใจให้อ่าน ดังนนั้ สามารถกลา่ วได้วา่ กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึงกิจกรรมต่างๆท่ีห้องสมุดจัด ขึ้นเพื่อส่งเสรมิ ให้ เกดิ การอา่ นอยา่ งต่อเนอ่ื งจนกระทั่งเป็นนสิ ัยรักการอา่ น เช่น การเล่านทิ าน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนังสือทนี่ า่ สนใจ เป็นตน้ ลักษณะของกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านที่ดี 1. เรา้ ความสนใจ เชน่ การจัดนทิ รรศการที่ดงึ ดูความสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใช้ส่ือ เทคโนโลยใี หมๆ่ เข้ามาชว่ ย 2. จงู ใจให้อยากอ่านและกระตุน้ ใหอ้ ยากอ่าน เช่น ข่าวที่กำลงั เปน็ ทีส่ นใจ หรือหวั ขอ้ เรื่องทเี่ ปน็ ท่ีสนใจ เชน่ การวิจยั การเตรียมตัวสอบ การสมัครงาน เปน็ ต้น 3. ไม่ใชเ้ วลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกับเพศ ระดับอายุ การศึกษา 4. เปน็ กิจกรรมท่ีมุ่งไปสู่หนังสือ วสั ดกุ ารอ่าน โดยการนำหนังสือหรอื วัสดุการอา่ นมาแสดงทุกคร้ัง 5. ให้ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ แฝงการเรียนรู้ตามอธั ยาศัยจากการรว่ มกจิ กรรมดว้ ย การอ่านหนังสือเป็นการพฒั นาตนเองและเป็นการใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ซง่ึ เปน็ ส่ิงจำเป็นมากในการ พัฒนาคนและพัฒนาสังคม การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมท่ีไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้ว โดยเฉพาะการอ่านหนังสือท่ีดีและมีสาระยิ่งมีน้อยข้ึนไปอีก สาเหตุมีอยู่หลายประการนับต้ังแต่การขาดแคลน หนังสือที่ดีและตรงกับความต้องการของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือท่ีจะยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความ สนใจและการแย่งเวลาของสอ่ื อ่ืน ๆ เช่น โทรทศั น์ วิทยุ ฯลฯ รวมท้งั ขาดแรงจูงใจ และการชกั จูง การกระต้นุ และ มีนิสัยรักการอ่านท้ังในและนอกโรงเรียน เม่ือเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ฟังได้รู้เห็นเรื่องต่าง ๆ จาก โทรทัศน์และวิทยุแล้ว การอ่านหนังสือเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่าและต้องมีทักษะใน การอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังเกิดเป็นนิสัยจำเป็นต้องมีการปลูกฝังและชักชวนให้เกิดความสนใจการอ่านอย่าง ต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักอ่าน ซึ่งควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. เร้าใจให้เกิดความยาก

18 อา่ นหนังสือ 2. ให้เกิดความพยายามที่จะอ่านเพ่อื จะได้รเู้ รื่องที่น่ารู้ที่มอี ยู่ในหนังสือ และน่าสนุกตามกิจกรรมที่จัด ขึน้ 3. แนะนำ กระตุ้นให้อยากรู้อยากเห็นเร่ืองน่ารู้ต่าง ๆ เกิดความรอบรู้ คิดกว้าง และมีการอ่านต่อเนื่องจนเป็น นิสัย 4. สร้างบรรยากาศท่ีน่าอ่าน รวมทั้งให้มีวัสดุการอ่าน มีแหล่งการอ่านที่เหมาะสมและเพียงพอ ความหมายและความสำคญั ของห้องสมดุ ห้องสมุดประชาชน หมายถึง ห้องสมุดที่ตั้งข้ึนเพ่ือให้บริการแก่ประชาชน โดยไม่จำกัด เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา และพื้นความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทุกหมวดวิชา และอาจมีการบริการบางเรือ่ งเป็นพิเศษตามความ ตอ้ งการของทอ้ งถิ่น และจะจดั ใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนโดยไมค่ ิดมูลค่า บทบาทหนา้ ท่ีของห้องสมดุ ประชาชน มี 3 ประเภท คือ 1. หน้าท่ีทางการศึกษา ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งให้การศึกษานอกระบบโรงเรียน มีหน้าท่ีให้ การศกึ ษาแกป่ ระชาชนทั่วไป ทุกระดบั การศึกษา 2. หน้าท่ีทางวัฒนธรรม ห้องสมุดปะชาชนเป็นแหล่งสะสมมรดกทางปัญญาของมนุษย์ ท่ีถ่ายทอดเป็น วฒั นธรรมท้องถิ่น ทห่ี ้องสมดุ ต้งั อยู่ 3. หน้าท่ีทางสังคม ห้องสมุดประชาชนเป็นสถาบันทางสังคมได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและท้องถ่ินมา ดำเนนิ กิจการ จึงมหี น้าท่ี แสวงหาข่าวสารข้อมูลท่ีมปี ระโยชนม์ าบริการประชาชน หอ้ งสมดุ ประชาชนในประเทศไทยมหี นว่ ยงานตา่ ง ๆ รบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ นอกจากนี้กรมการศึกษานอกโรงเรียนยังได้จัดที่อ่านหนังสือประจำ หมู่บา้ น ทอี่ ่านหนงั สือในวดั และหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี 2. ห้องสมุดประชาชน สังกัดกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 12 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี ห้องสมุดประชาชนซอยพระนาง หอ้ งสมุดประชาชนปทุมวัน ห้องสมดุ ประชาชนอนงคาราม ห้องสมดุ ประชาชนวัด สังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษฐาน วรวิหารตล่ิงชัน ห้องสมุดประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดประชาชนภาษีเจริญ ห้องสมุดประชาชนวัดราชโอรส 3. ห้องสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมุดที่ธนาคารพาณิชย์เปิดข้ึนเพื่อบริการสังคม และ เพ่อื ประชาสัมพนั ธ์กจิ การของธนาคารใหเ้ ปน็ ที่รู้จกั แพรห่ ลาย เช่น ห้องสมุดประชาชนของธนาคารกรงุ เทพจำกดั 4. ห้องสมุดประชาชนของรัฐบาลต่างประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างประเทศ เช่น ห้องสมดุ บริติชเคานซ์ ิล ของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร ทต่ี ั้งอยบู่ รเิ วณสยามสแควร์ กรงุ เทพมหานคร 5. ห้องสมุดประชาชนเสียค่าบำรุง ห้องสมุดประชาชนประเภทนี้ให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น โดยผู้ท่ี เป็นสมาชิกจะต้องเสียค่าบำรุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดนีลสันเฮย์ ตั้งอยู่ที่ถนนสุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร บทบาทและความสำคัญของห้องสมสุดต่อสังคมในดา้ นตา่ งๆ

19 1. เปน็ สถานทเ่ี พ่ือสงวนรกั ษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม ห้องสมดุ เปน็ แหลง่ สะสมววิ ฒั นาการของมนุษย์ ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั ถ้าไม่มีแหลง่ คน้ คว้าประเภทห้องสมุดเปน็ ศนู ย์กลางแล้ว ความรู้ต่างๆ อาจสญู หายหรือ กระจดั กระจายไปตามท่ีตา่ งๆ ยากแก่คนรุ่นหลังจะตดิ ตาม 2. เปน็ สถานท่เี พ่ือการศกึ ษา ค้นคว้าวจิ ัย หอ้ งสมดุ ทำหนา้ ท่ใี ห้การศึกษาแกป่ ระชาชนทุกรปู แบบ ทัง้ ใน และนอกระบบการศึกษา เริ่มจากการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานถงึ ระดับสูง 3. เปน็ สถานที่สรา้ งเสริมความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละความจรรโลงใจ หอ้ งสมดุ มหี น้าทร่ี วบรวมและเลอื กสรร ทรัพยากร สารสนเทศ เพ่ือบริการแก่ผใู้ ช้ ซ่งึ เปน็ สงิ่ ทม่ี คี ุณค่าผใู้ ช้ได้ความคิดสรา้ งสรรค์ ความจรรโลงใจ นานาประการ เกดิ ประโยชน์แกต่ นเองและสงั คมต่อไป 4. เป็นสถานที่ปลูกฝงั นิสยั รักการอา่ นและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ห้องสมดุ จะช่วยให้บคุ คลสนใจในการอ่าน และรกั การอา่ นจนเป็นนิสัย 5. เป็นสถานท่ีส่งเสริมการาใช้เวลาว่างในเป็นประโยชน์ ห้องสมุดเป็นสถานที่รวบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพ่ือบริการแก่ผู้ใช้ตามความสนใจและอ่านเพ่ือฆ่าเวลา อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรืออ่านเพื่อ สาระบนั เทงิ ไดท้ ง้ั สิน้ นบั วา่ เป็นการพักผอ่ นอย่างมีความหมายและให้ประโยชน์ 6. เป็นสถานที่สง่ เสรมิ ความเป็นประชาธปิ ไตย หอ้ งสมุดเป็นสาธารณะสมบัติ มสี ว่ นสง่ เสรมิ ให้บคุ คลรจู้ กั สิทธิและหนา้ ที่ของพลเมือง กลา่ วคอื เม่ือมีสทิ ธิในการใช้ก็ย่อมมีสิทธใิ นการบำรงุ รักษาร่วมกันและใหค้ วามรว่ มมือ กบั ห้องสมุดดว้ ยการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ แบบแผนของหอ้ งสมุด ปญั หาการอ่านและการใช้ห้องสมดุ ปัญหาในการอา่ นที่ทำใหม้ ีผลทำให้เดก็ ไม่เกิดนิสัยรักการอ่าน ซึ่งมสี าเหตมุ าจาก 1.ไม่อา่ น 2. อ่านไม่ออก 3. ไม่มหี นังสอื อา่ น 4. ไมม่ เี วลาอา่ น 5. ไมม่ ที ่ีอา่ น 6. อ่านช้า 7. อา่ นไมเ่ ข้าใจ 8. อ่านแลว้ ไม่เกดิ ประโยชน์ ปัญหาในการใช้ห้องสมุดที่ทำให้เดก็ ไมอ่ ยากเข้าใช้บริการห้องสมดุ 1. กฎระเบียบ 2. สถานทีอ่ ยไู่ กลชมุ ชน 3. เจา้ หน้าทีไ่ ม่ให้ความสนใจ 4. มคี วามคดิ แบบเดิมๆ วา่ ห้องสมดุ น่าเบอ่ื 5.ไม่มี่แรงจูงใจ

20 6. สื่อไมท่ นั สมยั 7. การบริการไมเ่ ป็นท่ีพอใจ นอกจากน้ตี วั แปรท่ีมีอทิ ธิพลตอ่ การใช้บรกิ ารห้องสมดุ ยงั สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. ตวั แปรทเ่ี กีย่ วกับผ้ใู ช้ ไดแ้ ก่ วุฒภิ าวะ ความพร้อม การจูงใจ สมรรถวิสยั ในการอ่านและคณุ ลักษณะ ทางบคุ ลกิ ภาพของผอู้ ่าน 2. ตัวแปรทีเ่ กย่ี วข้องกบั การอ่าน ได้แก่ ความแตกตา่ งของวัสดุการอ่าน ซ่ึงอาจแตกต่างได้ในความยาก งา่ ย ความยาว ความคลา้ ยคลึงกนั นอกจากนว้ี สั ดุการอ่านยังแตกตา่ งในดา้ นของความสนุก นา่ เรียนหรอื น่าเบื่อ หน่าย 3. ตวั แปรที่เกยี่ วกบั การใชห้ ้องสมุด 4. ตวั แปรทเี่ ก่ยี วกบั สภาพสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ บ้าน โรงเรียน เพ่ือนและชมุ ชน จากข้อความท่ีกล่าวมาข้างตันสรปุ ได้ว่า การาใช้ห้องสมุดข้ึนอยู่กับปัจจยั หลายประการ ไดแ้ ก่ สภาพสงั คมและ สิง่ แวดลอ้ ม วสั ดุการอ่าน และตวั ของผู้อา่ นเอง การศึกษาตลอดชีวิต ความหมายของการศกึ ษาตลอดชีวิต คำจำกัดความของการศึกษาตลอดชีวิตได้มีผู้ให้ไว้หลายคนด้วยกันดังน้ีคือ สุมาลี สังข์ศรี กล่าวว่า การศึกษาตลอดชีวิต หมายถึง ภาพรวมของการศึกษาทุกประเภทที่เกิดขึ้นตลอดชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตาย เป็นการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนาบุคคลใหป้ รับตัวเข้ากับความเปล่ียนแปลงในทุกช่วงชีวิตของบุคคลและพัฒนาต่อเน่ือง ไปให้เต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล การศึกษาตลอดชีวิตครอบคลุมการศึกษาทุกรูปแบบ ทุกวัย ทั้งการศึกษาสน ระบบโรงเรียน และการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษาแบบไม่เป็นทางการจากทุกแหล่งความรู้ในชุมชน และสังคมและเกิดข้ึนได้ทุกที่ โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ี การศึกษาตลอดชีวิตเป็นการศึกษาท่ีสัมพันธ์กับชีวิต และผสมผสานกลมกลืนกับการดำเนินชีวิตของบุคคล สุนทร สุนันท์ชัย กล่าวว่า การศึกษาตลอดชีวิตเป็น การศึกษาท้ังหมดของชีวิตมนุษย์ จากเกิดจนตาย มุ่งพัฒนามนุษย์ให้ปรับตัวเข้ากับความเปล่ียนแปลงในโลก ปจั จุบนั และพฒั นาตอ่ เนื่องไปใหเ้ ตม็ ศักยภาพของบุคคลแต่ละคน เปน็ การศึกษาท่เี กิดจากแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ด้วย ตนเองจากแหล่งเรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบและไม่เป็นทางการ ปฐม นิคมานนท์ กล่าวว่าการศึกษามิได้ หมายถึงเฉพาะกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาเท่านั้น หากแต่เกิดขึ้นได้ทุกแห่งทุกหนและ ตลอดเวลา มีความเก่ยี วพันธ์และต่อเน่ืองกันตลอดชีวิต พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ้ ข เพิ่มเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 มาตรา 4 ให้ความหมายของการศึกษาตลอดชีวิต ว่า เป็นการศึกษาท่ีเกิดขึ้นจาก การผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต จากท่ีมีผู้กล่าวมาถึงความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตไว้หลาย ความหมาย สามารถสรุปได้ว่า การศึกษาตลอดชีวิตเป็นกระบวนการท่ีมีผลต่อการเรียนรู้ โดยการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เกิดข้ึนกับบุคคลต้ังแต่เกิดจนตายเพ่ือให้บุคลได้พัฒนาตนให้ทัน ต่อการเปล่ยี นแปลงและพฒั นาต่อไปใหเ้ ตม็ ศักยภาพ โดยบุคคลนนั้ จะต้องมแี งจูงใจที่จะศกึ ษาหาความรดู้ ว้ ยตนเอง

21 ความสำคญั ของการศกึ ษาตลอดชีวิต สมุ าลี สงั ขศ์ รี สรปุ ความสำคัญของการศึกษาตลอดชีวติ ดงั นี้ 1. การศกึ ษาตลอดชวี ติ ทำให้บุคคลมีโอกาส เรยี นรู้ทุกชว่ งชีวติ 2. การศกึ ษาตลอดชีวิตทำให้บคุ คลมโี อกาสทางการศึกษาอยา่ งเสมอภาคอย่างเท่าเทียมกนั 3. การศึกษาตลอดชวี ิตทำให้บุคคลได้รบั โอกาสศึกษาในรปู แบบที่เหมาะสมกลมกลืนกับสภาพการดำเนนิ ชีวติ จรงิ เพราะการศกึ ษาตลอดชีวติ เปน็ การบูรณาการศึกษากบั ชวี ิต 4. การศกึ ษาตลอดชวี ิตทำให้บุคคลไดร้ ับการศึกษาทีส่ ามารถนำมาประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ิตจริงได้ 5. การศึกษาตลอดชีวิตทำใหบ้ คุ คลไดร้ บั การศึกษาท่ีสอดคลช้องกับการทำงาน ช่วยให้บุคคล สามารถ เลอื กอาชพี แลละพฒั นาอาชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพการณท์ เี่ ปล่ยี นแปลง 6. การศึกษาตลอดชวี ติ ชว่ ยใหบ้ ุคคลมีความรู้ ทกั ษะที่จะแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอด ชีวติ 7. การศึกษาตลอดชีวิตช่วยให้บุคคลมีอิสระในการเรียนรู้สามารถเลือกเรียนในสิ่งที่ตรงกับระดับ ความสามารถของตน 8. การศึกษาตลอดชวี ิตช่วยให้บคุ คลสามารถพัฒนาตนเองได้เตม็ ศกั ยภาพ 9. การศกึ ษาตลอดชีวิตชว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถพง่ึ พาตนเองไดแ้ ละนำตนเองไดใ้ นการเรยี นรู้ 10. การศึกษาตลอดชีวิตช่วยให้บุคคลได้พัฒนาตนเองตลอดทุกช่วงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ตนเองได้อย่างเหมาะสม 11. การศึกษาตลอดชีวิตเป็นการศึกษาที่ช่วยให้ผู้ท่ีด้อยโอกาสในสังคมได้มีโอกาสในการศึกษา ในการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของตนเอง 12. การศึกษาตลอดชีวติ ชว่ ยใหบ้ ุคคลและองคก์ รในสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา 13. การศึกษาตลอดชวี ติ ช่วยสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ความสำคญั ของครอบครวั 1. ครอบครัวเป็นเบ้าหลอมทางบุคลิกภาพและคุณลักษณะของสมาชิก การมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างสมาชิกในครัวเรือนเดียวกัน มีการถ่ายโยงค่านิยม ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ความเชื่อ ความศรัทธาและ วัฒนธรรมการดำเนินชีวิตจากสมาชิกรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหน่ึง ตลอดจนมีการพักผ่อน สันทนาการ และการทำ กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน บรรยากาศ และวิธีการ อบรมเลี้ยงดู การอบรมสั่งสอนการเป็นพ่อแบบ-แม่แบบ ทั้งอย่าง เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ท้ังโดยท่ีรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัวไม่ว่าจะในทางบวกหรือ ในทางลบได้ค่อยๆ หล่อหลอมพื้นฐานทางบุคลิกภาพและคุณลักษณะทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และจิตใจ ของสมาชิกในครอบครัวในรูปแบบต่างๆ มีผลต่อโดยตรงต่อการการแสดงบทบาททางสังคมของสมาชิกในสถาบัน อืน่ ตอ่ ไป

22 2. ครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานทางการศึกษาของสังคม ครอบครัวเป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้ ฝึกฝนและอบรมใหส้ มาชิกไดเ้ รียนรู้ระเบียบสงั คมหรือการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ท้ังอย่างเปน็ ทางการ (Formal) และ ไม่เปน็ ทางการ (Informal) 3. ครอบครัวสร้างคุณภาพชีวิต คุณลักษณะต่างๆ ท่ีบ่งช้ีถึงลักษณะของชีวิตที่มีคุณภาพข้างต้นน้ี ครอบครัวจะเปน็ สถาบนั ท่ีจะเออ้ื อำนวยใหเ้ กิดขึน้ กบั ชวี ติ ของสมาชกิ ในครอบครวั ได้ 4. ครอบครัวเป็นสถาบันพ้ืนฐานในการพัฒนาสังคม สถาบันที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสังคม และชุมชน เช่นเดียวกบั สถาบันทางสังคมอ่ืนๆ วฏั จักรของการเกิด การเติบโต เข้าสู่วัยเรยี น วัยทำงาน วัยแตง่ งาน วัยเลี้ยงดูลูกของตนเอง วัยดูแลพ่อแม่เม่ือแก่ชราลง สอนและฝึกให้ทุกคนต้องมีบทบาทหน้าท่ีในฐานะต่างๆใน ครอบครัว หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การเข้าไปมีบทบาท ภาระ หน้าที่และมีความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกของชุมชน หรอื สังคมนน้ั ๆ 5. ครอบครัวเป็นหน่วยวางรากฐานการปกครองในระดับต่างๆ ครอบครัวทำหน้าที่ปฐมภูมิท่ีสำคัญท่ีสุด คอื การใหก้ ำเนิดเดก็ ใหก้ ารเลย้ี งดูผู้เยาว์ ให้การศึกษา สรา้ งคนให้รูจกั ระเบยี บสงั คม ถ่ายทอดวัฒนธรรมให้คนรุ่นหลังรับไว้เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตให้เหมาะสมกับสภาพสังคมของชน กลุ่มน้ัน เด็กท่ีเกิดและเจริญเติบโตมาจากครอบครัวแบบใด ย่อมได้รับการถ่ายทอดแนวความคิด เจตคติและ พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ตดิ มาจากครอบครัวเดมิ ไม่มากกน็ ้อย และนำไปใชป้ ฏิบตั ิในสงั คมที่เขาอยอู่ าศัย สถาบันครอบครัว “ครอบครวั ” เปน็ สถาบนั (Institution) เปน็ องคก์ ร (Organization) หรอื เปน็ หนว่ ย (Unit)ทางสงั คมที่ เล็กทส่ี ุด ครอบครวั ก่อต้งั ข้ึนด้วยสมาชกิ ชายและหญิงเพียงสองคน ได้ทำหนา้ ที่เป็นบิดา-มารดาเป็นพ่อแบบ- แมแ่ บบท่ีถ่ายทอดและให้การศกึ ษาในข้ันแรกแกส่ มาชิกใหม่ เป็นเบ้าหลอมทางบุคลิกภาพ เป็นแหลง่ ท่ีจะ เสริมสรา้ งพลังกายและพลังใจให้แก่สมาชิกของครอบครัว ท่ีออกไปแสดงบทบาทตา่ ง ๆทางสังคมในสถาบันที่ เกย่ี วขอ้ ง ครอบครวั เป็นสถาบันทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนษุ ยไ์ ดใ้ นทุกระดับ ทั้งดา้ นความ ต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs) ความตอ้ งการทางด้านจิตใจ (Psychological needs) และ ความต้องการทางด้านสังคม (Social needs) กจิ กรรมส่งเสริมนิสยั รักการอา่ น การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจอยากรู้ อยากเห็น อยากอ่าน จนสามารถนำความรเู้ หลา่ นนั้ ไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างหลากหลาย โรงเรียนสามารถนำการ อ่านสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้ตามศักยภาพและต้องจัดกิจกรรมการอ่านเป็น กิจกรรมเสริมนอกเหนือเวลาเรียน เพ่อื กระต้นุ ให้เกดิ การอา่ นอย่างตอ่ เน่ือง และย่ังยืนเป็นนิสยั กิจกรรมส่งเสริม การอ่านที่เป็นกิจกรรมเสริมน้ี จะจัดให้กลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล รายกลุ่มหรือจัดให้กับผู้เรียนทุกคนก็ได้ แลว้ แต่ลกั ษณะของกิจกรรมมกี ารกำหนดระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมไวช้ ดั เจน ดังนี้

23 1. กิจกรรมรายวนั คือ กิจกรรมที่จัดเป็นประจำทุกวัน ในช่วงเวลาใดก็ไดต้ ามความเหมาะสม เช่น เรื่องเล่าเช้านี้ เสียงตามสาย 180 วนิ าทขี า่ ว เตมิ ความรู้ 5 นาที เปน็ ต้น 2. กิจกรรมรายสัปดาห์ คือ กิจกรรมท่ีจัดเป็นประจำทุกสัปดาห์ ซึ่งโรงเรียน จะกำหนดจัดใน วันใดวันหนึ่งตามความเหมาะสม เช่น พ่ีเพ่ือนพ้อง ชวนน้องอ่านฟังแล้วคิดพิชิตรางวัล อ่านแล้วบันทึกรู้ลึกจำ นาน เป็นตน้ 3. กิจกรรมรายเดือน คือ กิจกรรมที่จัดเป็นประจำทุกเดือน ซ่ึงโรงเรียนอาจจะกำหนดจัด เดือนละ 1-2 คร้งั กไ็ ด้ ตามความเหมาะสม เชน่ กล่องนมอุดมความรู้ คน้ ฟ้าควา้ ดาวเป็นตน้ 4. กิจกรรมรายภาคเรียน คือ กิจกรรมท่ีจัดเป็นประจำทุกภาคเรียน เช่น เวที -นักประพันธ์ รุ่นเยาว์ หนังสือดีฝีมือเด็ก รวมพลคนรักการอ่าน หนอนหนังสือคือหนูคนเก่ง ห้องสมุดสัญจร สารานุกรมสั่ง สมปัญญา จบิ น้ำชาเสวนาประสาคนรักการอ่าน เปน็ ต้น 5. กิจกรรมรายปี คือ กิจกรรมท่ีจัดเป็นประจำทุกปี เช่น ประกวดสุดยอดนักอ่าน ระบาย บรรเลงเพลงวรรณกรรม สมุดบนั ทกึ ความดี หนนู ้อยหอ้ งสมุด นทิ รรศการหนังสอื กฤตภาคจากสื่อสง่ิ พิมพ์ นิทรรศการแสดงผลงานนกั เรียน เป็นต้น การอ่านจะพัฒนาขึ้นมาไดต้ ้องมกี ารปฏบิ ัติเป็นประจำ การอา่ นควรเปน็ กิจกรรมประจำวัน เป็น กิจกรรมท่ีมีความต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ีจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการอ่าน ตลอดจนเสริมสร้างความ สามัคคีในหมู่คณะและสร้างภาวะความเป็นผู้นำท่ีดี ทั้งนี้ โรงเรียนจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องจึง จะบังเกดิ ผลและปลกู สร้างนสิ ยั รักการอ่านใหแ้ กน่ ักเรยี นอยา่ งย่ังยนื กจิ กรรมประเภทเร้าโสตประสาท กิจกรรมเร้าโสตประสาท ได้แก่ กิจกรรมประเภทชวนให้ฟัง มีการใช้เสียง และคำพูดเป็นหลัก เช่น กิจกรรมจิบนำ้ ชาเสวนาประสาคนรกั การอา่ น พิธีกรรุ่นจวิ๋ เร่อื งเล่าเช้านี้ พ่ีเพื่อนพ้องชวนน้องอา่ น เตมิ ความรู้ 5 นาที สื่อสารผ่านหนังสือ เสียงตามสาย ฟังแล้วคิดพิชิตรางวัล เป็นต้น ซ่ึงหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน 3.1 คือ นักเรียน สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี วิจารณญาณ อย่างสร้างสรรค์ โดยกำหนดให้ผู้เรียนรู้จักฟัง รู้ความหมายของคำ มีสมาธิในการฟัง มีมารยาท ในการฟัง เลือกเร่ืองที่จะฟังและสรุปเรื่องจากการฟังได้ เป็นต้น ดังนั้น กิจกรรมประเภทน้ีจึงเหมาะอย่างยิ่งที่ จะทำให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรวู้ ธิ ฟี งั และเรยี นรู้ดว้ ยการฟังได้เปน็ อยา่ งดี

24 สอนการบ้านลูกอย่างไรให้อยากทำการบ้าน การสอนการบ้านลูกเป็นส่ิงท่ีพ่อแม่ควรให้ความสำคัญเป็นอย่างย่ิง บ่อยครั้งเราพบว่าลูกของเราไม่อยาก ทำการบ้าน แสดงอาการอิดออดและหนา้ มยุ่ น่ันเปน็ เพราะเราสอนผิดวธิ ีหรือเปล่า ลองสังเกตดูว่าเราเร่งให้เขาทำ การบ้านให้เสร็จไว ๆ หรือดุเขาเวลาทตี่ อบผิดไหม ถ้าใช่! คุณพอ่ คุณแม่ต้องเปลยี่ นวิธีการสอนแล้วมาดูใหม่ว่าสอน แบบไหนลูกเราถึงอยากทำการบ้าน 1. เลิกตำหนติ เิ ตยี น ไม่ว่าลูกของเราจะทำการบ้านช้าหรือทำผิด พ่อแม่ก็ไม่ควรตำหนิลูก เพราะอาจทำให้เขารู้สึกแย่และ กดดนั ส่งผลให้ปิดก้ันตัวเองจากการเรียนรไู้ ด้ การท่ีเด็กอยากเร่ิมทำการบ้าน พ่อแม่ตอ้ งเข้าใจก่อนวา่ การบ้านคือ การเอากลับมาทำท่ีบ้านที่มีพ่อแม่อยู่ด้วย เพ่ือให้เด็กได้ใช้เวลากับครอบครัว เพราะการที่เด็กจะเก่งหรือไม่เก่งนั้น ไมไ่ ด้ขึ้นอยู่กับโรงเรยี นอยา่ งเดยี ว แต่อยทู่ ่ีครอบครัวว่าใหเ้ วลากับลกู และใสใ่ จพวกเขาดีแคไ่ หน ดังน้ัน เราควรทจ่ี ะ ให้กำลังใจ เช่น ถ้าลูกระบายสีออกนอกเส้น พ่อกับแม่ไม่ควรบอกว่าระบายแบบน้ีไม่สวยหรือพูดว่า “อย่าระบาย ออกนอกเส้นสิลูก” ควรบอกเขาว่า “กล้ามเน้ือมือหนูยังไม่แข็งแรงเหมือนแม่ ไว้เราฝึกกันไปเร่ือย ๆ เนาะ เด๋ียว มนั จะสวยขนึ้ เอง” 2. อย่าใชจ้ ำนวนดาวมาวดั คุณภาพ ตอนที่เรายงั เป็นเด็ก วันไหนทเี่ ราไดด้ าวแค่ 3 ดวง แต่เพื่อนได้ 4 ดวง เรายังรู้สึกแย่ แล้วทำไมลูกของเรา จะไม่รู้สึกแบบน้ันล่ะ ความจริงเราไม่รู้ด้วยซ้ำว่าใช้มาตรฐานอะไรในการวัดว่าจะให้ดาวกี่ดวง อาจจะแค่วันน้ีลูก งอแงแล้วเราให้ 3 ดวง แต่ถา้ เมือ่ วานได้ 5 ดวง เขาจะรสู้ ึกแยท่ นั ทีว่าทำไมยง่ิ ทำย่งิ ไดน้ อ้ ย และสง่ ผลให้ไม่อยากทำ การบ้านอีก ทางท่ีดีพ่อแม่ควรเสริมแรงทางบวกด้วยการกอดหรือหอม ลูกจะได้รู้ว่าทุกครั้งท่ีทำการบ้านเขาจะ ไดร้ ับความรกั อยา่ งเต็มที่และอยากทำทุกวัน 3. กำหนดเวลาทำการบ้าน สำหรบั การกำหนดเวลาทำการบ้าน พ่อแม่ต้องสังเกตพฤติกรรมของลูกว่าเขาทำไดด้ ีช่วงเวลาไหน ซึ่งบาง คนอาจจะทำได้ดีหลังกลบั มาจากโรงเรียน เพ่ือให้ตัวเองได้มีเวลาเล่นยาว ๆ หรือบางคนอาจจะหลังทานม้ือเย็นไป แล้ว เพราะกินอ่ิม ซ่ึงความหิวก็มีผลต่ออารมณ์ให้เราอยากหรือไม่อยากทำอะไรเช่นเดียวกัน และเม่ือเรา กำหนดเวลาได้แล้ว ก็ตอ้ งตรงตอ่ เวลาเพือ่ ฝึกวินัยใหก้ บั ลูกว่าถงึ เวลาต้องทำการบ้าน และคร้งั ตอ่ ๆ ไปเขาจะมาทำ การบ้านโดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งบอก 4. ถา้ ลกู ทำไม่ได้ พ่อแมต่ อ้ งสอนให้ลูกคิด การมีพ่อแม่ช่วยถอื ว่าเป็นส่ิงท่ีดี แตช่ ่วยอย่างไรใหล้ ูกของเราคดิ ได้โดยที่ไม่ต้องบอกเฉลยนี่สิยาก เข้าใจว่า พ่อแม่บางคนอยากให้ลูกทำการบ้านเสร็จไว ๆ เลยรีบเฉลยคำตอบด้วยการถาม “ตอบข้อนี้ใช่ไหม ?” เด็กอาจจะ

25 ตอบใช่ แต่ยังไม่ทันคิด ยิ่งในอนาคตท่ีต้องเจอกับการบ้านท่ียากข้ึนแล้วทำไม่ได้ เขาก็จะขอให้เราช่วยอีก และถ้า วันไหนที่ต้องทำเองคนเดียวแล้วคิดไม่ออก เขาก็จะรู้สึกว่าไม่อยากทำ น่ันเป็นเพราะเราท่ีไม่สอนให้เขาคิดตั้งแต่ แรก ดังน้ัน เราควรสอนใหเ้ ขาคิดเองตั้งแตย่ ังเด็ก เร่มิ จากเปลย่ี นการต้งั คำถามแล้วคิดไปพรอ้ ม ๆ กัน เชน่ “แม่ให้ เงิน 15 บาท หนูซ้อื ขนมไป 5 บาท จะเหลือเงินก่ีบาท” โดยทนี่ บั นวิ้ ไปพรอ้ มกัน หรือลองหาสอื่ การสอนมาช่วยคิด ใหเ้ ห็นภาพมากขนึ้ กไ็ ด้ วิธีสอนการบ้านลูกดูเหมือนจะง่ายนะ แต่บอกไว้ก่อนว่ากว่าจะปรับตัวได้ต้องใช้เวลานานพอสมควร พ่อแมท่ ุกคนอยากใหล้ ูกเกง่ และขยัน แต่อย่าลมื ว่า…“สง่ิ สำคญั ไม่ใช่การจำ้ จ้ีจำ้ ไชใหเ้ ขาต้องทำใหไ้ ด้ แตม่ ันคือ การมอบความรัก ความใสใ่ จ และความปลอดภัยทางอารมณใ์ ห้ลูกของเราตา่ งหาก น่ันคือสง่ิ ท่ีเขาต้องการจาก พ่อแม่มากทส่ี ุด”

26 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ งานตามโครงการ 1. วิธีการดำเนนิ งาน ขั้นเตรียมการ เพื่อจัดประชมุ ครูและบุคลากรทางการศึกษา - ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอียดโครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพอ่ื อนุมตั ิ - แตง่ ต้งั กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจนั ทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธิ์ เดตะอุด ครู กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝา่ ยติดต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานท่ีจัดการจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ย่ิงสกุ ครู ศรช.

27 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบกิ จ่ายพสั ดุ และการเงินตามโครงการให้ถูกต้องเรียบรอ้ ยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 3.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 3.3 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสมั ฤทธิ์ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสมั พันธ์ มหี น้าท่ี ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบดว้ ย 4.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษช์ ำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวิน สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสรุ ัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณัฐชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ย่งิ สกุ ครู ศรช. 4.12 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จัดการงานทว่ั ไป 5. ฝ่ายจดั กจิ กรรม มีหน้าทจ่ี ัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ วิทยากรการจัดกระบวนการเรียนรู้ จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และสื่อออนไลน์ สื่อการ เรียนการสอน เกม และกจิ กรรมนันทนาการ ดงั น้ี 5.1.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 5.1.2 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รวยแก้ว ครอู าสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวิน สีเหลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล

28 5.1.9 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.1.13 นายศิวณัชญ์ อัศวสมั ฤทธิ์ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกัญญาณัฐ จันปัญญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปณั ณวฒั น์ สขุ มา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยิ่งสกุ ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา น้อยจันทร์ ครู ศรช. 5.1.18 นางสาวเยาวดี โสดา นักจดั การงานท่ัวไป 6. ฝ่ายรับลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ที่จัดเตรียมเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบยี น ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอุษา ย่งิ สกุ ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพึงพอใจ ประเมินผลการดำเนนิ งาน ประเมินความพงึ พอใจ ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานหลังเสรจ็ ส้นิ โครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบัว บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 7.2 นางสาวอษุ า ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 7.3 นางสาวกัญญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช.

2. ข้ันดำเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ ก 1. ขัน้ เตรียมการ กล่มุ เป้าหมาย เพ่ือจัดประชุมครูและบุคลากรทางการ ครแู ละบคุ ลากร ช 2. ประชมุ กรรมการ ศกึ ษา กศน. อำเภอชนแดน ว ดำเนนิ งาน - ช้ีแจงทำความเขา้ ใจรายละเอียด จำนวน 21 คน 3. จัดเตรียมเอกสาร โครงการ วัสดุ อุปกรณ์ในการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนินโครงการ ครูและบคุ ลากร ดำเนนิ โครงการ - จดั ทำโครงการและแผนการดำเนินการ กศน. อำเภอชนแดน เพอื่ อนุมัติ - แตง่ ตง้ั กรรมการดำเนนิ งานตาม จำนวน 21 คน โครงการ กรรมการฝา่ ยท่ีไดร้ บั เพอื่ ประชุมทำความเข้าใจกบั กรรมการ ดำเนนิ งานทุกฝ่ายในการจัดกิจกรรม มอบหมาย โครงการและการดำเนินงาน เพื่อดำเนนิ การจดั ทำ จัดซื้อ วสั ดอุ ุปกรณ์ ท่ใี ช้ในการดำเนนิ การ

29 กล่มุ เปา้ หมาย พ้ืนท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ช้ีแจงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถปุ ระสงค์ของการจดั โครงการ ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ที่ กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จัดซ้อื วัสดอุ ุปกรณ์ในการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน /กิจกรรมหลัก...

-6 กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย ก 4. ดำเนนิ การจัด เดก็ และเยาวชน กิจกรรม บา้ นหลงั เรยี นเพอื่ นเรยี นรู้ จำนวน 10 คน ส 1. กิจกรรมสอนการบ้าน น 5. สรุป/ประเมนิ ผล 2. วาดภาพระบายสี แ และรายงานผล 3. ศลิ ปะประดิษฐ์ โครงการ 4. ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ตามกระบวนการ เพ่อื ให้กรรมการฝา่ ยประเมินผลเกบ็ ประเมินโครงการ รวบรวมข้อมลู และดำเนินการประเมนิ ผล 5 บท จำนวน 3 เลม่ การจัดกิจกรรม

30 6– กล่มุ เปา้ หมาย พนื้ ทีด่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมี 1. ห้องสมดุ ประชาชน เม.ย.ถึง - ก.ย.65 นิสัยรักการอ่านนำไปสู่ การเรียนรู้ อำเภอชนแดน และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ีขนึ้ 2. โรงเรยี นในพ้ืนท่ี อำเภอชนแดน สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

31 3. ข้ันสรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 1.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรียน มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดขี น้ึ 2. การติดตามผลประเมนิ ผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

32 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานตามโครงการ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี สว่ นที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 10 50.00 หญิง 10 50.00 รวม 20 100 จากตาราง สรปุ ไดว้ ่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ในคร้งั นี้ เปน็ เพศหญิงและเพศชาย จำนวน 10 คนเทา่ กนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 อายุ ชว่ งอายุ จำนวน ร้อยละ ตำ่ กว่า 15 ปี 20 100 15 - 29 ปี - - 30 – 39 ปี - - 40 - 49 ปี - - 50 - 59 ปี - - 60 ปขี ้นึ ไป - - 20 100 รวม จากตาราง สรปุ ไดว้ ่า ผตู้ อบแบบสอบถาม ในครัง้ น้ี เปน็ ช่วงอายุ ต่ำกวา่ 15 ปี มากท่ีสุด จำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

33 การศึกษา ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ ประถมศึกษา 20 100 - - ม.ต้น - - ม.ปลาย - - ปวช./ปวส. - - ปริญญาตรี - - สงู กว่าปรญิ ญาตรี 20 100 รวม จากตาราง สรุปได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ในคร้งั นี้ การศกึ ษาระดับ ประถมศึกษา มากที่สุด จำนวน 20 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 อาชีพ อาชพี จำนวน ร้อยละ รับจ้าง - - เกษตรกรรม - - ผนู้ ำชมุ ชน - - คา้ ขาย - - รบั ราชการ - - นักเรียน/นกั ศึกษา 20 100 อ่ืนๆ ระบุ - - รวม 20 100 จากตาราง สรุปได้วา่ ผตู้ อบแบบสอบถาม ในครัง้ นี้ เปน็ อาชีพนกั เรยี น/นักศึกษา มากท่สี ุด จำนวน 20 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

34 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กจิ กรรม 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพงึ พอใจ 0.00 – 1.49 อยู่ในระดับ นอ้ ยท่สี ดุ 1.50 – 2.49 อย่ใู นระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยใู่ นระดบั ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยูใ่ นระดบั มาก 4.50 - 5 อยู่ในระดับ มากทีส่ ุด 2.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน มากทส่ี ุด 5 อยใู่ นระดบั มาก 4 อยู่ในระดับ ปานกลาง 3 อยใู่ นระดับ น้อย 2 อย่ใู นระดบั น้อยที่สดุ 1 อยใู่ นระดับ

ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการ/กิจกรรม จำนวน ผู้ ข้อ รายการ ประเมิน (คน) มากทส่ี ดุ 5 1 กิจกรรมทจ่ี ดั สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 20 17 16 2 เนื้อหาของสอื่ การเรยี นรตู้ รงกับความต้องการของผู้รับบริการ 20 19 18 3 การจัดกิจกรรมมีสอื่ การเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย 20 18 17 4 กจิ กรรมสง่ เสริมการมีมนุษย์สัมพนั ธ์อันดีต่อกนั 20 19 16 5 สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมเหมาะสมท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 20 18 18 6 ระยะเวลาการจดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม 20 18 19 7 ทา่ นมคี วามประทับใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรมครั้งนี้ 20 8 การประชาสมั พนั ธแ์ ละชวนเชิญ 20 9 ความเหมาะสมวสั ด/ุ อุปกรณ์ในการจดั กิจกรรม 20 10 การนำประโยชนไ์ ปใชใ้ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในครงั้ นี้ 20 11 ท่านคดิ วา่ ควรมีการจัดกจิ กรรมในลกั ษณะน้ีต่อเน่ือง 20 12 หากมโี อกาสในปตี ่อไปท่านยินดเี ขา้ รว่ มโครงการนี้อกี 20 รวมทั้งหมด 240 213 รอ้ ยละ 100 88.75

35 ระดบั ผลการประเมิน ประมวล ผล เฉล่ยี S.D. ร้อยละ ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด ด มาก 4 321 3 0 0 0 4.85 0.37 มากท่ีสดุ 97.00 3 1 0 0 4.75 0.55 มากทส่ี ุด 95.00 1 0 0 0 4.95 0.22 มากทส่ี ุด 99.00 1 1 0 0 4.85 0.49 มากทส่ี ุด 97.00 1 1 0 0 4.85 0.49 มากท่ีสดุ 97.00 2 1 0 0 4.80 0.52 มากทส่ี ดุ 96.00 1 0 0 0 4.95 0.22 มากทส่ี ดุ 99.00 2 2 0 0 4.70 0.66 มากทส่ี ดุ 94.00 2 0 0 0 4.90 0.31 มากที่สุด 98.00 1 1 0 0 4.95 0.49 มากทส่ี ุด 97.00 2 0 0 0 4.90 0.31 มากทส่ี ดุ 98.00 1 0 0 0 4.95 0.22 มากที่สุด 99.00 20 7 0 0 4.86 0.43 มากที่สุด 97.17 8.33 2.92 0 0

36 จากตาราง สรุปไดว้ า่ ความพงึ พอใจการจัดกจิ กรรม ในคร้งั นี้ ผลปรากฏวา่ ระดบั ความพงึ พอใจในภาพรวมอยู่ ในระดับ มากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 97.17 ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอ 1. ได้ความร้เู พ่ิมขน้ึ อยากใหจ้ ัดโครงการแบบนี้อีก 2. อยากให้จัดกจิ กรรมแบบนี้อีก

37 บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การบูรณาการการเรียนรู้ • มีการนำความรูท้ ี่ไดร้ ับไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ • จากกจิ กรรมช่วยสง่ เสรมิ ให้มีนิสยั รักการอา่ นและการเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต กระต้นุ และสง่ เสริม นิสยั ให้เดก็ และเยาวชนมีนิสยั รกั การอา่ น สง่ เสริมทกั ษะและพฒั นาการทางด้านรา่ งกายและจิตใจของเด็กและ เยาวชน และสง่ เสรมิ ให้เด็กและเยาวชนมีความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละมีจนิ ตนาการ ความรว่ มมือของกลุ่มเปา้ หมายและเครอื ข่าย - การมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย - การสนับสนุนใหภ้ าคเี ครือข่ายจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั การนำความรูไ้ ปใช้ - สง่ เสริมและสนบั สนุนการอ่านให้เป็นวาระแหง่ ชาติ นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปเขา้ ถงึ และมีโอกาสได้อ่านหนงั สือ สง่ เสริมสนับสนนุ ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม มีนิสยั รักการอ่านนำไปสกู่ ารเรียนรู้ และ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ใหด้ ขี ้ึน การดำเนินงานทั่วไป เชิงปรมิ าณ - กลุ่มเป้าหมาย เดก็ และเยาวชน จำนวน 5 คน - จำนวนกลุ่มตัวอยา่ ง เดก็ และเยาวชน จำนวน 20 คน 1) ชาย จำนวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.00 2) หญิง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 เชิงคุณภาพ 1. สง่ เสรมิ ให้เดก็ และเยาวชนมีนสิ ยั รกั การอา่ นและการเรียนร้อู ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ 2. สง่ เสรมิ ทกั ษะและพัฒนาการทางดา้ นร่างกายและจติ ใจของเด็กและเยาวชน 3. สง่ เสริมใหเ้ ดก็ และเยาวชนมีความคิดสรา้ งสรรค์และมีจินตนาการ

38 ผลการดำเนนิ งานตามตัวชี้วัดความสำเรจ็ 1. เปา้ หมาย จำนวน 5 คน มผี ูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม จำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย 2. จำนวนผู้รว่ มกจิ กรรม จำนวน 20 คน ผ่านกิจกรรม จำนวน 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ผลการดำเนินงานบรรลเุ ปา้ หมาย สรุปผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย ความพึงพอใจการจดั กิจกรรม ในครั้งน้ี ผลปรากฏว่าระดับความพงึ พอใจ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 97.17 สรุปความพึงพอใจตอ่ โครงการ/กิจกรรม ทเ่ี ขา้ ร่วม 1. กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 86.53 2. เน้ือหาของสื่อการเรียนรู้ตรงกบั ความต้องการของผู้รับบริการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากทสี่ ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 89.80 3. การจัดกิจกรรมมีสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 90.61 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 90.20 5. สถานที่จัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อย ละ 92.24 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 88.57 7. ท่านมีความประทับใจในการเข้าร่วมกิจกรรมคร้ังน้ี อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็น ร้อยละ 89.80 8. การประชาสัมพันธแ์ ละชวนเชญิ อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.00 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 90.61 10. การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.16 11. ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะน้ีต่อเนื่อง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเปน็ ร้อยละ 87.76 12. หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการนี้อีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 89.80

39 ขอ้ เสนอแนะ 1. ได้ความรเู้ พิ่มขนึ้ อยากให้จัดโครงการแบบน้ีอีก 2. อยากใหจ้ ดั กิจกรรมแบบนี้อีก

บรรณานกุ รม กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://pitsinee33.blogspot.com/2014/09/blog- post.html. [2551]. สบื ค้นเมอ่ื 31 กรกฎาคม 2565. เกียรติธนพัฒน์ หิมหงษ์. การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ในแต่ละวัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/a/surinarea1.go.th/keattanapat/chan-mathymsuksa-pi-thi31/ hnwy-kar-reiyn-ru-thi1/neuxha-xeksar/1-kar-ceriy-teibto-laea-phathnakar-khxng-mnusy-ni- taela-way. [2560]. สบื ค้นเมอ่ื 31 กรกฎาคม 2565. สอนการบ้านลูกอย่างไรให้อยากทำการบ้าน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://cottonbaby.co/mom- dad. [ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์]. สืบค้นเมอื่ 31 กรกฎาคม 2565. อมรรตั น์ ชำนาญรักษา. ความหมายของการอ่าน. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/ site/ madoobook/home/khwam-hmay-khxng-kar-xan. [2555]. สบื ค้นเมอื่ 31 กรกฎาคม 2565.

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook