Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา2563

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา2563

Published by ORAYA JAISAMOE, 2020-08-21 02:55:40

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา2563 โรงเรียนวังแก้ววิทยา

Keywords: แผนปฏิบัติการประจำปีม,plan63

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ตั ิงานประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ศูนยเ รียนรวมโรงเรียนวังแกว วิทยา สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต ๓ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาํ นํา บทบัญญัติของพระราชกฤษฎีการวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 มาตรา 16 กําหนดใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ที่สอดคลองกับแผนการบริหาร ราชการแผนดินของรัฐบาล และใหจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปในแตละปงบประมาณ เสนอตอ รัฐมนตรีเจาสังกัดพิจารณาใหความเห็นชอบ โดยใหระบุสาระสําคัญเก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการ เปา หมายและผลสมั ฤทธข์ิ องงาน รวมทั้งประมาณการรายจายและทัพยากรอื่นท่ีจะตองใช ดังน้ัน เพ่ือใหการปฏิบัติราชการของศูนยเรียนรวมโรงเรียนวังแกววิทยา เปนไปตามบทบัญญัติ ของกฎหมายในขางตน ศูนยเรียนรวมโรงเรียนวังแกววิทยา จึงไดจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ประจําป การศึกษา 2563 โดยนําจุดเนนการขบั เคล่ือนนโยบายดานการศึกษาของรฐั บาลภายใตการบรหิ ารงานของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ มาใชเปนกรอบในการดําเนินงาน และนําแผนไปสูการปฏิบัติ เพื่อให เกิดผลผลิต ผลลัพธ บรรลุเปาหมายตามนโยบายท่ีเปนจุดเนนสําคัญท่ีรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนใชเปนเครื่องมือในการกํากับติดตาม ประเมินผลรายงานการ ดาํ เนนิ งานในภาพรวมของศนู ยเ รียนรวมโรงเรียนวงั แกววทิ ยา ขอขอบคุ ณ บุคลากรท่ีมีสวนเกี่ยวของท่ีใหความรวมมือในการจัดทําแผนปฏิ บัติการประจําป การศึกษา พ.ศ.2563 ของศูนยเรียนรวมโรงเรียนวังแกววทิ ยา จนสาํ เร็จไดเปน อยา งดี และหวังเปนอยางย่ิง วาทุกหนวยงานจะระดมสรรพยากรผลักดันในการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติราชการ ประจําปการศึกษา พ.ศ.25๖3 ไปสูก ารปฏบิ ัติใหบ รรลุเปาหมายทว่ี างไวต อ ไป ศูนยเ รยี นรวมโรงเรียนวงั แกว วทิ ยา มถิ นุ ายน 25๖3

สารบญั เร่ือง หนา คํานํา ก สารบัญ ข ตอนท่ี ๑ ขอมูลพ้นื ฐาน 1 - ขอ มลู ทว่ั ไป 4 - ขอมูลผบู รหิ าร 4 - ขอ มูลนกั เรยี น 6 - ขอมูลครแู ละบุคลากร 7 - ขอมลู อาคารสถานท่ี 7 - ขอ มลู งบประมาณ 7 - ขอ มูลสภาพชุมชน 8 - โครงสรา งหลกั สตู ร 11 - แหลง เรียนรู ภมู ปิ ญญาทองถ่ิน 14 - ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบทผ่ี านมา 16 - ขอ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก 21 - สรุปสภาพปญหา จดุ เดน จดุ ท่ีควรพฒั นาในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตอนที่ ๒ ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปข องสถานศกึ ษา 24 - การบริหารจดั การศกึ ษา 25 - วสิ ยั ทศั น พนั ธกิจ เปา หมาย อตั ลักษณ และเอกลักษณของสถานศึกษา 26 - แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 26 - กลยุทธก ารพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 27 - การดาํ เนินงานตามกลยุทธของสถานศกึ ษา ตอนที่ 3 โครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปการศกึ ษา 25๖3 ของสถานศึกษา การบรหิ ารวิชาการ - โครงการพัฒนาวชิ าการและความเปน เลศิ ทางวิชาการ 42 - โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั 45 - โครงการพัฒนาแหลงเรียนรภู ายในสถานศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 48 - โครงการทศั นศึกษาแหลง เรียนรู 52 - โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน 55 - โครงการพฒั นางานวจิ ัย ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี 58

สารบัญ (ตอ ) 62 66 การบริหารงานงบประมาณ - โครงการแผนงานงบประมาณ 69 - โครงการระบบควบคมุ ภายใน 73 การบรหิ ารงานบุคคล 76 -โครงการพัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษา 80 84 การบริหารงานท่ัวไป 87 - โครงการสง เสริมความสัมพนั ธช มุ ชนและองคก รภายนอก 91 - โครงการปรบั ปรงุ อาคารและสถานท่ี 97 - โครงการระบบดูแลชวยเหลอื นักเรยี นพเิ ศษ – เรียนรว ม 101 - โครงการอาหารกลางวนั 106 - โครงการสหกรณโรงเรยี น 110 - โครงการสงเสริมสขุ ภาพภายในโรงเรยี น - โครงการวันสําคัญ - โครงการโรงเรยี นสีขาว - โครงการกจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี - โครงการโรงเรยี นสเี ขยี ว

ตอนที่ 1 ขอ มลู พืน้ ฐาน 1. ขอมูลทว่ั ไป ชื่อ โรงเรียน วังแกววิทยา ท่ีต้ัง หมูท่ี 5 ตําบลวังแกว อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง สังกัด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลําปาง เขต 3 Facebook โรงเรียนวังแกววิทยา, โทร 054 – 380624 ,โทรสาร 054 – 380624, e-mail [email protected] เปดสอนในระดบั ชั้น อนุบาล 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 บนเน้ือที่ 8 ไร 378 ตารางวา เขตพื้นที่บริการ 7 หมูบาน ในตาํ บลวังแกว ประวัติและความเปน มาของโรงเรียน โรงเรียนวังแกววิทยา เดิมชื่อ โรงเรียนบานฮาง กอ ต้ังและเปดทาํ การสอนเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2488 โดยมีนายจันทร ประตูวะ เปนครูใหญคนแรก สรางบนที่ดินบริจาค ของนายแกว ชื่องาม ตอมา มีการยายสถานที่ตั้งของโรงเรียนถึง 3 ครั้ง คือ คร้ังแรกเม่ือวันที่ 30 เมษายน 2489 ยายมา ต้ังบนที่ดิน ที่ผูปกครองรวมกันบริจาคเงินจํานวน 280 บาท ซ้ือที่ดินของนายแกว เก้ือเกิน เน้ือที่ 2 ไร 76 ตารางวา ปจจุบันเปนท่ีต้ังของโรงเรียนบานคายวัง คร้ังท่ี 2 เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ.2503 โดยผูใหญบาน กรรมการศึกษา และผูปกครองรวมกันแผวถางพ้ืนที่ได 6 ไร 3 งาน 20 ตารางวา โดยไดรับ งบประมาณสรางอาคารเรียนแบบ ป.1 ข. ขนาด 3 หองเรียน 1 หลัง ปจจุบันเปนสระเก็บนํ้าประจําหมูบาน หมู 4 บานคายวัง ตอมาเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2511 ไดยายจากฝงตะวันตกมาต้ังบนฝงตะวันออก ของแมนํ้าวัง ในเน้ือท่ี 8 ไร 3 งาน 78 ตารางวา ซึ่งเปนพื้นท่ีต้ังของโรงเรียนในปจจุบันโดยมีนายบุญสง ปากหวาน เปน ครใู หญ ตอมาในป พ.ศ.2535 ไดมีคําสั่งใหยุบรวมโรงเรียนบานคายวัง มาเรียนรวมตามนโยบายยุบรวม โรงเรียนขนาดเลก็ ในป พ.ศ. 2540 โรงเรยี นไดรับการอนุมตั ใิ หเปดเปนโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา เปด สอน ถึง ระดับมัธยมตน โดยมีนายสนิท จอมอินตา เปนอาจารยใหญ และเม่ือวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ.2541 ไดร บั อนุมัตใิ หเปล่ยี นชือ่ โรงเรยี นจาก โรงเรียนบา นฮาง เปน โรงเรียนวังแกววิทยา ปก ารศกึ ษา 2543 - 2544 ไดมีคําสัง่ ใหยุบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ มารวมอกี 2 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นบา นปา แหนง และโรงเรียนบา นหว ยปาย ปการศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดเ ขา รวมโครงการโรงเรียนแมเ หลก็ โดยเขารว มกบั โรงเรียนบา นแมหีด ในการ จดั การเรียนการสอน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปการศกึ ษา ๒๕๕๙ ปจจุบนั มีอาคารเรียน 6 หลัง อาคารประกอบ 7 หลงั มีครแู ละบุคลากรทง้ั หมด 21 คน มีนกั เรียน 169 คน โดยมี นายสาคร ทพิ ยเนตร เปน ผูอํานวยการโรงเรยี น บรหิ ารรว ม

2 แผนผงั ที่ตั้งโรงเรียนวังแกววิทยา

3 แผนผังศนู ยเรียนรวมโรงเรียนวังแกววทิ ยา

4 2. ขอ มูลผูบรหิ าร 1) ผอู ํานวยการโรงเรียน ชื่อ-สกลุ นายสาคร ทพิ ยเ นตร โทรศัพท 081-9619317 e-mail - วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโท สาขา การบรหิ ารการศึกษา ดาํ รงตําแหนงที่โรงเรียนแหงนี้ตั้งแต วันที่ 31 ตลุ าคม พ.ศ.2561 จนถึงปจจบุ นั เปน เวลา 7 เดอื น 3. ขอมูลนกั เรยี น (ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2563) 1) จํานวนนกั เรยี นในเขตพนื้ ท่ีบรกิ ารท้งั หมด 192 คน 2) จาํ นวนนกั เรยี นในโรงเรยี นทง้ั ส้ิน 192 คน จาํ แนกตามระดับชั้นท่เี ปด สอน ระดบั ชัน้ เรียน จาํ นวนหอง เพศ รวม เฉลีย่ อ.2 1 ชาย หญิง 19 ตอหอง อ.3 13 รวม 1 11 8 32 1:19 ป.1 85 15 1:13 ป.2 2 19 13 17 ป.3 1 78 26 1:15 ป.4 1 89 12 1:17 ป.5 1 9 17 10 1:26 ป.6 1 57 18 1:12 รวม 1 64 98 1:10 ม.1 1 11 7 11 1:18 ม.2 6 46 52 12 ม.3 1 65 16 1:11 รวม 1 66 39 1:12 รวมท้ังหมด 1 10 6 169 1:16 3 22 17 11 87 81 3) จํานวนนกั เรยี นท่ีมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑของกรมพลศึกษาหรือสํานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรางเสรมิ สุขภาพ (สสส.) 147 คน คดิ เปนรอ ยละ 86.98

5 4) จํานวนนกั เรยี นทมี่ ีนํา้ หนัก สวนสูง ตามเกณฑของกรมอนามยั 135 คน คิดเปน รอ ยละ 79.88 5) จํานวนนักเรยี นทม่ี ีความบกพรองเรียนรว ม 31 คน คิดเปน รอ ยละ 18.34 6) จาํ นวนนกั เรยี นมภี าวะทุพโภชนาการ 34 คน คดิ เปน รอยละ 20.11 7) จํานวนนักเรยี นปญ ญาเลิศ 0 คน คดิ เปน รอยละ 0.00 8) จาํ นวนนักเรยี นตองการความชว ยเหลอื เปนพิเศษ 2 คน คดิ เปนรอ ยละ 1.18 9) จาํ นวนนกั เรยี นทอ่ี อกกลางคัน 0 คน คิดเปน รอยละ 0.00 10) สถติ กิ ารขาดเรียน - คน คิดเปนรอยละ 0.00 11) จาํ นวนนกั เรียนทเี่ รียนซํ้าช้นั 0 คน คดิ เปน รอยละ 0.00 12) จํานวนนักเรียนทจี่ บหลกั สูตร อ.3 จํานวน 19 คน คดิ เปน รอยละ 100 ป.6 จํานวน 15 คน คดิ เปน รอยละ 100 ม.3 จาํ นวน 22 คน คดิ เปน รอยละ 100 13) อัตราสว นครู : นักเรยี น = 1 : 12 (แยกตามระดบั ) 14) จํานวนนกั เรียนท่ีเขารวมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป วรรณคดี และนันทนาการ 169 คน คิดเปนรอ ยละ 100 15) จํานวนนกั เรียนที่มคี ุณลักษณะเปน ลกู ท่ีดีของพอ แมผปู กครอง 169 คน คิดเปนรอยละ 100 16) จํานวนนกั เรียนทม่ี ีคณุ ลักษณะเปนนักเรยี นทีด่ ขี องโรงเรยี น 169 คน คิดเปนรอยละ 100 17) จํานวนนักเรียนทท่ี าํ กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชนต อ สังคมทั้งในและนอกสถานศึกษา 169 คน คดิ เปน รอยละ 100 18) จาํ นวนนกั เรียนท่มี บี นั ทึกการเรียนรูจ ากการอานและการสืบคน จากเทคโนโลยสี ารสนเทศ อยางสมํ่าเสมอ 169 คน คดิ เปนรอยละ 100 19) จํานวนนักเรียนทีผ่ านการประเมินความสามารถดา นการคดิ ตามทก่ี ําหนดในหลักสตู ร สถานศึกษา 169 คน คิดเปน รอยละ 100 20) จาํ นวนนักเรียนท่ีผา นเกณฑการประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเขากบั สงั คมตามท่ี กําหนดในหลักสูตรสถานศกึ ษา 169 คน คดิ เปนรอยละ 100 4. ขอ มูลครูและบุคลากร ครูประจาํ การ ท่ี ชือ่ – ช่ือสกลุ อายุ อายุ ตาํ แหนง / วุฒิ วิชา เอก สอนวชิ า/ช้ัน ราชการ วทิ ยฐานะ 1 นายสาคร ทพิ ยเ นตร กศ.ม. การบรหิ าร - 58 39 ผอ./ การศึกษา 2 นางอารยี  วรรณเสถียร คบ. ภาษาอังกฤษ องั กฤษ 3 นายเอกจิต แดนปน คศ.3 คบ. ฟส กิ ส วิทยฯ ม.1-3 4 นางวิไลวรรณ ทองใบ กศ.ม. การบริหาร 49 22 ครู/คศ.3 การศึกษา คณติ ฯ 39 14 ครู/คศ.๓ 44 11 ครู/คศ.๒

6 5 นางพารณิ ี แกวนาํ ๔8 22 ครู/คศ.๓ คบ. การประถมศกึ ษา ป.๒ 6 นางพิมพผ กา สันจันตา 32 9 คร/ู คศ.1 คบ. ศลิ ปะ ป.4 7 นายพิศุทธ์ิ ขัติศรี 40 8 ครู/คศ.1 คบ. อุตสาหกรรมศลิ ป การงานอาชพี ฯ 8 นายสทุ ธิพันธ สภุ านนั ท ๒7 3 ครู ศษ.บ. การประถมศกึ ษา ป.4 9 นาวสาวสพุ ทิ ยา สิงหค าํ ๒8 3 ครู ศษ.บ. การศกึ ษาปฐมวยั อบ.3 10 นางสาวอรญา ใจเสมอ 32 3 ครู ศศ.บ. ดนตรี(สากล) ดนตร/ี นาศศลิ ป 11 นางสาวก่งิ กาญจน นนทมาลย 37 2 ครู คบ. ชีววทิ ยา วิทยฯ ป.1-6 12 นางศราวุธ เสโลห 29 2 ครู คบ. พลศกึ ษา พลศกึ ษา 13 นายยอดสกั สดใส ๕8 ๓4 ชา งปูน4 - - - 14 นางสาวจิราพร ธรรมลงั กา 28 1 ครผู ูช ว ย คบ. ภาษาไทย ป.6-ม.3 15 นางสาวสกุลตรา ปน สภุ ะ 25 1 ครูผูชวย คบ. คณติ ศาสตร ป.1-6 16 นางสาวสาวิตรี วงศอ า ยตาล 25 1 ครูผชู ว ย คบ. การศึกษาปฐมวัย อบ.2 17 นางสาวจรรยารักษ ผองใส 37 7 ครู กศ.ม. การบรหิ าร วทิ ยาการ การศกึ ษา คาํ นวณ ครูอัตราจาง อายุ ประสบการณ วุฒิ วิชา เอก สอนวชิ า/ จา งดวยเงิน การสอน(ป) ม.6 สามญั ชั้น ที่ ชอ่ื – ช่ือสกุล 1 นายขวัญชัย พี่งบาน 44 8 การจัดการ วทิ ยากร เงนิ นอก แนะแนว 2 นางลลิตา วรรณเสถยี ร งานชา ง งบประมาณ 3 นางหทัยทิพย สบื ศกั ด์ศิ รีโรจน ผูชวยเหลอื 33 9 บช.บ. ผูป ว ย ครธู ุรการ อตั ราจางเขต 4 นางสาวลลติ า กันธยิ าใจ 61 32 กศ.ม. แนะแนว ครผู ทู รงคุณคา (สพป.ลป.3) 23 0 ปวช. เจาหนาท่ี เงนิ นอก หองสมุด งบประมาณ 5. ขอมูลอาคารสถานท่ี อาคารเรียน จํานวน 6 หลัง อาคารประกอบจํานวน 7 หลัง สวม 2 หลัง สระวายนํ้า 0 สระ สนามเด็กเลน จํานวน 1 สนาม สนามฟุตบอล จํานวน 1 สนาม สนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม สนามเทนนิส 0 สนาม สนามกีฬาอเนกประสงค(สนามวอลเลยบอล 1 สนาม สนามตะกรอ 1 สนาม) และ สนามเปตอง จํานวน 1 สนาม

7 6. ขอ มูลงบประมาณ งบประมาณ (รบั -จาย) รายรับ จํานวน/บาท รายจา ย จํานวน/บาท เงนิ งบประมาณ 616,543 งบดําเนินการ/เงินเดอื น-คาจาง 690,295 เงินนอกงบประมาณ 296,000 งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา 222,250 รวมรายรบั 912,545 รวมรายจา ย 912,545 งบดําเนนิ การ/เงินเดอื น-คาจาง คดิ เปนรอยละ........75.64............ของรายรบั งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา คิดเปน รอ ยละ........24.36..................ของรายรบั 7. ขอ มลู สภาพชุมชนโดยรวม 1) สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนมลี ักษณะเปนที่ราบในหุบเขา (ต้ังอยูในเทอื กเขาผีปนน้ํา) มีประชากรประมาณ 3,531 คน บริเวณใกลเคียงโดยรอบโรงเรยี น ไดแก ทิศเหนอื ติดกับจังหวดั พะเยา ทิศใต ติดกับตําบลทุงฮั้ว ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดเชียงราย อาชีพหลักของชุมชน คือ การเกษตร สวนใหญนับถือ ศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนท่ีรูจักโดยท่ัวไป คือ งานลอยกระทง งานสงกรานต งานสลากภัตร 2) ผูปกครองสวนใหญ จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ การเกษตร สวนใหญ นับถือศาสนา พุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโดยเฉลีย่ ตอครอบครัว ตอป 10,000 บาท จํานวนคนเฉลี่ยตอ ครอบครวั 3 คน 3) โอกาสและขอจาํ กัดของโรงเรียน โรงเรียนวังแกววิทยา อยูหางจากสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาลําปางเขต 3 ประมาณ 74 กโิ ลเมตร มาตามถนนสาย ลําปาง - วงั เหนือ มเี ขตบริการ 7 หมูบาน ประชากรในเขตบรกิ ารสวนใหญ มีฐานะ ยากจน มปี ญหาครอบครัว และโรคเอดส จากการท่ีผูปกครองไปทํางานตา งเมือง และตา งประเทศเปน จํานวน มาก อาชีพในชุมชนสวนใหญ รับจาง ทําไร ทํานา อาณาเขตของโรงเรียนทศิ เหนือตดิ ปาเชิงเขา ทิศตะวันออก ติด สถานีอนามัยบานฮาง ทิศใตติด ถนนภายในหมูบาน ทิศตะวันตกติด ถนนภายในหมูบาน สภาพเปนท่ี ลาดเชิงเขา จึงมีปญหาน้ําฝนไหลทะลักเขาอาคารเรียน ดินเสื่อมสภาพไมเหมาะแกการเพาะปลูก ทําใหมี ปญหา เร่ืองการเรียนการสอนวิชาเกษตร และการจัดสภาพแวดลอม โอกาสของโรงเรียนมีแหลงเรียนรูท่ี หลากหลาย เชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบลวงั แกว วดั บานฮาง ท่ที ําการผใู หญบ าน รานคา แหลง ผลิตสินคา โอทอ็ ป อุทยานแหงชาติดอยหลวง (น้าํ ตกวงั แกว, น้ําตกวังทอง ) ที่ทําการ อบต.วังแกว และชุมชน ใหการสนับ สนุนกิจกรรมของโรงเรียนเปนอยางดี โดยเฉพาะองคการบริหารสวนตําบลวังแกว ท่ีสนับสนุน งบประมาณ ในการจัดกจิ กรรมตางๆ ชุมชนจดั ซื้อรถบัสขนาดเลก็ รถยนตตู สาํ หรบั รบั สงนักเรียน 8. โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรยี นวังแกววิทยา ใชห ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

8 ตารางแสดงโครงสรา งเวลาเรยี น ของหลักสูตรโรงเรยี นวังแกววิทยา ปการศึกษา 2563 เวลาเรยี น กลมุ สาระการเรียนรู / กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 80 80 80 120 120 120 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) วัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ประวตั ศิ าสตร ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 40 40 40 80 80 80 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) หนา ท่พี ลเมือง วัฒนธรรมและการดาํ เนินชีวติ เศรษฐศาสตร ภมู ิศาสตร สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 80 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาตา งประเทศ 160 160 160 80 80 80 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) 840 840 840 840 840 840 880 880 880 (22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 40 40 40 ลูกเสอื -เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 40 40 40 กิจกรรมชุมนุม 30 30 30 30 30 30 24 24 24 กิจกรรมเพื่อสงั คมและ 10 10 10 10 10 10 16 16 16 สาธารณประโยชน รายวชิ า/กิจกรรมท่สี ถานศึกษา 40 40 ปล ะไมเกนิ 200 ชัว่ โมง (5 นก.) จดั เพม่ิ เตมิ ตามความพรอม และจุดเนน รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,000 ชั่วโมง/ป 1,000 ชวั่ โมง / ป 1,200 ชวั่ โมง/ป

9 9. แหลงเรียนรู ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน 1) หอ งสมุดมขี นาด 200 ตารางเมตร จํานวนหนงั สอื ในหอ งสมดุ 5,000 เลม - การสืบคนหนงั สอื และ การยืม - คนื ใชระบบ LIBERRY 2000 - จาํ นวนนกั เรียนทใี่ ชหอ งสมุดในปการศึกษาท่รี ายงาน เฉล่ีย 200 คน ตอ วนั คิดเปน รอยละ 80 ของนักเรยี นทงั้ หมด 2) หอ งปฏบิ ตั กิ าร - หอ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร จํานวน 2 หอ ง - หองปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร จํานวน 1 หอ ง - หอ งปฏบิ ัติการทางภาษาอังกฤษ จํานวน 1 หอ ง - หอ งปฏิบตั ิการทางภาษาไทย จาํ นวน 1 หอง - หอ งคหกรรม จาํ นวน 1 หอง - หองดนตรี จํานวน 1 หอง - หอ งศิลปะ จาํ นวน 1 หอ ง - หองพลศึกษา จํานวน 1 หอง - หอ งจรยิ ธรรม จาํ นวน 1 หอง - หอ งคณิตศาสตร จํานวน 1 หอง - หองเดก็ พเิ ศษเรยี นรว ม จํานวน 1 หอง - โรงฝก งาน จํานวน 2 หอง - หอ งสมุด ICT จาํ นวน 1 หอ ง 3) คอมพวิ เตอร จํานวน 45 เคร่อื ง - ใชเพอ่ื การเรยี นการสอน 49 เคร่อื ง - ใชเพ่ือสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต 15 เครื่อง (จํานวนนักเรียนที่สืบคนขอมูลทาง อนิ เทอรเ นต็ ในปการศึกษาทรี่ ายงาน เฉล่ยี 50 คน ตอวัน คิดเปน รอ ยละ 26.46 ของนักเรียนทง้ั หมด) - ใชเพ่ือการบริหารจัดการ 9 เครอ่ื ง 4) แหลงเรยี นรภู ายในโรงเรยี น สถติ ิการใชจ าํ นวนครง้ั /ป 100 แหลงเรยี นรภู ายใน 100 100 ชือ่ แหลงเรยี นรู 100 100 1.โรงฝกงาน/ชา งยนต/ชา งเชือ่ ม/ชา งทําสีรถยนต/ คารแ คร 100 2.หองเรียนคหกรรม/ทําขนม(กศ.เพ่ือการมงี านทํา) 200 3.หองจรยิ ศึกษา 5.หองตดั เยบ็ เสือ้ ผา 5.โรงงานทาํ ไบโอดเี ซล 6.บอ เลย้ี งปลา/ถังเลี้ยงปลา 7.หองคอมพวิ เตอร

8.อาคารหอสมุด 10 9.แปลงปลูกพืชเศรษฐกจิ 10.สวนพนั ธไมใ นโรงเรยี น/เรือนเพาะชํา 200 11.หองศนู ยดนตรปี ระจาํ ตําบล 100 12.หอ งศูนยกฬี าประจาํ ตําบล 100 13.บอ ปยุ หมัก 100 14.รานคาสหกรณ/ สหกรณออมทรัพย 100 15.เลา ไกไข 100 16.หอ งสมุด ICT 100 17.โรงสีขาว 200 17.สวนผลไม 200 100 100 5) แหลงเรยี นรภู ายนอกโรงเรียน แหลงเรียนรภู ายนอก สถิติการใชจาํ นวนครง้ั /ป ช่ือแหลง เรียนรู 15 3 1.วัดบานฮา ง / วัดคายวงั / วัดปาแหนง 15 2.พระธาตทุ องทพิ ย 15 3.นา้ํ ตกวังแกว / น้าํ ตกวงั ทอง 10 10 5.โรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร(ผกั กาดดอง) 3 5. องคก ารบริหารสวนตําบล 3 6. โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบลวังแกว 7. ถา้ํ นางพญา 8.โรงเรียนผูสงู อายุ 6) ปราชญชาวบา น/ภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่น ผูทรงคุณวุฒิ ทส่ี ถานศึกษาเชิญมาใหค วามรูแกครู นักเรียน ในปก ารศกึ ษาท่รี ายงาน 6.1) ช่อื -สกุล นายสรอ ย ยามดเี ลิศ ใหค วามรูเ ร่ือง สาขาอุตสาหกรรมและหตั ถกรรม (การ ทําไมกวาดดอกหญา ) สถติ ิการใหค วามรใู นโรงเรยี นแหง นี้ จํานวน 1 ครั้ง/ป 6.2) ชอื่ -สกลุ นาคํา ตาเหือ ใหค วามรูเ รอื่ ง สาขาอุตสาหกรรมและหตั ถกรรม (การทาํ ไม กวาดดอกหญา ) สถติ ิการใหค วามรูในโรงเรียนแหงน้ี จาํ นวน 1 ครั้ง/ป 6.3) ชอ่ื -สกลุ นางพัฒนา กันทะวงค ใหความรเู รอื่ ง สาขาเกษตรกรรม (การเพาะเห็ด) สถติ กิ ารใหความรใู นโรงเรียนแหงน้ี จํานวน 1 ครัง้ /ป 6.4) ช่อื -สกลุ นางจันทรเพ็ญ สภุ า ใหค วามรูเรื่อง สาขาอุตสาหกรรมและหตั ถกรรม (ทอผา ) สถิตกิ ารใหความรใู นโรงเรยี นแหง นี้ จํานวน 1 คร้งั /ป

11 6.5) ช่อื -สกุล นางจีรพรรณ เสยี งกึก ใหค วามรเู ร่อื ง สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม (ทอ ผา ) สถติ กิ ารใหความรูในโรงเรยี นแหงน้ี จาํ นวน 1 ครง้ั /ป 7. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ีผา นมา 7.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ระดับคุณภาพ พอใช ดี เพ่อื การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ปรับปรุง ดมี าก ดานคุณภาพผูเ รยี น ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1 ผเู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และ คา นยิ มที่พงึ ประสงค มาตรฐานที่ 2 ผูเรยี นมีสุขนสิ ัย สขุ ภาพกายและ สุขภาพจิต ทด่ี ี มาตรฐานที่ 3 ผูเรียนมคี วามสนใจกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว มาตรฐานที่ 4 ผเู รียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดแกปญหาและคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค มาตรฐานท่ี 5 ผูเรียนมคี วามรูทักษะพื้นฐานตาม พัฒนาการทกุ ดา น มาตรฐานท่ี 6 ผูเรียนสนใจใฝรู รกั การอา นและ พฒั นาตนเอง มาตรฐานที่ 7 ผเู รยี นเลน /ทาํ กิจกรรมรวมกับผอู ่ืนได และ ช่นื ชมในผลงานของตนเอง ดา นครู ระดับการศกึ ษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 8 ครูมีคณุ วุฒ/ิ ความรคู วามสามารถตรง กับงาน ที่รับผดิ ชอบและครูมเี พยี งพอ มาตรฐานที่ 9 ครูมคี วามสามารถในการจัดการเรยี น การสอนอยา งมีประสทิ ธภิ าพและเนนผูเรยี นเปน สําคญั ดา นผูบรหิ าร ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 10 ผูบริหารมภี าวะผนู ําและมี ความสามารถในการบรหิ ารจัดการ มาตรฐานท่ี 11 สถานศึกษามีการจดั องคกร โครงสราง และบริหารงานอยางเปนระบบครบวงจร ใหบ รรลเุ ปาหมายการศึกษา มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกจิ กรรม และ การเรยี นการสอนโดยเนน ผูเ รยี นเปนสาํ คัญ มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามหี ลักสตู ร ทเ่ี หมาะสม

12 มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย ปรับปรุง ระดับคุณภาพ ดีมาก เพ่อื การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก พอใช ดี ดมี าก กับผเู รยี นและทองถนิ่ มีสื่อการเรยี นการสอนที่เอื้อตอ การเรยี นรู มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาสงเสรมิ ความสัมพันธ และความรวมมือกบั ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา 7.2 ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ระดบั คุณภาพ พอใช ดี เพือ่ การประเมนิ คุณภาพภายนอก ปรบั ปรงุ ดา นผเู รยี น มาตรฐานท่ี 1 ผเู รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ คานยิ มท่ีพงึ ประสงค มาตรฐานท่ี 2 ผูเรียนมีสุขนิสยั สุขภาพกายและ สขุ ภาพจติ ทด่ี ี มาตรฐานท่ี 3 ผเู รยี นมีสนุ ทรียภาพ และลักษณะนสิ ัย ดานศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า มาตรฐานที่ 4 ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคิด วิเคราะห คิดสงั เคราะห มีวิจารณญาณ มีความคดิ สรางสรรค คิดไตรต รองและมีวิสัยทศั น มาตรฐานท่ี 5 ผูเรยี นมคี วามรูทกั ษะที่จําเปน ตาม หลักสตู ร มาตรฐานที่ 6 ผเู รียนมีทักษะในการแสวงหาความรู ดวยตนเอง รักการเรยี นรแู ละพัฒนาตนเองอยาง ตอเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 7 ผเู รียนมีทักษะในการทาํ งานรักการ ทาํ งาน สามรถทํางานรวมกบั ผูอน่ื ไดแ ละมีเจตคติทดี่ ี ตอ อาชีพสุจรติ ดานครู มาตรฐานที่ 8 ครูมีคุณวฒุ ิ/ความรูความสามารถตรง กบั งาน ที่รบั ผิดชอบและครูมเี พียงพอ มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจดั การเรียน การสอนอยา งมีประสทิ ธภิ าพและเนน ผูเรยี นเปน สําคญั ดา นผบู รหิ าร มาตรฐานที่ 10 ผบู ริหารมภี าวะผูนําและมี ความสามารถ ในการบริหารจัดการ

13 มาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปรับปรงุ ระดับคุณภาพ ดีมาก เพื่อการประเมนิ คุณภาพภายนอก พอใช ดี มาตรฐานท่ี 11 สถานศึกษามกี ารจัดองคกร โครงสรางและการบรหิ ารงานอยา งเปนระบบครบ วงจรใหบ รรลุเปาหมายการศึกษา มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามกี ารจดั กิจกรรมและ การเรยี นการสอนโดยเนนผเู รียนเปน สาํ คัญ มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามหี ลกั สูตร ทเี่ หมาะสม กบั ผเู รยี นและทองถิ่นมีส่อื การเรียนการสอนทีเ่ อ้ือตอ การเรยี นรู มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาสงเสริมความสมั พันธ และความรวมมือกบั ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา 8. ขอ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และขอเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของ สถานศึกษาโดยสถานศึกษา จดุ เดน ผูเรียนเปนคนดีและมีความสุข มีสุขภาวะที่ดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึง ประสงค มที ักษะในการทาํ งาน รกั การทาํ งาน สามารถทาํ งานรวมกบั ผูอ่นื ได และมีเจตคตทิ ีด่ ีตออาชพี สจุ รติ ซง่ึ เปนผลจากการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ บนพื้นฐานความเขาใจและเขาถึง บรบิ ทของผูเรยี น จึงสามารถพฒั นาผเู รียนไปในทิศทางทีเ่ หมาะสม จุดท่คี วรพฒั นา ควรพัฒนาทักษะการแสวงหาความรูดวยตนเองใหผเู รียนรกั การเรยี นรู และสามารถพฒั นาตนเองได อยางตอเน่อื ง ซึ่งจะทําใหผูเ รียนมีความรแู ละทกั ษะทจี่ ําเปนตามหลักสตู ร ขอ เสนอแนะ 1. ควรพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะการแสวงหาความรูดวยตนเอง โดยสอดแทรกในการเรยี นการสอนทุก กลุมสาระการเรียนรู ทั้งท่ีเปน การเรียนรูผานส่ืออิเลคทรอนิกสท่ีทันสมัย ตลอดจนการสืบคนความรูจากบคุ คล หรอื องคก ร / หนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง อาจจะมกี ารชี้นําใหผเู รยี นเกดิ ประเดน็ คําถามในสงิ่ ทใ่ี กลต ัวและครูชี้แนะใน การแสวงหาความรูในเร่ืองที่ผูเรียนสนใจ รวมท้ังความพฒั นาสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกหองเรียน ใหเ อ้อื ตอ การเรยี นรู ใหมีครูที่พูดไมไดมากข้ึน 2. ควรพัฒนาระบบสาระสนเทศ โดยสรางความตระหนักใหบุคลากรแตล ะคนในการจัดทาํ สารสนเทศ ในสวนงานที่รับผิดชอบทุกภาคเรียน เชน สารสนเทศผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาท่ีสอนสถิติผลงาน นักเรียน 3. ควรตอยอดลักษณะเดนของผูเรียนในดานทักษะการทํางาน ใหผูเรียนมีความตระหนักและจุด ประกายความคิดในการพัฒนางานอาชีพทองถ่ินใหสามารถแขง ขันในตลาดทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ ได เพ่ือความยัง่ ยืนของอาชพี ทองถิน่ ซง่ึ อาจจะศึกษาและ / หรือเขารวมกิจกรรมเกี่ยวกบั การอาชีพในทอ งถ่ิน

14 จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และขอเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของ สถานศกึ ษาโดยหนวยงานตน สังกัด จุดเดน - มีการจดั การอยา งเปนระบบตามหลกั การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา - มีรองรอยและหลกั ฐานการดําเนินงานที่ชัดเจน - มกี ารนําเสนอผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ี และมาตรฐานการศกึ ษา จุดท่คี วรพฒั นา การจัดกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเพื่อนาํ ผลมาปรบั ปรุงและพัฒนางานใหดขี ้ึน ขอเสนอแนะ - การสรา งความตระหนักใหแ กบ ุคลากรอยา งสมาํ่ เสมอ - การนิเทศตดิ ตามงานควรดําเนนิ การอยา งตอ เนื่องและพฒั นาใหยงั่ ยืน - การนําบุคลากรเขารวมการอบรม/การศกึ ษาดูงานอยา งตอเนื่อง เพื่อนาํ มาปรับปรุงและพฒั นาการ เรียนการสอน จุดเดน จุดทค่ี วรพัฒนา และขอเสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง/รอบสาม ผลการประเมินดานผบู ริหาร จดุ เดน ผบู ริหารสถานศึกษา มีการจดั องคกร โครงสรางการบริหารอยางเปน ระบบ มีผรู ักษาราชการ แทน ผูบริหารสถานศึกษามวี ิสยั ทศั น มคี วามสามารถในการบรหิ ารมีความเปนประชาธิปไตย ตลอดจน สถานศึกษา มกี ารจัดกิจกรรมทส่ี งเสรมิ ความสัมพันธใ นการทาํ งานรว มกบั ผูอน่ื มคี วามรวมมอื กบั ชุมชน และ หนว ยงาน ตา ง ๆ ในการพฒั นาการศึกษา จดุ ท่คี วรพัฒนา สถานศึกษาควรสงเสรมิ และสนับสนุนใหครไู ดจ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ นน ผูเรยี น เปนสําคัญใหมากยิง่ ข้ึน โดยเนนการจัดกจิ กรรมท่ีฝกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห สังเคราะหใหกบั ผูเรียน ควรมกี ารประเมินผล เพอ่ื พฒั นาการเรยี นของผเู รยี นดว ยวิธีการที่หลากหลาย โดยครอบคลมุ ทั้ง 3 ดา น คือ ดานพทุ ธิพสิ ัย ดานจิตพสิ ยั และดา นทกั ษะพสิ ัย ใหเปน ไปอยางตอเนื่องควรมกี ารพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา ใหตรงกับความตอ งการของผูเรียน และทอ งถิน่ โดยมีเน้ือหาสาระทีค่ รอบคลุมสมบรู ณ เปน ไปตามหลักการของ การจดั ทําหลักสตู รสถานศกึ ษา ตลอดจนสถานศึกษาควรมีส่ือการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสม และเอ้ือตอการเรยี นรู อาทิ สอ่ื ภมู ิปญญาทองถ่ิน ส่ือเทคโนโลยี ส่อื สารสนเทศ และสอ่ื ธรรมชาติ เปน ตน ปจ จยั ที่ทาํ ใหเกิดจดุ เดน /จดุ ทีค่ วรพัฒนา

15 สถานศึกษายังขาดผูบริหาร แตดวยลักษณะเดนของผูรักษาราชการแทนผูบริหาร และฝาย บริหาร ดานความรูความสามารถ ตลอดจนความมีภาวะผูนาํ จึงเปนปจจัยสําคัญที่ทาํ ใหเกดิ การมีสวนรวมของ ทกุ ฝาย คอื ครู ผูเรียน ผูป กครอง ชมุ ชน และคณะกรรมการสถานศึกษา ในการพฒั นาการศกึ ษา การพฒั นาครู ใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการประสานความ รวมมือ ระหวาง ชุมชน และผูปกครองกับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผูเรียน อยางไรก็ตาม การที่สถานศึกษายังมี ขอจํากัด เกี่ยวกับ การวางระบบการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผล ตลอดจนการวางระบบตรวจสอบ สาเหตุหนึ่งนาจะมาจากกระบวนการพัฒนาของหนวยงานท่ีเก่ียวของที่ผานมายังมิไดมีการเนนทักษะ การบรหิ ารดา นนม้ี าก ขอ เสนอแนะ สถานศกึ ษาควรพฒั นาครูใหม ีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารงานแบบครบวงจรซงึ่ จะสง ผล ใหการดาํ เนินงานดา นตา งๆ ในสถานศึกษาเปน ไปอยา งตอ เนอ่ื ง และเปนระบบ ควรแตง ตัง้ คณะกรรมการ ท่ีมาจากบุคลากรภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพอื่ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของสถานศึกษาใหเปนไปตาม แผนงาน โครงการท่สี งเสรมิ ความสมั พันธและสรางความรวมมอื กบั ชุมชนใหย ่ังยืน รวมถงึ การจัดทาํ เอกสาร ประชาสมั พนั ธก จิ กรรมของสถานศึกษาใหรับทราบอยา งตอ เนือ่ ง และสนับสนนุ ใหผเู รยี นเขามามีสว นรว มใน การพัฒนาสถานศกึ ษาโดยผา นทางคณะกรรมการนักเรียนอันเปนการพัฒนาทักษะและความสามารถของ ผเู รียน ใหก ลา คิด กลาแสดงออก มีความเปน ผูน ํา และสง เสรมิ การทํางานเปน ทีมใหมากขึน้ สาํ หรบั การจัดทํา หลักสูตร ของสถานศกึ ษานัน้ ผบู ริหารควรเปดโอกาสใหผ ูทม่ี สี ว นเก่ยี วของ จากหลากหลายสาขาอาชีพ ใหเ ขา มา มสี ว นรวมมากข้ึน โดยพิจารณาจากอาชพี ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ หรือบรบิ ทของ ทองถิน่ เปนสาํ คญั ผลการประเมนิ ดานครู จดุ เดน สถานศึกษา มีบคุ ลากรทจ่ี บระดบั ปรญิ ญาตรี ขึ้นไปครบทุกคน มีครูทีส่ าํ เร็จการศกึ ษาสาขาวิชา การ ศึกษาปฐมวัย และ/หรอื สาขาท่ีเก่ียวขอ ง ครูสามารถสอนไดตรงตามความถนดั และครูไดรับการพัฒนา เชน การอบรม/สัมมนา มีคุณภาพระดับดี จงึ ทาํ ใหครูเขาใจในสาระวิชาไดง า ย สามารถจัดกิจกรรมการเรยี น การสอน ทเ่ี นน ผูเรยี นเปนสําคัญ มีการสอดแทรก คณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีการปลูกฝง ในเรอื่ งระเบยี บวนิ ยั ใหกบั ผเู รยี น ตลอดจน ครมู ีการพัฒนาตนเองอยเู สมอ มีความรับผิดชอบตอ งานในหนา ที่ ตลอดทั้งความมนี ้าํ ใจ และ การเสียสละในการปฏบิ ตั งิ านเปน อยา งดี จุดท่คี วรพัฒนา ในการบริหารงานภายในสถานศึกษา เพ่ือใหไดผลสมบูรณเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด ถงึ แมวา ครูจะเขาใจสาระวิชา สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรมไดดี แตจากผลการประเมินพบวา ครูยังมีวิธีการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน ยังไม

16 หลากหลาย เทาท่ีควรจึงควรพัฒนาความสามารถของครู ในการประเมินผลการเรียนการสอนใหเปนไปตาม สภาพจรงิ โดยอิงพัฒนาการของผูเรยี น เพ่ือวินิจฉัย จุดเดน จุดดอ ย เพ่ือปรับปรงุ การเรียนการสอน เพอื่ ตดั สิน ผลการเรียน แลวนําผลการประเมินที่ไดมาปรับเปล่ียนการเรยี นการสอนใหพัฒนาอยางตอเน่ือง ครูควรนําเอา ความรู ความสามารถท่ีครูมีอยู นําไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน และประยุกตใชกับงานที่ รับผิดชอบตามที่ สถานศึกษามอบหมายใหทํา โดยพัฒนาใหทันกับความเปล่ียนแปลง และสอดคลองกับ แนวทางของการปฏริ ปู การศึกษา ปจจยั ท่ีทาํ ใหเ กิดจุดเดน/จดุ ท่คี วรพัฒนา สถานศึกษา มีบุคลากรครู ท่ีจบระดับปริญญาตรีข้ึนไปครบทุกคน ครูสามารถสอนไดตรงตาม ความ ถนัด มีภาระงานสอนตามเกณฑ / มีครูเพียงพอตามเกณฑ และครูไดรับการพัฒนา เชน การอบรม สัมมนา มีคุณภาพระดับดี อาจเปนปจจัยที่ทําให ครู รูเปาหมายของการจัดการศึกษา และเปาหมายของ หลักสูตรตลอดจน ครูมีความตระหนักมองเห็นถึงความสําคญั ในวิชาชีพครูที่เปนวิชาชีพชั้นสูง จึงมีผลทําใหครู ตองพัฒนาตนเอง อยูอยางสมํ่าเสมอ อยางไรก็ตาม สถานศึกษา มีครูบางสวนยังขาดความรู ความเขาใจใน การวัดผลประเมินผล ที่เปนไปตามสภาพจริง และใชการวัดผลประเมินผลท่ีใหความสําคัญเฉพาะทาง ดาน พทุ ธพสิ ัยสวน ทางดา น จิตพสิ ยั และทกั ษะพิสัย ยังไมใหค วามสาํ คัญเทาที่ควร ขอ เสนอแนะ สถานศึกษา ควรใชหลักจิตวิทยา ในการสรางแรงจูงใจพรอมท้ังใหกําลังใจกับครูทุกคน ใหเปนไป อยางตอเน่ืองในการปฏิบัติหนาท่ีการงาน ตลอดจนมีการสงเสริมใหครูเห็นความสําคัญในการ ปฏิบัติงานท่ีเปน ระบบ และยึดหลักการมีสวนรวมเปนสําคัญ โดยมีการสรุปหรือบันทึกรองรอยหลักฐานใน การปฏิบัติงานทุกครั้ง ตลอดจนสถานศึกษาควรสงเสริม และพัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการจัด การเรียนการสอน โดยเฉพาะการวัดผลประเมินผลที่เปนไปตามสภาพจริง ในวิชาตนเองรับผิดชอบใหเปนไป อยางตอเน่อื ง ผลการประเมนิ ดานผเู รยี น ระดบั กอ นประถมศกึ ษา จุดเดน ผเู รียนมีวนิ ัย มีความรับผดิ ชอบตอตนเอง และสว นรวม สามารถปฏิบัตติ ามขอตกลง ท่ีได กาํ หนด ไวรวมกนั มีความรสู กึ ท่ีดีตอ ตนเองและผูอ่นื มคี วามประหยดั รจู ักใชท รัพยากรอยางคุม คา และรักษา ทรัพยากร ท่ีมีอยไู ดเปนอยา งดี มีทักษะในการใชก ลา มเน้ือใหญ – เลก็ และใชป ระสาทสัมผสั ทัง้ 5 มีความ กระตือรอื รน ในการทํางาน สามารถทาํ งานสาํ เรจ็ ได และมคี วามภาคภูมิใจในงานของตน มีสขุ ภาพกาย และ สุขภาพจติ ทีด่ ี มีสนุ ทรยี ภาพ และลกั ษณะนิสยั ดานศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา รวมถึงมีลกั ษณะในการส่อื สาร การสังเกต สาํ รวจ สามารถทํางานกับผอู ืน่ ได และมสี ุขนสิ ยั ท่ีดี

17 จุดทค่ี วรพัฒนา ผเู รียน ควรไดรับการพัฒนาในเร่ือง การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดรับ การฝกทักษะกระบวนการ คดิ วิเคราะห คิดสงั เคราะห คดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค ควรสง เสริมใหผูเ รยี นเปน ผรู กั การคนควาหาความรู และมีทักษะแสวงหาความรู การมีความคิดรวบยอด การแกปญหา การมีจินตนาการ รกั การเรียนรู รวมถึงทกั ษะในเร่ืองมติ ิสัมพันธ และการกะประมาณ ท่คี วรไดรับการพัฒนาเปน พิเศษอกี ดว ย ปจ จยั ท่ีทาํ ใหเ กดิ จดุ เดน/จุดท่คี วรพฒั นา การทีผ่ ูเรียน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค นาจะมาจากการทส่ี ถานศึกษามีการกําหนดเปาหมาย ท่ี ชดั เจนในดานการสงเสรมิ ใหผูเรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คานิยมทพ่ี งึ ประสงค มคี วามรู และทักษะท่จี าํ เปน ตามหลกั สูตร มที ักษะในการทํางาน รักการทํางาน ทาํ งานรวมกับผอู ่ืนได มีสุขนิสัย สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตที่ดี และมีการสง เสรมิ ผเู รียนในการทํากิจกรรมดา นศิลปะ ดนตรี กีฬา รวมถงึ การไดรบั ความเอาใจใสด แู ลจากครู อยา งทั่วถึง ท้ังดา นการทํากจิ กรรม การปฏิบัตติ ามขอตกลง ตลอดจนการปฏิบัตติ ามภารกจิ ตาง ๆ ของทาง สถานศึกษา โดยอาศัยหลักจิตวทิ ยา และความอดทนในการกระตนุ ทํากิจกรรมรวมกัน อยางไรกต็ าม ผูเ รียน สวนหนึง่ มขี อจํากดั ดานทักษะมติ สิ ัมพนั ธ สาเหตหุ นงึ่ อาจเปนเพราะครยู ังไมไดฝก ฝนพัฒนาทกั ษะดานน้ี แก ผูเรียนอยางเพียงพอ หรอื ยงั ไมสามารถจัดกจิ กรรมดานนไ้ี ดเหมาะสมเทา ที่ควร ขอ เสนอแนะ สถานศึกษาควรมีการจัดทาํ แผนพัฒนาครู โดยการเนนการเรยี นการสอนท่ีฝก ทักษะมิติสัมพันธ ใหมากกวาเดิม อาจจําเปนตองมีการสงเสริมพัฒนาครูที่รับผิดชอบในแตละระดับชั้น ใหมีทักษะการจัดการ เรียนการสอนดานน้ีเปนกรณีพิเศษ การฝกใหผูเรียนไดกลาซักถามในเรื่องที่สรางสรรค ฝกการคิดโดยเฉพาะ การคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห ตามจินตนาการของตนแลวแสดงออกทางวาจา รวมท้ังฝกใหผูเรียน ไดรูจัก การแกป ญหาจากสถานการณจําลอง ระดบั ประถมศึกษา – มธั ยมศกึ ษา จุดเดน ผูเรียน มีระเบียบ วินัย แตงกายเรียบรอย มีสัมมาคารวะตอครูและผูใหญ มีความเกรงใจผูอื่น มีความเมตตากรุณา โอบออมอารี เอ้ือเฟอเผ่ือแผ และเสียสละเพื่อสวนรวมมีความกระตือรือรน ในการ อธิบาย ข้ันตอน การทํางาน และผลงานท่ีเกิดข้ึน ทั้งสวนท่ีดีและสวนที่บกพรอง รวมถึงไดรับการตรวจสุขภาพ และมี การรายงาน ผลการตรวจสุขภาพรางกายเปนไปอยางตอเนื่อง ผูเรียนมีจิตใจแจมใส ราเริง มีความชื่นชม และเขารวมกจิ กรรม ดา นกฬี า และดานดนตรี จุดทีค่ วรพัฒนา

18 ผูเรียน ควรไดรับการพัฒนาความสามารถในการสรุปสาระ การเช่ือมโยงความรูตาง ๆ ควรสงเสริม การคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดแกปญหา และพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ในกลุมสาระที่มีผลสัมฤทธิ์ตํ่า ใหสูงข้ึน ตลอดจนควรมีการสงเสริมความสามารถในการอาน การจดบันทึก และการคนควาความรูจาก อนิ เตอรเ นท็ ให เพ่ิมมากขึ้น ปจ จัยที่ทาํ ใหเ กดิ จดุ เดน / จดุ ทคี่ วรพฒั นา ผูเ รียน มีจดุ เดน ดานคุณธรรม สวนหน่ึงเปนเพราะสถานศึกษา มีการจดั โครงสรางทเ่ี นน การพฒั นา ดานคุณธรรม เชน การจดั กจิ กรรมวนั สําคัญตางๆซึ่งเปน การชวยสรา งจติ สาํ นกึ ทาํ ใหผ เู รียนมี ความเกรงใจผูอื่น มีความเมตตากรณุ า โอบออ มอารี เอ้อื เฟอ เผื่อแผ และเสยี สละเพื่อสวนรวม นอกจากนย้ี ังมี กจิ กรรมการทํางาน กลมุ การทํางานเปนทีม ในวชิ าตา งๆหรอื ระดับสถานศึกษา ทีท่ ําใหผเู รียนเขาใจถงึ กระบวนการในการทํางานกลุม สามารถอธบิ ายขัน้ ตอนในการทาํ งานท้ังในสว นดีและในสวนท่ีตองปรบั ปรุงได มี การจัดบรรยากาศท่ีเอื้อ ตอการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา ทาํ ใหผ ูเ รียนรา เริง แจมใส มีสนามกฬี าอุปกรณ กีฬาใหผเู รยี นไดออกกําลัง กายโดยเฉพาะฟตุ บอล และการดูแลสขุ ภาพของผูเรียนอยา งตอ เน่ืองทําใหผ ูเรียนมี ความสามารถ ดานกระบวน การคิดวิเคราะห คดิ สงั เคราะห คิดแกป ญ หา ยังอยใู นระดบั ท่ตี องสงเสรมิ มาก ยิ่งขึน้ สาเหตุสว นหนงึ่ อาจมาจาก การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครู ทยี่ ังไมส งเสรมิ ทักษะดานน้ีไดด ีพอ ผเู รียนยังขาดการฝกทกั ษะ ใน ดานการคิดโดยเฉพาะการคิดนอกกรอบ ขอ เสนอแนะ สถานศึกษา ควรมีการจัดทําแผนพัฒนาครู ดานการเรียนการสอน โดยเฉพาะการสอนท่ี สงเสริม ใหผูเรียนเกิดสัมฤทธ์ิผลทางวิชาการ และทักษะการคิด ครูควรเนนการจัดกิจกรรมใหผูเรียน ไดฝก การคิด วิเคราะห คิดสังเคราะห คิดแกปญหาเพื่อเชื่อมโยงสาระตางๆที่ไดเรียนมา มาใชในการวางแผนใน การทํางาน หรือทาํ โครงงานในทกุ ชวงช้ันเรียน และท่สี ําคัญควรสนับสนุนใหครูไดรับการอบรม และควรจัดให ผูเรียนไดรู จักใชคอมพิวเตอรเปน และสามารถใชอินเตอรเน็ทได เพื่อเปนการสงเสริมทักษะการคนควา แสวงหาความรู ดวย ตนเองได 9. สรปุ สภาพปญ หา จุดเดน จดุ ท่คี วรพฒั นาในการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย 1) ดานคณุ ภาพเด็ก จุดเดน - โรงเรียนไดด าํ เนินการบริการใหเ ดก็ ทุกคนไดร บั ประทานอาหารกลางวนั และด่มื นม - ครูไดบ ันทึกนํ้าหนัก สว นสงู ของเดก็ อยางตอเนื่อง และเปน ปจจบุ ัน - ครไู ดจัดกิจกรรมใหเ ดก็ ไดเคลื่อนไหวรางกาย ไดอยางคลองแคลว มีการประสานสัมพนั ธของ กลา มเนื้อใหญ กลามเน้ือเล็ก และประสานระหวา งมอื กบั ตา และปฏบิ ตั ิอยางสมาํ่ เสมอ - ครูไดใ หเ ด็กลางมือกอนและหลงั รบั ประทานอาหารและการเขาหองน้าํ - จดั กิจกรรมแปรงฟน หลังรบั ประทานอาหารใหค วามรกู ารรูจกั ดแู ลรักษาสุขอนามยั สว นตัว และ รับประทานอาหารที่มีประโยชน

19 - โรงเรยี นมีสนามเดก็ เลน มีเครือ่ งเลน ที่แขง็ แรง ปลอดภยั และมีเพยี งพอ จุดทีค่ วรพัฒนา - ควรมกี ารสรางความความรูส กึ เปนเจาของและการใหความสาํ คญั จากผปู กครองเพือ่ สงเสริม และ ระดมทรัพยากรในการพัฒนาและใหผูปกครองเขามามบี ทบาทในการพฒั นาคุณภาพผเู รยี นมากข้ึน โดยมี กจิ กรรมรวมกนั อยา งนอยภาคเรยี นละ 2 ครงั้ หรือสรางภาคีเครือขายผูปกครองระดบั ปฐมวยั เปน ตน 2) ดานการจดั การศึกษา จดุ เดน - ครูเขารับการอบรมเกยี่ วกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย - ครูจดั ทําแผนการจัดประสบการณท สี่ อดคลองกับหลักสตู รการปฐมวยั และสามารถจัดประสบการณ การเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย สอดคลอ งกบั ความแตกตา งระหวางบคุ คล - ครูใชเคร่อื งมอื การวดั และประเมนิ พัฒนาการของเด็กอยา งหลากหลาย และสรุปผลการพัฒนาเดก็ แกผ ูปกครอง - โรงเรยี นจดั สง่ิ แวดลอ มใหเ กิดการเรยี นรูตลอดเวลาเชนจดั มุมประสบการณ - โรงเรยี นจัดสรา งสนามเดก็ เลน มเี คร่ืองของเลนทีน่ า สนใจ เพ่มิ ขึ้น จุดท่ีควรพฒั นา - โรงเรยี นยังขาดระบบเฝาระวังและวเิ คราะหความเสี่ยงดานการปลอดภยั - ครูควรมีระบบการศึกษาเดก็ เปนรายกรณี หรือการทําวจิ ยั เพ่อื พฒั นา 3) ดานการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู จดุ เดน - โรงเรยี นประชุมคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา วางแผนเพอื่ จัดทําโครงการพัฒนาแหลง เรยี นรู เพื่อเปน สังคมแหง การเรียนรู - โรงเรยี นจัดทาํ ทะเบยี นแหลง เรยี นรูทง้ั ในและนอกสถานท่ี เพ่ือการศึกษา - ครนู ําเดก็ ไปศกึ ษาแหลง เรียนรู มีวิทยากรผูรูใ นทอ งถน่ิ ใหความรูเพ่มิ เตมิ จุดทค่ี วรพฒั นา - โรงเรียนควรประสานความรว มมอื กับภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ เพอ่ื การวางแผนดา นการถา ยทอดความรู ดา นการ สอนแกผูเ รียนอยา งเปน ระบบ มีประสิทธภิ าพ 4) ดานอัตลกั ษณของสถานศึกษา

20 จุดเดน - โรงเรียนประชมุ ช้ีแจง ทาํ ความเขา ใจ ใหคณะครู เกย่ี วกับการพัฒนาการศึกษาระดับปฐมวยั - โรงเรียนจดั ทาํ แผนพฒั นาการศึกษาระดบั ปฐมวยั สอดคลอ งกับปรชั ญา วสิ ัยทศั น พนั ธกิจ - คณะครูจดั ทําโครงการ กิจกรรมท่ีสนับสนนุ สง เสริมการจัดการศกึ ษาปฐมวัย - คณะครดู าํ เนินการพัฒนาตามกิจกรรม - โรงเรยี นนิเทศ ติดตาม กํากบั และประเมนิ ผล จดุ ทค่ี วรพัฒนา - การพัฒนาอยางตอเนื่องของกิจกรรม โครงการทเี่ อือ้ ตอ การพฒั นาอัตลักษณข องผเู รียน - ควรมกี ารพฒั นาคณุ ลักษณะของผเู รยี นใหมีความยง่ั ยืน 5) ดานมาตรการสง เสรมิ จดุ เดน - โรงเรยี นประชมุ ช้ีแจงใหค ณะครู ไดเขาใจในนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวยั - ครพู ัฒนาตนเอง โดยการเขา ประชุม อบรม สัมมนา - แผนการจดั ทําโครงการ กจิ กรรมพฒั นาท่ีสอดรับ - คณะครไู ดด าํ เนินการ ตามกิจกรรมโครงการที่จัดข้ึน ตามระบบ วงจรคณุ ภาพ ( PDCA ) - นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล จดุ ทีค่ วรพัฒนา - ควรนําผลการอบรมพฒั นา มาสรปุ ทาํ รายงาน ในรปู แบบตางๆ และนําเสนอเผยแพรใหแกเพื่อนครู ในโรงเรียน ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 1) ดานคุณภาพผูเ รยี น จุดเดน - ผูเรียนมสี ขุ นสิ ยั ในการดูแลสขุ ภาพและออกกําลังกาย - มีนํ้าหนกั สวนสงู และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน - มมี นษุ ยส ัมพนั ธที่ดีและใหเกยี รตผิ ูอ ืน่ - การเขา รวมกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรี/นาฏศลิ ป กฬี า/ นันทนาการ - ผูเรยี นมวี ินยั และมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคกําหนด - ผูเรียนมีอัตลักษณท ีด่ ี จดุ ที่ควรพฒั นา - โรงเรียนควรนําระบบดูแลชว ยเหลือนักเรยี นมาดําเนินการ และติดตามอยางตอเนอื่ ง

21 - ครูควรเนน ใหผูเรียนใหม ีการแสดงออกดานการเรียนรูอ ยางสรา งสรรค 2) ดานการจดั การศกึ ษา จุดเดน - โรงเรียนมกี ารวิเคราะหผ ูเรียนเปนรายบุคคล และใชขอ มูลในการวางแผนจัดการเรียนรเู พื่อพัฒนา ศักยภาพของผเู รียน - โรงเรยี นมวี สิ ยั ทัศน ภาวะผนู าํ และความคิดรเิ ร่มิ ท่เี นน การพฒั นาผเู รยี น ทเ่ี หมาะสม ชดั เจน - ผบู ริหารใชหลกั การบรหิ ารแบบมีสวนรวม รว มกบั ทุกฝายท่ีเกยี่ วขอ ง - โรงเรียนมโี ครงสรา งการบริหารทีช่ ดั เจน ทกุ คนมีหนาทใ่ี นการดาํ เนนิ งาน จดุ ทค่ี วรพฒั นา - การยกระดบั คุณภาพผลสมั ฤทธใ์ิ นทกุ กลมุ สาระ - ควรสงเสรมิ ใหค รูมีการศกึ ษาวิเคราะหพัฒนาผเู รียนโดยการวจิ ยั ในช้ันเรียนอยางนอ ย 2 เรื่องตอป 3) ดา นการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู จดุ เดน - โรงเรียนมกี ารประชุมคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา วางแผนเพ่ือจดั ทาํ โครงการพฒั นาแหลง เรียนรู เพอื่ เปน สังคมแหงการเรยี นรู - โรงเรียนจัดทําทะเบียนแหลง เรยี นรทู ั้งในและนอกสถานท่ี เพ่ือการศึกษา - ครนู าํ เดก็ ทุกชัน้ ไปศึกษาแหลงเรียนรู โดยมวี ทิ ยากรผูร ใู นทองถ่ิน ใหความรเู พมิ่ เตมิ จุดที่ควรพฒั นา - โรงเรียนควรประสานความรวมมอื กบั ภูมิปญ ญาทอ งถ่ินเพอื่ การวางแผนดา นการถายทอดความรู ดานการสอนแกผเู รยี นอยางเปน ระบบ มีประสิทธิภาพ และการประเมนิ ความพึงพอใจ 4) ดานอตั ลกั ษณข องสถานศกึ ษา จดุ เดน - โรงเรยี นประชุม ชีแ้ จง ทาํ ความเขา ใจ ใหคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา มารว มวางแผน การพัฒนา และกาํ หนดอตั ลักษณ ท่สี อดคลองกับวิสัยทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย ปรชั ญา แผนพัฒนาการศกึ ษา - คณะครจู ัดทาํ โครงการ กิจกรรมที่สนบั สนนุ สง เสริมการจดั การศึกษาสอดคลอ งกบั อตั ลักษณ จดุ ท่คี วรพฒั นา - ควรพฒั นากจิ กรรมอยางตอ เน่ือง เพอ่ื สรา งอตั ลักษณทยี่ ั่งยืนแกผูเรยี น

22 - ควรมีการประเมินผลตามตัวบงช้ี 5) ดานมาตรการสง เสรมิ จดุ เดน - ครพู ฒั นาตนเอง โดยการเขา ประชุม อบรม สมั มนา และศึกษาตอในระดับทสี่ งู ข้ึน - มแี ผนการจัดทําโครงการ กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี นทส่ี อดรบั กับนโยบาย - ครไู ดด ําเนนิ การ ตามกิจกรรมโครงการที่จัดขึน้ ตามระบบ วงจรคณุ ภาพ (PDCA) - โรงเรยี นมกี ารนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล จุดท่ีควรพฒั นา - ควรนาํ ผลการอบรมพฒั นา มาสรปุ ทํารายงาน ในรูปแบบตางๆ และนําเสนอเผยแพรใ หแกเ พ่ือน ครใู นโรงเรยี นและตางโรงเรียน - ควรจดั หาส่ือ เทคโนโลยกี ารศึกษา ใหครูและนักเรยี นไดใ ชเพอ่ื ประโยชนด า นการศกึ ษาอยา ง หลากหลายและมีประสทิ ธิภาพ

ตอนที่ 2 ยุทธศาสตรตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปข องสถานศกึ ษา 1. การบรหิ ารจดั การศึกษา โรงเรียนวังแกว วทิ ยา แบง โครงสรา งการบรหิ ารงานเปน 4 ดา น ไดแกด าน งานวิชาการ, งานงบประมาณ, งานบรหิ ารบคุ คล, และงานบรหิ ารงานท่วั ไป ผูบรหิ ารยดึ หลักการบรหิ าร/เทคนคิ การบริหารแบบ การพฒั นาตามกระบวนการ PDCA และกระบวนการ SBM โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนวงั แกววทิ ยา ประจําป 25๖3 นายสาคร ทพิ ยเนตร ผูอ ํานวยการโรงเรยี นวังแกว วทิ ยา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน นางสาวอรญา ใจเสมอ นางวิไลวรรณ ทองใบ นายเอกจิต แดนปน นายพศิ ุทธ์ิ ขัตศิ รี หวั หนากลมุ งานบริหารวชิ าการ หัวหนา กลุม งาน หัวหนากลมุ งานบรหิ ารบคุ คล หวั หนากลุมงาน บรหิ ารงบประมาณ บรหิ ารทั่วไป 1. งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1. งานวิเคราะหแ ละจัดทําแผน 1. งานอัตรากาํ ลงั 1. งานสารบรรณ (นางสาวอรญา ใจเสมอ) สถานศึกษา ( นายเอกจิต แดนปน ) (นางลลติ า วรรณเสถยี ร) (นายเอกจติ แดนปน ) 2. งานวดั ผล ประเมินผล และเทียบ 2. งานทะเบยี นประวัตบิ คุ ลากร 2. งานประสานงานผปู กครองนักเรยี น โอนผลการเรียนรู 2. งานจัดต้งั เสนอขอ และจัดสรร ( นางลลิตา วรรณเสถียร) และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ (นางสาวจรรยารักษ ผองใส) งบประมาณ พื้นฐาน (นายเอกจิต แดนปน) 3. งานบาํ เหน็จและความชอบ (นางลลิตา วรรณเสถียร) 3. งานวิจยั พฒั นาสอื่ นวตั กรรม ( นายสาคร ทพิ ยเนตร ) และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 3. งานตรวจสอบ ตดิ ตาม 3. งานอาคารสถานที่ สงิ่ แวดลอ ม (นางสาวสาวติ รี วงคอา ยตาล) ประเมนิ ผล และรายงานการใชเงนิ 4. งานเสรมิ สรางพฒั นาบุคลากร และสาธารณูปโภค และผลการดําเนินงาน ( นางพมิ พผกา สันจันตา ) (นายพสิ ทุ ธ์ิ ขัตศิ รี) 4. งานพัฒนาแหลง เรียนรูภายใน (นางวไิ ลวรรณ ทองใบ) สถานศึกษา 8. งานสวัสดิการ 4. งานประชาสมั พนั ธ (นายพิสทุ ธิ์ ขตั ศิ รี) 4. งานการเงนิ ( นางลลิตา วรรณเสถยี ร ) (นายสุทธิพันธ สุภานันท) (นางวไิ ลวรรณ ทองใบ) 5. งานแนะแนวการศึกษา 5. งานสัมพันธช มุ ชน (นางสาวจรรยารักษ ผองใส) 5. งานบัญชี (นายสุทธิพันธ สภุ านันท) (นางลลิตา วรรณเสถียร) 6. งานทะเบยี น และจัดทาํ สาํ มะโน 6. งานอาหารกลางวนั นักเรียน 6. งานพัสดุ (นางสางกง่ิ กาญจน นนทม าลย) (นางพารณิ ี แกวนาํ ) (นายเอกจิต แดนปน) 7. งานอนามัยโรงเรยี น 7. งานนเิ ทศการศึกษา 7. งานควบคมุ ภายในสถานศกึ ษา (นางพิมพผ กา สันจนั ตา) (นางสาวสกลุ ตรา ปนสภุ ะ) (นายเอกจติ แดนปน) 8. งานสหกรณ 8. งานประกันคณุ ภาพภายใน (นางสาวกิ่งกาญจน นนทมาลย) สถานศึกษา (นางสาวอรญา ใจเสมอ) 9. งานโสตทศั นศึกษา (นายพิสทุ ธิ์ ขัติศรี) 9. งานระบบดแู ลชว ยเหลือนักเรียน (นางอารยี  วรรณเสถยี ร) 10.งานรกั ษาความปลอดภยั และเวร ยาม 10.งานขอมูลสารสนเทศ (นายยอดสัก สดใส) (นางจรรยารกั ษ ผองใส) 11.งานสง เสรมิ กิจการนกั เรยี น 11.งานรับนกั เรยี น (นายศราวุฒิ เสโลห) (นางสาวสุพิทยา สงิ หค าํ ) 12.งานสง เสริมคุณธรรม จริยธรรม 12.งานกิจกรรมพัฒนาผูเรียน นกั เรยี น (นายศราวธุ เสโลห) (นายสทุ ธพ์ิ ันธุ สภุ านันท)

25 2. วสิ ยั ทัศน พันธกจิ เปาหมาย อัตลักษณ และเอกลกั ษณของสถานศึกษา วสิ ยั ทศั น โรงเรียนวังแกววิทยา เปนองคกรแหงการเรียนรู จัดการศึกษาใหเด็กในวัยเรียนมีสิทธแิ ละโอกาส ในการศึกษาอยางทั่วถึง มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ สืบสานอนุรักษศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีไทย โดยยดึ หลักคุณธรรมนําความรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหเปน พลเมืองท่ีดี มีทักษะท่ีจําเปน ในศตวรรษที่ 21 เพื่อกาวทนั โลกยคุ 4.0 พนั ธกจิ 1. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติมี สิทธิและโอกาสในการศึกษาอยาง ทั่วถึง มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ สืบสานอนุรักษศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีไทย โดยยึดหลัก คุณธรรมนาํ ความรูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน พลเมอื งทด่ี ีดี มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 2. พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ตรงตามความตองการ และความถนดั ของผเู รยี น ลดความเหล่อื ม ลํา้ ใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา 3. สง เสรมิ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการพัฒนาตนใหม คี วามเปน มืออาชีพตามมาตรฐาน วชิ าชีพ 4. พฒั นาส่ือ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ใหทนั สมัย เพือ่ คุณภาพการศึกษา ตรงตามมาตรฐาน การศึกษาชาติ 5. พฒั นากระบวนการเรยี นรู ใหม ีการวดั และประเมินผลอยางหลากหลาย สงผลตอการพัฒนา ผเู รยี นรอบดาน 6. พฒั นาแหลง เรยี นรูภายในสถานศกึ ษา ใหท นั สมัยกาวทันโลก ยุคโลกาภิวฒั น เปา ประสงค 1. ผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติมี สิทธิและโอกาสในการศึกษาอยางทั่วถึง มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ สืบสานอนุรักษศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีไทย โดยยึดหลักคุณธรรมนํา ความรตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน พลเมืองที่ดดี ี มีทกั ษะที่จําเปน ในศตวรรษท่ี 21 2. โรงเรียนมกี ารพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ตรงตามความตอ งการ และความถนัดของผเู รียน ลดความเหลอ่ื มล้าํ ใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ในการพฒั นาตนใหม คี วามเปนมืออาชีพตามมาตรฐานวชิ าชพี 4. โรงเรยี นมกี ารพฒั นาส่ือ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ใหทันสมยั เพ่ือคณุ ภาพการศึกษา ตรงตาม มาตรฐานการศึกษาชาติ 5. โรงเรยี นดาํ เนินการพัฒนากระบวนการเรยี นรู ใหมีการวัดและประเมินผลอยา งหลากหลาย สงผลตอการพัฒนาผเู รียนรอบดาน 6. โรงเรียนพัฒนาแหลงเรียนรภู ายในสถานศกึ ษา ใหท นั สมัยกาวทันโลก ยคุ โลกาภวิ ัฒน

26 อัตลักษณข องสถานศกึ ษา ยิ้มงา ย ไหวสวย เอกลกั ษณของสถานศึกษา มารยาทดี กฬี าเดน เนน วชิ าการ 3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จุดเนนของโรงเรยี น 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 5 กลุม สาระวิชาหลกั เพม่ิ ขี้นอยางนอยรอ ยละ 5 2. นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ทุกคนอานออกเขียนได 3. เพิม่ ศกั ยภาพนกั เรยี นในดานภาษา ดา นคณติ ศาสตร วิทยาศาสตร และดา นเทคโนโลยี เพ่อื พัฒนาสคู วามเปน สมาชิกของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต 4. นักเรียนทกุ คนมีความสาํ นกึ ในความรักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย 5. สงเสริมการจัดการเรียนรูตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. สรางทางเลอื กในการเรียนรูท่ีเนนใหป ระชากรวัยเรียนทุกคนเขา ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา อยางทั่วถึง ลดอตั ราการออกกลางคนั ศกึ ษาตอ และประกอบอาชีพ 7. นักเรียน ครู และสถานศึกษาไดรับการพฒั นาเตรยี มความพรอ มสูประชาคมอาเซยี น 8. สถานศกึ ษาผา นการรับรองมาตรฐานการศึกษา มรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในทีเ่ ขม แขง็ และผา นการรบั รองจากการประเมนิ คุณภาพภายนอก 4. กลยุทธการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา กลยทุ ธท ี่ 1 พฒั นาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั ตามหลกั สูตร และสงเสริม ความสามารถดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครอื่ งมอื ในการเรียนรู กลยทุ ธที่ 2 ปลูกฝง คุณธรรม ความสาํ นกึ ในความเปน ชาติไทย และวิถีชีวติ ตามหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ความรับผิดชอบตอ สังคม และสงิ่ แวดลอม กลยุทธท ี่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหท่วั ถึงครอบคลุมผเู รียน ไดร ับโอกาสในการพัฒนา เต็มตามศกั ยภาพ กลยุทธที่ 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบใหส ามารถจดั การเรยี นการสอนได อยางมีคณุ ภาพ กลยทุ ธที่ 5 พฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอํานาจทาง การศกึ ษาโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เนน การมสี ว นรว มและความรวมมอื กบั ทกุ ภาคสวน เพ่ือสง เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษา

27 5. การดําเนนิ งานตามกลยทุ ธของสถานศึกษา กลยทุ ธท ี่ 1 พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับตามหลักสูตร และสง เสริมความสามารถ ดา นเทคโนโลยเี พื่อเปน เครื่องมอื ในการเรยี นรู โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค เปาหมาย สนอง ของโครงการ/กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ของ สถานศึกษา (มฐ. ท่ี/ตัวบงชี้) โครงการพัฒนา วตั ถปุ ระสงค 1. นักเรียน รอยละ 80 ได 1, 4, 5, 6, 9, 10, วชิ าการและความเปน 1. เพอื่ ให พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ 15 เลิศทางวชิ าการ การปฏบิ ตั ิงานฝา ยวิชาการ ในการทํางานดานวิชาการมาก เปนไปดว ยความเรยี บรอยและมี ขึน้ ประสิทธภิ าพ 2. นักเรียน รอยละ 80 ใช 2. เพือ่ ใหเปนไปตามแผนการ เวลาวางใหเกิดประโยชน พัฒนาการศกึ ษาตาม 3. นักเรียน รอ ยละ 80 มี พระราชบัญญตั ิการศึกษา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขนึ้ แหง ชาติ ทกุ กลมุ สาระ 3. เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ าง การเรียนของนกั เรียนโรงเรียน วังแกว วิทยา ทัศนศึกษาแหลง 1. เพ่อื สงเสริมใหเด็กไดเ รยี นรู เชิงปริมาณ 2, 5, 6, 14, 15 เรียนรู นวัตกรรมจากแหลงเรียนรนู อก คณะครู และนักเรียนโรงเรียน สถานท่ี วังแกว วิทยา ไดศ ึกษาแหลง 2. เพื่อชว ยใหเ ดก็ เกิดการใฝร ู อยา งตอเน่ืองตลอดเวลา เรยี นรู 3. เพื่อใหเ ดก็ เกดิ การเรยี นรู เชิงคณุ ภาพ อยา งมีความสุข จาก ผเู รียนไดศ กึ ษาแหลง เรียนรู ประสบการณและสถานทีจ่ รงิ 4. เพอื่ สนองนโยบายของ จากประสบการณตรง และมี รัฐบาลในดานการเรยี นรแู กเด็ก ความสามัคคใี นหมูคณะ ดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น

28 กลยุทธท ี่ 2 ปลูกฝงคณุ ธรรม ความสํานกึ ในความเปนชาตไิ ทย และวิถีชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค เปา หมาย สนอง ของโครงการ/กจิ กรรม มาตรฐานการศึกษา ของ สถานศกึ ษา (มฐ. ท่/ี ตัวบงชี)้ พัฒนาแหลงเรยี นรู ๑. สถานศึกษามีแหลง ๑. ผูเรียนสามารถใชแหลง 1, 2, 3, 4, 5, 9, ภายในสถานศึกษา 10, 15 ตามแนวปรชั ญา เรียนรหู ลากหลายเชน เรียนรูในการพัฒ นาการ เศรษฐกิจพอเพียง หอ งสมดุ หอ งคอมพวิ เตอร ตนเองไดอยา งหลากหลาย หองวทิ ยาศาสตร ฯลฯ ๒.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๒. ผูเรียนไดศึกษาหาความรู สูงขึ้นทุกกลมุ สาระ จ า ก แ ห ล ง เ รี ย น รู ท่ี หลากหลายที่มีอยางพอเพียง และทันสมัยอยเู สมอ 3.ผู เรี ย น ทุ ก ค น มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ พึ่ ง พ อ ใ จ ใน ก า ร ศึ ก ษ า จากแหลงเรียนรูตางๆ 4.ผูเรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น กลยุทธท ี่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงครอบคลุมผเู รยี นไดร บั โอกาสในการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค เปาหมาย สนอง ของโครงการ/กจิ กรรม มาตรฐานการศึกษา ของ สถานศึกษา (มฐ. ที่/ตัวบงชี้) โครงการสง เสรมิ 1.นักเรยี นไดรบั การตรวจสุขภาพ ๑.นักเรียนรอยละ 80 1, 2, 3, 4, 5, 9, สขุ ภาพภายใน โรงเรยี น 2.นักเรียนไดรบั การ ไดรับการตรวจสุขภาพ 10, 15 รกั ษาพยาบาลเม่อื เจ็บปว ย อยา งนอ ยปละ 1 คร้งั 3.นักเรียนไดรับความรูเกี่ยวกับ ๒.นักเรียนรอยละ 80 สุขศกึ ษาและอนามัยในโรงเรียน เม่ือเจ็บปวยไดรับการ 4.นักเรียนไดรับโภชนาการดาน รั ก ษ า พ ย า บ า ล ต า ม อาหารท่ดี ีมีคณุ ภาพ ขั้นตอน 5. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ๓.นักเรียนรอ ยละ 80 สมบูรณ ไดรับการบริการให

29 ความรู เกี่ยวกบั สุขอนามยั และการ ปองกนั โรคติดตอ ภาค เรยี นละ ๑ ครัง้ ๔. นักเรียนรอยละ 80 ไดรับการบ ริการดาน โภชนาการในโรงเรียนท่ี มคี ณุ ภาพ กลยุทธที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทง้ั ระบบใหสามารถจัดการเรยี นการสอนไดอยา งมีคณุ ภาพ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค เปาหมาย สนอง ของโครงการ/กจิ กรรม มาตรฐานการศกึ ษา ของสถานศกึ ษา (มฐ. ท่/ี ตัวบง ช้ี) พฒั นาบุคลากรทาง 1. ครแู ละบคุ ลากรทางการ 1. ครแู ละบคุ ลากร 2, 5, 6, 14, 15 การศึกษา ศกึ ษา ไดพ ฒั นาตนเองตาม ทางการศกึ ษา รอ ยละ ความตองการ 80 ไดพ ฒั นาตนเองตาม 2. ครแู ละบคุ ลากรทางการ ความตอ งการ ศกึ ษา มีคุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ครูและบุคลากร 3. ครูและบุคลากรทางการ ทางการศกึ ษา รอยละ ศึกษา มีขวัญและกาํ ลงั ใจใน 80 มคี ุณธรรม การปฏิบตั งิ านในหนาที่ จริยธรรม 4. ครแู ละบุคลากรทางการ 3. ครแู ละบคุ ลากร ศึกษาไดรับการสง เสริมใหมี ทางการศึกษา รอยละ ความกา วหนาในวชิ าชีพ 80 มีขวญั และกาํ ลงั ใจท่ี 5. ครแู ละบุคลากรทางการ จะปฏิบตั ิงานในหนา ท่ที ่ี ศกึ ษา สามารถนาํ ความรทู ไ่ี ด รับผิดชอบอยา งเต็ม จากพฒั นาตนเองตามความ ศักยภาพ ตองการ มาพัฒนาจัดการเรียน 4. ครูและบุคลากร การสอนอยางมปี ระสิทธภิ าพ 6. ครูและบุคลากรทางการ ทางการศกึ ษา รอยละ ศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม 80 มคี วามกา วหนาใน วิชาชีพ

30 เปนแบบอยา งทด่ี ี สามารถ ถา ยทอดไปสผู ูเ รยี นได 7. ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านในหนาท่ีที่ รบั ผดิ ชอบไดอยา งเต็มศักยภาพ เนื่องจากมขี วัญและกาํ ลังใจ 8. ครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษามีความกาวหนาใน วชิ าชพี กลยทุ ธท่ี 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามแนวทางการกระจายอํานาจทางการศกึ ษาโดย ยึดหลกั ธรรมาภิบาล เนน การมสี วนรว มและความรวมมือกับทุกภาคสว น เพ่ือสง เสรมิ และสนับสนนุ การ จัดการศึกษา โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค เปาหมาย สนอง ของโครงการ/กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ของ สถานศึกษา (มฐ. ที/่ ตัวบง ช)้ี โครงการพฒั นา 1. สงเสรมิ สนบั สนนุ ใหครู เชิงปรมิ าณ 2, 5, 6, 14, 15 งานวจิ ยั ส่อื และบคุ ลากรทางการ รอ ยละ 80 ของครแู ละ นวตั กรรมและ ศกึ ษา ไดพัฒนาศักยภาพ บุคลากรทางการศึกษาใน เทคโนโลยที างการ ทางดานการวจิ ัย พัฒนา สถานศึกษามีการวจิ ัยที่ ศึกษา ส่อื นวตั กรรมและ สามารถนําไปใชประโยชน เทคโนโลยที างการศึกษา ไดร อยละ 80 ของครู บุ 2. เพอื่ แกปญหาในชนั้ คลาการทางการศึกษาและ เรียนของตนเอง นักเรยี นไดใชส ่ือ ICT และ 3. สง เสริมสนับสนุนใหมี ระบบเทคโนโลย โอกาสแลกเปลยี่ น ผลการ สารสนเทศของโรงเรยี น วเิ คราะห วิจัย นาํ ไปใช และเผยแพรสื่อนวตั กรรม และเทคโนโลยที างการ ศกึ ษา

31 4. เพอื่ ใหบคุ ลากรใน เชงิ คณุ ภาพ สถานศึกษา มีความรู รอ ยละ 80 ของครูและ ความสามารถในการนาํ บุคลากรทางการศึกษาของ ความรเู ร่ืง ICT บูรณาการ สถานศกึ ษามคี วามรคู วาม กับกจิ กรรมการเรียนรูใน เขาใจในการทาํ วจิ ัย ทกุ กลุมสาระการเรยี นรู พัฒนาส่นื วตั กรรมและ 5. เพ่อื ใหนักเรียนมคี วามรู เทคโนโลยีทางการศึกษา ทักษะและความสามารถ ตลอดจนสามารถแกไข ในการใช ICT ใหเ ปน ปญหาในช้นั เรยี นของ ประโยชนตอ การเรยี นรู ตนเองไดรอยละ 80 ของ ครู บุคลากรทางการศกึ ษา รายงานใหครบทกุ กลยทุ ธ และนักเรียนมีความรแู ละมี ทักษะในการใชร ะบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายเหตุ 6. กิจกรรมสง เสริมการขับเคลอ่ื นตามนโยบาย ที่ นโยบาย/จดุ เนน กจิ กรรมการขับเคลื่อน ผลการขบั เคล่ือน นักเรียนโรงเรียนวงั แกว วิทยา มีสมดุ 1 การอานออกเขยี นได กิจกรรมบันทึกการอาน บันทึกการอา น และใชเ วลาวางใน การอา นหนงั สือมากขนึ้ 2 สง เสรมิ การเรียนรเู พ่ือ กจิ กรรมภาษาอาเซียน นักเรยี นมคี วามรูเร่ืองของภาษาใน ภูมภิ าคอาเซียนมากขึน้ เตรียมความพรอมเขา สู นักเรียนโรงเรยี นวังแกววทิ ยา ประชาคมอาเซยี น สามารถนําปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ นชีวติ ประจาํ วันได 3 การขับเคล่ือน กจิ กรรมปลูกผักสวนครัว นกั เรยี นโรงเรยี นวงั แกววทิ ยา มี กรยิ ามารยาท ออนนอมถอมตน มี หลกั ปรชั ญาของ กิจกรรมออมทรัพย จติ อาสาชว ยเหลอื ผูท่ดี อ ยกวา เสมอ นกั เรียนโรงเรียนวงั แกววทิ ยา เศรษฐกิจพอเพยี ง กจิ กรรมตัวไปไฟดบั สามารถใชเวลาวา งในการทํา กจิ กรรมทเี่ ปน ประโยชนตามที่ตน 4 การพัฒนาดานคณุ ธรรม กิจกรรมจติ อาสา สนใจ และเปนประโยชนต อ สังคม และตนเอง จรยิ ธรรม กิจกรรมนองไหวพี่ กจิ กรรมเขตรับผิดชอบ 5 ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู กิจกรรมงานอาชีพ กิจกรรมโรงสีขา ว กิจกรรมเล้ียงไก

32 การวเิ คราะหส ิ่งแวดลอมภายนอก โดยวเิ คราะหแ บบ C – PEST ดาน ประเด็นทเ่ี ปนโอกาส ประเด็นท่เี ปน อปุ สรรค C : ดา นพฤติกรรมลูกคา - ผปู กครองใหความรวมมือกับ - ผปู กครองสงบตุ รหลานเขาเรยี น สถานศึกษาเปนอยางดี ในโรงเรียนประจาํ อําเภอมากขน้ึ P : ดา นการเมืองและกฎหมาย - ผปู กครองทม่ี คี วามพรอ มทาง E : ดา นเศรษฐกิจ - มนี โยบายเรยี นฟรี 15 ป อยางมี การเงินสง บุตรหลานไปเรียน S : ดานสังคมและวัฒนธรรม คุณภาพ โรงเรียนที่มชี ่ือเสยี ง T : ดานเทคโนโลยี - ไดรบั สนับสนุนจาก องคก ารบริหาร - มกี ารเปล่ยี นแปลงนโยบายของ สวนทอ งถน่ิ รัฐและหนวยงานตน สงั กดั บอย - โรงเรียนไดร บั การสนบั สนนุ จาก ชุมชน และผูป กครองบางสวนทม่ี ี - ผปู กครองบางสว นไมมีความ ฐานะดี พรอมทางการเงนิ ในการสงบุตร - ผนู าํ ชุมชนใหการสนบั สนนุ การศึกษา หลานไปเรยี นตอ เปนอยางดี - พบปญ หาเด็กทีอ่ าศัยกับ ปูยา ตา ยาย เนอ่ื งจากพอแมตองไปทํางาน - ไดร บั การจัดสรรงบประมาณตาม ตางจงั หวัด ทาํ ใหข าดการดูแลเอา นโยบายของรฐั ใจใส - มกี ารใชเ ทคโนโลยีมาใชใ นกิจกรรม - สื่อเทคโนโลยีมีคุณภาพตา่ํ การเรียนการสอน - ไมเ พยี งพอตอจํานวนผูรบั บริการ

33 การประเมินสถานภาพภายนอกของหนวยงาน สถานภาพภายนอก : โอกาส (+) สถานภาพภายนอก : อุปสรรค (-) ดา น คา คะแนน ขอ มูลสนับสนนุ คาคะแนน ขอมูลสนับสนุน เฉลี่ย เฉลีย่ C : ดา นพฤติกรร 3 - ผูปกครองใหความรวมมือ 1 - ผูปกครองสง บตุ ร นมลูกคา กับสถานศกึ ษาเปนอยางดี หลานเขา เรยี นใน โรงเรยี นประจําอําเภอ P : ดานการเมอื ง 4 - มีนโยบายเรยี นฟรี 15 ป 1 มากขนึ้ และกฎหมาย - ผูปกครองทีม่ คี วาม E : ดา นเศรษฐกจิ อยางมคี ณุ ภาพ พรอมทางการเงนิ สง บุตรหลานไปเรียน S : ดา นสงั คมและ - ไดรับสนับสนนุ จาก โรงเรยี นทม่ี ชี อื่ เสียง วัฒนธรรม - มีการเปลย่ี นแปลง องคการบรหิ ารสว นทองถิ่น นโยบายของรัฐและ T : ดานเทคโนโลยี หนว ยงานตน สังกดั บอย 3 - โรงเรยี นไดรบั การ 1 คา เฉลี่ย - ผปู กครองบางสว นไมมี สนบั สนนุ จากชุมชน และ ความพรอมทางการเงนิ ในการสง บุตรหลานไป ผปู กครองบางสวนท่มี ีฐานะ เรยี นตอ - พบปญหาเด็กท่อี าศยั ดี กบั ปยู า ตา ยาย เนอ่ื งจากพอแมต องไป 4 - ผนู าํ ชมุ ชนใหการสนบั สนุน 1 ทํางานตางจงั หวัด ทําให ขาดการดูแลเอาใจใส การศกึ ษาเปน อยา งดี - ส่อื เทคโนโลยีมี คณุ ภาพต่ํา 3 - ไดรบั การจดั สรร 1 - ไมเ พียงพอตอ จาํ นวน งบประมาณตามนโยบาย 1 ผรู ับบริการ ของรัฐ - มีการใชเ ทคโนโลยีมาใชใ น กิจกรรมการเรียนการสอน 3.4

การกาํ หนดนาํ้ หนกั ของสภาพแวดลอ มภายนอก 34 ปจจัยสภาพแวดลอมภายนอก ผลการพจิ ารณานํา้ หนกั C : ดา นพฤตกิ รรมลูกคา 0.18 P : ดานการเมืองและกฎหมาย 0.24 E : ดา นเศรษฐกจิ 0.18 S : ดา นสังคมและวัฒนธรรม 0.24 T : ดานเทคโนโลยี 0.18 1.00 นา้ํ หนกั คะแนนรวม สรุปผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายนอก (1) (2) (3) (4) (5) คะแนนเฉล่ีย นา้ํ หนัก X คะแนน สรปุ ผล รายงาน นา้ํ หนัก ปจ จยั สภาพแวดลอมภายนอก โอกาส อุปสรรค โอกาส อปุ สรรค 3 1 0.54 0.18 + 0.36 C : ดา นพฤตกิ รรมลูกคา 0.18 4 1 0.96 0.24 + 0.72 3 1 0.54 0.18 + 0.36 P : ดา นการเมอื งและกฎหมาย 0.24 4 1 0.96 0.24 + 0.72 3 1 0.54 0.18 + 0.36 E : ดา นเศรษฐกจิ 0.18 + - 1.02 3.354 S : ดานสงั คมและวฒั นธรรม 0.24 + 1.26 T : ดานเทคโนโลยี 0.18 สรปุ ปจ จัยภายนอก เฉลี่ยปจ จัยภายนอก

35 การวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายใน โดยวเิ คราะหแ บบ 7S ดาน ประเดน็ ทีเ่ ปนโอกาส ประเด็นทเ่ี ปน อปุ สรรค S1 : ดานโครงสรา ง - มโี ครงสรางการบรหิ ารงานท่ชี ัดเจน - การบรหิ ารงานตามภาระงานไม - มีการแบงภาระงานเปน 4 ฝา ยงาน เปนระบบชัดเจน - ภาระงานตกอยูกบั บุคลากรคนใด S2 : ดานกลยุทธข องหนว ยงาน - มกี ารกาํ หนดกลยุทธ เปา หมาย คนหนง่ึ มากเกินไป สอดคลองกบั นโยบายของ สพฐ. - ดาํ เนินงานตามกลยุทธไมครบ ตามเปา หมาย และขาดการกํากับ S3 : ดา นระบบในการ - โรงเรียนมรี ะบบการกระจายอาํ นาจ ติดตามอยางตอเน่ือง - ขาดการสอื่ สารที่ดรี ะหวา ง ดําเนินงานของหนวยงาน ในการดําเนินงานท่สี อดคลองกบั บคุ ลากร มาตรฐานแลระเบยี บกฎหมายท่ี - ผบู ริหารไมสามารถบริหาร บคุ ลากรใหเ ปนไปตามเปา หมายที่ โปรง ใส ตรวจสอบได วางไว - ครไู มครบทุกกลุมสาระ S4 : ดานแบบแผนและ - ผบู ริหารมีการวางแผนบรหิ ารจดั การ - ครูและบคุ ลากรยังขาดทักษะการ วดั และประเมินผลท่หี ลากหลาย พฤติกรรมในการบรหิ ารจดั การ อยางมรี ะบบ มีภาวะผนู าํ และบริหาร เชงิ กลยุทธ S5 : ดา นบุคลากร/สมาชิกใน - มคี รูและบุคลากรสอนครบชนั้ หนวยงาน - ครแู ละบคุ ลากรมีการพัฒนาตนเอง อยูเ สมอ S6 : ดานทกั ษะ ความรู - ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามี - ขาดครูท่ที าํ หนาท่ใี นการสอนบาง ความสามารถของหนว ยงาน ทกั ษะความรู ความสามารถ ในการ รายวชิ า S7 : ดานคานิยมรว มกนั ของ สมาชิกในหนว ยงาน สอนทีห่ ลากหลาย - ครูมีภาระหนา ที่อน่ื - ครมู ีความถนดั ทางดา นเทคโนโลยี นอกเหนือจากการสอน สารสนเทศ - งานท่ีปฏบิ ัตปิ ระสบความสําเร็จลลุ ว ง - งานขาดการทํางานรว มกันเปน ไปดว ยดี ทีม - ขาดการประชมุ ปรกึ ษาหารอื อยางตอเนือ่ ง

36 การประเมินสถานภาพภายในหนว ยงาน สภาพแวดลอมภายใน : จุดแข็ง (+) สภาพแวดลอ มภายใน : จุดออ น (-) ประเดน็ สําคัญ คาคะแนน ขอมูลสนบั สนนุ คา คะแนนเฉล่ีย ขอมูลสนับสนนุ เฉลี่ย S1 : ดา นโครงสราง 2 - มีโครงสรางการ 1 - การบริหารงาน บรหิ ารงานที่ชัดเจน ตามภาระงานไม - มีการแบงภาระ เปน ระบบชัดเจน งานเปน 4 ฝา ยงาน - ภาระงานตกอยู กับบคุ ลากรคนใด คนหน่งึ มากเกินไป S2 : ดานกลยุทธข องหนวยงาน 2 - มกี ารกาํ หนดกล 1 - ดาํ เนนิ งานตาม ยทุ ธ เปาหมาย กลยทุ ธไ มครบตาม สอดคลอ งกับ เปา หมาย และขาด นโยบายของ สพฐ. การกํากับติดตาม อยา งตอเนอื่ ง S3 : ดานระบบในการ 1 - โรงเรียนมรี ะบบ 1 - ขาดการสอ่ื สารที่ ดาํ เนนิ งานของหนวยงาน การกระจายอํานาจ ดีระหวา งบคุ ลากร ในการดําเนนิ งานท่ี สอดคลองกบั มาตรฐานแล ระเบยี บกฎหมายที่ โปรงใส ตรวจสอบ ได S4 : ดา นแบบแผนและ 1 - ผูบรหิ ารมีการ 1 - ผบู ริหารไม พฤติกรรมในการบริหารจัดการ วางแผนบรหิ าร สามารถบริหาร จดั การ อยา งมี บุคลากรใหเปนไป ระบบ มภี าวะผูนํา ตามเปา หมายทวี่ าง และบรหิ ารเชงิ กล ไว ยทุ ธ S5 : ดานบุคลากร/สมาชิกใน 3 - มีครแู ละบคุ ลากร 1 - ครูไมครบทุกกลุม หนวยงาน สอนครบชนั้ สาระ - ครูและบุคลากรมี - ครูและบคุ ลากร การพฒั นาตนเอง ยงั ขาดทักษะการ อยเู สมอ วดั และประเมนิ ผล ท่ีหลากหลาย

37 ประเด็นสาํ คัญ สภาพแวดลอมภายใน : จุดแขง็ (+) สภาพแวดลอ มภายใน : จดุ ออน (-) S6 : ดา นทกั ษะ ความรู คา คะแนนเฉลยี่ ขอมูลสนบั สนนุ คาคะแนน ขอมูลสนบั สนนุ ความสามารถของหนวยงาน เฉล่ยี S7 : ดานคา นยิ มรว มกนั ของ สมาชิกในหนว ยงาน 4 - ครแู ละบคุ ลากร 1 - ขาดครูทท่ี ําหนา ที่ คา เฉล่ยี ทางการศกึ ษามี ในการสอนบาง ทักษะความรู รายวิชา ความสามารถ ใน - ครมู ีภาระหนาท่ี การสอนที่ อืน่ นอกเหนือจาก หลากหลาย การสอน - ครมู ีความถนดั ทางดา นเทคโนโลยี สารสนเทศ 2 - งานที่ปฏบิ ัติ 1 - งานขาดการ ประสบความสาํ เร็จ ทาํ งานรวมกันเปน ลลุ ว งไปดว ยดี ทีม - ขาดการประชมุ ปรกึ ษาหารืออยา ง ตอเน่ือง 2.14 1.00 การกาํ หนดนํา้ หนักของสภาพแวดลอมภายใน ผลการพจิ ารณานํ้าหนัก ปจจยั สภาพแวดลอมภายนอก 0.13 0.13 S1 : ดานโครงสราง 0.06 S2 : ดานกลยทุ ธของหนวยงาน 0.06 S3 : ดา นระบบในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงาน 0.20 S4 : ดา นแบบแผนและพฤตกิ รรมในการบริหารจัดการ 0.26 S5 : ดานบคุ ลากร/สมาชกิ ในหนว ยงาน ๐.13 S6 : ดานทกั ษะ ความรู ความสามารถของหนว ยงาน 1.00 S7 : ดานคานิยมรวมกันของสมาชิกในหนว ยงาน นาํ้ หนกั คะแนนรวม

38 สรุปผลการวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายใน (1) (2) (3) (4) (5) คะแนนเฉลี่ย นํ้าหนกั X คะแนน สรปุ ผล รายงาน นาํ้ หนัก ปจ จยั สภาพแวดลอมภายนอก จุดแขง็ จุดออน จดุ แข็ง จุดออ น 2 1 0.13 0.13 +0.13 S1 : ดานโครงสรา ง 0.13 2 1 0.13 0.13 +0.13 1 1 0.06 0.06 0 S2 : ดา นกลยทุ ธข องหนว ยงาน 0.13 S3 : ดานระบบในการดาํ เนินงาน 0.06 ของหนว ยงาน S4 : ดานแบบแผนและพฤติกรรมใน 0.06 1 1 0.06 0.06 0 การบริหารจดั การ S5 : ดา นบุคลากร/สมาชิกใน 0.20 3 1 0.20 0.20 +0.40 หนว ยงาน S6 : ดานทกั ษะ ความรู 0.26 4 1 0.26 0.26 +0.78 ความสามารถของหนวยงาน S7 : ดานคา นิยมรวมกนั ของสมาชิก 0.13 2 1 0.13 0.13 +0.13 ในหนวยงาน สรปุ ปจจัยภายนอก +2.54 -0.97 +0.79 เฉล่ียปจ จยั ภายนอก

39 การกําหนดพันธกิจ เปา ประสงค ประเดน็ สาํ คัญวิสัยทศั น พันธกิจ เปาประสงค 1. ผเู รียน - มคี ุณธรรม ใฝเรียนรู - ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการ - ผูเรียนมีระดบั ผลการเรียนรู - เกง วชิ าการ เรียนรูทั้ง 8 กลุมสาระใหสงู ขึ้น เพิม่ ขึน้ รอยละ 3 - ดีเดนดานกีฬา - สง เสริมและพฒั นากจิ กรรมดา น - ผูเรียนทกุ คนมีทักษะในการใช - มคี วามรับผิดชอบ กฬี า เทคโนโลยี - มวี ินยั - สงเสริมใหผูเ รียนไดใชเ ทคโนโลยี - ผูเรียนผานเกณฑการทดสอบ - มที กั ษะการใชเ ทคโนโลยี อยางทั่วถึง สมรรถนะรอยละ 90 - สง เสริมและอบรมใหนักเรยี นมี - ผเู รยี นทกุ คนผา นการประเมิณ คุณธรรม จริยธรรม ตาม คุณลักษณะอนั พึงประสงค คุณลักษณะอันพึงประสงคของ สถานศกึ ษากาํ หนดให 2. ครู - สอนเตม็ เวลา - ใหค รูปฏิบัติหนา ที่ในการสอนเตม็ - ครทู ุกคนปฏิบัตหิ นาทใี่ นการสอน - เนน ผเู รียนเปน สําคญั เวลา เตม็ เวลา - มคี วามรับผิดชอบ - ใหครูปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณของ - ครูทกุ คนปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ - มีจิตสาธารณะ ครู ของครู - รกั และเมตตาศิษย - ทํางานรวมกันได 3. ผบู ริหาร - ผูน าํ ดา นวชิ าการ และมีระบบ - พัฒนาระบบการบรหิ ารงานอยาง - มีการบรหิ ารงานอยา งเปน ระบบ - บริหารงานที่มีคุณภาพ มีระบบ ดีข้นึ 100 % - มกี ารกระจายอาํ นาจ - มกี ารกระจายอํานาจในการ - บคุ ลากรทกุ คนมีสวนรว มในการ บริหารจัดการ บรหิ ารจดั การ 4. โรงเรยี น - รม รืน่ นาอยู สะอาด - พฒั นาสง่ิ แวดลอมใหน า อยู - โรงเรยี นมสี ง่ิ แวดลอมใหน า อยู - ปลอดภยั นา เรียน และรม รื่น นา เรยี น และรม รืน่ - มรี ัว้ รอบขอบชิด - พฒั นาระบบสาธารณปู โภค - โรงเรยี นมีระบบสาธารณปู โภคท่ี ปลอดภัยขึ้น 5. แหลงเรียนรู / ภมู ปิ ญญา ทอ งถ่ิน - ศกึ ษาแหลง เรียนรทู ห่ี ลากหลาย - สงเสริมใหมีการนํานกั เรียนไป - นักเรยี นทกุ คนไดไปศกึ ษาแหลง - ชุมชนมีสวนรว ม ศกึ ษาแหลงเรียนรนู อกสถานที่ เรียนรูนอกสถานที่ - สนบั สนุนใหมีการนาํ ภมู ปิ ญ ญา - นกั เรียนทุกคนไดความรูจากภูมิ ทอ งถิน่ มาใชในกิจกรรมการเรยี นรู ปญญาทองถิน่

40 ประเดน็ สาํ คัญวสิ ัยทัศน พันธกจิ เปาประสงค 6. อตั ลักษ - มารยาทงาม - จัดกิจกรรมสงเสรมิ มารยาทแก - ผูเรยี นทกุ คนมมี ารยาทดีข้นึ ผเู รยี น 7. เอกลักษณ - มารยาทดี กฬี าเดน เนน - สงเสรมิ ใหผเู รียนมพี ฒั นาการ - ผูเ รยี นทุกคนมีพฒั นาการ วิชาการ ทางดา นรางกาย จติ ใจ ใหส มบรู ณ ทางดา นรางกาย จติ ใจ ใหส มบรู ณ แข็งแรงตามวัย แขง็ แรงตามวัย 8. อืน่ ๆ - สงเสรมิ พัฒนาใหผูเรยี นมีการ - ผูเรยี นทุกคนมกี ารเรยี นรูเต็ม - เนนการทาํ งานเปน ทมี เรียนรูเตม็ ศักยภาพ ศกั ยภาพ - สนบั สนุนใหบคุ ลากรภายใน - บุคลากรทกุ คนใหความรวมมือใน สถานศกึ ษาทํางานรวมกันเปนทีม การทํางานเปนทีม












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook