Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน 65.2

ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน 65.2

Published by waryu06, 2022-08-26 09:01:08

Description: ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ สว่ นราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วันที่ สิงหาคม ๒๕๖๕ เรอื่ ง รายงานผลการดำเนินงานโครงการห้องสมุดเคล่ือนท่ีสู่ชมุ ชน เรียน ผอู้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำจัดทำโครงการห้องสมุดเคลื่อนท่ีสู่ชุมชน ระหวา่ ง เดือนเมษายน ถงึ กันยายน ๒๕๖๕ ในพ้นื ท่อี ำเภอชนแดน เพือ่ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนรักการอ่านและ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และ สนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับประชาชนในชมุ ชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั เป็นการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นร้ใู นชุมชน บดั น้ีโครงการดงั กล่าวไดด้ ำเนินการเสรจ็ สน้ิ เรียบร้อยแลว้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการดังกล่าว รายละเอยี ดตามเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ (นางวารี ชบู วั ) บรรณารกั ษช์ ำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนนิ การจดั ทำโครงการห้องสมุดเคล่ือนท่ีสชู่ ุมชน ระหว่างเดือนเมษายน ถึง กันยายน ๒๕๖๕ ในพื้นที่อำเภอชนแดน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับ ประชาชนในชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการสร้างสังคมแห่งการ เรยี นรู้ในชุมชน นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือในการ ดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงใน คร้งั ต่อไป ผ้จู ดั ทำ สิงหาคม 2565

สารบัญ หนา้ 1-8 บทท่ี 1 บทนำ 9 - 27 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 28 - 33 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การตามโครงการ 34 - 38 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การตามโครงการ 39 – 41 บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ บรรณานกุ รม ภาคผนวก รูปภาพ รายชื่อผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม แบบประเมินความพึงพอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผจู้ ัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ชอ่ื โครงการ โครงการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมที่ 5 โครงการหอ้ งสมุดเคลื่อนที่สู่ชมุ ชน 2.  สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบออ้ มอารี มวี ินัย รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีหลกั คดิ ทีถ่ กู ต้อง มที กั ษะท่ีจา่ เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มี ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเน่อื งตลอดชีวติ สกู่ ารเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอื่น ๆ โดยมี สมั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบดว้ ย (1) ชว่ งการต้ังครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรยี มความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/ วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษท่ี 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ ผู้สงู อายุเปน็ พลงั ในการขับเคลื่อนประเทศ ประเด็นที่ 6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก ห้องเรียน และ (4) การพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย์ 3.1 ปรบั เปลี่ยนค่านยิ มคนไทยให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวินัย จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรม ทพ่ี ึงประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่าง จรงิ จัง 3.2 พฒั นาศักยภาพคนใหม้ ีทกั ษะความรแู้ ละความสามารถในการดำรงชวี ิตอยา่ งมคี ุณค่า 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มี ทกั ษะการทำงานและการใช้ชีวติ ทพี่ ร้อมเขา้ สู่ตลาดงาน

2 3.3 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 3.3.6 จัดทำสื่อการเรียนร้ทู ่ีเป็นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสามารถใชง้ านผา่ นระบบอปุ กรณส์ อื่ สารเคลื่อนท่ี ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจูงใจให้ ภาคเอกชนผลิตหนงั สอื สอ่ื การอา่ นและการเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ ภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผู้สูงอายุ รวมทั้งส่งเสริมให้มีระบบการจัดการความรู้ท่ีเป็นภมู ิ ปญั ญาท้องถิ่น  สอดคลอ้ งกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศึกษาธกิ าร) 1. การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจดั การศึกษาเพ่ือคณุ วุฒิ พฒั นาผู้เรียนใหม้ คี วามรอบรู้และทกั ษะชีวติ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ ดำรงชีวติ และสรา้ งอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สุขภาวะและทศั นคติที่ดตี อ่ การดูแลสขุ ภาพ 1.2 การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. จุดเนน้ การดาํ เนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ทเ่ี น้นการพฒั นาทักษะท่ีจําเปน็ สำหรบั แต่ละช่วงวยั และ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับแต่ละกลุม่ เปา้ หมายและบรบิ ทพ้นื ที่  สอดคล้องกบั ตวั ชี้วัดการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั บง่ ชที้ ่ี 1.1 ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกับ วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ 2.1 การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั บ่งชี้ที่ 2.2 ผ้จู ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.3 สื่อหรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการจดั การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.4 ผรู้ ับบริการมีความพึงพอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย

3 มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ช้ที ี่ 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาทเี่ น้นการมสี ว่ นร่วม ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ที่ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3.7 การส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคเี ครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.8 การสง่ เสริม สนับสนนุ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมินความพึงพอใจ ควรเพิ่มข้อเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะวา่ เพราะเหตุใดขอ้ นนั้ จงึ ใหค้ ะแนนมากหรือน้อย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถ้วนเป็นระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม มีการออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนื่องและนำผลการประเมินที่ได้ไปวิเคราะหถ์ ึงอุปสรรค และนำไปวางแผน ปรับปรุง พัฒนาในปตี ่อไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน ได้มอบหมายให้ห้องสมุดประชาชน อำเภอชนแดนจัดทำโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านและการเรียนรู้อย่าง ต่อเนือ่ งตลอดชีวติ จัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และสนบั สนุนการจดั การศึกษา ให้กับประชาชนในชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรใู้ นชมุ ชน 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอ่ื เพมิ่ ชอ่ งทางการเข้าถึงการอ่านในแหล่งเรียนรใู้ กลต้ วั และมหี นงั สือที่หลากหลายใหบ้ ริการ 4.2 เพอ่ื ส่งเสริมสนับสนุนใหป้ ระชาชน ทกุ ชว่ งวยั ใหม้ ีนสิ ัยรกั การอ่าน 4.3 เพื่อสง่ เสริมและสนับสนุนใหป้ ระชาชนในพื้นที่มอี าชพี

4 5. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป จำนวน 200 คน เชงิ คุณภาพ 1. เพ่มิ ชอ่ งทางการเข้าถึงการอา่ นในแหลง่ เรยี นรใู้ กลต้ ัว และมหี นงั สือท่หี ลากหลายให้บรกิ าร 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ประชาชน ทุกชว่ งวยั ให้มนี ิสยั รกั การอ่าน 3. สง่ เสริมและสนบั สนุนใหป้ ระชาชนในพน้ื ทม่ี อี าชีพ

6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขั้นเตรียมการ ช เพื่อจัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการ ครูและบุคลากร ว 2. ประชุมกรรมการ ดำเนนิ งาน ศึกษา กศน. อำเภอชนแดน ช 3. จัดเตรยี มเอกสาร ข วัสดุ อุปกรณใ์ นการ - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด จำนวน 21 คน จ ดำเนินโครงการ โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพ่อื อนมุ ัติ - แตง่ ตั้งกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ดำเนินงานทกุ ฝ่ายในการจดั กิจกรรม กศน. อำเภอชนแดน โครงการและการดำเนนิ งาน จำนวน 21 คน เพ่ือดำเนินการจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั ทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การ มอบหมาย

5 กลุ่มเป้าหมาย พน้ื ทีด่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย (เชงิ คณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ช้แี จงทำความเข้าใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จดั ซื้อวสั ดุอปุ กรณใ์ นการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน

กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย ส 4. ดำเนินการจดั กลมุ่ เปา้ หมาย แ กิจกรรม 1. รถหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี น 2. อา่ นดีมีอาชีพ นกั เรียน นกั ศึกษา ช 5. สรุป/ประเมนิ ผล 3. กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น และประชาชนท่ัวไป และรายงานผล 4. ศลิ ปะประดิษฐ์ จำนวน 200 คน โครงการ 5. อา่ นผา่ นควิ อารโ์ ค้ด เพอ่ื ให้กรรมการฝา่ ยประเมนิ ผลเกบ็ ตามกระบวนการ ส รวบรวมขอ้ มูลและดำเนินการประเมินผล ประเมินโครงการ ต การจดั กิจกรรม 5 บท จำนวน 3 เล่ม

6 เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) พืน้ ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - ส่งเสริมสนับสนุนใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษา พ้นื ที่อำเภอชนแดน เม.ย. ถึง ก.ย.65 และประชาชนทว่ั ไปมนี ิสยั รกั การอ่าน นำไปสู่ การเรยี นรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตใหด้ ขี ้ึน สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

7 7. วงเงนิ งบประมาณ ไม่ใช้ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ แผนการใช้จ่ายรายไตรมาส ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 - 3,900 - - 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ตำแหน่ง : บรรณารกั ษ์ชำนาญการ ชื่อ - สกุล : นางวารี ชบู วั เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 เบอรโ์ ทรศัพทท์ ่ีทำงาน : 056 – 761667 อเี มลล์ : [email protected] ผ้รู ว่ มดำเนนิ การ ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวลาวัณย์ สทิ ธกิ รวยแก้ว ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางลาวนิ สีเหลือง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหิทธิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสรุ ตั น์ จันทะไพร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ตำแหนง่ ครปู ระจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นางสาวอุษา ย่งิ สกุ ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนยก์ ารเรยี นชุมชน นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปญั ญา ตำแหน่ง ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชุมชน นายปณั ณวัฒน์ สขุ มา ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรียนชุมชน นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ตำแหนง่ ครูประจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธ์ิ ตำแหน่ง นกั จัดการงานท่ัวไป นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหน่ง พนักงานบรกิ าร นายอำพล เพชรสุข

8 10. เครอื ขา่ ย 10.1 บา้ นหนงั สอื ชุมชน 10.2 โรงเรียนผู้สูงอายุ 10.3 โรงเรียนในเขตอำเภอชนแดน 10.4 ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ในเขตอำเภอชนแดน 10.5 หน่วยงานภาครัฐและเอกชน 11.โครงการทเ่ี ก่ียวข้อง 11.1 โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 11.2 โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 11.3 โครงการประชาสัมพันธ์งาน กศน. 11.4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาประสิทธภิ าพการทำงานร่วมกับเครอื ข่าย 11.5 โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ 12.1 เพิ่มช่องทางการเขา้ ถงึ การอา่ นในแหลง่ เรียนรู้ใกล้ตัว และมีหนงั สือท่หี ลากหลายใหบ้ ริการ 12.2 สง่ เสริมสนบั สนุนให้ประชาชน ทกุ ช่วงวยั ให้มนี ิสัยรกั การอา่ น 12.3 สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนในพ้ืนท่ีมอี าชพี 13. ดัชนวี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรม 13.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ ( outcome ) นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทั่วไปรักการอา่ น เพือ่ พฒั นาคุณภาพ ชวี ิตทีด่ ขี ้นึ 14. การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพงึ พอใจผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกจิ กรรม

9 บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้อง กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึง การกระทำต่าง ๆ เพ่ือให้เด็กเกิดความสนใจท่ีจะอ่าน เห็น ความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินท่ีจะอ่าน เกิดความมุ่งม่ันท่ีจะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัย ท้ังน้ี การอ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหนง่ึ ในชีวิตประจำวัน เพราะการอ่านหนังสือจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนเราได้เปน็ อยา่ งดยี ิ่ง เมื่อคนเราอ่านหนังสอื จะเกิดความสามารถสร้างความรู้ อารมณ์ จินตนาการ และ ความ เพลิดเพลิน การท่ีเด็กจะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้นั้นจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย ท้ังครอบครวั โรงเรยี นและชมุ ชน ในการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านใหแ้ ก่เดก็

10 กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านคือ การกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระท่ังมีนิสัย รักการอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระท่ังมีความสามารถในการอ่าน นำประโยชน์จาการอ่านไปใช้ได้ตรง ตามวัตถุประสงคข์ องการอา่ นทุกประเภท (ฉววี รรณ คหู าภนิ นั ทน์, 2542 : 93) กรมวิชาการ (อ้างถึงใน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์, 2542 : 93) ให้ความหมายว่า กิจกรรมส่งเสริมการ อ่านคือ การกระทำเพ่ือ 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลที่เป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสอื ที่มี คุณภาพ 2. เพื่อแนะนำชักชวนให้เกิดความพยายามที่จะอ่านให้แตกฉาน สามารถนำความรู้จากหนังสือไปใช้ ประโยชน์ เกิดความเขา้ ใจในเรื่องตา่ งๆ ดขี ึ้น 3. เพ่ือกระตุ้น แนะนำให้อยากรู้ อยากอ่านหนังสือหลายอย่าง เปิดความคิดให้กว้าง ให้มีการอ่าน ต่อเน่อื งจนเป็นนิสยั พฒั นาการอา่ นจนถึงขนั้ ทส่ี ามารถวิเคราะหเ์ ร่ืองที่อา่ นได้ 4. เพ่ือสร้างบรรยากาศทีจ่ งู ใจใหอ้ า่ น ดงั นนั้ สามารถกลา่ วได้ว่า กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน หมายถึงกิจกรรมต่างๆทีห่ อ้ งสมดุ จดั ขึ้นเพื่อส่งเสริม ใหเ้ กดิ การอ่านอยา่ งตอ่ เนื่องจนกระท่ังเป็นนิสยั รกั การอ่าน เช่น การเลา่ นิทาน การเชดิ หุ่น การแสดงละคร การ แนะนำหนังสือท่นี า่ สนใจ เปน็ ตน้ ลักษณะของกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นทีด่ ี 1. เร้าความสนใจ เช่น การจัดนิทรรศการที่ดึงดูความสนใจ การตอบปัญหา มีรางวัลต่างๆ การใช้ส่ือ เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาช่วย 2. จงู ใจให้อยากอา่ นและกระต้นุ ใหอ้ ยากอ่าน เช่น ข่าวทีก่ ำลังเป็นทสี่ นใจ หรือหวั ขอ้ เรอ่ื งทเี่ ป็นทสี่ นใจ เชน่ การวิจัย การเตรยี มตัวสอบ การสมัครงาน เปน็ ต้น 3. ไม่ใช้เวลานาน ความยากง่ายของกิจกรรมเหมาะสมกบั เพศ ระดบั อายุ การศกึ ษา 4. เป็นกจิ กรรมท่ีม่งุ ไปสูห่ นงั สอื วสั ดกุ ารอ่าน โดยการนำหนังสือหรือวสั ดกุ ารอา่ นมาแสดงทกุ ครง้ั 5. ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ แฝงการเรยี นร้ตู ามอัธยาศยั จากการร่วมกิจกรรมด้วย ความหมายและความสำคญั ของห้องสมุด ห้องสมดุ ประชาชน หมายถงึ หอ้ งสมุดท่ตี ั้งขน้ึ เพอ่ื ให้บริการแกป่ ระชาชน โดยไมจ่ ำกดั เพศ วยั เช้ือชาติ ศาสนา และพื้นความรู้ ให้บริการสารสนเทศครบทุกหมวดวิชา และอาจมีการบริการบางเร่ืองเป็น พเิ ศษตามความต้องการของทอ้ งถน่ิ และจะจัดใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนโดยไม่คดิ มูลคา่ บทบาทหนา้ ท่ีของห้องสมดุ ประชาชน มี 3 ประเภท คอื 1. หน้าท่ีทางการศึกษา ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งให้การศึกษานอกระบบโรงเรียน มีหน้าท่ีให้ การศึกษาแกป่ ระชาชนทั่วไป ทุกระดับการศกึ ษา 2. หน้าที่ทางวัฒนธรรม ห้องสมุดปะชาชนเป็นแหล่งสะสมมรดกทางปัญญาของมนษุ ย์ ที่ถ่ายทอดเป็น วฒั นธรรมท้องถนิ่ ทห่ี อ้ งสมุดต้ังอยู่ 3. หน้าท่ีทางสังคม ห้องสมุดประชาชนเป็นสถาบันทางสังคมได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและท้องถิ่น มาดำเนินกจิ การ จงึ มีหนา้ ที่ แสวงหาขา่ วสารข้อมลู ที่มีประโยชนม์ าบริการประชาชน

11 ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยมีหน่วยงานต่างๆรับผดิ ชอบ ดงั นี้ 1. ห้องสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ นอกจากน้ีกรมการศึกษานอกโรงเรียนยังได้จัดท่ีอ่านหนังสือประจำ หมบู่ า้ น ท่อี า่ นหนงั สือในวดั และหอ้ งสมุดเคลือ่ นที่ 2. หอ้ งสมุดประชาชน สังกดั กรงุ เทพมหานคร มีทั้งหมด 12 แหง่ ไดแ้ ก่ ห้องสมุดประชาชนสวนลมุ พินี หอ้ งสมุดประชาชนซอยพระนาง ห้องสมุดประชาชนปทุมวนั ห้องสมดุ ประชาชนอนงคาราม ห้องสมุดประชาชน วัดสังข์กระจาย ห้องสมุดประชาชนบางเขน ห้องสมุดประชาชนบางขุนเทียน ห้องสมุดประชาชนวัดรัชฎาธิษ ฐานวรวิหารตล่ิงชัน ห้องสมุดประชาชนประเวช ห้องสมุดประชาชนวัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดประชาชนภาษี เจรญิ หอ้ งสมดุ ประชาชนวดั ราชโอรส 3. ห้องสมุดประชาชนของธนาคารพาณิชย์ เป็นห้องสมุดที่ธนาคารพาณิชย์เปิดขึ้นเพื่อบริการสังคม และเพื่อประชาสัมพนั ธก์ ิจการของธนาคารให้เป็นท่ีรจู้ กั แพรห่ ลาย เช่น หอ้ งสมุดประชาชนของธนาคารกรุงเทพ จำกดั 4. ห้องสมุดประชาชนของรัฐบาลต่างประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างประเทศ เช่น หอ้ งสมุดบริติชเคาน์ซิล ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร ทีต่ ้งั อยู่บรเิ วณสยามสแควร์ กรุงเทพมหานคร 5. ห้องสมุดประชาชนเสียค่าบำรุง ห้องสมุดประชาชนประเภทน้ีให้บริการเฉพาะสมาชิกเท่าน้ัน โดยผู้ ท่ีเป็นสมาชิกจะต้องเสียค่าบำรุงตามระเบียบของห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดนีลสันเฮย์ ต้ังอยู่ท่ีถนนสุริวงศ์ กรงุ เทพมหานคร บทบาทและความสำคัญของหอ้ งสมสดุ ตอ่ สงั คมในด้านต่าง ๆ 1. เป็นสถานที่เพ่ือสงวนรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นแหลง่ สะสมวิวัฒนาการของมนษุ ย์ ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าไม่มีแหล่งค้นคว้าประเภทห้องสมุดเป็นศูนย์กลางแล้ว ความรู้ต่างๆ อาจสูญหาย หรือกระจดั กระจายไปตามทตี่ า่ งๆ ยากแก่คนรุ่นหลังจะตดิ ตาม 2. เป็นสถานที่เพ่ือการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ห้องสมุดทำหน้าที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนทุกรูปแบบ ท้ัง ในและนอกระบบการศกึ ษา เรม่ิ จากการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานถงึ ระดับสูง 3. เป็นสถานท่ีสร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์และความจรรโลงใจ ห้องสมุดมีหน้าท่ีรวบรวมและ เลอื กสรรทรพั ยากร สารสนเทศ เพื่อบริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งเป็นสง่ิ ทีม่ ีคณุ ค่าผู้ใช้ได้ความคิดสร้างสรรค์ ความจรรโลง ใจนานาประการ เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและสงั คมตอ่ ไป 4. เป็นสถานท่ีปลูกฝังนิสัยรกั การอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ห้องสมุดจะช่วยให้บุคคลสนใจในการ อา่ น และรกั การอ่านจนเปน็ นสิ ัย 5. เป็นสถานที่ส่งเสริมการาใช้เวลาว่างในเป็นประโยชน์ ห้องสมุดเป็นสถานที่รวบรวมสารสนเทศทุก ประเภท เพื่อบริการแก่ผู้ใช้ตามความสนใจและอ่านเพื่อฆ่าเวลา อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรืออ่านเพื่อ สาระบันเทิงได้ทงั้ ส้นิ นบั ว่าเปน็ การพักผ่อนอยา่ งมคี วามหมายและใหป้ ระโยชน์ 6. เป็นสถานท่ีส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ห้องสมุดเป็นสาธารณะสมบัติ มีส่วนส่งเสริมให้บุคคล รู้จกั สิทธิและหนา้ ที่ของพลเมือง กล่าวคอื เมอ่ื มสี ิทธิในการใช้ก็ย่อมมสี ิทธใิ นการบำรงุ รักษาร่วมกันและให้ความ ร่วมมือกบั ห้องสมดุ ด้วยการปฏิบัติตามระเบียบ แบบแผนของห้องสมุด

12 ความหมายของสอ่ื สง่ิ พิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาท่ีเก่ียวกับ“สื่อส่ิงพิมพ์”ไว้ว่า “ส่ิงพิมพ์ หมายถึง สมุด แผน่ กระดาษ หรอื วตั ถุใด ๆ ที่พิมพ์ข้ึน รวมตลอดทง้ั บทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสยี ง หรือส่งิ อืน่ ใดอันมีลักษณะเช่นเดยี วกัน” “ส่ือ หมายถึง ก. ทาการติดต่อให้ ถึงกัน ชักนาให้ร้จู กั กนั น. ผูห้ รอื ส่ิงท่ีทาการติดต่อให้ถงึ กัน หรือชักนาให้รู้จกั กัน” “พิมพ์ หมายถึง ก. ถ่ายแบบ , ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพ เป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้า ทาให้เป็นตัวหนังสือหรือรูป รอยอย่างใด ๆ โดยการกดหรือการใช้พิมพ์หิน เคร่ืองกล วิธีเคมี หรือวิธีอ่ืนใด อันอาจให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์ข้ึน หลายสาเนา น. รูป , รูปร่าง, ร่างกาย, แบบ” ดังน้ัน “สื่อส่ิงพิมพ์” จงึ มีความหมายวา่ “ส่ิงที่พิมพ์ขึ้น ไม่ว่าจะ เป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใด ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือน ต้นฉบับขึ้นหลายสา เนาในปรมิ าณมากเพอื่ เป็นสง่ิ ทท่ี าการติดต่อ หรือชักนาให้บคุ คลอื่นไดเ้ ห็นหรือทราบ ข้อความตา่ ง ๆ” ส่ิงพิมพ์เพ่ือการศึกษา หมายถึง ส่ิงท่ีพิมพ์ข้ึนในรูปแบบต่างๆ ท้ังหนังสือ ตารา เอกสาร วารสารต่างๆ ที่ให้ความรู้ เนื้อหาสาระที่มีประโยชน์ เช่น หนังสือเรียนภาษาไทย ป. 6 หรืออาจเป็นชุดภาพประกอบ การศกึ ษา เช่น ภาพประกอบการศกึ ษาชดุ อาหารไทย เปน็ ตน้ และสามารถนามาใชใ้ นการศึกษาได้ ความเปน็ มา สิ่งพิมพ์ถือได้ว่าเป็นส่ิงที่ความสำคัญยิ่งควบคู่มากับการพัฒนาการของมนุษยชาติ และจัดเป็น สื่อมวลชนประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญมาตลอดนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในการถ่ายทอดความรู้วิชาการ และ เพ่ือการติดต่อ ส่ือสารสาหรับมนุษยชาติ ดังคำจำกัดความของพจนี พลสิทธิ์ (2536 : 3) สรุปความเป็นมาและ ความสาคัญของ สิ่งพิมพ์ ว่า “สิ่งพิมพ์” นับเป็นวัสดุท่ีแสดงถึงพัฒนา การความเจริญก้าวห น้าทางด้าน สติปัญญา ของมนุษย์ ความคิด จินตนาการ เจตคติ ความฝนั ชีวติ วฒั นธรรม สังคม เหตุการณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ของมนุษย์แต่ลายุคสมัย สามารถเก็บรักษาสืบทอดจาดชนรุ่นหน่ึงไปสู่ชนรุ่นหลัง ความคิดในเรื่องการพิมพ์น้ี นอกเหนือจาก เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการบันทึกความคิด จินตนาการ ความรู้ และเหตุการณ์ต่างๆ แล้วยังเป็น เครื่องแสดงให้เห็นว่าชนชาติต่าง ๆ ในโลกนี้ล้วนมีความพยายามที่จะพัฒนาความคิดของตนให้เจริญก้าวหน้า ทันสมัยอย่างตอ่ เน่ือง ความคิดในเร่ืองการพิมพ์ท่ีมีจดุ ประสงค์เร่ิมแรกก็คงเพ่ือให้มีการแพร่หลายเรื่องความคิด

13 ความรู้ ไปสู่ชนรุ่นหลัง และเพ่ือให้มีหลาย ๆ สาเนาจะได้เก็บรักษาให้คงอยู่ได้นานปีนั้น ในยุคปัจจุบันชนรุ่น หลังได้สานต่อความคิดเรื่องการพิมพ์จนกระท่ังกลายเป็นเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และซับซ้อน สามารถผลิต สิง่ พิมพ์ไดห้ ลากหลายชนิดตอบสนองวัตถุประสงค์ของมนุษยชาตไิ ด้กว้างขวางนอกเหนือจากสอ่ื ส่ิงพิมพ์จะเป็น สื่อมวลชนท่ีมีความเกย่ี วกันกับมนุษยชาติมานานนับพนั ๆ ปี และมีความเก่าแก่กว่าสือ่ มวลชนประเภทอ่ืนไม่ว่า จะเป็น วทิ ยกุ ระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรืออนิ เตอร์เน็ต ซึ่งเปน็ สอ่ื ประเภทหนงึ่ ที่มีการใช้แพรห่ ลายไปทัว่ โลก เช่นในปัจจบุ ันก็ตาม แต่สื่อสิ่งพิมพ์ก็ยงั เป็นสื่อที่มีการใช้อยา่ งแพร่หลายเป็นที่นิยมของทุกชนชาติมไิ ด้ยิง่ หย่อน ไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นสื่อส่ิงพิมพ์ประเภทใดก็ตาม เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หรือสิ่งพิมพ์ ประเภทต่าง ๆ สาเหตุสาคัญที่ทาให้สื่อส่ิงพิมพ์ยังเป็นที่นิยมแพร่หลายมาโดยตลอด ก็เพราะบุคคลสามารถ เลอื กอา่ นได้ตามความเหมาะสม อีกท้ังยังใช้เปน็ เอกสารอ้างอิงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ประวตั ิการพมิ พใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงศรีอยุธยา ได้เร่ิมแต่งและพิมพ์หนังสือคำสอนทางศาสนา คริสตข์ น้ึ และหลงั จากน้ันหมอบรัดเลยเ์ ขา้ มาเมืองไทย และไดเ้ ร่ิมด้านงานพมิ พจ์ นสนใจเป็นธุรกิจด้านการพิมพ์ ในเมืองไทย พ.ศ.2382 ได้พิมพ์เอกสารทางราชการเป็นชิ้นแรก คือ หมายประกาศห้ามสูบฝ่ิน ซ่ึง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ก.ค.2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรกข้ึน คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างส้ัน ออก เดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 มิ.ย. พ.ศ.2404 ได้พิมพ์หนังสือเลม่ ออกจำหน่ายโดยซ้ือลิขสิทธ์ิจาก หนังสือนิราศ ลอนดอนของหม่อมราโชทัยและได้เร่ิมต้นการซื้อขาย ลิขสิทธิหน่ายในเมืองไทย หมอบรัดเลย์ได้ถึงแก่กรรมใน เมืองไทยกิจการ การพิมพ์ของไทยจึงเร่ิมต้นเป็นของไทย หลังจากน้ันใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจึงนา เครื่องพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เป็นครั้งแรก โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชนาเคร่ืองหล่อ เรียงพิมพ์ Monotype มาใช้กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทยได้จัดโรงพิมพ์ธนบัตรในเมืองไทย ข้นึ ใช้เอง ประเภทของส่อื สง่ิ พิมพ์เพ่ือการศึกษา สอื่ สง่ิ พิมพป์ ระเภทหนงั สอื 1. หนังสือตำรา เป็นสื่อที่พิมพ์เป็นเล่ม ประกอบด้วยเน้ือหาการเรียนการสอนโดยอธิบายเน้ือหาวิชาอย่างละเอียด ชัดเจน อาจมีภาพถ่ายหรือภาพเขียนประกอบเพื่อเพิ่มความสนใจของผู้เรียน หนังสือตาราน้ีอาจใช้เป็นสื่อการ เรียนในวชิ านนั้ โดยตรงนอกเหนือจากการบรรยายในช้ันเรียน หรืออาจใช้เปน็ หนังสืออ่านประกอบหรือหนังสือ อ่านเพ่ิมเติมก็ได้ การใช้หนังสือในการเรียนการสอนนับว่ามีประโยชน์แก่ผู้เรียนท้ังในด้านการศึกษารายบุคคล เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถใช้อ่านในเวลาท่ีต้องการ และในด้านเศรษฐกิจเนื่องจากสามารถใช้อ่านได้หลายคนและ เกบ็ ไวไ้ ดเ้ ป็นเวลานาน 2. แบบฝกึ ปฏิบตั ิ

14 เป็นสมุดหรือหนังสือท่ีพิมพ์ขึ้นโดยมีเนื้อหาเป็นแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพ่ือเป็นการเพิ่มทักษะ หรือทดสอบผู้เรียน อาจมีเน้ือหาในรูปแบบคาถามให้เลือกคาตอบ หรือเป็นต้นแบบเพ่ือให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตาม โดยอาจมีรูปประกอบเพ่ือใหเ้ ขา้ ใจได้ง่ายยง่ิ ขนึ้ เชน่ แบบคดั ตัวอกั ษร ก ไก่ เปน็ ต้น 3. พจนานกุ รม เป็นหนังสือที่มเี นื้อหาเป็นคาศัพท์และคาอธิบายความหมายของคาศัพท์ แต่ละคาน้ัน โดยการเรียงตาม ลาดับจากอักษรตัวแจกถงึ ตวั สดุ ท้ายของภาษาที่ต้องการจะอธิบาย คาศัพทแ์ ละคาอธิบายจะเปน็ ภาษาเดียวกัน หรอื ต่างภาษาก็ได้ เช่น คาศัพท์ภาษาองั กฤษและมีคาอธิบายเปน็ ภาษาไทย หรือท้ังคาศัพท์และคาอธิบายต่างก็ เป็นภาษาองั กฤษ เป็นตน้ 4. สารานุกรม เป็นหนังสือท่ีพิมพ์ข้ึนเพื่ออธิบายหัวข้อหรือข้อความต่างๆ ตามลาดับของตัวอักษร เพ่ือให้ผู้อ่าน สามารถคน้ คว้าเพือ่ ความร้แู ละการอ้างองิ โดยมีรปู ภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ ประกอบคาอธิบายให้ชดั เจนยิ่งข้ึน 5. หนงั สอื ภาพและภาพชุดต่างๆ เป็นหนังสือที่ประกอบด้วยภาพต่างๆ ที่เป็นเร่ืองเดียวกันตลอดท้ังเล่ม ส่วนใหญ่จะเป็นหนังสือภาพท่ี พิมพ์สอดสีสวยงาม เหมาะแก่การเก็บไว้ศึกษาหรือเป็นท่ีระลึก เช่น หนังสือภาพชุดพระท่ีน่ังวิมานเมฆ หรือ หนงั สอื ภาพชุดทศั นียภาพของประเทศต่างๆ เปน็ ต้น 6. วทิ ยานพิ นธแ์ ละรายงานการวิจยั เป็นสิ่งพิมพ์ท่ีพิมพ์ออกมาจานวนไม่มากนักเพื่อเผยแพร่ไปยังห้องสมุด สถาบันการศึกษาต่างๆ หรือ หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั งานวิจัยนั้น เพือ่ ให้ผูส้ นใจใชเ้ ป็นเอกสารคน้ คว้าข้อมูลหรอื ใชใ้ นการอ้างองิ 7. สง่ิ พมิ พ์ย่อส่วน (Microforms) หนังสือที่เก่าหรือชารุดหรือหนังสือพิมพ์ที่มีอยู่เป็นจานวนมากย่อมไม่เป็นที่สะดวกในการเก็บรักษาไว้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีเก็บส่ิงพิมพ์เหล่าน้ีไว้โดยอาศัยลักษณะการย่อส่วนลงให้เหลือเล็กท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อ ประหยัดเน้ือท่ีในการเก็บรกั ษาและสามารถท่ีจะนำมาใช้ได้สะดวก จงึ มีวิธีการต่างๆ โดยอาศัยเนื้อที่ในการเก็บ รักษาและสามารถท่ีจะนามาใช้ไดส้ ะดวก จงึ มวี ธิ กี ารต่างๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีในการทาสง่ิ พิมพ์ยอ่ ส่วน ไดแ้ ก่ ก. ไมโครฟิล์ม (Microfilm) เป็นการถ่ายหนังสอื แต่ละหน้าลงบนม้วนฟิล์มที่มีความกว้างขนาด 16 หรือ 35 มิลลิเมตร โดยฟิล์ม 1 เฟรมจะ บรรจุหนา้ หนังสือได้ 1-2 หน้าเรยี งติดต่อกันไป หนังสอื เล่มหนึ่งจะสามารถบันทกึ ลงบนไมโครฟิล์มโดยใช้ความ ยาวของฟิล์มเพียง 2-3 ฟุต ตามปกติจะใช้ฟิล์ม 1 ม้วนต่อหนังสือ 1 เล่ม และบรรจุม้วนฟิล์มลงในกล่องเล็กๆ กลอ่ งละม้วนเม่อื จะใชอ้ า่ นก็ใสฟ่ ลิ ม์ เข้าในเคร่ืองอา่ นท่มี จี อภาพหรือจะอดั สาเนาหน้าใดก็ไดเ้ ชน่ กนั ข. ไมโครฟิช (Microfiche) เป็นแผ่นฟิล์มแข็งขนาด 4 x 6 น้ิว สามารถบันทึกข้อความจากหนังสือโดยย่อเป็นกรอบเล็กๆ หลายๆ กรอบ แผ่นฟิล์มนี้จะมีเนือ้ ทมี่ ากพอท่ีจะบรรจหุ น้าหนังสือท่ยี อ่ ขนาดแลว้ ไดห้ ลายรอ้ ยหน้า ตัวอักษรทย่ี ่อจะมีสขี าวบน

15 พ้ืนหน้าหนังสือสีดา สามารถอ่านได้โดยวางแผ่นฟิล์มลงบนเคร่ืองฉายที่ขยายภาพให้ไปปรากฏบนจอภาพสา หรบั อา่ นและจะอ่านหนา้ ใดกไ็ ด้เลอื่ นภาพไปมา และยงั สามารถนาไปพิมพ์บนกระดาษและอัดสาเนาไดด้ ว้ ย สื่อสิง่ พมิ พ์เพอื่ เผยแพร่ขา่ วสาร – หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีผลิตขึ้นโดยนาเสนอเร่ืองราว ข่าวสารภาพและความ คดิ เห็น ในลักษณะของแผ่นพมิ พ์ แผน่ ใหญ่ ท่ีใชว้ ิธีการพับรวมกัน ซ่ึงสื่อส่ิงพิมพ์ชนิดนี้ ได้พิมพ์ออกเผยแพร่ท้ัง ลักษณะ หนงั สอื พมิ พ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน – วารสาร, นิตยสาร เป็นส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีผลิตข้ึนโดยนาเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง ท่ีมีรูปแบบการนา เสนอ ท่ีโดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้กับผู้อ่าน ทั้งน้ีการผลิตนั้น มีการ กาหนดระยะเวลาการออก เผยแพรท่ ่ีแน่นอน ทง้ั ลกั ษณะวารสาร, นติ ยสารรายปกั ษ์ (15 วนั ) และ รายเดอื น – จุลสาร เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ที่ผลิตขึ้นแบบไม่มุ่งหวังผลกาไร เป็นแบบให้เปล่าโดยให้ผู้อ่านได้ศึกษาหา ความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นคร้ัง ๆ หรอื ลาดับต่าง ๆ ในวาระพิเศษ แสดงเนื้อหาเป็นข้อความที่ผูอ้ ่าน อ่านแล้วเขา้ ใจงา่ ย สงิ่ พิมพ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ที่ผลิตข้ึนเพ่ือใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบเค รือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เปน็ ต้น บทบาทของสอื่ สิง่ พมิ พเ์ พื่อการศึกษา บทบาทของส่ือสิ่งพิมพ์ในสถานศึกษา ส่ือส่ิงพิมพ์ถูกนาไปใช้ในสถานศึกษาโดยท่ัวไป ซ่ึงทาให้ผู้เรียน ผู้สอนเข้าใจในเน้ือหามากข้ึน เช่น หนังสือ ตารา แบบเรียน แบบฝึกหัดสามารถพัฒนาได้เป็นเนื้อหาในระบบ เครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตได้ แนวทางการประยุกต์ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพ่ือการเรียนการสอน หรือการศึกษา การใช้สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษาในการ เรียนการสอนน้นั จำแนกไดเ้ ปน็ 3 วิธี คอื 1. ใชเ้ ป็นแหล่งขอ้ มลู เกี่ยวกับวชิ าทีเ่ รยี น 2. ใช้เป็นวัสดกุ ารเรยี นร่วมกบั สอ่ื อืน่ ๆ 3. ใช้เปน็ สื่อเสริมในการเรียนรู้และเพ่มิ พูนประสบการณ์ จากวิธีการใช้สิ่งพิมพ์ท้ัง 3 วิธีน้ัน ผู้สอนสามารถนาส่ิงพิมพ์ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ท่ัวไป หรือสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา โดยเฉพาะมาใช้ในการเรียนการสอนก็ได้ ท้ังน้ีโดยพิจารณาตามลักษณะของส่ิงพิมพ์และลักษณะของการใช้ ดงั น้ี 1. ส่ิงพมิ พ์ทเ่ี ขียนข้นึ ในลักษณะของหนังสือตารา ใช้เพือ่ การศกึ ษาในระบบโรงเรียนตามหลักสูตร 2. ส่ิงพิมพ์ท่ีเขียนข้ึนในลักษณะบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อง่ายต่อการศึกษาด้วยตนเอง เหมาะสาหรับใช้ใน การศึกษาทางไกลรว่ มกบั สื่ออน่ื ๆ เชน่ โทรทัศน์ เทปเสียงสรปุ บทเรยี น และการสอนเสรมิ เป็นตน้

16 3. สิ่งพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบฝึกปฏิบัติ คู่มือเรียน ฯลฯ อาจใช้ร่วมกับสื่อบุคคลหรือ สอ่ื มวลชนประเภทอ่ืนๆ ได้ 4. ส่ิงพิมพ์ทั่วๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ที่มีคอลัมน์หรือบทความท่ีให้ประโยชน์ ผู้สอนอาจ แนะนาใหผ้ เู้ รียนอ่านเพ่อื เพ่ิมพูนความรู้หรือเพื่อนามาใชอ้ า้ งอิงประกอบการคน้ คว้า 5. สิ่งพิมพ์ประเภทภาพชุด เป็นการให้ความรู้ทางรูปธรรมเพื่อใช้ในการเสริมสร้างประสบการณ์ ทาให้ ผู้เรียนเขา้ ใจเหตุการณ์เร่ืองราวหรอื ส่ิงที่เป็นนามธรรมได้ชัดเจนข้ึน เช่น ภาพชุดชีวิตสัตว์ หรือภาพชุด พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นต้น (สานกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร, 9 กันยายน 2553) ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของส่ือส่ิงพิมพเ์ พือ่ การศกึ ษา 1. ส่อื สิง่ พมิ พส์ ามารถเก็บไวไ้ ดน้ าน สามารถนามาอา่ นซ้าแล้วซา้ อกี ได้ 2. สอ่ื สิ่งพิมพ์เป็นส่อื ทม่ี ีราคาถูกเมือ่ เทียบกบั ส่ืออน่ื ๆ 3. ส่ือสิ่งพิมพเ์ ป็นสื่อทีใ่ ชง้ ่าย ไม่ยงุ่ ยาก 4. ส่ือสิ่งพิมพ์เป็นสื่อท่ีจัดทาได้ง่าย โดยครูผู้สอนสามารถทาได้เองได้ มีวิธีทาที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น ใบงาน ใบความรู้ เปน็ ต้น ข้อดีและข้อจากดั ของสอ่ื ส่ิงพมิ พ์เพอ่ื การศกึ ษา ข้อดี 1. สามารถอ่านชา้ ทบทวน หรอื อ้างองิ ได้ 2. เปน็ การเรียนร้ทู ด่ี ีสาหรบั ผู้ท่ีสนใจ 3. เปน็ การกระต้นุ ใหค้ นไทยรักการอา่ น ข้อจำกัด 1. ผมู้ ปี ัญหาทางสายตา หรอื ผสู้ ูงอายอุ ่านไม่สะดวกในการใช้ 2. ข้อมูลไมส่ ามารถปรับปรงุ แกไ้ ขไดท้ นั ทว่ งทไี ด้ 3. ผูไ้ มร่ ้หู นังสอื ไมส่ ามารถเข้าถงึ ได้

17 ความหมายของสือ่ ออนไลน์ ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ ส่ือสังคมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทัลที่เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม(Social Tool) เพ่ือใช้ สอื่ สารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผา่ นทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ทมี่ กี ารเช่ือมต่อกับอนิ เทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใชท้ ้ังทเี่ ป็นผูส้ ่งสารและผู้รับสารมสี ่วนร่วม (Collaborative) อยา่ ง สรา้ งสรรค์ ในการผลติ เนอ้ื หาขึ้นเอง (User-GenerateContent:UGC) ในรปู ของขอ้ มูลภาพและเสยี ง สำหรับในยุคน้ี เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนคี ำวา่ Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปทไี่ หน ก็จะพบ เห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันน้ีเราจะมา รูจ้ กั ความหมายของมนั กันครับ คำว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในท่นี ้ีจะหมายถึงสงั คมออนไลน์ ซ่งึ มีขนาดใหมม่ ากในปจั จุบัน คำว่า “Media” หมายถงึ ส่อื ซ่งึ ก็คือ เนอื้ หา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดงั นั้นคำว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ท่ีมีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ กค็ อื เว็บไซต์ทบี่ คุ คลบนโลกน้สี ามารถมีปฏสิ มั พันธโ์ ต้ ต้ อบกันไดน้ น่ั เอง พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสาร หรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซ่ึงก็คือเว็บท่ีแสดงเน้ือหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่ สามารถติดต่อหรือโตต้ อบกันได้ แต่เม่ือเทคโนโลยีเวบ็ พัฒนาเข้าสูย่ ุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรยี กว่า web application ซึง่ กค็ ือเว็บไซต์มแี อพลเิ คชันหรอื โปรแกรมตา่ งๆ ทีม่ าและความสำคญั ส่ือสังคมออนไลน์กลับส่งอิทธิพลลบต่อชีวิตประจำวันและความสัมพันธ์ของคนในสัง คมอย่างชัดเจน มากย่ิงขึน้ จนกลายเป็นประเด็นทางสังคม ที่ทัง้ ส่ือ บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องให้ความสำคัญในการ ป้องกนั และแก้ไขปญั หาเหล่าน้ี สื่อสังคมออนไลน์ใช้สื่อสารระหวา่ งกันในเครือข่ายทางสังคม ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์ บนสื่อใดๆ ท่ีมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ท้ังที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม อย่าง สร้างสรรค์ ในการผลติ เนื้อหาขนึ้ ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง ท้ังน้ีการใช้ส่ือออนไลน์ต่างๆ ก็ต้องอยู่ในขอบเขตในความพอประมาณ เล่นในประมาณท่ีพอเหมาะ เพอื่ เป็นผลดีตอ่ สายตาและรา่ งกาย ประเภทสอื่ สงั คมออนไลน์ ประเภทของส่ือสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ข้ึนอยู่กับลักษณะของการนำมาใช้โดยสามารถ แบง่ เป็นกลุ่มหลักดังน้ี 1. Weblogs หรือเรียกส้ันๆ ว่า Blogs คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตท่ีใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอ่าน หรือ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลำดับจากเน้ือหาใหม่ไปสู่เน้ือหาเก่า ผู้เขียนและผู้อา่ นสามารถค้นหาเนือ้ หายอ้ นหลงั เพอ่ื อ่านและแก้ไขเพม่ิ เติมได้ตลอดเวลา

18 เชน่ Exteen,Bloggang,Wordpress,Blogger,Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรับ เช่ือมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม(Social Community) เพื่อรว่ มกันแลกเปลี่ยน แ ล ะ แ บ่ งปั น ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า งกั น ทั้ ง ด้ า น ธุ ร กิ จ ก า ร เมื อ ง ก า ร ศึ ก ษ า เช่ น Facebook, Hi5, Ning,Linkedin,MySpace,Youmeo,Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือท่ีเรียกกันวา่ “บล็อกจ๋ิว” ซ่ึงเป็นเวบ็ เซอร์วสิ หรือเว็บไซต์ ท่ีให้บริการแก่บุคคลทั่วไปสำหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษรที่ เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากำลังทำอะไรอยู่หรือแจ้งข่าวสารต่างๆแก่ กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ (OnlineSocialNetwork) (Wikipedia,2010) ทั้งน้ีการกำหนดให้ใช้ข้อมูลในรูป ข้อความสั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ท่ีเป็นทั้งผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึงปัจจบุ ันได้รบั ความนิยม อย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็วเน่ืองจากเน้ือหาท่ีนำเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำกัดโดยผัง รายการท่ีแน่นอนและตายตัวทำให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่างต่อเน่ืองเพราะไม่มีโฆษณาคั่น รวมท้ังผู้ใช้สามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยังสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่ เก่ียวขอ้ งไดจ้ ำนวนมากอกี ด้วยเชน่ Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์ โหลดรปู ภาพเพ่ือนำมาใช้งานได้ ที่สำคญั นอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรปู ภาพแล้ว ยังสามารถ ใช้ เป็ น พ้ื น ที่ เพื่ อ เส น อ ขายภ า พ ท่ี ต น เอ งน ำเข้ าไป ฝ ากได้ อี ก ด้ วย เช่ น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ท่ีมีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge)ซ่ึงผู้เขียนส่วนใหญ่ อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ท้ังการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซ่ึงผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นส่ือสังคม อ อ น ไล น์ ท่ี บ ร ร ด าผู้ ท่ อ ง โล ก ไซ เบ อ ร์ ใช้ เพื่ อ สื่ อ ส าร ร ะ ห ว่ า งกั น บ น อิ น เท อ ร์ เน็ ต ใน ลั ก ษ ณ ะ โล ก เส มื อ น จริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ท่ีจะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึง องค์การด้านส่ือ เช่น สำนักข่าวรอยเตอร์ สำนักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซ้ือพ้ืนที่เพื่อให้บุคคล ในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนำเสนอเร่ืองราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะ เป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรอื ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกบั ธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การกไ็ ด้ ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้ หลัก Virtual Worlds ทีป่ ระสบผลสำเรจ็ และมชี อื่ เสยี ง คือSecond life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอ ความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือค้นหาคำตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมท้ังการสื่อสาร โดยอาจจะเป็นการ ดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่ม

19 คนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผูม้ ีความเชยี่ วชาญเฉพาะด้านทอี่ ยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ ในสังคมนักข่าว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd souring คือ ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพื่อ นำ ไปสู่การแก้ปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซ่ึงเป็นปัญหาสาธารณะ รว่ มกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting ห รื อ Podcast ม า จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ส อ ง ค ำ คื อ “Pod” กั บ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วนบุคคล ส่วน “Broadcasting” เป็นการนำสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนำมาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพ่ือเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ทส่ี นใจดาวนโ์ หลดเพอื่ นำไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดท่ีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดย อาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp ประโยชนข์ อง Social networks เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในส่งิ ทส่ี นใจร่วมกนั ได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือ ตัง้ คาถามในเรื่องตา่ งๆ เพื่อใหบ้ คุ คลอน่ื ทีส่ นใจหรอื มีคาตอบได้ชว่ ยกันตอบ 3. ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั คนอื่น สะดวกและรวดเร็ว 4. เป็นส่ือในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพ่ือให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชม และแสดงความคิดเห็น 5. ใช้เป็นส่ือในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรอื บริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรตา่ งๆ ชว่ ยสร้างความ เชื่อมั่นใหล้ กู คา้ 6. ชว่ ยสร้างผลงานและรายได้ใหแ้ กผ่ ู้ใช้งาน เกดิ การจา้ งงานแบบใหมๆ่ ขนึ้ 7. คลายเครียดได้สำหรบั ผูใ้ ช้ทต่ี ้องการหาเพื่อนคยุ เลน่ สนุกๆ 8. สร้างความสมั พนั ธ์ท่ีดจี ากเพ่อื นส่เู พ่อื นได้

20 ความหมายของอาชีพ อาชีพ หมายถึง การทำกจิ กรรม การทำงาน การประกอบการท่ีไม่เป็นโทษแก่สังคม และมีรายได้ตอบ แทน โดยอาศัยแรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ วิธีการ แตกต่างกันไปกลุ่มอาชีพตามลักษณะการ ประกอบอาชพี มี 2 ลักษณะ คอื อาชีพอสิ ระ และอาชพี รับจา้ ง 1. อาชีพอิสระ หมายถงึ อาชพี ทุกประเภทท่ีผูป้ ระกอบการดำเนินการด้วยตนเอง แตเ่ พียงผู้เดียวหรือ เป็นกลุ่ม อาชพี อสิ ระเป็นอาชีพท่ีไม่ต้องใชค้ นจำนวนมาก แต่หากมีความจำเป็นอาจมีการจ้างคนอ่ืนมาช่วยงาน ได้ เจ้าของกิจการเป็นผู้ลงทุน และจำหน่ายเอง คิดและตัดสินใจด้วยตนเองทุกเรื่อง ซ่ึงช่วยให้การพัฒนางาน อาชีพ เป็นไปอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชีพอิสระ เช่น ขายอาหาร ขายของชำ ซ่อม รถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระ ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถในเรื่อง การ บรหิ าร การจัดการ เช่น การตลาด ทำเลทตี่ ้ัง เงินทนุ การตรวจสอบ และประเมินผล เป็นต้น นอกจากนยี้ ังตอ้ ง มคี วามอดทนต่องานหนัก ไม่ถ้อถอยต่อ ปัญหาอปุ สรรคทเี่ กดิ ขึ้น มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ และมองเห็นภาพ การดำเนนิ งาน ของตนเองได้ทะลุปรุโปร่ง 2. อาชีพรับจ้าง หมายถึง อาชีพท่ีมีผู้อ่ืนเป็นเจ้าของกิจการ โดยตัวเองเป็นผู้รับจ้าง ทำงานให้ และ ได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้างประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซ่ึงได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝา่ ยแรกเรียกว่า \"นายจ้าง\" หรอื ผู้ว่าจ้าง บุคคลฝา่ ยหลงั เรียกว่า \"ลูกจ้าง\" หรือผู้รับจา้ ง มคี ่าตอบแทนท่ีผู้ วา่ จ้างจะตอ้ งจา่ ยให้แก่ ผรู้ บั จา้ งเรยี กวา่ \"คา่ จ้าง\" การประกอบอาชีพรับจ้าง โดยทั่วไปมีลักษณะ เป็นการรับจ้างทำงานในสถาน ประกอบการหรือ โรงงาน เป็นการรับจ้างในลักษณะการขายแรงงาน โดยได้รับค่าตอบ แทนเป็นเงนิ เดือน หรือค่าตอบแทนที่คิด ตามช้ินงานทีท่ ำได้ อัตราคา่ จา้ งข้ึนอยกู่ ับการกำหนด ของเจ้าของสถานประกอบการ หรือนายจ้าง การทำงานผู้รับจ้างจะทำอยู่ภายในโรงงาน ตามเวลาที่ นายจ้างกำหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องเสี่ยง กับกาลงทุน เพราะลูกจ้างจะใช้ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่นายจ้างจัดไว้ให้ทำงานตามท่ีนายจ้าง กำหนด แต่มีข้อเสีย คือ มักจะเป็นงานที่ทำซ้ำ ๆ เหมือนกันทุกวัน และต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของนายจ้าง ในการประกอบอาชีพรับจ้างนั้น มีปัจจัยหลาย

21 อย่างที่เอ้ืออำนวยให้ผู้ประกอบอาชีพ รับจ้างมีความเจริญก้าวหน้าได้ เช่น ความรู้ ความชำนาญในงาน มีนิสัย การทำงานท่ีดี มีความกระตือรือร้น มานะ อดทน ในการทำงาน ยอมรับกฎเกณฑ์และเชื่อฟังคำส่ัง มีความ ซือ่ สตั ย์ สุจริต ความขยันหมั่นเพียร รบั ผิดชอบ มีมนษุ ยสัมพันธ์ที่ดี รวมท้ัง สุขภาพอนามัยที่ดี อาชพี ต่าง ๆ ใน โลกมีมากมาย หลากหลายอาชีพ ซึ่งบุคคลสามารถจะเลือกประกอบ อาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการ ความชอบ และความสนใจ ไม่ว่าจะเป็นอาชีพ ประเภทใด จะเป็นอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้าง ถ้าหากเป็น อาชีพท่ีสุจริตย่อมจะทำให้ เกิดรายได้มาสู่ตนเอง และครอบครัว ถ้าบุคคลผู้นั้นมีความมุ่งมั่น ขยัน อดทน ตลอดจน มีความรู้ ข้อมลู เกี่ยวกบั อาชีพต่าง ๆ จะทำใหม้ องเห็นโอกาสในการเข้าสูอ่ าชีพ และพัฒนา อาชีพใหม่ ๆ ใหเ้ กิดขน้ึ อยเู่ สมอ หอ้ งสมุดเคลือ่ นที่ ความหมายของห้องสมดุ เคลื่อนท่ี ห้องสมุดเคล่ือนท่ี (Mobile library) เป็นบริการสารสนเทศเคลื่อนที่ นับเป็นการจัดบริการในเชิงรุก โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการอ่าน และการให้ความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกลจากแหล่งข้อมูล โดยนำทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ เกมส์ ของเล่น ฯลฯ ไปยังชุมชนด้วย พาหนะ ประเภทต่างๆ เช่น รถ รถไฟ เรือ ฯลฯ หรือบางแห่งอาจใช้วิธีการเดินทางด้วยเท้าในกรณีที่สามารถ เขา้ ถึงดว้ ยพาหนะอน่ื การดำเนินการห้องสมุดเคล่ือนที่ สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ประเภทต่างๆ บรรจุทรัพยากรสารสนเทศ เคล่อื นย้ายไปยงั สถานท่ตี า่ งๆ เชน่ กล่องหนังสือ ถงุ หนังสือ ยา่ มหนังสอื กระเป๋าหนงั สือเป็นตน้ ส่วนใหญ่ การดำเนินการห้องสมุดเคลื่อนท่ีของประเทศไทยอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานด้าน การศึกษาของรัฐ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งเป็นงานบริการประเภทหน่ึงของห้องสมุดประชาชน ย่ิงกว่านั้น ปัจจุบันห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ภาควิชาบรรรารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ รวมท้ังชมรม นกั ศกึ ษาของสถาบันอุดมศกึ ษาตา่ งๆ ได้ใหค้ วามสำคัญกับห้องสมุดเคลื่อนที่ มีการจัดโครงการหลายโครงการที่ เข้าข่ายห้องสมุดเคล่อื นที่ การดำเนินงานห้องสมุดเคล่ือนที่จะประสบผลสำเร็จได้นั้น หน่วยงานท่ีดำเนินการ ควรประสานขอ ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมท้ังกลุ่มบุคคลหรือบุคคลที่เป็นผู้นำชุมชน เช่น พระ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เปน็ ต้น สำหรับการขอความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานเอกชน อาจเป็นการขอรับการสนับสนุน พาหนะ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณในการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่ี เปน็ การจดั บรกิ ารโดยใช้แนวคิดทั้งงานห้องสมุดและศนู ย์การเรียน ซ่ึงอาจจัดการเรียนการสอนหลักสูตรส้ันๆ ร่วมไปกับงานบริการพื้นฐานของห้องสมุด เช่น บริการการอ่าน บริการยืม-คืน เป็นต้น นอกจากน้ี อาจเป็นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้บริการในการออกให้บริการห้องสมุด เคล่ือนทแ่ี ต่ละคร้งั ดว้ ย

22 ความสำคัญของห้องสมดุ เคล่อื นที่ ห้องสมุดเคล่ือนท่ีนับเป็นรูปแบบหนึ่งของกาารบริการความรู้สู่ชุมชน ที่มีความสำคัญในด้านต่างๆ ดงั น้ี 1. เปน็ การขยายโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถึง และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตแก่ประชาชน เพ่ือ พัฒนาตนเอง สังคมประเทศชาตติ ่อไป ทั้งน้ีเพราะห้องสมุดเคลื่อนทีม่ ีลักษณะเคลื่อนย้ายความรไู้ ปสู่พื้นที่ต่างๆ ซ่งึ สอดคล้องกับแนวศึกษาสมัยใหม่ของรัฐ โดยเห็นได้จากพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด ที่ 4 มาตราท่ี 25 ระบุ ไว้ว่า “ รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ หอ้ งสมุดประชาชน พพิ ิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ และแหล่งเรียนรู้อ่ืนอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ” (สำนัก คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ 2542 : 14) 2. เป็นการขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ทำให้ประชาชนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ การ คมนาคมไม่สะดวก และด้อยโอกาสในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้มีโอกาสสามารถรับรู้ข่าวสารในสาขาวิชา การตา่ งๆ ไดม้ ากข้นึ 3. เป็นการส่งเสริมการอ่านให้ประชาชนได้รับความรู้ความเพลิดเพลินจากการอ่าน เห็นคุณค่าของ การอ่าน และปลกู ฝงั นิสยั รกั การอ่านรวมทง้ั ป้องกนั การไม่รูแ้ ละการลมื การรูห้ นังสอื 4. เป็นการส่งเสริมใหป้ ระชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ เพ่ือพัฒนาตนเอง อันเป็นพื้นฐานที่ จะนำไปสูค่ วามก้าวหนา้ ของสังคมและประเทศชาตติ ่อไป ประเภทของหอ้ งสมุดเคลือ่ นที่ ห้องสมุดเคลื่อนที่สามารถดำเนินการได้ในหลายลักษณะทั้งทางบกและทางน้ำ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับสภาพ การคมนาคมหรือท้องถิ่นท่ีชุมชนตั้งอยู่ เท่าท่ีผ่านมาหน่วยงานหลายแห่งได้จัดห้องสมุดเคล่ือนที่ในลักษณะ ต่างๆ ห้องสมุดเคล่ือนที่บางแห่งยุติการดำเนินงานไปแล้ว บางแห่งยังคงดำเนินการอยู่ ซึ่งเป็นจุดด้อยของ ห้องสมุดเคลื่อนที่ ที่มักดำเนินการไม่ต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลจากการขาดการเอาใจใส่ การขาดงบประมาณและ บคุ ลากรในการดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนือ่ งและจริงจัง 1. ห้องสมุดเคลือ่ นท่ีทางน้ำ เป็นการบริการที่มุ่งอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมน้ำ โดยใช้เรือเป็นพาหนะ หรือที่ เรียกว่าห้องสมุดเรือหรือห้องสมุดลอยน้ำ เพื่อบริการแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตลุ่มน้ำหรือตามริมน้ำ เนื่องจากประชาชนที่อาศัยอยู่ริมน้ำ มีวิถิชีวิตและการเดินทางสัญจร โดยทางน้ำเป็นหลัก ปัจจุบันหน่วยงานที่ จดั ห้องสมุดเคล่ือนท่ที ี่นา่ สนใจคอื - เรือห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ดำเนินการโดยกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับความร่วมมือจาก กองทัพเรือมอบเรือท่ีปลดระวางการใช้งานแล้วและดัดแปลงเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่ ทรัพยากรสารสนเทศที่ ให้บริการ ประกอบด้วยหนังสือหลากหลายประเภท วีดิทัศน์และบทเรียนสำเร็จรูป บริการสารสนเทศท่ีจัดคือ บริการการอ่าน บรกิ ารยืม-คืน บริการจองหนังสอื สว่ นการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การใช้บริการน้ันมีหลายลกั ษณะ อาทิ การแขง่ ขันตอบปัญหาชงิ รางวัล การวาดภาพ การแข่งขันการอา่ นและการเขยี น เป็นต้น

23 การให้บริการจะแล่นลอยลำไปให้บริการตาามจุดต่างๆ ท่ีกำหนดไว้ ในแต่ละวันจอด ใหบ้ ริการตาม ทา่ ทก่ี ำหนด ทัง้ น้จี ะมีตาราง ประชาสัมพนั ธก์ ารให้บริการล่วงหน้า - เรือนางนพมาศ ดำเนินการโดยกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเรือขนาด 2 ช้ัน รูปแบบของ กจิ กรรมการใหบ้ ริการแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะได้แก่เปน็ ห้องสมดุ เคล่ือนทแ่ี ละศนู ย์การเรียนเคลอ่ื นท่ที างน้ำ การจัดบริการเรือนางนพมาศนั้น มีการจัดทรัพยากรสารสนเทศหลายประเภท โดยเน้นหนังสือท่ีมี เนื้อหาสอดคล้อง กับชีวิตประชาชนริมนำ้ ที่เกี่ยวกับด้านสุขภาพอนามัย กฎหมายที่เก่ียวกับชีวิตประจำวนั เช่น กฎหมายแรงงาน กฎหมายครอบครัว กฎหมายที่ดิน เป็นต้น รวมทั้งหนังสือด้านประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ของกรุงเทพมหานคร วฒั นธรรม ประเพณี และอารยธรรมแถบลุ่มน้ำ นอกจากน้ีมีสอ่ื โสตทศั น์ประเภทวีดิทัศน์ และแถบเสยี งทม่ี เี นอ้ื หาสง่ เสรมิ ด้านอาชีพ สารคดี ธรรมะและบนั เทิง 2. ห้องสมดุ เคล่อื นทท่ี างบก เป็นการจัดห้องสมุดเคลื่อนท่ีโดยใช้รถประเภทต่างๆ เป็นพาหนะให้บริการเคลื่อนท่ีไปตามชุมชนใน ท้องท่ีต่างๆ ทั้งในชนบทและในเขตเมือง เช่น ชุมชนแออัด เขตก่อสร้าง โรงงานเป็นต้น ห้องสมุดเคลื่อนที่ทาง บกทนี่ า่ สนใจคอื - รถห้องสมุดศูนย์การเรียนเคลื่อนที่ เป็นห้องสมุดเคล่ือนท่ีท่ีใช้รถประจำทางขององค์การขนส่ง มวลชนกรุงเทพเป็นพาหนะ และดำเนินการโดยกระทรวงศึกษาธิการ มีรถใชด้ ำเนินการอยู่ 3 คัน รถแต่ละคัน จัดบริการแตกต่างกัน รถคันท่ี 1 สำหรับบริการเด็กในชุมชนแออัด เขตก้อสร้าง มูลนิธิสงเคราะห์ต่างๆ และ โรงเรียนท่ีขาดแคลนหนังสือ โดยจัดบริการเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร รถคันท่ี 2 บริการกลุ่มนักศึกษา การศึกษานอกระบบที่มีการจัดกิจกรรมการพบกลุ่ม โดยจัดในบริเวณโรงเรียน วัด โรงงาน ส่วนรถคันท่ี 3 สำหรับบริการประชาชนท่ัวไป โดยจัดตามสถานที่ต่างๆ เช่นบ้านคนชราบางแค ชุมชนแออัด ฯลฯ ท้ังนี้ ทรัพยากรสารสนเทศ และกิจกรรมที่จัดในรถแต่ละคันจะเลือกหนังสือและกิจกรรมท่ีเหมาะสม กับ กลมุ่ เป้าหมายท่ีมาใชบ้ รกิ าร - ห้องสมุดเคลื่อนที่รถพ่วงขนาดเล็ก เป็นห้องสมุดท่ีใช้รถพ่วงขนาดเล็กเป็นพาหนะ ดำเนินการโดย ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร โดยดัดแปลงภายในเป็นช้ันหนังสือ ด้านข้างของรถทั้ง 2 ด้าน เป็นบอร์ดนิทรรศการ ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ ประกอบด้วยหนังสือที่เน้น หนังสือเด็ก หนังสือแนะนำอาชีพ วีดิทัศน์ และเกมส์ต่างๆ นอกจากบริการห้องสมุดแล้ว ยังมีการฝึกฝนอาชีพ ง่ายๆ เช่น การตัดผม การซ่อมรถ เป็นต้น การออกให้บริการจะหมุนเวียนไปในชนบทท่ีขาดแคลน การรับรู้ ขา่ วสารประมาณเดอื นละ 2-3 ครง้ั นอกจากนี้ การจัดห้องสมุดเคลื่อนท่ียังสามารถดำเนินการได้โดยนำทรัพยากรสารสนเทศ บรรจุใส่ใน อุปกรณ์ประเภทต่างๆ นำเคลื่อนย้ายออกให้บริการในสถานท่ีต่างๆ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ บรรจุทรัพยากร สารสนเทศเคล่ือนท่ีไปให้บริการในที่ต่างๆ มีหลายประเภท ตัวอย่างโครงการห้องสมุดเคลื่อนท่ีที่ใช้ วัสดุ อปุ กรณบ์ รรจุทรัพยากรสารสนเทศท่นี า่ สนใจ คอื - โครงการชุดความร้สู ู่ชนบท ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้กล่องหนังสือเคล่ือนย้าย ไปสถานที่ต่างๆ ภายในกล่องบรรจหุ นังสอื แผ่นพับ ภาพ ฯลฯ โยแต่ละกลอ่ งมีหัวเรื่องกำกบั ไว้ชดั เจน ภายใต้

24 ฝาเปิด - ปิด แต่ละกล่องมีการแจ้งรายการวัสดุ ท่ีอยู่ภายในกล่อง ผู้ประสงค์ใช้บริการสามารถเลือกอ่านตาม ความสนใจ และความตอ้ งการ หนงั สอื มีหลายประเภท เชน่ หนงั สือเด็ก การวางแผนครอบครวั สุขภาพอนามัย ยาเสพติด ฯลฯ โดยนำกลอ่ งหนงั สือไปไว้ ณ ท่อี ่านประจำหมม่บู ้าน โดยมีผ้นู ำชุมชนเชน่ กำนนั หรือผ้ใู หญ่บ้าน เป็นผู้รับผิดชอบในการให้บริการยืม-คืน ตลอดจนผู้ใช้สามารถ ยืมย่ามความรู้ไปอ่านท่ีบ้านได้ด้วย โดยกำหนด ช่วงเวลา การยมื และการหมุนเวียน ไปในจุดต่างๆ ตามกำหนด - โครงการส่งเสริมการอ่านของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้ย่ามบรรจุทรัพยากร สารสนเทศเคล่ือนย้านไปในสถานที่ต่างๆ ย่ามความรู้จัดแจกเป็นใบๆ ตามหัวข้อเร่ืองท่ีกำหนดผุ้ใช้บริการ สามารถเลือกย่ามความรู้ในหัวข้อเร่ืองตามความสนใจ จัดให้บริการตามห้องสมุดโรงเรียนในชนบท โดยมีครู บรรณารักษร์ ับผดิ ชอบในบริการ ยืม-คืน ตลอดจนผู้ใช้สามมารถยมื ย่ามความรูไ้ ปอ่านที่บ้านไดด้ ้วย โดยกำหนด ชว่ งเวลาการยมื และการหมนุ เวียน ทง้ั น้ีจะเปลย่ี นทรพั ยากรสารสนเทศในย่ามความรูส้ ม่ำเสมอ - ห้องสมุดเคลื่อนที่ของศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ปัจจุบันมีศูนย์วิทพัฒนา จำนวน 10 ศูนย์ กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆท่ัวประเทศ การให้บริการมีลักษณะเช่น ใช้กระเป๋าหนังสือทำด้วยไม้ บรรจทุ รัพยากรสารสนเทศ เคล่อื นยา้ ยไปสถานทต่ี า่ งๆ ทีก่ ำหนดพร้อมการทำกจิ กรรมอื่นๆ ของมหาวิทยาลัย - ห้องสมุดเคล่ือนท่ีของห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี จังหวัดนครราชสีมา ใช้ถุงหนังสือบรรจุ ทรัพยากรสารสนเทศเคลื่อนที่ ให้บรกิ ารรแก่ประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษาท้ังในและนอก ระบบโรงเรียน โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเด็กด้อยโอกาส คนพิการ ผู้ท่ีอยู่ห่างไกลจากห้องสมุดหรืออาจจะมาใช้ ห้องสมุดไม่สะดวก เพ่ือวัตถุประสงค์ เพ่ือวัตถุประสงค์ให้ได้รับข่าวสารท่ีทันสมัย รวมทั้งส่งเสริมการเรียนและ การอ่าน ภายในถงุ หนังสือบรรจุ หนงั สอื ประเภทต่างๆ โดยมอี าสาสมัครบรกิ ารถงุ หนังสือ เคลื่อนทไี่ ปบริการใน ชุมชน มกี ำหนดระยะเวลาการเปลย่ี นทรัพยากรสารสนเทศในถงุ รูปแบบและวธิ ีดำเนนิ งานห้องสมุดเคลือ่ นท่ี ห้องสมุดเคลื่อนที่ สามาดำเนินการได้ท้ังทางบกและทางน้ำโดยใช้พาหนะแตกต่างกัน ได้แก่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ เกวียน หรือเรือ ทั้งน้ีแล้วแต่สภาพการคมนาคมหรือท้องถิ่นท่ีชุมชนนั้นตั้งอยู่ และเรียกชื่อ แตกตา่ งกนั ออกไป เช่น ตู้หนงั สอื เคลอื่ นที่ หบี หนงั สือสปู่ ระตูบ้าน หรือหนงั สอื มีขา เป็นตน้ รปู แบบหนังสอื เคลอื่ นที่ ห้องสมุดเคลอ่ื นทส่ี ามารถจดั ไดห้ ลายรปู แบบ ทีส่ ำคัญไดแ้ ก่ 1. กระเป๋าหนังสือเคลือ่ นท่ี จัดโดยการคัดเลือกหนังสือใส่กระเป๋า ซ่ึงอาจทำโดยผ้าหรือไมข้ นาดต่างๆ กันแล้วแต่ขนาดของสถานที่ท่ีจะนำออกไปให้บริการ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชนท่ีด้อยโอกาสในการ เข้าถึงข่าวสารและด้อยโอกาสในการศึกษา เช่น ชาวชนบท ชาวเขา ที่ดำเนนิ การห้องสมุดเคล่อื นทีใ่ นรูปแบบน้ี ได้แก่ โครงการหนังสือสัญจรสำหรับผู้ใช้แรงงาน สโมสรเด็กเคลื่อนที่ โครงการหนังสือสัญจรเพ่ือเด็กในชนบท และเด็กในโรงเรียนของมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก กระเป๋าหนังสือเคล่ือนท่ีของสมาคมพัฒนาการอ่านของเด็ก เป็นตน้

25 ภาพที่ 1.1 บริการในรูปแบบกระเป๋าหนงั สือเคลื่อนที่ 2. หีบหนังสอื จัดโดยการคดั เลือกหนังสือประเภทต่างๆ ใส่หีบซง่ึ อาจทำด้วยอบี ุก ไม้ หรอื สงั กะสี แล้ว นำออกไปให้บริการแก่ประชาชนถึงที่อยู่อาศัย เช่น โครงการหีบหนังสือสู่ประตูบ้าน โครงการหีบอีบุกบรรจุ หนังสือ หรือโครงการหบี หนงั สือ ซ่ึงใหบ้ ริการแก่ประชาชนทว่ั ไป ภาพท่ี 2.1 บริการในรูปแบบหีบหนังสอื 3. ถุงหนังสือ เป็นบริการห้องสมุดเคล่ือนท่ีของกรมการศึกษานอกโรงเรียน ที่จัดขึ้นโดยใช้ถุงบรรจุ หนังสอื ประมาณ 20 เล่ม หมนุ เวียนให้ชาวบ้านในชนบทได้อา่ น โดยมคี รอู าสาสมคั รเปน็ ผูเ้ ดนิ แจก

26 ภาพที่ 3.1 บริการในรูปแบบถุงหนังสอื 4. ห้องสมดุ เรอื หรือห้องสมุดลอยนำ้ เป็นบริการทจี่ ัดให้ประชาชนที่ตั้งบา้ นเรือนอยรู่ มิ แมน่ ้ำ หรือ ทะเล เชน่ ห้องสมดุ เรือของโครงการศึกษานอกโรงเรยี น เรือควนี อลซิ าเบทที่ 2 ซึ่งเป็นเรือโดยสารข้ามทวีปทมี่ ี หอ้ งสมดุ อยบู่ นดาดฟา้ ของเรือ ภาพท่ี 4.1 บริการในรูปแบบหอ้ งสมุดเรือหรอื ห้องสมดุ ลอยน้ำ 5. รถยนต์เคล่ือนที่ เป็นห้องสมุดเคลื่อนที่ท่ีจัดโดยใช้รถยนต์บรรทุกหนังสือออกให้บริการแก่ ประชาชนท่ีอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ ทั้งในชนบทและในเมือง เช่น โครงการห้องสมุดเคล่ือนท่ีเพ่ือชุมชนในชนบท โครงการหอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่สี ำหรับชุมชนชาวเขา โครงการตูห้ นงั สอื เคล่อื นทีส่ ำหรบั เดก็

27 ภาพท่ี 5.1 บริการในรูปแบบรถยนตเ์ คลื่อนที่ 6. หอ้ งสมุดรถไฟ เปน็ การจัดบริการหนังสือให้แกป่ ระชาชนทเ่ี ดนิ ทางดว้ ยรถไฟ เชน่ โครงการส่งเสริม การอา่ นบนรถไฟ ภาพที่ 6.1 บรกิ ารในรปู แบบหอ้ งสมดุ รถไฟ บริการหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ีนัน้ สามารถจดั ได้หลายรปู แบบแตกต่างกันตามสภาพของท้องถ่ิน แต่เป้าหมายท่ีสำคัญ คือ การให้ข่าวสารและความรู้ในสาขาวิชาตา่ งๆ เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการทางสตปิ ัญญา เพ่อื ความเพลดิ เพลิน และเพ่ือพัฒนาทักษะทางวชิ าชพี ของประชาชนกล่มุ เป้าหมาย หรือบคุ คลอื่นๆ เพ่ือร่วมจดั กจิ กรรมและเพ่ือการ ประชาสมั พนั ธ์

28 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ งานตามโครงการ 1. วิธีการดำเนนิ งาน ขั้นเตรียมการ เพื่อจัดประชมุ ครูและบุคลากรทางการศึกษา - ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอียดโครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนินโครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพอ่ื อนุมตั ิ - แตง่ ต้งั กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ประกอบด้วย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจนั ทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรียงฤทธิ์ เดตะอุด ครู กรรมการ 1.3 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝา่ ยติดต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานท่ีจัดการจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมุจลนิ ท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวิน สเี หลือง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสุรตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอษุ า ย่ิงสกุ ครู ศรช.

29 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจา่ ยพสั ดุ และการเงินตามโครงการใหถ้ กู ตอ้ งเรยี บร้อยและทันต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 3.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 3.3 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ มหี นา้ ที่ ส่งข่าวประชาสัมพนั ธ์ ทางออนไลน์ Facebook Line ประกอบด้วย 4.1 นางวารี ชบู ัว บรรณารกั ษ์ชำนาญการ 4.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวนิ สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพชั ราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณัฐชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 4.12 นางสาวเยาวดี โสดา นกั จดั การงานท่ัวไป 5. ฝา่ ยจดั กจิ กรรม มหี นา้ ที่จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ วทิ ยากรการจดั กระบวนการเรียนรู้ จัดเตรียมใบความรู้ ใบงาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอ่านจากหนังสือ และสื่อออนไลน์ สื่อการ เรียนการสอน เกม และกจิ กรรมนนั ทนาการ ดังน้ี 5.1 นางวารี ชูบัว บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครูอาสาสมัครฯ 5.3 นางสาวลาวณั ย์ สิทธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ 5.4 นางสาวมจุ ลินท์ ภูยาธร ครู กศน. ตำบล 5.5 นางลาวนิ สีเหลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.6 นางสาวนภารตั น์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 5.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล

30 5.10 นางสุรัตน์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.11 นายเกรียงไกร ใหม่เทวนิ ทร์ ครู กศน. ตำบล 5.12 นางสาวณฐั ชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 5.13 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.14 นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. 5.15 นายปัณณวัฒน์ สุขมา ครู ศรช. 5.16 นางสาวอุษา ย่ิงสุก ครู ศรช. 5.17 นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ครู ศรช. 5.18 นางสาวเยาวดี โสดา นักจัดการงานทว่ั ไป 6. ฝ่ายรบั ลงลงทะเบยี น ใหก้ รรมการมหี นา้ ทจี่ ัดเตรยี มเอกสารสำหรบั การลงทะเบยี น และรบั ลงทะเบยี น ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ ดังนี้ 6.1 นางสาวอษุ า ยิ่งสุก ครู ศรช. 6.2 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปญั ญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพงึ พอใจ ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ประเมินความพึงพอใจ ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ และจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานหลังเสรจ็ สิน้ โครงการ ดังน้ี 7.1 นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ 7.2 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 7.3 นางสาวกัญญาณัฐ จนั ปัญญา ครู ศรช.

2. ข้นั ดำเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ ก 1. ขัน้ เตรียมการ กล่มุ เป้าหมาย เพ่ือจัดประชุมครูและบุคลากรทางการ ครแู ละบคุ ลากร ช 2. ประชมุ กรรมการ ศกึ ษา กศน. อำเภอชนแดน ว ดำเนนิ งาน - ช้ีแจงทำความเขา้ ใจรายละเอียด จำนวน 21 คน 3. จัดเตรียมเอกสาร โครงการ วัสดุ อุปกรณใ์ นการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนินโครงการ ครูและบคุ ลากร ดำเนนิ โครงการ - จดั ทำโครงการและแผนการดำเนินการ กศน. อำเภอชนแดน เพอื่ อนุมัติ - แตง่ ตง้ั กรรมการดำเนนิ งานตาม จำนวน 21 คน โครงการ กรรมการฝา่ ยท่ีไดร้ ับ เพอื่ ประชุมทำความเข้าใจกบั กรรมการ ดำเนนิ งานทุกฝ่ายในการจัดกิจกรรม มอบหมาย โครงการและการดำเนินงาน เพื่อดำเนนิ การจดั ทำ จัดซื้อ วสั ดอุ ุปกรณ์ ท่ใี ช้ในการดำเนนิ การ

31 กล่มุ เปา้ หมาย พ้ืนท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ช้ีแจงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถปุ ระสงค์ของการจดั โครงการ ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ที่ กศน. อำเภอ เม.ย.65 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน เม.ย.65 - จัดซ้อื วัสดอุ ุปกรณ์ในการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ชนแดน /กิจกรรมหลัก...

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ ก 4. ดำเนินการจัด กลุม่ เป้าหมาย กจิ กรรม 1. รถหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ี นักเรยี น นกั ศึกษา ส 2. อ่านดีมอี าชีพ และประชาชนทั่วไป แ 5. สรปุ /ประเมนิ ผล 3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จำนวน 200 คน น และรายงานผล 4. ศิลปะประดิษฐ์ โครงการ 5. อ่านผ่านควิ อารโ์ คด้ ช เพ่ือใหก้ รรมการฝ่ายประเมินผลเก็บ รวบรวมข้อมูลและดำเนินการประเมินผล ตามกระบวนการ การจัดกิจกรรม ประเมินโครงการ 5 บท จำนวน 3 เลม่

32 กลุ่มเปา้ หมาย พนื้ ทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) พน้ื ท่ีอำเภอชนแดน เม.ย. ถงึ - ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา ก.ย.65 และประชาชนทั่วไปมีนิสัยรักการอ่าน นำไปสู่ การเรียนรู้ และพฒั นาคุณภาพ ชีวิตใหด้ ขี ึน้ สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน กศน. อำเภอ ก.ย.65 - ตามระบบ PDCA ชนแดน

33 3. ข้ันสรปุ การจัดกจิ กรรม 1. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ 1.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (output) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ 80 % มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 1.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) นักเรียน มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดขี น้ึ 2. การติดตามผลประเมนิ ผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม / โครงการ 2.2 สรปุ /รายงานผลการจัดกิจกรรม

34 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายทรี่ ่วมโครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย โครงการห้องสมุด เคลื่อนท่ีส่ชู ุมชน แบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 67 33.00 หญิง 136 67.00 รวม 203 100 จากตาราง สรุปไดว้ ่า ผตู้ อบแบบสอบถาม ในคร้ังนี้ เปน็ เพศหญิง มากทสี่ ุด จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 67.00 อายุ ช่วงอายุ จำนวน ร้อยละ ต่ำกวา่ 15 ปี 5 2.46 15 - 29 ปี 29 14.29 30 – 39 ปี 26 12.81 40 - 49 ปี 41 20.20 50 - 59 ปี 33 16.26 60 ปีขึน้ ไป 69 33.99 203 100 รวม จากตาราง สรปุ ไดว้ า่ ผตู้ อบแบบสอบถาม ในครั้งนี้ เปน็ ช่วงอายุ 60 ปขี น้ึ ไป มากทส่ี ุด จำนวน 69 คน คิดเป็น ร้อยละ 33.99

35 การศึกษา ระดับการศกึ ษา จำนวน ร้อยละ ประถมศกึ ษา 32 15.76 63 31.03 ม.ต้น 103 50.74 ม.ปลาย - ปวช./ปวส. 5 - ปรญิ ญาตรี - 2.46 สูงกว่าปริญญาตรี 203 รวม - 100 จากตาราง สรปุ ได้ว่า ผตู้ อบแบบสอบถาม ในครั้งน้ี การศกึ ษาระดับ ม.ปลาย มากที่สุด จำนวน 103 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.74 อาชพี อาชีพ จำนวน ร้อยละ รบั จ้าง 97 47.78 เกษตรกรรม 63 31.03 ผู้นำชมุ ชน 12 5.91 คา้ ขาย 4 1.97 รบั ราชการ 6 2.96 นกั เรียน/นกั ศึกษา 21 10.34 อน่ื ๆ ระบุ - รวม 203 - 100 จากตาราง สรปุ ไดว้ า่ ผตู้ อบแบบสอบถาม ในคร้งั น้ี เปน็ อาชีพรับจ้าง มากทส่ี ุด จำนวน 97 คน คิดเป็น ร้อยละ 47.78

36 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลความคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กจิ กรรม 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพงึ พอใจ 0.00 – 1.49 อยู่ในระดับ นอ้ ยท่สี ดุ 1.50 – 2.49 อย่ใู นระดับ นอ้ ย 2.50 – 3.49 อยใู่ นระดบั ปานกลาง 3.50 – 4.49 อยูใ่ นระดบั มาก 4.50 - 5 อยู่ในระดับ มากทีส่ ุด 2.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน มากทส่ี ุด 5 อยใู่ นระดบั มาก 4 อยู่ในระดับ ปานกลาง 3 อยใู่ นระดับ น้อย 2 อย่ใู นระดบั น้อยที่สดุ 1 อยใู่ นระดับ

ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการ จำนวน ผู้ ขอ้ รายการ ประเมิน (คน) มากท่สี ดุ 1 กิจกรรมที่จดั สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ 203 5 2 เน้ือหาของสอ่ื การเรยี นรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ 203 139 3 การจัดกิจกรรมมสี อ่ื การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย 203 121 4 กิจกรรมสง่ เสริมการมีมนุษย์สัมพนั ธอ์ นั ดตี ่อกัน 203 126 5 สถานทจ่ี ัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 203 114 6 ระยะเวลาการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 203 117 7 ท่านมีความประทบั ใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมคร้งั น้ี 203 125 8 การประชาสัมพันธ์และชวนเชิญ 203 115 9 ความเหมาะสมวสั ดุ/อปุ กรณใ์ นการจัดกิจกรรม 203 129 10 การนำประโยชน์ไปใชใ้ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในคร้งั น้ี 203 112 11 ทา่ นคดิ วา่ ควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเน่ือง 203 127 12 หากมโี อกาสในปีต่อไปท่านยินดเี ข้าร่วมโครงการน้ีอีก 203 113 127 รวมท้ังหมด 2436 1465 ร้อยละ 100 60.14

37 ระดบั ผลการประเมนิ เฉลี่ย S.D. ประมวล รอ้ ยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สุด ผล 4 321 49 15 0 0 4.61 0.62 มากที่สดุ 58 24 0 0 4.48 0.70 มาก 69 8 0 0 4.58 0.57 มากท่สี ดุ 61 19 9 0 4.38 0.83 มาก 74 12 0 0 4.52 0.61 มากทส่ี ุด 64 14 0 0 4.55 0.62 มากที่สดุ 66 22 0 0 4.46 0.68 มาก 58 13 3 0 4.54 0.68 มากทส่ี ุด 73 18 0 0 4.46 0.65 มาก 64 12 0 0 4.57 0.60 มากที่สุด 63 27 0 0 4.42 0.72 มาก 63 8 5 0 4.54 0.69 มากที่สดุ 762 192 17 0 4.51 0.67 มากที่สุด 31.28 7.88

38 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โครงการห้องสมดุ เคลือ่ นท่ีสูช่ ุมชน ในครั้ง นี้ ผลปรากฏว่าระดบั ความพงึ พอใจในภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.17 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ -

39 บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการ การบรู ณาการการเรยี นรู้ • มีการนำความร้ทู ไ่ี ด้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ • จากกิจกรรมช่วยสง่ เสริมใหม้ ีนสิ ัยรักการอา่ นและการเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ กระตนุ้ และส่งเสริม นสิ ยั ให้เด็กและเยาวชนมีนสิ ยั รกั การอ่าน สง่ เสรมิ ทักษะและพฒั นาการทางดา้ นร่างกายและจิตใจของเด็กและ เยาวชน และสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมคี วามคดิ สร้างสรรคแ์ ละมีจนิ ตนาการ ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายและเครอื ขา่ ย - การมีส่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ยในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั - การสนบั สนนุ ให้ภาคีเครอื ข่ายจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั การนำความรู้ไปใช้ - สง่ เสริมและสนับสนุนการอ่านใหเ้ ป็นวาระแห่งชาติ นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปเขา้ ถงึ และมโี อกาสได้อา่ นหนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม มนี สิ ยั รกั การอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ใหด้ ีข้นึ การดำเนินงานท่วั ไป เชิงปรมิ าณ - กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทว่ั ไป จำนวน 200 คน - จำนวนกลมุ่ ตัวอย่าง นักเรียน นกั ศึกษา และประชาชนทวั่ ไป จำนวน 203 คน 1) ชาย จำนวน 67 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.00 2) หญิง จำนวน 136 คน คิดเปน็ ร้อยละ 67.00 เชงิ คุณภาพ 1. เพมิ่ ช่องทางการเขา้ ถึงการอา่ นในแหล่งเรยี นร้ใู กล้ตวั และมหี นงั สอื ทีห่ ลากหลายใหบ้ ริการ 2. ส่งเสริมสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชน ทกุ ชว่ งวยั ให้มนี สิ ยั รักการอา่ น 3. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหป้ ระชาชนในพนื้ ท่ีมอี าชีพ

40 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. เปา้ หมาย จำนวน 200 คน มผี เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม จำนวน 253 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ผลการดำเนินงานตามเปา้ หมาย 2. จำนวนผู้รว่ มกจิ กรรม จำนวน 253 คน ผ่านกิจกรรม จำนวน 253 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ผลการดำเนนิ งานบรรลุเป้าหมาย สรปุ ผลการดำเนนิ งาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจการจดั กิจกรรม ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.17 สรปุ ความพงึ พอใจต่อโครงการ/กจิ กรรม ที่เข้ารว่ ม 1. กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 92.22 2. เนื้อหาของส่ือการเรียนรู้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 89.56 3. การจัดกิจกรรมมีส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.63 4. กิจกรรมส่งเสริมการมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็น ร้อยละ 87.59 5. สถานท่ีจัดกิจกรรมเหมาะสมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด คิดเป็น ร้อยละ 90.34 6. ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.94 7. ท่านมคี วามประทับใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมครั้งนี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็นร้อยละ 89.16 8. การประชาสมั พนั ธแ์ ละชวนเชญิ อยูใ่ นระดบั ความพงึ พอใจ มากทีส่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.84 9. ความเหมาะสมวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คิดเป็น ร้อยละ 89.26 10. การนำประโยชน์ไปใช้ในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งน้ี อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 91.33 11. ท่านคิดว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ต่อเน่ือง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.47 12. หากมีโอกาสในปีต่อไปท่านยินดีเข้าร่วมโครงการนี้อีก อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 90.74

41 ขอ้ เสนอแนะ 1. ได้ความรเู้ พิ่มขนึ้ อยากให้จัดโครงการแบบน้ีอีก 2. อยากใหจ้ ดั กิจกรรมแบบนี้อีก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook