Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01แรง

01แรง

Published by aeksuttidat, 2019-03-02 21:16:09

Description: 01แรง

Search

Read the Text Version

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว แรงและความดัน โดย นายสุทธเิ ดช โตนชยั ภูมิ ครกู ลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว คำนำ หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ เรื่องดินน่ารู้ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 เล่ม น้ี จดั ทาข้ึนสาหรับใชป้ ระกอบการเรียนการสอน ดาเนินการสอดคลอ้ งตามกรอบของ หลกั สูตรทุกประการ โดยจดั ทาข้ึนในรูปแบบสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์มาตรฐานหรือ EPUB ประกอบดว้ ยเน้ือหาและมลั ติมีเดีย เพื่อลดขอ้ จากดั ในการเขา้ ถึงบทเรียนของผเู้ รียนที่มีความ แตกต่าง ส่งเสริมการสืบเสาะหาความรู้ และกระบวนการคิด เน้ือหาในหนงั สือเล่มน้ีประกอบดว้ ยเร่ือง แรง แรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน แรงพยงุ ความดนั อากาศ และความดนั ของเหลว หวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ดินน่ารู้ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 เล่มน้ีจะอานวยประโยชนต์ ่อผเู้ รียน ผสู้ อน และผทู้ ่ีสนใจนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนรู้ และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว สำรบัญ • แรง • แรงลัพธ์ • แรงเสียดทาน • แรงพยุง • ความดนั อากาศ • ความดนั ของเหลว

แรง...Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว หมายถึง สง่ิ ทท่ี าใหว้ ตั ถเุ ปลี่ยนสภาพจากหยุดน่ิงใหเ้ คลอ่ื นที่ หรือเปล่ยี นจากเคลอ่ื นที่อย่แู ลว้ เป็นหยุดนง่ิ เรว็ ข้นึ ชา้ ลง หรอื เปลี่ยน ทิศทาง นอกจากน้ยี ังทาให้วัตถุเปลย่ี นแปลงรูปทรงและขนาดได้

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว ในการดารงชีวติ แต่ละวนั เราตอ้ งใช้แรงเพ่อื ทากจิ กรรมตา่ ง ๆ มากมาย และลักษณะของแรงทีใ่ ช้มีลกั ษณะที่แตกต่างกันไปด้วย ตัวอยา่ งเชน่ การออกแรงลากวตั ถุ การออกแรงผลกั วัตถุ การออกแรงห้ิววัตถุ การออกแรงยกวัตถุ

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว ในทางวทิ ยาศาสตรม์ ักจะใช้เสน้ และลกู ศรแทนขนาดและทิศทางของแรง แรง ก แรง ข แรง ค จากรปู เส้นและลกู ศรแทนแรง แสดงวา่ แรง ข มมี ากกว่าแรง ก เพราะเส้น ลูกศรแทนแรง ข มคี วามยาวมากกวา่ เสน้ ลกู ศร แทนแรง ก โดยท้ังแรง ก และแรง ข มี ทิศทางไปเดียวกนั คือ ทางขาวมือ แตกต่างจากแรง ค ท่ีมที ศิ ทางไปทางซ้ายมอื

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว แรงสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1. แรงที่ไดจ้ ากธรรมชาติ ซ่งึ แบ่งออกได้ดังน้ี 1.1 แรงท่ไี ดจ้ ากส่ิงไมม่ ชี วี ติ เชน่ แรงลม แรงน้า แรงแม่เหลก็ แรงโน้มถว่ ง ของโลก เปน็ ตน้ 1.2 แรงท่เี กดิ จากสงิ่ มีชวี ิต เช่น แรงท่ีคนใชป้ นั่ จกั รยาน แรงที่ใชห้ วิ้ ของ แรงท่ี ใชย้ กสิ่งของต่าง ๆ เปน็ ต้น 2. แรงทีไ่ ดจ้ ากเครือ่ งจักร หรือเคร่ืองมอื ที่มนุษยส์ รา้ งข้นึ เช่น แรงที่เกิดจากการทางานของมอเตอร์พัดลม แรงท่ีเกิดจากการทางานของ เครื่องยนต์ในรถประเภทต่าง ๆ เปน็ ตน้

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว แรงลัพธ.์ .. แรงลพั ธ์ การออกแรงหลายแรงมากระทาตอ่ วตั ถใุ นทิศทางเดยี วกัน จะมีค่าเท่ากับการ รวมแรงเปน็ แรงเดียว แรงที่เปน็ ผลรวมของแรงหลายแรงนี้ เรยี กว่า แรงลัพธ์

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว ลกั ษณะของแรงลัพธ์ แรงมหี นว่ ยเป็นนิวตนั (N) สามารถเขยี นแทนด้วยลูกศร ความยาวของลูกศร แทนขนาดของแรงและหวั ลูกศรแทนทศิ ทางของแรงนั้น การหาขนาดของแรงลัพธจ์ งึ ต้องพิจารณาจากขนาดและทิศทางของแรง ตวั อยา่ งเชน่ ขอ้ ท่ี 1

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว ข้อที่ 2 ขอ้ ที่ 3

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว ประโยชนข์ องแรงลพั ธ์ ในชวี ติ ประจาวันของเรามกี ารนาแรงลพั ธ์มาใช้ประโยชน์มากมาย ตวั อย่างเช่น การสรา้ งสะพานแขวนการปนั่ จกั รยานพ่วง การใชส้ ุนขั หลาย ๆ ตวั หลากเล่อื น สะพานแขวน สุนขั ลากเลอ่ื น การป่ันจักรยานพ่วง

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว แรงเสียดทาน... แรงเสียดทาน หมายถงึ แรงทเี่ กิดขึน้ ระหว่างผวิ สัมผสั ของวตั ถุ 2 ชน้ิ ทส่ี ัมผสั กนั ซ่ึงแรงนเ้ี ปน็ แรงทีผ่ วิ วัตถุผิวหนึง่ ต้านทาน การเคลอื่ นทขี่ องผวิ วตั ถุอกี ผิวหน่ึง สง่ ผลทา ใหว้ ัตถุเคลื่อนท่ชี า้ ลงเร่ือย ๆจนกระทงั่ หยุดนงิ่ ในท่สี ุด

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว ลักษณะของแรงเสียดทาน มที ิศทางของแรงตรงกนั ข้ามกบั ทิศทางการเคล่อื นท่ีของวัตถุ เชน่ การเตะฟตุ บอล - ถ้าผิวสัมผสั ของวตั ถุ 2 ชนิด เรียบ จะเกดิ แรงเสียดทานนอ้ ย วัตถุเคลอ่ื นท่ีไดม้ าก - ถ้าผวิ สมั ผสั ของวตั ถุ 2 ชนดิ ไม่เรียบ จะเกดิ แรงเสยี ดทานมาก วตั ถุเคล่อื นทีไ่ ด้นอ้ ย ถ้าวาง A อยบู่ นวตั ถุ B ออกแรง ลากวัตถุ วตั ถุ A จะเคล่ือนท่ีหรอื ไม่กต็ าม จะมีแรงเสียดทานเกิดขึน้ ระหว่างผวิ ของ A และ B แรงเสียดทานมที ศิ ทางตรงกันข้ามกับ แรง ทีพ่ ยายามตอ่ ต้านการเคลือ่ นที่ของ A

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ แรงเสยี ดทาน 1. น้าหนกั หรือแรงกดของวตั ถุท่กี ดลงบนพ้นื ถ้าน้าหนักหรือแรงกดของวัตถุมาก จะเกิดแรงเสยี ดทานมาก ถา้ นา้ หนักหรือ แรงกดของวตั ถนุ ้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว 2. ลักษณะของพ้นื ผวิ สมั ผัส ถ้าพ้นื ผวิ เรยี บ เชน่ กระเบื้อง กระจก พลาสติก เป็นตน้ จะเกดิ แรงเสียดทาน น้อย เนื่องจากพ้นื ผวิ เรยี บ มีการเสยี ดสีระหว่างกนั นอ้ ย

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว การนา้ แรงเสียดทานไปใช้ประโยชน์ เราสามารถใชป้ ระโยชน์จากแรงเสยี ดทาน ในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจาวันไดม้ ากมาย เชน่ 1. ทาให้วตั ถหุ ยดุ น่งิ ไมเ่ คลื่อนที่ เช่น ชว่ ยหยดุ รถยนต์ที่กาลงั เคล่อื นที่ ยางรถทม่ี ี ดอกยางชว่ ยให้รถเกาะถนนไดด้ ี เปน็ ตน้ 2. การสร้างพ้ืนถนนต้องทาให้พืน้ ถนนเกดิ แรงเสยี ดทานพอสมควร รถจงึ จะ เคล่ือนท่ีบนถนนโดยที่ล้อรถไมห่ มนุ อยกู่ ับท่ีได้ 3. ชว่ ยในการหยบิ จับสง่ิ ของโดยไมล่ ่นื ไหลไปมา 4. ชว่ ยในการเดนิ ไม่ใหล้ ่ืนไหล

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว แรงพยุงหรอื แรงลอยตัว... แรงพยุงหรือแรงลอยตัว แรงลอยตวั คอื แรงพยงุ ของของเหลวและแก๊สท่กี ระทาต่อวตั ถทุ ี่อย่ใู น ของเหลวและแก๊สน้ัน ทาใหว้ ัตถลุ อยอยู่ได้ ในชีวติ ประจาวนั เราจะพบว่าวตั ถุบางชนิดลอยอยู่ในนา้ ได้ เพราะแรงลอยตวั ทกี่ ระทาตอ่ วัตถุนั้นมีค่าเพียงพอท่ีจะต้านน้าหนกั ของวัตถุ ที่เกดิ จากแรงโนม้ ถว่ งของ โลกได้ แต่สาหรับวัตถุบางชนดิ ทจี่ มลงในนา้ แสดงวา่ แรงลอยตัวท่ีกระทาต่อวตั ถนุ ัน้ มคี ่า นอ้ ยกว่าน้าหนกั ของวตั ถุ

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว ลกั ษณะของแรงพยุงตวั ของของเหลว น้าหนกั ชองวัตถุชนดิ ตา่ งๆเกิดจากแรงโน้มถว่ งของโลก ซึง่ มีทศิ ทางลงสูพ่ นื้ โลก แต่ถา้ วตั ถุนน้ั ตกลงไปในน้า นา้ หนักของวัตถจุ ะลดลง เพราะมีแรงของนา้ พยุงวัตถใุ น ทศิ ทางตรงกนั ข้ามกบั แรงโน้มถว่ งของโลก แรงน้ี เรยี กว่า แรงพยงุ ของของเหลว ซง่ึ เปน็ แรงของของเหลวท่พี ยงุ วัตถใุ นทศิ ทางตรงกนั ข้ามกับนา้ หนักของวัตถุ แรงลอยตวั ช่วยพยุงไม่ใหว้ ัตถุจม

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว เพ่มิ เติม 1. อาร์คมิ ดี ิส นักคิดชาวกรีกเป็นผู้คน้ พบแรงลอยตัว และได้ใหห้ ลกั การ เก่ียวกับการจมและการลอยของวตั ถเุ รียกหลกั การน้วี ่า \"หลกั ของอาร์คมิ ดี สิ \" กลา่ วคือ แรงลอยตัวทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุมีค่าเท่ากบั นา้ หนักของของเหลวทถี่ กู แทนท่ีด้วยปริมาตร ของวตั ถสุ ว่ นที่จมในของเหลวนั้น

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว 2. คา่ ของแรงที่อา่ นได้เมอ่ื ช่ังวตั ถุในของเหลว จะมคี า่ น้อยกว่าเมื่อชง่ั วตั ถใุ น อากาศ เพราะวา่ ของเหลวมีแรงลอยตัวชว่ ยพยงุ วัตถไุ ว้ 10 นวิ ตนั 6 นิวตัน

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการลอยและการจมของวัตถุ 1. ความหนาแน่นของวตั ถุ วัตถแุ ต่ละชนดิ จะมีความหนาแน่นไม่เทา่ กนั 1.1 ถ้าวตั ถุมีความหนาแนน่ นอ้ ยกว่าของเหลววตั ถจุ ะลอยในของเหลว 1.2 ถ้าวัตถมุ ีความหนาแน่นเทา่ กนั กบั ของเหลววัตถุจะลอยปริ่มในของเหลว 1.3 ถ้าวัตถมุ ีความหนาแนน่ มากกว่าของเหลววัตถุจะจมในของเหลว

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว 2. ความหนาแน่นของของเหลว ของเหลวทมี่ ีความหนาแนน่ มากจะมีแรงลอยตัวมาก ทาใหพ้ ยงุ วัตถุให้ลอยขึ้น ไดม้ ากกว่าของเหลวท่มี ีความหนาแน่นนอ้ ย เช่น นา้ เกลือมีความหนาแน่นมากกว่า นา้ เปล่า เมอ่ื นาไขไ่ ก่ไปใสใ่ นน้าเกลอื เปรยี บเทยี บกับน้าเปล่า ไข่ไก่ลอยในนา้ เกลือ แต่จม ลงในน้าเปลา่ น้าเกลอื + ไข่ น้าเปลา่ + ไข่

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว ประโยชน์ของแรงพยุงของของเหลว นกั วทิ ยาศาสตรน์ าความร้เู รือ่ งแรงพยุงหรอื แรงลอยตวั ไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ น ต่างๆ เช่น การประดษิ ฐเ์ ส้ือชูชพี เรอื แพยาง เป็นต้น

ความดนั อากาศ...Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว - ความดัน คือ ขนาดของแรงท่กี ระทาตอ่ 1 หน่วยพื้นทีข่ องวตั ถุ - อากาศเป็นส่งิ ทม่ี ตี วั ตน มนี า้ หนกั ตอ้ งการท่ีอยู่ และสมั ผสั ได้ นา้ หนกั ของ อากาศมีแรงกดหรอื แรงดัน อนภุ าคของอากาศเคลื่อนท่ีไปมาไดอ้ ย่างอสิ ระ และ ตลอดเวลาในทกุ ทศิ ทาง โดยจะเคล่อื นท่ีชนกันเองและชนกบั วตั ถตุ า่ ง ๆ ที่ล้อมรอบ ทา ใหเ้ กิดแรงดนั รอบทศิ ทาง

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว - แรงดนั อากาศ หมายถงึ แรงทีอ่ ากาศกดลงบนผิวของวตั ถุในทกุ ทิศทาง เช่น ถ้าเป่าลูกโป่ง อากาศทีเ่ ขา้ ไปด้านในจะดนั ลูกโป่งให้พองออกและมขี นาดใหญ่ขึน้ ขณะเดยี วกนั อากาศท่ีอยูภ่ ายนอกกอ็ อกแรงดนั ลูกโป่งทุกทศิ ทางดว้ ยเชน่ กัน เปน็ ต้น ความดันอากาศหรือความกดอากาศ คอื ความดันอากาศทีก่ ระทาทุกแห่งของโลก

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว เครื่องวัดความดันอากาศ เรียกว่า บารอมเิ ตอร์ ความดนั 1 บรรยากาศจะดันใหป้ รอทสงู 760 มลิ ลิเมตรของปรอท ในระดับน้าทะเลในแนวตั้งฉากกับผวิ โลก

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว ถา้ สูงจากระดบั น้าทะเลความดนั อากาศจะลดลงเรอื่ ยๆ

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว ประโยชน์ของความดันอากาศ 1. การดูดนา้ ออกจากขวดโดยใช้หลอดดดู 2. การดูดของเหลวเขา้ หลอดหยดหรือเข็มฉดี ยา 3. การเจาะกระปอ๋ งนมต้องเจาะ 2 รู เพอ่ื ให้อากาศในกระป๋องนมมคี วามดนั อากาศเทา่ กบั ความดันภายนอกกระป๋องนมทาใหส้ ามารถเทนมออกจากกระป๋องนมได้ 4. การถ่ายของเหลวโดยสายยางจากภาชนะหนงึ่ ไปยงั อีกภาชนะหนึ่งทีอ่ ยู่ตา่ ง ระดบั กนั เรียกวา่ “กาลกั นา้ ” 5. การใช้แปน้ ยางดดู ติดกับกระจกเพ่อื ยดึ ส่ิงของใหต้ ดิ กบั กระจก เนอื่ งจาก ความดนั อากาศภายนอกมากกว่าความดนั อากาศภายในแป้นยาง จงึ กดหัวแปน้ ยางให้ดดู ตดิ กับกระจก

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว ความดนั ของเหลว... ความดนั ของเหลว ความดนั ของของเหลวมลี กั ษณะคลา้ ยกับความดนั อากาศ คอื เกิดจากนา้ หนกั ของของเหลวท่มี ีอยู่เหนือตาแหน่งน้ัน ๆกดทับลงมา ย่ิงในระดบั ที่ลกึ มากขน้ึ ของเหลวที่ อยเู่ หนอื ตาแหนง่ นนั้ ก็จะมมี ากข้ึน ทาใหน้ า้ หนกั ของของเหลวมมี ากขนึ้

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความดนั ของของเหลว 1. ความลกึ ของของเหลว - ของเหลวไม่ว่าจะอยู่ในภาชนะรปู รา่ งใดก็ตาม ถา้ ทีร่ ะดบั ความลกึ เดยี วกัน ความดนั ของ ของเหลวจะเทา่ กนั ที่ระดบั ความลึกเดียวกนั นา้ จะมีความดนั เทา่ กัน - แต่ถ้าระดับความลึกต่างกัน ของเหลวท่ีอยู่ระดบั ลึกกวา่ จะมคี วามดนั มากกว่า ท่รี ะดับความลกึ ต่างกัน น้าท่รี ะดับความลกึ มากกวา่ จะมคี วามดนั มากกว่า

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว 2. ความหนาแน่นของของเหลว ของเหลวตา่ งชนิดกนั จะมีความดนั ต่างกนั โดยของเหลวท่ีมคี วามหนาแน่น มาก จะมีความดันสูงกว่าของเหลวท่ีมีความหนาแนน่ น้อย นา้ เปล่า น้าเชือ่ ม 10 เซนตเิ มตร 20 เซนติเมตร

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดนั ของเหลว ประโยชนข์ องความดันของเหลว เรานาความรู้เก่ียวกับความดันของของเหลวไปใช้ประโยชน์ เชน่ ... 1. การสร้างเข่อื น ตอ้ งสร้างให้ฐานเขอ่ื นมีความกวา้ งมากกว่าสนั เขือ่ น เพราะแรงดนั ของน้าบริเวณฐานเขื่อนมากกว่าแรงดนั ของน้าบรเิ วณสนั เขอ่ื น สันเข่อื น แรงดนั น้อย แรงดนั มาก ฐานเข่ือน *** เข่อื นตอ้ งสรา้ งให้ฐานเขอื่ นกวา้ งกวา่ สนั เขอ่ื น***

Home I แรง I แรงลพั ธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว 2. การออกแบบเรอื ด้าน้า จะตอ้ งมีความแข็งแรงและทนทานตอ่ สภาพความดันสงู ในนา้ ลึก ได้ เพราะยง่ิ ลกึ ความดันน้าจะยง่ิ มากขน้ึ

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว อยา่ ลมื .... ทบทวนเพ่ิมเติมเตรยี มตัวสอบ นะครบั

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยงุ I ความดนั อากาศ I ความดนั ของเหลว แบบฝึ กหดั • แรงหมายถงึ อะไร • ลากวตั ถดุ ้วยแรงสองแรงท่ีมีขนาดเทา่ กนั แรงลพั ธ์ที่เกิดขนึ ้ มีคา่ เทา่ ใดและวตั ถุ เคล่อื นท่ีอยา่ งไร • ปัจจยั ท่ีทาให้เกิดแรงเสียดทานมีอะไรบ้าง • ประโยชน์ของแรงเสียดทานที่พบในชีวิตประจาวนั มีอะไรบ้าง • แรงพยงุ หมายถงึ อะไร • ทาไมการสร้างเขื่อนจงึ มีการออกแบบให้มีฐานเขื่อนกว้างและสนั เขื่อนแคบ • ประโยชน์ของความดนั อากาศมีอะไรบ้าง • ทาไมเราขนึ ้ ไปบนยอดดอยจงึ รู้สกึ วา่ หอู ือ้

Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสยี ดทาน I แรงพยุง I ความดนั อากาศ I ความดันของเหลว เอกสารอ้างอิง ขอขอบคณุ เนอ้ื หาและรูปภาพจาก....... • จานง ภาษาประเทศ และคณะ.หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรพู้ ื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ป. 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท สานักพิมพ์ แมค็ จากดั ,2555 • นคร มแี กว้ .คมู่ ือ-เตรียมสอบ วทิ ยาศาสตร์ ป. 5 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ภูมิบัณฑติ การพมิ พ์ จากดั ,2554 • ดร.บัญชา แสนทวี, ลัดดา อนิ ทรพ์ ิมพ์ และดารุณี ชวดศรี.คู่มือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ป. 5 กลุ่มสาระ การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท สานักพมิ พว์ ัฒนาพานิช จากัด,2551 • “แรง”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://www.thaigoodview.com/node/45977 • “แรงและความดัน”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก:http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID =70361 • ศิรริ ตั น์ วงศ์ศิรแิ ละรกั ซ้อน รัตน์วิจติ ต์เวช.หนงั สือเรียนสาระการเรยี นรูพ้ ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ัน ป. 5 กลมุ่ สาระการ เรียนรูว้ ิทยาศาสตรต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท อักษร เจริญทัศน์ อจท. จากัด,2554


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook