Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย เรื่อง การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

วิจัย เรื่อง การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Published by ศรีมูล สมบุตร, 2021-03-26 06:56:48

Description: วิจัย เรื่อง การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Search

Read the Text Version

1 วจิ ยั เรื่อง การใช้สอ่ื คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Mieosoft Power Point เร่ือง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กล่าวถึงการจัดการศึกษาวา่ การ จัดจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและศักยภาพ ( สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2541, น. 12 ) ซ่ึง สอดคล้องกับหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ข้อ 3 ท่ีเน้น การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญท่ีสดุ สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551, น. 4 ) โดยจดุ มุง่ หมายของหลกั สตู รมุง่ พฒั นาคนไทยใหม้ ีคณุ ภาพและศักยภาพในการพฒั นาสนองและพัฒนา สังคม และกาหนดสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรไว้ 8 กลุ่มสาระ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551, น. 4-5 ) กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นาธรรม เปน็ กลุ่มสาระทีต่ อ้ งเรียนตลอด 12 ปีการศึกษา ตงั้ แตร่ ะดับประถมศกึ ษาจนถึงระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เป็นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีมี ลักษณะเปน็ สหวิทยาการ โดยนาวิทยาการจากแขนงวิชาต่าง ๆ ในสาขาสังคมศาสตรม์ าหลอมรวมเข้า ด้วยกัน ได้แก่ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ จริยธรรม ประชากรศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ออกแบบมาเพ่ือส่งเสริมศักยภาพการเป็น พลเมอื งดใี ห้แก่ผู้เรียนโดยเปา้ หมายของการพัฒนาความเป็นพลเมืองดีซงึ่ ถือเป็นความรับผดิ ชอบของ กลุ่มสาระการเรียนรูด้ ว้ ยเช่นกนั ( กรมวิชาการ, 2544. น. 3 ) ภูมศิ าสตร์จัดเปน็ สาระการเรยี นรู้หน่งึ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและ วฒั นธรรม มขี อบขา่ ยการเรียนรูท้ ่ีมีสาระหลักเป็นความคดิ รวบยอดที่เกีย่ วขอ้ งกับศาสตรต์ า่ งๆ หลาย ศาสตร์ คอื ภูมิศาสตร์ สง่ิ แวดลอ้ ม ประวตั ศิ าสตร์ มานุษยวิทยา ทมี่ ุ่งใหม้ คี วามเข้าใจในเรอื่ งมติ ิ สัมพันธท์ างภูมศิ าสตรก์ บั สภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ที่ปรากฏอยู่บนโลกความสัมพันธต์ ่อกันและต่อการ ดารงชีวิตของมนษุ ย์ การจดั การเรยี นร้ตู อ้ งให้ผู้เรียนไดร้ จู้ ักตนเอง แสวงหา ความรูแ้ ละ ประสบการณ์

ในการศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในเชิงมิติสัมพันธ์ ทั้งในส่วนของประเทศไทยกบั โลกที่เราอาศัยอยู่มีความสามารถที่จะอธิบายลักษณะตาแหน่ง แหล่งท่ี แบบแผนและกระบวนการ ต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการศึกษา ปรากฏการณข์ องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และวัฒนธรรม คิดวเิ คราะห์ และผลกระทบที่มีต่อโลก ( กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2545, น.6 ) การเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมยังประสบปัญหาสาคัญอยู่หลาย ประการโดยเฉพาะในสาระการเรียนรู้ภมู ศิ าสตร์ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นสาระดังกล่าวยังละเลยการให้ความสาคัญกบั การสอนเพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ซึ่งทักษะการคดิ มีความสาคญั ต่อการเรียนรู้ของผเู้ รยี นและ สมั พนั ธ์กบั ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โดยเฉพาะทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณซึง่ เปน็ ทกั ษะทม่ี ีความ จาเปน็ ตอ่ การนามาใช้ชีวติ ประจาวนั เพอ่ื ใชใ้ นการเลอื กตัดสินใจในการรับรู้รับฟังขอ้ มูลข่าวสารท่ีมีอยู่ อย่างมาก ทาให้ขาดการตัดสินใจอย่างรอบคอบส่งผลให้การตัดสินใจผิดพลาด ขาดการรับรู้รับฟัง ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ขาดความรอบคอบในการตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ โดยนักเรียนส่วนใหญ่ขาด ประสบการณ์ในการศึกษาค้นคว้าความจรงิ รอบตัวไมไ่ ด้ฝกึ การเลือกรับขอ้ มลู ความจรงิ จากข่าวสารที่มี มากมายท้ังจริงท้ังเท็จ ไม่อาจแยกความจริงกับความเท็จได้ การเรียนการสอนไม่ได้สอนวิธีคิด ( ประเวศ วะสี, 2539, น. 3-4 ) โดยเฉพาะเนือ้ หาวิชาภูมิศาสตร์เป็นเน้ือหาท่ียากสลับซับซ้อน ต้องใช้ การคิดวิเคราะห์ และตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อสังคมคุณภาพชีวิตและส่ิงแวดล้อม ต้องใช้ เทคนิคและวิธกี ารเทคโนโลยี สื่อการเรียนรู้นวตั กรรมโดยจาเป็นอย่างยิ่งท่ีครผู ู้สอนจะต้องรจู้ ักเลอื ก จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธภิ าพ เทคนิคและวธิ ีการสอนแบบใหมๆ่ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสนใจ เรยี นมากย่ิงข้นึ เพอ่ื ส่งเสริมและพฒั นาทกั ษาทกั ษะกระบวนการคดิ ของผเู้ รียน ในกระบวนการเรยี นการสอนนน้ั สือ่ การเรยี นการสอนเปน็ ทรพั ยากรหนึ่งท่นี ามาใช้ในระบบ การเรียนการสอน ซ่ึงจะต้องใช้ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรม เวลา และสถานท่ีเพื่อให้ ผู้เรียนได้รับความรู้มากที่สุดในเวลาประหยัดที่สุด (นิพนธ์ ศุขปรีดี, 2519, น.40 ) การสอนโดยใช้ Power Point เป็นนวัตกรรมหนง่ึ ท่ีช่วยการเรียนการสอน อันปฏิเสธไม่ไดเ้ ลยว่าการเรียนสอนในยุค น้ี ผู้สอนจาเป็นต้องพัฒนาตนเอง จัดการส่ือท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ดังนั้น การใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint จึงเหมาะสมท่ีจะนามาจัดการเรียนการ สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์ในรูปหน่วยการเรียนท่ีมีความสมบูรณ์หรือบูรณาการ ท่ีสอดคล้อง เน้ือหาวิชาทุกขั้นตอนและการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPointที่มี

ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์จะมปี ระโยชน์ตอ่ การเรียนการสอนอยา่ งย่ิง คือชว่ ยเร้าความสนใจของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนในการแสดงความคิดเห็น ฝึกทักษะกระบวนการกล่มุ ฝึกการตัดสินใจและแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง เน้นการใหส้ ่งิ เร้าและการตอบสนอง ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงทาให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะผลิตส่ือการสอนเป็นการสอนโดยใช้ Power Point เรอ่ื ง เครือ่ งทางภูมิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เพื่อใช้ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ช่วยเพิม่ พูนความรู้ความเขา้ ใจ และ สรา้ งแรงจูงใจให้กับนักเรยี น สามารถคดิ วิเคราะห์ได้ เต็มใจเข้ารว่ มปฏิบัติกิจกรรมทางภูมิศาสตร์ อัน จะส่งผลดีต่อการพัฒนาคุภาพการศึกษาของนักเรียน ซ่ึงเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศใน อนาคตและสามารถดารงชวี ติ อยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1. เพ่ือศึกษาผลการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ทเี่ รียนโดยใช้การใช้สื่อคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เคร่อื งมอื ทาง ภูมิศาสตร์ สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นความพึงพอใจของนกั เรยี นทีม่ ีตอ่ การเรียนโดยการใช้สอื่ คอมพวิ เตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 1.3 สมมตฐิ านของการวจิ ยั คะแนนทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ทเ่ี รยี นโดยการใช้ ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ไม่แตกตา่ งกัน 1.4 ขอบเขตของการวิจยั

ในการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้กาหนด ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้าไวด้ งั นี้ 1. ด้านประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 ตาบลช่างเค่ิง อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน นกั เรยี นท้งั หมด 24 คน 2. ดา้ นเนื้อหา ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยคร้งั น้ี คือ เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ 3. ด้านระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ใช้เวลาทดลอง 4 คร้ัง ๆ ละ 1 คาบ ( คาบละ 1 ชั่วโมง ) ระหวา่ งวันที่ 26-27 4. ตัวแปรทีศ่ ึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPointเรื่อง เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 1. ประสิทธิภาพของการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 2. ผลสัมฤทธิทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการเรียนโดยใช้การใช้ ส่ือคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้การใช้ สือ่ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ สาหรับ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การใช้สือ่ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ย - ประสทิ ธิภาพของการใชส้ อ่ื คอมพวิ เตอร์ สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครอื่ งมือทาง ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft ภูมศิ าสตร์ สาหรบั นักเรยี นชั้น PowerPoint เรื่อง เครอื่ งมือทาง มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นราชป ภูมศิ าสตร์ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นราชประชานุ เคราะห์ 31 - คะแนนทดสอบหลังเรยี น

แผนภาพที่ 1 แสดงความสัมพนั ธ์ของตวั แปร นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ Microsoft PowerPoint ช่วยสอน หมายถึง การใช้โปรแกรมไมโครซอฟออฟฟิด ที่เป็น โปรแกรมสาเร็จรูปชอ่ื โปรแกรม Microsoft PowerPoint ใช้สาหรบั ชว่ ยในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คะแนนก่อนเรียน หมายถึง คะแนนท่ีนักเรียนทาได้กอ่ นที่จะมีการจัดการเรยี นรู้ด้วยการ ใชส้ อ่ื คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPointเรอ่ื ง เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 คะแนนหลังเรียน หมายถึง คะแนนที่นักเรียนทาได้หลังจากการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPointเรื่อง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ความพึงพอใจ หมายถงึ ความร้สู กึ ความคิดเห็น ของนกั เรยี นที่มีต่อการเรียนโดยการใช้ สื่อคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการวจิ ัย 1. ทราบผลการใช้สือ่ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครอื่ งมือ ทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ให้มี ประสทิ ธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 2. ทราบผลเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ท่ีเรียนโดยใช้การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31

3. ทราบความคิดเห็นความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้ การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 4.ได้แนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพ และมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นทีส่ งู ขนึ้ 5. ใช้เปน็ แนวทางประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการศกึ ษา การศกึ ษาคร้งั น้ีเปน็ การศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Research) การใชส้ ่ือคอมพวิ เตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาผลการใช้ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน ทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมตี ่อการเรียน ตอ่ การเรียนโดยการ ใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โดยมีวิธีดาเนินการศึกษา ดงั น้ี 3.1 ประชากร ประชากร ประชากรนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จานวน 24 คน กลมุ่ ตวั อยา่ ง

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้แก่นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านมูเซอ จานวน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพ่ือ ทดลองใชส้ ือ่ คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอื่ ง เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ ที่สรา้ งขึ้น 3.2 รปู แบบของการศกึ ษา ผศู้ กึ ษาใชเ้ ทคนคิ การวิจยั เชงิ ทดลองเบือ้ งต้น (Pre-experimental design) โดยใช้กลุ่มเดียว (One Group Pre-test Post-test design) รายละเอยี ดดงั แผนภาพที่ 1 XTX (Pretest) (Treatment) (Posttest) ทดสอบกอ่ นทดลอง ดาเนนิ การทดลอง ทดสอบหลงั ทดลอง X การทดสอบกอ่ นการทดลอง T การทดลองโดยใช้สื่อคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint

20 X การทดสอบหลงั การทดลอง แผนภาพที่ 1 แสดงแบบแผนการศกึ ษาเชิงทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test desig 3.3 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั 1.การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทาง ภูมิศาสตร์ สาหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 2. แผนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จานวน 1 แผน 3. แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ชว่ ย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

3.4 การสร้างและพฒั นาเครือ่ งมอื การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทาง ภูมศิ าสตร์ สาหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มวี ธิ ีการดงั นี้ 1. ศึกษาเน้ือหาและสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2. ศึกษาเอกสารทเ่ี กย่ี าข้องกับเครอ่ื งมือทางภศิ าสตร์ ประเภทของเรือ่ งมือทางภศิ าสตร์ แนว ทางการใช้เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ การนาเสนอข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ 3. เรยี บเรียงเนอื้ หา เรือ่ ง เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ 4. วางเค้าโครงเนอื้ หา จดั ลาดับกอ่ นหลัง แลว้ นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หาตรวจสอบความ ถูกต้องและสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 5. ศึกษาการใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint ในการสร้างส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และศึกษารูปแบบการสร้างสื่อการสอน โปรแกรม Microsoft PowerPoint จากตาราเอกสารที่ เกยี่ วขอ้ ง 6. กรอบเนอ้ื หาสอื่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ 7. ตรวขสอบคุณภาพเบื้องต้น โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูอานนท์ วงศ์เสน ซึ่งเป็น ผู้สอนที่มีความเช่ียวชาญและชานาญในรายวิชาสังคมศึกษา ช่วยตรวจสอบความเหมาะสม ความ ถูกต้องและความสมบูรณ์ของ การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ปรับปรงุ แกไ้ ขทาการปรับปรุงแกไ้ ขตามคาแนะนาของผู้เช่ยี วชาญ 8. นากลบั ไปใหผ้ ูเ้ ช่ียวชาญตรวจสอบอกี ครง้ั 9. ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภูมศิ าสตร์ 3.5 การสร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนโดยการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ แบบทดสอบเร่ืองการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ 1 ฉบับ เพ่ือใช้ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นโดยใช้แบบทดสอบทผ่ี ู้รายงานสรา้ งขึ้น มขี น้ั ตอนการสรา้ ง ดังน้ี 1. ศึกษาทฤษฎีและวธิ ีสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแบบอิงเกณฑ์

2. วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เพอ่ื หาความสมั พันธ์ของ โดยครผู ู้สอนเปน็ ผ้กู าหนดเนื้อหา เลอื กวิธีวดั ผลและ เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวดั ผล 3. สร้างข้อสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยให้ครอบคลุมท้ังเนื้อหา และ จดุ ประสงค์ จานวน 20 ขอ้ 4. นาแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญด้านการวัดผลเพื่อพิจารณาหาความ เที่ยงตรงของเน้ือหา ความเหมาะสมของภาษาและความสอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้กับ แบบทดสอบ เพือ่ นไปปรบั ปรุงแกไ้ ข 5. ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลประเมินข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ตามวิธีของโร วิเนลลิ และแฮมเบิลตัน (อ้างใน ไพศาล ศรีวิชัย. 2547, หน้า 57) เพื่อหาผลรวมของคะแนนใน ข้อสอบแต่ละข้อ แล้วนามาหาค่าเฉล่ียเพื่อดูดัชนีความสอดคล้องระหว่างเน้ือหาในแบบทดสอบกับ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนน ดังนี้ ให้ + 1 เม่อื แน่ใจว่าขอ้ สอบนน้ั วัดไดต้ รงตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ให้ 0 เมอื่ ไมแ่ นใ่ จวา่ ข้อสอบน้ันได้ตรงตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ให้ – 1 เมอ่ื แน่ใจว่าขอ้ สอบวดั ไดไ้ มต่ รงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 6. วิเคราะห์ขอ้ มูล หาคา่ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวตั ถปุ ระสงค์ 7. นาแบบทดสอบทไี่ ดป้ รับปรงุ แกไ้ ข ตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ยี วชาญด้าน การวดั ผล ไปใช้ กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาท่ไี มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ ง จานวน 15 คน ตรวจใหค้ ะแนนโดยข้อท่ีตอบถูกให้ 1 คะแนน ข้อท่ีผิด ข้อท่ีไม่ได้ทาหรือข้อที่ตอบมากกว่า 1 ให้ 0 คะแนน ผู้ศึกษานาคะแนนท่ีได้จาก การทดสอบมาวิเคราะห์หาความยากง่าย (Difficulty) และคา่ อานาจจาแนก โดยใชว้ ธิ ขี อง Brennan (บุญชม ศรสี ะอาด, 2543 : 87 – 89) คดั เลอื กเฉพาะข้อสอบทีม่ อี านาจจาแนกมากกวา่ 0.20 และ ค่าความยาก-ง่ายระหวา่ ง 0.20 - 0.80 8. หาค่าความเช่ือมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร KR - 20 ของ คูเดอร์ ริชารด์ สัน (Kuder Richardson) จานวน 20 ข้อ ซ่ึงไดค้ า่ ความเชื่อมั่นทเี่ หมาะสม

9.จัดทาข้อสอบฉบับสมบูรณ์เพื่อนาไปใช้ในการศึกษา โดยทาการทดสอบก่อนเรียน ตาม แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 และทดสอบหลงั เรยี นเมือ่ เรียนจบแผนการจดั การเรยี นรู้ ศึกษาวิธีสรา้ งแบบทดสอบแบบปรนัย วิเคราะหห์ ลักสูตร วิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างจุดมุง่ หมายของหลักสูตร จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กล่มุ สาระการสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยครูผู้สอน เป็ นผ้กู าหนดเนอื ้ หา เลอื กวธิ ีวดั ผลและเครื่องมือทใี่ ช้ในการวดั ผล สรา้ งแบบทดสอบแบบปรนัยจานวน 20 ข้อ ผ้เู ชีย่ วชาญตรวจสอบ ไมผ่ า่ น ผ่าน ปรับปรุง ทดลองใช้แบบทดสอบ วเิ คราะหห์ าค่าความยาก-ง่าย และ ค่าอานาจจาแนก

วเิ คราะหห์ าค่าความเช่อื มัน่ แบบทดสอบที่ใช้ในการศึกษาจานวน 20 ข้อ แผนภาพที่ 2 แสดงข้นั ตอนการสรา้ งแบบทดสอบ 3.6 การสร้างแผนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการ เรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้และการวัดและ ประเมินผล 1. ศึกษาวิธกี ารหลักการทฤษฎีและเทคนคิ การเขยี นแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 2. กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสารตารา งานวิจัยทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ เพอ่ื นามาเปน็ แนวทางในการวางแผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามสาระท่ีกาหนด ซึ่งผู้ศึกษาได้แบ่งเนื้อหา ออกเป็น 1 แผนรวม 4 ชั่วโมง เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามเน้ือหาและจุดประสงค์ รายละเอียด ดังนี้ 4. นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ส่ือคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ จานวน 1 แผน ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้อง เพ่ือ หาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (IOC) ระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล 5. เมื่อผศู้ กึ ษาคานวณหาคา่ (IOC) ตามสูตรไดค้ ่า IOC ต้งั แต่ 0.6 – 1.0 (คา่ เฉล่ียตัง้ แต่ 0.5 ข้ึนไปถือว่าใช้ได้) พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.90 ดังน้ันแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 จึงมีความสอดคล้องกันระหว่างสาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการ

เรียนรู้ กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ และการวัดประเมินผลตามท่รี ะบุไว้ 6. นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ท่ีได้ผ่านการตรวจจากผู้เชี่ยวชาญเรยี บร้อย แลว้ ไปปรบั ปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ 7. จัดพิมพ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ เป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ แล้วนาแผนจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ ทัง้ 1 แผนไปใช้ในการศกึ ษากับกลุ่มตวั อยา่ ง

ศกึ ษาวเิ คราะห์หลักการ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานช่วงช้ัน เน้ือหาสาระ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั วธิ สี อน เพอ่ื ออกแบบแผนการ จัดกจิ กรรม การเรยี นร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา สร้างแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ นาเสนอผ้เู ชย่ี วชาญ ไมผ่ า่ น ปรับปรุง ผา่ น นาแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านขัน้ ตอนแล้ว ไปทดลองกับกลุม่ ตวั อย่าง และเกบ็ รวบรวมข้อมลู แผนภาพที่ 3 แสดงผลการสร้างแผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้การใช้สื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน โปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอื่ ง เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ 3.7 การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียน สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ มขี ั้นตอนดงั นี้ 1. ศึกษาวธิ ีการสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ จากเอกสารงานวจิ ยั ตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

2.วิเคราะห์เนื้อหา เลือกรูปแบบเครื่องมือและกาหนดเกณฑ์ ในการสอบถาม ความพึง พอใจที่มีต่อการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทาง ภูมศิ าสตร์ 3. ดาเนินการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้การใช้ สื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ ลกั ษณะ ของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับของ เบสท์ จานวน 15 ข้อ เพอ่ื ให้นกั เรยี นประเมินตนเองหลังเรยี น โดยกาหนดเกณฑ์ในการตอบและแบ่งระดับคะแนนดังน้ี ( Rating scale ) ระดับคะแนน 5 หมายถงึ มากท่สี ดุ ระดับคะแนน 4 หมายถงึ มาก ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ปานกลาง ระดับคะแนน 2 หมายถงึ น้อย ระดะคะแนน 1 หมายถึงน้อยที่สุด 4. การสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจ 5. นาข้อคาถามท่ีสร้างเสร็จแล้ว เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่านตรวจสอบความ สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับเน้ือหา จุดประสงค์และหาความเช่ือมั่นของแบบประเมินความพึง พอใจที่มีต่อการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทาง ภูมิศาสตร์ ตามวิธีของ ครอนบัค (สมนึก ภัททิยธน 2549, หน้า 220) ค่าท่ีคานวณได้มีค่า เท่ากับ 0.92 - 1.00 ซึ่งคา่ เฉลี่ยตั้งแต่ 0.60 – 1.00 ข้ึนไปถือว่าใช้ได้ ดงั น้นั ข้อคาถามในแบบสอบถามความ พึงพอใจจงึ ใช้ได้ทกุ รายการ 6. นาแบบสอบถามมาปรับปรงุ แกไ้ ขตามคาแนะนาของผู้เชีย่ วชาญ 7. จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจฉบับสมบรู ณ์ ไปทดลองใชก้ บั นกั เรยี นกลุม่ ตวั อย่าง ศกึ ษาการสร้างแบบสอบถาม

วางโครงสร้างคาถามเพอื่ สร้างคาถามให้สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจ นาเสนอผ้เู ชย่ี วชาญ ไมผ่ ่าน ปรบั ปรงุ ผา่ น นาแบบสอบถามที่ผ่านขนั้ ตอนแลว้ ไปทดลองกับกลมุ่ ตวั อยา่ งและเก็บรวบรวมข้อมลู แผนภาพที่ 4 แสดงผลการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการ เรียนโดยใช้การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทาง ภมู ศิ าสตร์ 3.8 วิธีดาเนนิ การวิจยั

ผู้ศึกษากาหนดระยะเวลาดาเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โดยทดลองสอน โดยใช้เวลา 4 ชัว่ โมง ระหวา่ งวันที่ 26-27 ธันวาคม 2560 โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี 1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) เพื่อตรวจสอบพ้ืนฐานความรู้ของนักเรียนกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภมู ิศาสตร์ 2. ก่อนการสอนผู้ศึกษาแจ้งคาช้ีแจงการใช้ส่ือคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ จุดประสงค์ ขนั้ ตอนและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใหน้ ักเรียน ทราบ และดาเนินการสอนโดยปฏิบตั ิตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การใช้สอ่ื คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ จานวน 1 แผน เวลา 4 ช่ัวโมง เมื่อเรียนจบแผนการสอน ดาเนินการเก็บรวบรวมคะแนนจากการทาแบบฝึกโดยใช้เกณฑ์ใน การให้คะแนนตามแบบประเมินผลในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูพ้ รอ้ มท้ังบันทึกคะแนนนกั เรยี น แตล่ ะคน 3. หลงั สน้ิ สดุ การสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้การใช้สอื่ คอมพวิ เตอร์ช่วย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ทาการทดสอบหลังเรียนโดย ใช้แบบทดสอบวัดผลทางการเรียนชุดเดิมเม่ือทาการทดสอบเรียบร้อยแล้วทาการบันทึกคะแนน นกั เรียนแตล่ ะคน ทดสอบก่อนเรียน g การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใชส้ ่อื คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ คะแนนระหว่างเรียน

ทดสอบหลงั เรยี น วิเคราะหข์ ้อมลู แผนภาพที่ 5 แสดงขั้นตอนวธิ ดี าเนินการศกึ ษา

3.9 สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้ศึกษาวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยวิธกี ารทางสถติ ิ ดังน้ี 1. การคานวณค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คะแนนเฉล่ีย (Mean = X ) และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation = SD) จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักเรยี น ผศู้ ึกษาไดใ้ ช้สถติ ใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 1.1 หาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดงั น้ี คะแนนร้อยละ = ผลรวมของคะแนน X 100 คะแนนเตม็ x จานวนนักเรยี น 1.2 ค่าเฉลย่ี (Mean หรือ X) ได้จากผลรวมของข้อมลู สตู ร X = x N เมื่อ X แทน คะแนนเฉล่ยี  x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนนกั เรียน 1.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร S.D.  N X2  ( X)2 N(N 1)

เมือ่ S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตล่ ะตัว  แทน ค่าเฉล่ีย แทน จานวนคะแนนในกลุม่ X แทน ผลรวม N  2. สถิติที่ใช้คานวณหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ 2.1 การหาประสิทธิภาพของการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ โดยใชเ้ กณฑ์ที่ตงั้ ไว้ คอื E1/E2 = 80/80 การหาคะแนน เฉลย่ี ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ด้จากการทาแบบฝึกเสริมทกั ษะและแบบทดสอบหลังเรียนจบทั้ง 3 แบบฝึก ดงั นี้ หาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทาใบงานการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์( E1 ) จากสตู ร x E1 = n 100 A

เมอื่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ x แทน ผลรวมของคะแนนการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมหรอื ใบงาน ของนกั เรียนทุกคน A แทน คะแนนเตม็ ของใบงาน n แทน จานวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง หาประสทิ ธภิ าพของผลลพั ทท์ ไ่ี ด้จากการทาแบบทดสอบ ( E2 ) สูตร f E2 = n 100 B เม่อื E แทน ประสิทธิภาพของผลผลติ หรอื การสอบหลงั เรียน f แทน ผลรวมของคะแนนสอบหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

3. สถิตทิ ่ีใชค้ านวณหาค่าระดับความยากงา่ ย ค่าความเชอ่ื ม่นั ความตรง ความเทย่ี งของ แบบทดสอบวดั ผลการเรยี น 3.1 การหาค่าระดับความยาก (Difficulty Level) (p) คิดจากร้อยละของจานวนผทู้ ี่ ตอบข้อสอบข้อน้ันได้ถูกต้อง ค่าดรรชนีความยากของข้อสอบจะอยู่ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00 ซ่ึง หมายความวา่ มรี ะดบั ยากทส่ี ดุ ถึงง่ายทส่ี ุด คา่ 0.00 หมายถงึ ยากทีส่ ดุ ค่า 1.00 หมายถงึ ง่ายท่ีสุด และการหาคา่ อานาจจาแนก (Discrimination Power) ดังน้ี P =R N เมือ่ P แทน ระดับความยากงา่ ย R แทน จานวนนักเรยี นทเ่ี ลอื กตอบข้อถกู N แทน จานวนนกั เรียนทั้งหมด เกณฑ์ขอบเขตของ p และความหมาย 0.80 – 1.00 เป็นข้อสอบที่ง่ายมาก 0.60 – 0.79 เปน็ ข้อสอบทคี่ อ่ นขา้ งง่าย (ใชไ้ ด)้ 0.40 – 0.59 เป็นข้อสอบที่งา่ ยพอเหมาะ (ใช้ไดด้ )ี 0.20 – 0.39 เปน็ ข้อสอบท่คี ่อนขา้ งยาก (ใช้ได้) 0.00 – 0.19 เป็นข้อสอบที่ยากมาก r = RH RL N เมอื่ r แทน คา่ อานาจจาแนก

RH แทน จานวนนักเรยี นทีเ่ ลือกข้อถูกในกล่มุ สูง RL แทน จานวนนักเรยี นทีเ่ ลือกข้อถกู ในกลุ่มตา่ N แทน จานวนนักเรียนทง้ั หมดในกลุ่มสงู หรอื กลุม่ ต่า เกณฑ์ขอบเขตของ r และความหมาย 0.40 ขึน้ ไป คา่ อานาจจาแนกสงู คุณภาพของขอ้ สอบดมี าก 0.30 – 0.39 ค่าอานาจจาแนกปานกลาง คณุ ภาพของข้อสอบดีพอสมควร 0.20 – 0.29 คา่ อานาจจาแนกค่อนข้างตา่ คณุ ภาพข้อสอบพอใช้ได้ 0.00 – 0.19 คา่ อานาจจาแนกตา่ คณุ ภาพข้อสอบไมค่ วรนามาใช้ 3.2 การหาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบแบบเลือกตอบ โดยใช้สูตรของคูเดอร์ – ริชารด์ สนั 20 (KR-20) rtt = n 1  p q  n 1 s 2 t เมอื่ n แทน จานวนข้อ p แทน สัดสว่ นของคนทาถูกในแต่ละขอ้ q แทน สัดส่วนของคนทาผดิ ในแต่ละขอ้ (1-p) st2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบบั 3.3 การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเน้ือหา โดยการใช้วิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambelton) ซ่ึงเรียกว่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผล การเรียนร้ทู ีค่ าดหวัง (IOC : Index of Item Objective Congruence)

IOC   R N เมื่อ IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งจุดประสงค์กับเน้อื หา หรือระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนความพงึ พอใจของผ้เู ชีย่ วชาญ N แทน จานวนผเู้ ชีย่ วชาญทง้ั หมด 3.4 ค่าสัมประสิทธ์ิการกระจาย (Co-efficient variation) ใช้สัญลักษณ์ C.V. เพือ่ ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการสอนของครู C.V. = S .D.  100 X เกณฑ์การหาประสิทธภิ์ าพการสอนของครดู ว้ ยค่า C.V. คา่ C.V. ต่ากว่า 10 % หมายถึง ระดบั คณุ ภาพการสอนดี ค่า C.V. ระหวา่ ง 10 – 15 % หมายถึง ระดับคณุ ภาพการสอนปานกลาง คา่ C.V. สงู กวา่ 15% หมายถงึ ระดบั คุณภาพการสอนต้องปรบั ปรุง 4. สถติ ิทใ่ี ช้ในการเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียระหว่างคะแนนของนักเรียนกอ่ นใช้และหลังใช้ แบบการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภมู ศิ าสตร์ ใช้สูตร t-test (Dependent – Samples) บญุ ชม ศรีสะอาด (2545, หนา้ 112)

t D nD2 (D)2 (n 1) t แทน คา่ สถิติท่ีใชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวกิ ฤตเพือ่ ทราบ ความมีนัยสาคญั D n แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่ แทน จานวนคู่  D2 (D2 ) แทน ผลรวมของ D แตล่ ะตวั ยกกาลงั สอง แทน การเอาผลรวมของ D ทัง้ หมดยกกาลงั สอง 5. สถิติท่ีใช้ในการหาความเช่ือมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการ ใช้ ส่อื คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ ใชส้ ูตรของครอนบัค (สมนึก ภัททยิ ธน 2548,หนา้ 60 – 61) = kk   s 2   1 j   2  1 s t เมือ่ k แทน จานวนขอ้ ของเคร่ืองมือ s2j แทน ความแปรปรวนของขอ้ มลู แต่ละขอ้ s2t แทน ความแปรปรวนของข้อมลู ทไ่ี ด้ s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน

3.9 สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้ศึกษาวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ ดังน้ี 1. การคานวณค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คะแนนเฉล่ีย (Mean = X ) และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation = SD) จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักเรยี น ผศู้ ึกษาไดใ้ ช้สถติ ใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 1.1 หาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดงั น้ี คะแนนร้อยละ = ผลรวมของคะแนน X 100 คะแนนเตม็ x จานวนนักเรยี น 1.2 ค่าเฉลย่ี (Mean หรือ X) ได้จากผลรวมของข้อมลู สตู ร X = x N เมื่อ X แทน คะแนนเฉล่ยี  x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนนกั เรียน 1.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร S.D.  N X2  ( X)2 N(N 1)

เมือ่ S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตล่ ะตัว  แทน ค่าเฉล่ีย แทน จานวนคะแนนในกลุม่ X แทน ผลรวม N  2. สถิติที่ใช้คานวณหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ 2.1 การหาประสิทธิภาพของการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ โดยใชเ้ กณฑ์ที่ตงั้ ไว้ คอื E1/E2 = 80/80 การหาคะแนน เฉลย่ี ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ด้จากการทาแบบฝึกเสริมทกั ษะและแบบทดสอบหลังเรียนจบทั้ง 3 แบบฝึก ดงั นี้ หาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทาใบงานการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์( E1 ) จากสตู ร x E1 = n 100 A

เมอื่ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการ x แทน ผลรวมของคะแนนการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมหรอื ใบงาน ของนกั เรียนทุกคน A แทน คะแนนเตม็ ของใบงาน n แทน จานวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง หาประสทิ ธภิ าพของผลลพั ทท์ ไ่ี ด้จากการทาแบบทดสอบ ( E2 ) สูตร f E2 = n 100 B เม่อื E แทน ประสิทธภิ าพของผลผลติ หรอื การสอบหลงั เรียน f แทน ผลรวมของคะแนนสอบหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

3. สถิตทิ ่ีใชค้ านวณหาค่าระดบั ความยากง่าย ค่าความเชอ่ื มั่น ความตรง ความเทย่ี งของ แบบทดสอบวดั ผลการเรยี น 3.1 การหาค่าระดับความยาก (Difficulty Level) (p) คิดจากร้อยละของจานวนผู้ท่ี ตอบข้อสอบข้อน้ันได้ถูกต้อง ค่าดรรชนีความยากของข้อสอบจะอยู่ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00 ซ่ึง หมายความวา่ มรี ะดบั ยากทส่ี ดุ ถึงง่ายทสี่ ุด คา่ 0.00 หมายถึงยากทีส่ ดุ ค่า 1.00 หมายถงึ ง่ายที่สุด และการหาคา่ อานาจจาแนก (Discrimination Power) ดงั น้ี P =R N เมือ่ P แทน ระดบั ความยากงา่ ย R แทน จานวนนกั เรยี นทเี่ ลอื กตอบข้อถูก N แทน จานวนนักเรยี นท้งั หมด เกณฑ์ขอบเขตของ p และความหมาย 0.80 – 1.00 เปน็ ขอ้ สอบทง่ี ่ายมาก 0.60 – 0.79 เปน็ ขอ้ สอบทีค่ อ่ นขา้ งง่าย (ใชไ้ ด)้ 0.40 – 0.59 เป็นขอ้ สอบที่งา่ ยพอเหมาะ (ใชไ้ ดด้ ี) 0.20 – 0.39 เปน็ ขอ้ สอบท่ีค่อนข้างยาก (ใชไ้ ด)้ 0.00 – 0.19 เปน็ ขอ้ สอบทีย่ ากมาก r = RH RL N เมอื่ r แทน คา่ อานาจจาแนก

RH แทน จานวนนักเรยี นที่เลอื กข้อถกู ในกลมุ่ สงู RL แทน จานวนนักเรยี นทีเ่ ลอื กข้อถกู ในกลุ่มตา่ N แทน จานวนนักเรียนทง้ั หมดในกลุ่มสูงหรือกลมุ่ ต่า เกณฑ์ขอบเขตของ r และความหมาย 0.40 ขึน้ ไป คา่ อานาจจาแนกสงู คุณภาพของขอ้ สอบดีมาก 0.30 – 0.39 ค่าอานาจจาแนกปานกลาง คณุ ภาพของขอ้ สอบดพี อสมควร 0.20 – 0.29 คา่ อานาจจาแนกค่อนข้างตา่ คณุ ภาพข้อสอบพอใช้ได้ 0.00 – 0.19 คา่ อานาจจาแนกตา่ คณุ ภาพข้อสอบไมค่ วรนามาใช้ 3.2 การหาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบแบบเลือกตอบ โดยใช้สูตรของคูเดอร์ – ริชารด์ สนั 20 (KR-20) rtt = n 1  p q  n 1 s 2 t เมอื่ n แทน จานวนข้อ p แทน สัดสว่ นของคนทาถูกในแตล่ ะขอ้ q แทน สัดส่วนของคนทาผดิ ในแต่ละข้อ (1-p) st2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนท้ังฉบับ 3.3 การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเน้ือหา โดยการใช้วิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambelton) ซ่ึงเรียกว่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผล การเรียนร้ทู ีค่ าดหวัง (IOC : Index of Item Objective Congruence)

IOC   R N เมื่อ IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหว่างจุดประสงค์กับเน้อื หา หรือระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนความพงึ พอใจของผ้เู ชีย่ วชาญ N แทน จานวนผเู้ ชีย่ วชาญทง้ั หมด 3.4 ค่าสัมประสิทธ์ิการกระจาย (Co-efficient variation) ใช้สัญลักษณ์ C.V. เพือ่ ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการสอนของครู C.V. = S .D.  100 X เกณฑ์การหาประสิทธภิ์ าพการสอนของครดู ว้ ยค่า C.V. คา่ C.V. ต่ากว่า 10 % หมายถึง ระดบั คณุ ภาพการสอนดี ค่า C.V. ระหวา่ ง 10 – 15 % หมายถึง ระดับคณุ ภาพการสอนปานกลาง คา่ C.V. สงู กวา่ 15% หมายถงึ ระดบั คุณภาพการสอนต้องปรบั ปรงุ 4. สถติ ิทใ่ี ช้ในการเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียระหว่างคะแนนของนกั เรียนกอ่ นใช้และหลังใช้ แบบการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภมู ศิ าสตร์ ใช้สูตร t-test (Dependent – Samples) บญุ ชม ศรีสะอาด (2545, หนา้ 112)

t D nD2 (D)2 (n 1) t แทน คา่ สถิติท่ีใชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวกิ ฤตเพือ่ ทราบ ความมีนัยสาคญั D n แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่ แทน จานวนคู่  D2 (D2 ) แทน ผลรวมของ D แตล่ ะตวั ยกกาลงั สอง แทน การเอาผลรวมของ D ทัง้ หมดยกกาลงั สอง 5. สถิติท่ีใช้ในการหาความเช่ือมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการ ใช้ ส่อื คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ ใชส้ ูตรของครอนบัค (สมนึก ภัททยิ ธน 2548,หนา้ 60 – 61) = kk   s 2   1 j   2  1 s t เมือ่ k แทน จานวนขอ้ ของเคร่ืองมือ s2j แทน ความแปรปรวนของขอ้ มลู แต่ละขอ้ s2t แทน ความแปรปรวนของข้อมลู ทไ่ี ด้ s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน

การศกึ ษาครัง้ น้เี ป็นการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Research) การใชส้ อ่ื คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน ทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น ศึกษาความคิดเหน็ ของนกั เรยี นที่มีต่อการเรียน ต่อการเรยี นโดยการ ใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โดยมีวิธีดาเนินการศึกษา ดงั น้ี 3.1 ประชากร ประชากร ประชากรนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จานวน 24 คน กลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านมูเซอ จานวน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพื่อ ทดลองใชส้ ือ่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ ทส่ี รา้ งขึ้น 3.2 รปู แบบของการศกึ ษา ผู้ศึกษาใชเ้ ทคนิคการวิจัยเชิงทดลองเบอ้ื งตน้ (Pre-experimental design) โดยใชก้ ลมุ่ เดียว (One Group Pre-test Post-test design) รายละเอียดดังแผนภาพท่ี 1 XTX (Pretest) (Treatment) (Posttest) ทดสอบก่อนทดลอง ดาเนนิ การทดลอง ทดสอบหลงั ทดลอง

X การทดสอบกอ่ นการทดลอง T การทดลองโดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint

X การทดสอบหลงั การทดลอง แผนภาพที่ 1 แสดงแบบแผนการศกึ ษาเชงิ ทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test desig 3.3 เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ยั 1.การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทาง ภมู ศิ าสตร์ สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 2. แผนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จานวน 1 แผน 3. แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31

3.4 การสรา้ งและพฒั นาเครอ่ื งมือ การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 มีวิธีการดงั นี้ 10. ศึกษาเนื้อหาและสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 11. ศึกษาเอกสารทเ่ี ก่ียาขอ้ งกบั เคร่ืองมือทางภศิ าสตร์ ประเภทของเรอื่ งมือทางภศิ าสตร์ แนวทางการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ การนาเสนอข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ 12. เรยี บเรียงเนอ้ื หา เรื่อง เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ 13. วางเค้าโครงเนื้อหา จัดลาดับก่อนหลงั แลว้ นาไปใหผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นเน้ือหาตรวจสอบ ความถกู ต้องและสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 14. ศึกษาการใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint ในการสร้างส่ือคอมพิวเตอร์ช่วย สอนและศึกษารปู แบบการสร้างสื่อการสอน โปรแกรม Microsoft PowerPoint จากตาราเอกสารท่ี เกย่ี วข้อง 15. กรอบเน้ือหาส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ 16. ตรวขสอบคุณภาพเบ้ืองต้น โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูอานนท์ วงศ์เสน ซ่ึง เป็นผู้สอนทม่ี คี วามเช่ียวชาญและชานาญในรายวิชาสังคมศึกษา ชว่ ยตรวจสอบความเหมาะสม ความ ถูกต้องและความสมบูรณ์ของ การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ปรบั ปรุงแก้ไขทาการปรับปรงุ แก้ไขตามคาแนะนาของผเู้ ช่ยี วชาญ 17. นากลับไปใหผ้ ูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครง้ั 18. ใชส้ ่ือคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครือ่ งมือทาง ภมู ศิ าสตร์ 3.5 การสร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนโดยการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื ง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ แบบทดสอบเร่ืองการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ 1 ฉบับ เพื่อใช้ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นโดยใชแ้ บบทดสอบท่ผี ู้รายงานสรา้ งขึ้น มขี ้นั ตอนการสร้าง ดังน้ี 10. ศกึ ษาทฤษฎแี ละวิธีสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอิงเกณฑ์

11. วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้สาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อหาความสัมพันธ์ของ โดยครูผู้สอนเป็นผู้กาหนดเนื้อหา เลือกวิธี วดั ผลและเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวัดผล 12. สร้างข้อสอบแบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก โดยใหค้ รอบคลุมทงั้ เน้ือหา และ จุดประสงค์ จานวน 20 ข้อ 13. นาแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลเพ่ือพิจารณาหาความ เที่ยงตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษาและความสอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้กับ แบบทดสอบ เพื่อนไปปรบั ปรุงแก้ไข 14. ผู้เชีย่ วชาญด้านการวัดผลประเมนิ ขอ้ คาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ตามวธิ ขี องโร วิเนลลิ และแฮมเบิลตัน (อ้างใน ไพศาล ศรีวิชัย. 2547, หน้า 57) เพ่ือหาผลรวมของคะแนนใน ข้อสอบแต่ละข้อ แล้วนามาหาค่าเฉลี่ยเพื่อดูดัชนีความสอดคล้องระหว่างเน้ือหาในแบบทดสอบกับ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนน ดงั น้ี ให้ + 1 เมือ่ แนใ่ จวา่ ขอ้ สอบน้นั วัดไดต้ รงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ 0 เมอ่ื ไมแ่ นใ่ จวา่ ขอ้ สอบน้นั ไดต้ รงตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ให้ – 1 เมอื่ แนใ่ จวา่ ข้อสอบวดั ไดไ้ มต่ รงตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 15. วิเคราะห์ขอ้ มูล หาค่าดชั นีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวตั ถปุ ระสงค์ 16. นาแบบทดสอบท่ีได้ปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญด้าน การวัดผล ไป ใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาทไ่ี ม่ใช่กลุม่ ตวั อย่าง จานวน 15 คน ตรวจให้คะแนนโดยข้อท่ีตอบถูก ให้ 1 คะแนน ข้อที่ผิด ข้อที่ไม่ได้ทาหรือข้อท่ีตอบมากกว่า 1 ให้ 0 คะแนน ผู้ศึกษานาคะแนนที่ได้ จากการทดสอบมาวิเคราะห์หาความยากง่าย (Difficulty) และค่าอานาจจาแนก โดยใช้วิธีของ Brennan (บุญชม ศรีสะอาด, 2543 : 87 – 89) คัดเลือกเฉพาะข้อสอบที่มีอานาจจาแนก มากกวา่ 0.20 และ คา่ ความยาก-งา่ ยระหว่าง 0.20 - 0.80 17. หาค่าความเชื่อม่ัน (Reliability) ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร KR - 20 ของ คูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson) จานวน 20 ขอ้ ซง่ึ ได้ค่าความเชือ่ มนั่ ที่เหมาะสม

18. จัดทาข้อสอบฉบับสมบูรณ์เพ่ือนาไปใช้ในการศึกษา โดยทาการทดสอบก่อนเรียน ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 และทดสอบหลังเรยี นเมอ่ื เรียนจบแผนการจัดการเรียนรู้ ศึกษาวิธสี รา้ งแบบทดสอบแบบปรนัย วเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิเคราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจดุ มงุ่ หมายของหลักสูตร จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กลุม่ สาระการสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โดยครผู ้สู อน เป็ นผ้กู าหนดเนอื ้ หา เลอื กวธิ ีวดั ผลและเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวดั ผล สรา้ งแบบทดสอบแบบปรนัยจานวน 20 ข้อ ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบ ไมผ่ ่าน ผ่าน ปรับปรุง ทดลองใช้แบบทดสอบ วเิ คราะห์หาค่าความยาก-งา่ ย และ ค่าอานาจจาแนก

วเิ คราะหห์ าคา่ ความเชอ่ื มัน่ แบแบผทนดภสอาพบทที่ใี่ ช2้ในแกสาดรงศขึก้นั ษตาอจนากนาวรนสร2้า0งแบขบ้อทดสอบ 3.6 การสรา้ งแผนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการ เรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้และการวัดและ ประเมินผล 8. ศึกษาวิธีการหลักการทฤษฎแี ละเทคนคิ การเขียนแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 9. กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสารตารา งานวิจัยทั้งในประเทศและ ตา่ งประเทศ เพื่อนามาเปน็ แนวทางในการวางแผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 10. เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามสาระท่ีกาหนด ซึ่งผู้ศึกษาได้แบ่งเน้ือหา ออกเป็น 1 แผนรวม 4 ชั่วโมง เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามเน้ือหาและจุดประสงค์ รายละเอียด ดังน้ี 11. นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ จานวน 1 แผน ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจความ ถูกตอ้ ง เพือ่ หาค่าดัชนีความสอดคลอ้ งของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (IOC) ระหว่างมาตรฐาน การเรียนรู้ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การเรียนรู้และการวัดและประเมินผล 12. เมื่อผู้ศึกษาคานวณหาคา่ (IOC) ตามสตู รได้คา่ IOC ตงั้ แต่ 0.6 – 1.0 (คา่ เฉลีย่ ตั้งแต่ 0.5 ข้ึนไปถือว่าใช้ได้) พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.90 ดังน้ันแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 จึงมีความสอดคล้องกันระหว่างสาระสาคัญ จุดประสงค์การ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลตามท่ี ระบไุ ว้ 13. นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ที่ได้ผ่านการตรวจจากผู้เช่ียวชาญเรียบรอ้ ย แลว้ ไปปรับปรุงแกไ้ ขตามข้อเสนอแนะ

14. จัดพิมพ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ แล้วนาแผนจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ ทงั้ 1 แผนไปใชใ้ นการศกึ ษากบั กลุ่มตัวอยา่ ง ศกึ ษาวิเคราะห์หลักการ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานช่วงชนั้ เนอื้ หาสาระ ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง วธิ สี อน เพ่อื ออกแบบแผนการ จัดกจิ กรรม การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา สรา้ งแผนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ นาเสนอผู้เชี่ยวชาญ ไมผ่ ่าน ปรับปรงุ ผา่ น นาแผนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีผ่านข้ันตอนแล้ว ไปทดลองกับกลุม่ ตัวอยา่ ง และเก็บรวบรวมขอ้ มลู แผนภาพท่ี 3 แสดงผลการสร้างแผนจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ารใช้ส่ือคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน โปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ 3.7 การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี น

สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ มีขนั้ ตอนดงั น้ี 1. ศกึ ษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากเอกสารงานวิจยั ต่างๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง 2.วิเคราะห์เนื้อหา เลือกรูปแบบเครื่องมือและกาหนดเกณฑ์ ในการสอบถาม ความพึงพอใจท่ีมีต่อ การใช้ส่อื คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ 3. ดาเนินการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้การใช้ ส่อื คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ลกั ษณะ ของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับของ เบสท์ จานวน 15 ข้อ เพ่ือให้นักเรยี นประเมินตนเองหลังเรียน โดยกาหนดเกณฑ์ในการตอบและแบง่ ระดับคะแนนดังนี้ ( Rating scale ) ระดบั คะแนน 5 หมายถึงมากที่สดุ ระดับคะแนน 4 หมายถงึ มาก ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ปานกลาง ระดบั คะแนน 2 หมายถึงนอ้ ย ระดะคะแนน 1 หมายถึงนอ้ ยที่สดุ 4. การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ 5. นาข้อคาถามที่สร้างเสร็จแล้ว เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่านตรวจสอบความ สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับเนื้อหา จุดประสงค์และหาความเช่ือมั่นของแบบประเมินความพึง พอใจท่ีมีต่อการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภูมิศาสตร์ ตามวิธีของ ครอนบัค (สมนึก ภัททิยธน 2549, หน้า 220) ค่าที่คานวณได้มีค่า เท่ากับ 0.92 - 1.00 ซ่ึงคา่ เฉลยี่ ต้งั แต่ 0.60 – 1.00 ขนึ้ ไปถอื วา่ ใชไ้ ด้ ดังนนั้ ข้อคาถามในแบบสอบถามความ พงึ พอใจจึงใช้ได้ทกุ รายการ 6. นาแบบสอบถามมาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคาแนะนาของผเู้ ช่ียวชาญ 7. จดั ทาแบบสอบถามความพงึ พอใจฉบับสมบูรณ์ ไปทดลองใช้กับนกั เรียนกลุ่มตวั อยา่ ง

ศกึ ษาการสร้างแบบสอบถาม วางโครงสร้างคาถามเพือ่ สร้างคาถามให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ สร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ นาเสนอผู้เชยี่ วชาญ ไมผ่ า่ น ปรบั ปรงุ ผ่าน นาแบบสอบถามท่ีผา่ นขนั้ ตอนแลว้ ไปทดลองกบั กล่มุ ตัวอย่างและเก็บรวบรวมขอ้ มูล แผนภาพที่ 4 แสดงผลการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการ เรียนโดยใช้การใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทาง ภูมศิ าสตร์

3.8 วิธดี าเนนิ การวิจัย ผู้ศึกษากาหนดระยะเวลาดาเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โดยทดลองสอน โดยใช้เวลา 4 ช่ัวโมง ระหว่างวันที่ 26-27 ธนั วาคม 2560 โดยมขี นั้ ตอนดังนี้ 1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) เพื่อตรวจสอบพื้นฐานความรู้ของนักเรียนกลุม่ ตัวอย่างโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมือทาง ภมู ิศาสตร์ 2. ก่อนการสอนผู้ศึกษาแจ้งคาชี้แจงการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ จุดประสงค์ ขัน้ ตอนและเกณฑก์ ารให้คะแนนให้นกั เรียน ทราบ และดาเนนิ การสอนโดยปฏิบัติตามแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้การใช้สอื่ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ จานวน 1 แผน เวลา 4 ช่ัวโมง เมื่อเรียนจบแผนการสอน ดาเนินการเก็บรวบรวมคะแนนจากการทาแบบฝึกโดยใช้เกณฑ์ใน การให้คะแนนตามแบบประเมินผลในแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรพู้ รอ้ มทั้งบันทึกคะแนนนักเรยี น แต่ละคน 3. หลังสน้ิ สุดการสอนตามแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้การใช้สอื่ คอมพิวเตอร์ช่วย สอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ทาการทดสอบหลังเรียนโดย ใช้แบบทดสอบวัดผลทางการเรียนชุดเดิมเม่ือทาการทดสอบเรียบร้อยแล้วทาการบันทึกคะแนน นักเรียนแตล่ ะคน ทดสอบก่อนเรยี น g การจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยการใช้สอ่ื คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ คะแนนระหว่างเรยี น

ทดสอบหลงั เรยี น วิเคราะหข์ ้อมลู แผนภาพที่ 5 แสดงขั้นตอนวธิ ดี าเนินการศกึ ษา

3.9 สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้ศึกษาวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยวิธกี ารทางสถติ ิ ดังน้ี 1. การคานวณค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คะแนนเฉล่ีย (Mean = X ) และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation = SD) จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักเรยี น ผศู้ ึกษาไดใ้ ช้สถติ ใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 1.1 หาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดงั น้ี คะแนนร้อยละ = ผลรวมของคะแนน X 100 คะแนนเตม็ x จานวนนักเรียน 1.2 ค่าเฉลย่ี (Mean หรือ X) ได้จากผลรวมของข้อมลู สตู ร X = x N เมื่อ X แทน คะแนนเฉล่ยี  x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนนกั เรียน 1.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร S.D.  N X2  ( X)2 N(N 1)

เมือ่ S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตล่ ะตัว  แทน ค่าเฉล่ีย แทน จานวนคะแนนในกลุม่ X แทน ผลรวม N  2. สถิติที่ใช้คานวณหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่อื ง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ 2.1 การหาประสิทธิภาพของการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรือ่ ง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ โดยใชเ้ กณฑ์ที่ตงั้ ไว้ คอื E1/E2 = 80/80 การหาคะแนน เฉลย่ี ร้อยละของผู้เรยี นท่ไี ด้จากการทาแบบฝึกเสริมทกั ษะและแบบทดสอบหลังเรียนจบทั้ง 3 แบบฝึก ดงั นี้ หาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทาใบงานการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์( E1 ) จากสตู ร x E1 = n 100 A

เมอื่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ x แทน ผลรวมของคะแนนการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมหรอื ใบงาน ของนกั เรียนทุกคน A แทน คะแนนเตม็ ของใบงาน n แทน จานวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง หาประสทิ ธภิ าพของผลลพั ทท์ ไ่ี ด้จากการทาแบบทดสอบ ( E2 ) สูตร f E2 = n 100 B เม่อื E แทน ประสิทธิภาพของผลผลติ หรอื การสอบหลงั เรียน f แทน ผลรวมของคะแนนสอบหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

3. สถิตทิ ่ีใชค้ านวณหาค่าระดบั ความยากง่าย ค่าความเชอ่ื มั่น ความตรง ความเทย่ี งของ แบบทดสอบวดั ผลการเรยี น 3.1 การหาค่าระดับความยาก (Difficulty Level) (p) คิดจากร้อยละของจานวนผู้ท่ี ตอบข้อสอบข้อน้ันได้ถูกต้อง ค่าดรรชนีความยากของข้อสอบจะอยู่ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00 ซ่ึง หมายความวา่ มรี ะดบั ยากทส่ี ดุ ถึงง่ายทส่ี ุด ค่า 0.00 หมายถึงยากทีส่ ดุ ค่า 1.00 หมายถงึ ง่ายที่สุด และการหาคา่ อานาจจาแนก (Discrimination Power) ดงั น้ี P =R N เมือ่ P แทน ระดบั ความยากง่าย R แทน จานวนนักเรยี นทีเ่ ลือกตอบข้อถูก N แทน จานวนนกั เรยี นท้ังหมด เกณฑ์ขอบเขตของ p และความหมาย 0.80 – 1.00 เปน็ ข้อสอบทงี่ า่ ยมาก 0.60 – 0.79 เปน็ ขอ้ สอบทค่ี อ่ นขา้ งงา่ ย (ใชไ้ ด)้ 0.40 – 0.59 เป็นขอ้ สอบท่ีง่ายพอเหมาะ (ใชไ้ ดด้ ี) 0.20 – 0.39 เปน็ ขอ้ สอบทีค่ อ่ นข้างยาก (ใชไ้ ด)้ 0.00 – 0.19 เปน็ ขอ้ สอบทยี่ ากมาก r = RH RL N เมอื่ r แทน คา่ อานาจจาแนก

RH แทน จานวนนักเรยี นทเี่ ลอื กขอ้ ถกู ในกล่มุ สูง RL แทน จานวนนักเรยี นทีเ่ ลอื กขอ้ ถกู ในกลุ่มตา่ N แทน จานวนนักเรียนท้ังหมดในกลุ่มสงู หรอื กลุม่ ต่า เกณฑ์ขอบเขตของ r และความหมาย 0.40 ขึน้ ไป คา่ อานาจจาแนกสงู คุณภาพของขอ้ สอบดีมาก 0.30 – 0.39 ค่าอานาจจาแนกปานกลาง คณุ ภาพของข้อสอบดีพอสมควร 0.20 – 0.29 คา่ อานาจจาแนกค่อนข้างต่า คณุ ภาพขอ้ สอบพอใช้ได้ 0.00 – 0.19 คา่ อานาจจาแนกตา่ คณุ ภาพข้อสอบไม่ควรนามาใช้ 3.2 การหาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบแบบเลือกตอบ โดยใช้สูตรของคูเดอร์ – ริชารด์ สนั 20 (KR-20) rtt = n 1  p q  n 1 s 2 t เมอื่ n แทน จานวนข้อ p แทน สัดสว่ นของคนทาถกู ในแต่ละขอ้ q แทน สัดสว่ นของคนทาผิดในแต่ละขอ้ (1-p) st2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนท้ังฉบบั 3.3 การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเน้ือหา โดยการใช้วิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambelton) ซ่ึงเรียกว่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผล การเรียนร้ทู ีค่ าดหวัง (IOC : Index of Item Objective Congruence)

IOC   R N เมื่อ IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหว่างจุดประสงค์กับเน้อื หา หรือระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนความพงึ พอใจของผ้เู ชีย่ วชาญ N แทน จานวนผเู้ ชีย่ วชาญทัง้ หมด 3.4 ค่าสัมประสิทธ์ิการกระจาย (Co-efficient variation) ใช้สัญลักษณ์ C.V. เพือ่ ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการสอนของครู C.V. = S .D.  100 X เกณฑ์การหาประสิทธภิ์ าพการสอนของครดู ว้ ยค่า C.V. คา่ C.V. ต่ากว่า 10 % หมายถึง ระดบั คณุ ภาพการสอนดี ค่า C.V. ระหวา่ ง 10 – 15 % หมายถึง ระดับคณุ ภาพการสอนปานกลาง คา่ C.V. สงู กวา่ 15% หมายถงึ ระดบั คุณภาพการสอนตอ้ งปรบั ปรงุ 4. สถติ ิทใ่ี ช้ในการเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียระหว่างคะแนนของนกั เรียนกอ่ นใช้และหลังใช้ แบบการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโปรแกรม Microsoft PowerPoint เรื่อง เคร่ืองมือทาง ภมู ศิ าสตร์ ใช้สูตร t-test (Dependent – Samples) บญุ ชม ศรีสะอาด (2545, หนา้ 112)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook