Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เสนอแผนการเรียนรู้วิชาสังคม ม.1 63

เสนอแผนการเรียนรู้วิชาสังคม ม.1 63

Published by ศรีมูล สมบุตร, 2021-03-26 06:54:42

Description: เสนอแผนการเรียนรู้วิชาสังคม ม.1 63

Search

Read the Text Version

แผนการเรียนรู้เต็มรปู แบบ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมพืน้ ฐาน รหัสวิชา ส 21104 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 จัดทาโดย นายศรีมูล สมบตุ ร ตาแหน่ง ครชู านาญการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลช่างเค่งิ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี น รู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วชิ า ส 21104 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง/ภาคเรยี น จานวน 1.0 หน่วยกติ ปกี ารศกึ ษา 2563 ศึกษา วเิ คราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสูป่ ระเทศเพอ่ื นบ้าน ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาทีช่ ว่ ยเสริมสร้างความเขา้ ใจอันดี กับประเทศเพื่อนบา้ นเปน็ รากฐานของวัฒนธรรมเอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ การพฒั นาชมุ ชนและการจัดระเบยี บสังคม พทุ ธ ประวัติตอนผจญมารการตรสั รู้การสงั่ สอนประวตั ิพระสารบี ุตร พระโมคคลั ลานะ นางขชุ ชตุ ตรา พระเจ้าพมิ พิสาร มิตตวินทกุ ชาดก ราโชวาทชาดก พระมหาธรรม-ราชาลไิ ทย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสโครงสร้างและสาระสงั เขปของพระวนิ ัยปิฎก พระสตุ ตนั ตปฎิ ก และพระอภิธรรมปิฎก อธบิ ายและปฏิบตั ติ นตามธรรมคุณ และปฏบิ ัติตนตามข้อธรรมสาคญั ในกรอบอริยสัจ 4 ในเรื่อง ธรรมคุณ 6 อรยิ สัจ 4 ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรร้)ู ในเร่ือง ขันธ์ 5 (อายตนะ) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ในเรื่องหลักกรรม (สมบัติ 4 วบิ ัติ 4) อกศุ ลกรรมบถ 10 อบายมขุ 6 นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ ในเรือ่ ง สขุ 2 (สามิส นิรามิส) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ในเรื่อง บุพพนิมิตของ มัชฌมิ าปฏปิ ทา ดรณุ ธรรรม 6 กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 กุศลกรรมบถ 10 สติปฏั ฐาน 4 มงคล 38 ในเรื่อง ประพฤติธรรม เวน้ จากความชว่ั เวน้ จาก การด่มื นาเมา พุทธศาสนสภุ าษติ กมมฺ นุ า วตฺตติ โลโก กลยฺ าณการี กลยฺ าณ ปาปการี จ ปาปก สโุ ข ปญุ ฺญสฺส อุจจฺ โย ปชู โก ลภเต ปูช วนทฺ โก ปฏวิ นทฺ น การพฒั นาจติ เพอ่ื การเรยี นรแู้ ละดาเนนิ ชีวิตด้วยวิธีคิดแบบอบุ ายปลกุ เร้าคณุ ธรรม และวธิ คี ดิ แบบอรรถธรรมสมั พันธ์ สวด มนต์แปล แผเ่ มตตา บริหารจติ และเจรญิ ปญั ญาด้วยอานาปานสติ มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี พิธีกรรม และหลักคาสอนท่เี กยี่ วเนอ่ื งกับวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ัตใิ นการดาเนินชวี ติ นาไปพฒั นาและแกป้ ัญหาของชุมชนและสงั คม มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตย์สจุ ริต มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้อยู่ อย่างพอเพยี ง มุ่งมั่นในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนนิ ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อยา่ งสนั ติสุข ศึกษาวเิ คราะหบ์ ทบาท ความสาคัญและความสมั พนั ธ์ของสถาบนั ทางสงั คม ความคลา้ ยคลึงและความแตกตา่ งของวัฒนธรรม ไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชยี เพื่อนาไปสู่ความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งกัน ข้อมลู ข่าวสารทางการเมืองการปกครองทม่ี ี ผลกระทบตอ่ สงั คมไทยสมยั ปัจจบุ นั กระบวนการในการตรากฎหมาย การปกป้องค้มุ ครองผอู้ นื่ ตามหลกั สิทธมิ นุษยชน การปฏิบัตติ นตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรภี าพ และหนา้ ทีใ่ นฐานะพลเมอื งดีโดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ขอ้ มลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการกลุ่ม เพ่อื ใหเ้ กิดความรูค้ วามเข้าใจ และปฏบิ ตั ติ นตาม หนา้ ที่ของการเป็นพลเมอื งดี ดารงชวี ติ ร่วมกันในสงั คมไทย และสังคมโลกอย่างสันตสิ ขุ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคใ์ นด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสัตยส์ ุจริต มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน มีจิตสาธารณะ รักความเป็นไทย ศึกษา วิเคราะห์ ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ งๆ การพ่ึงพาอาศยั กนั และการแข่งขนั กันทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย การกระจายของ ทรัพยากรในโลกที่ส่งผลตอ่ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศท่สี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพสินค้าปริมาณการผลิตและราคาสนิ ค้าปัจจยั ทีม่ ีผลต่อ การลงทุนและการออม ปัจจยั การผลติ สินคา้ และบริการและปจั จัยท่ีมี อทิ ธพิ ลตอ่ การผลติ สนิ คา้ และบริการเสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ในทอ้ งถิน่ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งการค้มุ ครองสทิ ธิของ ตนเอง ในฐานะผู้บริโภค โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นขอ้ มูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละ แกป้ ัญหา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลุ่มเพ่อื ใหม้ คี วามร้คู วามเข้าใจความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจสามารถใชท้ รพั ยากรทมี่ ีอย่จู ากดั ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคมุ้ ค่า เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่อื การดารงชีวิตสามารถสือ่ สารสงิ่ ทเี่ รียนรู้ มคี ุณธรรมจริยธรรม และ มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นด้านมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ อยอู่ ย่างพอเพียง

ศึกษาการใช้เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตรใ์ นการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอขอ้ มูลเก่ยี วกับลกั ษณ ทางกายภาพ และสงั คมของ ทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า วเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพ และสงั คมของทวีปยุโรปและแอฟรกิ า การกอ่ เกดิ สง่ิ แวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาติ และทางสังคมของทวีปแอฟริกา แนวทางการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ในทวีปยุโรปและแอฟรกิ า ปัญหาเกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มทีเ่ กิดขึนในทวีปยุโรปและแอฟริกา สาเหตุและ ผลกระทบทีป่ ระเทศไทยไดร้ ับจากการเปลี่ยนแปลงของสงิ่ แวดลอ้ มในทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื คน้ ข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ให้เกิดความรูค้ วาม เขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งทีเ่ รยี นรู้ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นขอ้ มูล มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในดา้ นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทางาน มีวนิ ัย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รหสั ตัวชี้วดั สงั คมศกึ ษา ม.1 ส 1.1 ม.1/1 อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนับถือ ส 1.1 ม.1/2วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ส 1.1 ม.1/3วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถือในฐานะท่ีเป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลกั ษณข์ องชาตแิ ละมรดกของชาติ ส 1.1 ม.1/4 อภปิ รายความสาคญั ของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทีต่ นนับถอื กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบยี บ สงั คม ส 1.1 ม.1/5 วเิ คราะห์พทุ ธประวัตหิ รือประวัติศาสดาของศาสนาทตี่ นนับถือตามท่ีกาหนด ส 1.1 ม.1/6 วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดาเนินชวี ิตและข้อคดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามทีก่ าหนด ส 1.1 ม.1/7 อธบิ ายโครงสรา้ งและสาระโดยสังเขปของพระไตรปฎิ ก หรือคัมภรี ข์ องศาสนาท่ตี นนบั ถอื ส 1.1 ม.1/8 อธบิ ายธรรมคณุ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบอริยสจั 4หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือตามท่กี าหนด เห็นคุณค่าและนาไปพฒั นาแกป้ ัญหาของชมุ ชนและสังคม ส 1.1 ม.1/9 เห็นคณุ คา่ ของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารคอื วิธีคดิ แบบ อบุ ายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธคี ดิ แบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ ตนนบั ถอื ส 1.1 ม./10 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และเจรญิ ปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ส 1.1 ม.1/11 วิเคราะหก์ ารปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถือ เพอื่ การดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแส

ความเปลีย่ นแปลงของโลก และการอยรู่ ่วมกันอย่างสันติสุข ส 1.2 ม.1/1 ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมตอ่ บุคคลต่างๆตามหลักศาสนาท่ตี นนบั ถือตามทก่ี าหนด ส 1.2 ม.1/2 มมี ารยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ตี ามท่ีกาหนด ส 1.2 ม.1/3 วิเคราะหค์ ุณค่าของศาสนพธิ แี ละปฏบิ ัติตนได้ถกู ตอ้ ง ส 1.2 ม.1/4 อธิบายคาสอนที่เกยี่ วเนื่องกันวนั สาคัญทางศาสนาและปฏบิ ัติตนได้ถูกตอ้ ง ส 1.2 ม.1/5 อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธกี รรมตามแนวปฏบิ ัตขิ องศาสนาอื่นๆ เพ่อื นาไปสู่การยอมรบั และ ความเข้าใจซง่ึ กนั และกนั ส 2.1 ม.1/1 อธิบายและปฏิบัติตามกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ ส 2.1 ม.1/2 เหน็ คุณค่าในการปฏิบตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ใี นฐานะพลเมืองดี ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย ส 2.1 ม.1/3 วเิ คราะหบ์ ทบาท ความสาคญั และความสมั พันธข์ องสถานบันทางสังคม ส 2.1 ม.1/4 อธบิ ายความคล้ายคลึงและความแตกตา่ งของวัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมของประเทศไทย ภมู ิภาคเอเชยี เพื่อนาไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างกนั ส 2.2 ม.1/1 อธบิ ายกระบวนการในการตรากฎหมาย ส 2.2 ม.1/2 วิเคราะหข์ อ้ มูล ขา่ วสาร ทางการเมืองการปกครองทม่ี ผี ลกระทบต่อสงั คมไทยสมัยปัจจุบัน ส 3.1 ม.1/1 วเิ คราะหป์ จั จยั ท่มี ีผลต่อการลงทุน และการออม ส3.1ม.1/2 อธิบายปัจจยั และการผลิตสินคา้ และบรกิ ารและปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร ส 3.1 ม.1/3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทอ้ งถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ส 3.1 ม.1/4 อภปิ รายแนวทางการคมุ้ ครองสิทธิของตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ส 3.2 ม.1/1 อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ ส 3.2 ม.1/2 ยกตวั อย่างทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ การพึง่ พาอาศยั กันและการแข่งขันทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย ส 3.2 ม.1/3 วเิ คราะห์การกระจายของทรพั ยากรในโลกท่ีส่งผลตอ่ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส 3.2 ม.1/4 วิเคราะหก์ ารแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศทส่ี ง่ ผลต่อคณุ ภาพสินค้า ปริมาณการผลิตและราคาสนิ คา้

ส 5.1 ม.1/1 ใช้เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะทางกายภาพ และสังคมของทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า ส 5.1 ม.1/2 วิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/1 วิเคราะหก์ ารกอ่ เกิดส่งิ แวดล้อมใหม่ทางสงั คม อันเป็นผลจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาตแิ ละทาง สงั คมของทวีปยโุ รป และแอฟริกา ส 5.2 ม.1/2 ระบุแนวทางการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มในทวปี ยโุ ปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/3 สารวจ อภิปรายประเดน็ ปญั หาเกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อมที่เกดิ ขนึ ในทวปี ยโุ ปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/4 วเิ คราะห์เหตเุ หตุและผลกระทบท่ีประเทศไทยไดร้ ับจากการเปลีย่ นแปลงของสง่ิ แวดส้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา รวมท้งั หมด 36 ตวั ชี้วดั

รายวชิ า สงั คมพื้นฐาน รหสั วชิ า ส 21104 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ชอ่ื หนว่ ย ประวตั ิความสาคญั ของ ชอื่ หนว่ ย พลเมือง วฒั นธรรม และ ศาสนา การดาเนินชีวิตในสงั คม จานวน 10 ช่วั โมง : 25 คะแนน จานวน 10 ช่ัวโมง : 25 คะแนน รายวิชา สังคมพ้นื ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 40 ช่ัวโมง ชอ่ื หนว่ ย ภูมศิ าสตร์ ชอ่ื หน่วย ระบบเศรษฐศาสตร์ จานวน 10 ชวั่ โมง : 25 คะแนน จานวน 10 ชว่ั โมง : 25 คะแนน

ผงั มโนทศั น์ รายวิชา สังคมพ้นื ฐาน รหัสวชิ า ส 21104 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ประวัติความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา จานวน 10 ช่ัวโมง : 25 คะแนน ผังมโนทัศน์ รายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส 21104 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม จานวน 40 ชว่ั โมง 40 คะแนน ช่อื หนว่ ยที่ 1 ประวตั ิและความสาคัญ ชอ่ื หน่วยที่ 5 หนา้ ท่ีชาวพุทธและ ของพระพุทธศาสนา มารยาทชาวพุทธ จานวน 5 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ชอ่ื หน่วยท่ี 2 พุทธประวัติ พระสาวก ชื่อหน่วยท่ี 6 วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา ศาสนิกชนตัวอย่างและชาดก และศาสนพิธี จานวน 5 ชว่ั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน ช่ือหนว่ ยท่ี 3 หลกั ธรรมทาง พระพทุ ธศาสนา ชอ่ื หนว่ ยที่ 7 การบริหารจิตและ การเจรญิ ปัญญา จานวน 10 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ชอ่ื หนว่ ยท่ี 4 พระไตรปฎิ กและ พุทธศาสนสุภาษิต ช่อื หน่วยที่ 8 การปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา จานวน 4 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

ผังมโนทศั น์ รายวชิ า สังคมพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ส 21104 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง ประวัตแิ ละความสาคญั ของพระพุทธศาสนา จานวน 5 ชว่ั โมง : 5 คะแนน ชอื่ เร่ือง ประวัตคิ วามสาคัญของศาสนา ตอ่ สงั คมไทย จานวน 3 ชว่ั โมง : 8 คะแนน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ประวตั ิความสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนา จานวน……………ช่ัวโมง 3 จานวน 5 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ประวัติความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย รายวชิ า สังคมพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ส 21104 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทคี่ งทน) พระพุทธศาสนามีความสาคญั ตอ่ สงั คมไทย ในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติไทย เป็นสถาบนั หลกั ของสงั คมไทย มี ผลต่อสภาพแวดลอ้ มทีก่ ว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัดช้ันป/ี ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 1.1 ม.1/2 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื ทม่ี ีตอ่ สภาพแวดล้อมในสงั คมไทย รวมทัง การพฒั นาตนและครอบครวั 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge ความสาคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทยในฐานะเป็น - ศาสนาประจาชาติ - สถาบนั หลกั ของสงั คมไทย - สภาพแวดล้อมทก่ี ว้างขวางและครอบคลมุ สังคมไทย 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ทากจิ กรรมรายบุคคล รายกลุ่ม ในการศกึ ษาเรียนรู้ตามเนือ้ หา 3.3 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชวี ติ ที่ดีในสังคมอยา่ งมี ความสุข 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม่ 6. คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน

7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 7.1 เรื่อง ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทยในฐานะเป็น - ศาสนาประจาชาติ - สถาบนั หลกั ของสังคมไทย - สภาพแวดล้อมทีก่ ว้างขวางและครอบคลมุ สงั คมไทย - ใบงานท่ี 1.1 ให้ศึกษาเร่อื ง วิเคราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย (ทาหนงั สอื เล่มเลก็ ) - แบบฝึกทกั ษะท่ี 1 นาเสนอ เรื่อง เรือ่ ง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น - ศาสนาประจาชาติ - สถาบนั หลกั ของสงั คมไทย - สภาพแวดล้อมทกี่ ว้างขวางและครอบคลมุ สงั คมไทย 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทยได้ 2. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาวา่ เปน็ สถาบันหลักของสงั คมไทยได 3. วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนาวา่ เปน็ สภาพแวดล้อมทีก่ วา้ งขวาง และครอบคลุมสังคมไทยได้ ขนั นาเข้าสบู่ ทเรียน/ขนั ตงั คาถาม ชว่ั โมงที่ 1 - 5 1.ใหน้ ่งั สมาธิ 3 นาที ครใู หน้ ักเรียนดูภาพพุทธศาสนิกชนทากจิ กรรมต่างๆ ทางพระพทุ ธศาสนาร่วมกนั แล้วให้นกั เรยี นตอบ คาถามต่อไปนี - ภาพดังกลา่ ว มีความสาคัญอยา่ งไร - ภาพดังกลา่ ว เก่ยี วขอ้ งกับพระพุทธศาสนาอยา่ งไร 2. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรยี นเข้าใจวา่ พระพุทธศาสนามีความสาคัญต่อสงั คมไทย 3. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด 4.นกั เรียนแต่กลุม่ ร่วมกนั ศกึ ษาความร้ใู นศนู ยก์ ารเรยี น เรือ่ ง ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย โดยหมุนเวยี นเขา้ ศึกษาตาม ศูนย์การเรียน 3 ศนู ย์ ดังนี - ศนู ย์ฯ ท่ี 1 : พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย - ศูนย์ฯ ท่ี 2 : พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักของสงั คมไทย - ศูนยฯ์ ท่ี 3 : พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มทก่ี ว้างขวาง และครอบคลมุ สงั คมไทย 5.สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรุปประเดน็ สาคญั ที่ได้จากการ ศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย 6.ครสู ่มุ ตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอประเด็นสาคัญจากการศึกษาความรู้จากกลมุ่ การเรยี นหนา้ ชันเรยี น กลมุ่ ละ 1 หวั ข้อ โดยใหเ้ พอื่ นกลุ่มอน่ื รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ ในส่วนท่แี ตกต่างกันออกไป 7.ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความสาคัญของพระพุทธศาสนา ทม่ี ีผลต่อสภาพแวดลอ้ มในสังคมไทย 8.ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10 ข้อ

ขันสารวจและคน้ พบ/ขนั เตรยี มการคน้ หาคาตอบ 1. แบ่งกลมุ่ ให้ศึกษาใบความรู้ รายบุคคล และ รายกลมุ่ 2. ใหแ้ ต่ละกล่มุ นาเสนอเนือหาหน้าชันเรยี น โดยสลบั กนั จนครบทุกกลมุ่ 3. นักเรยี นและครรู ่วมกันสรปุ บทเรียนในหนว่ ยการเรยี น 4. นักเรียนทาแบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ยการเรยี น และทาแบบทดสอบหลังเรยี น 10 ขอ้ นาผลการเรยี นมา เปรียบเทยี บกบั แบบทดสอบกอ่ นเรียน 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จานวน สภาพการใช้สือ่ 1 ชดุ ขนั ตรวจสอบความรูเ้ ดมิ รายการสื่อ 1 ชุด ขันสารวจและคน้ พบ 1 ชุด ขันขยายความรู้ 1.คลิบวีดโี อ เรอื่ งความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อ สงั คมไทย 2.ใบงาน 1.1 เรอื่ งความสาคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ สังคมไทย (ทาหนงั สือเล่มเลก็ ) 3. แบบฝึกทักษะ 1 เรือ่ ง ความสาคญั ของ พระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย (บตั รคาสงั่ ) 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่อื งมอื วดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน การตรวจผลงาน เกณฑ์การให้ ใบงาน เกณฑ์การประเมินผลงาน 1.สามารถอธบิ าย การตรวจผลงาน นักเรยี น คะแนน ใบงาน ความสาคญั ของ ผา่ นระดบั ดีขึนไป พระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน ผา่ นระดบั ดีขึนไป นักเรียน 2.สามารถนาเสนอ ความสาคัญของ

พระพุทธศาสนาตอ่ แบบบนั ทึก การสงั เกต แบบบันทึกการสงั เกต ผ่านระดบั ดขี นึ ไป สงั คมไทย พฤตกิ รรม รายบุคคล และรายกล่มุ 3.มคี วามสนใจ ใฝ่รู้ อยากเรียน อยาก เหน็ ภาพของ ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย 11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น (ตวั อยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ครู ผ้เู รียน พอเพยี ง พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 1. ความพอประมาณ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยีมาผลติ ส่ือท่ีเหมาะสม มจี ิตสานกึ ที่ดี เออื อาทร ประนปี ระนอม 2. ความมเี หตุผล และสอดคล้องเนือหาเป็นประโยชน์ตอ่ นกึ ถึงประโยชน์สว่ นรวม/กลุ่ม 3. มีภูมคิ ุมกันในตัวทด่ี ี ผ้เู รียนและพฒั นาจากภมู ิปัญญาของผูเ้ รียน 4. เงือ่ นไขความรู้ - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ต้อง ไมห่ ยุดนง่ิ ทห่ี าหนทางในชวี ิต หลดุ พ้นจาก 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม สจุ ริต แมจ้ ะตกอยใู่ นภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้ การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู)้ ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เรอ่ื ง งานและกาลงั ท่ี ความรอบรู้ เรือ่ ง งานและกาลงั กรณีท่ี เก่ียวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะนา เกดิ งาน ปริมาณที่เกี่ยวขอ้ ง การคานวณสตู ร ความรเู้ หลา่ นนั มาพิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน ทีต่ อ้ งใช้ สามารถนาความรเู้ หลา่ นันมา เพ่ือประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน สามารถประยุกต์ กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้กับผู้เรยี น ใชใ้ นชีวิตประจาวนั มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม ซื่อสตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มีความเพียร ซ่ือสัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ิต ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรียน

งานและกาลัง งานและกาลงั งานและกาลงั - การเกดิ งานแตล่ ะกรณี - ปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การเกดิ งาน - ระบุปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเกิดงาน - การเกดิ กาลัง การไดเ้ ปรียบ - ปริมาณที่เกย่ี วข้องกบั การเกดิ งานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกดิ งานและ เชิงกล กาลัง กาลงั พรอ้ มคานวณปริมาณทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง สิง่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน งานและพลงั งาน - การเลือกใชอ้ ยา่ งถกู วธิ ี งานและพลังงาน งานและพลงั งาน - การอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อม - การเลอื กใชอ้ ย่างถูกวธิ ี/ เทคนคิ วิธีการ - ยกตัวอย่างการใช้อปุ กรณ์/เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า - กระบวนการการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม อย่างถกู วิธี - แสนอแนะแนวทางอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ลงชือ่ ................... .....................ผูส้ อน (นายศรีมลู สมบุตร)

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คาชี้แจง ให้นักเรียนเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องทส่ี ุด เพียงคาตอบเดียว 1. คารณ เปน็ ตัวแทนเพื่อน ๆ ในหอ้ งเรยี น กลา่ วขอบคุณครทู ่ีชว่ ยสอนพเิ ศษใหแ้ ก่นักเรยี น การกระทาดงั กล่าว สอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งใด ก. การคบบัณฑติ ข. การบูชา ผคู้ วรบูชา ค. การให้แก่ผสู้ มควรให้ ง. การสานกึ ในความดี ความชว่ั (วเิ คราะห์) 2. เพราะเหตุใดจึงกล่าววา่ พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันคพู่ ระมหากษัตรยิ ์ไทย ก. คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพทุ ธศาสนา ข. รฐั บาลไทยสนับสนนุ ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา ค. พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ทรงอปุ ถัมภ์การศึกษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทุกพระองคท์ รงเป็นพทุ ธมาม กะ (ความเข้าใจ) 3. ขอ้ ใดแสดงถงึ ประเพณีทีม่ าจากพระพุทธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณแี ตง่ งาน ข. ประเพณที อดกฐนิ ค. ประเพณีงานศพ ง. ประเพณสี ืบชะตาต่ออายุ (ความจา) 4. อะไรคอื เหตุผลที่แสดงวา่ พระพุทธศาสนาคอื สภาพแวดลอ้ มท่ดี ขี องสังคมไทย ก. ประเทศเพือ่ นบ้านไทยกน็ บั ถอื พระพุทธศาสนา ข. เพอ่ื ความมั่นคงและแพร่หลายของพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาได้เขา้ มาเผยแผใ่ นประเทศไทยเปน็ เวลานาน ง. พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกดิ วฒั นธรรม และประเพณีทีด่ ีงามของไทย (การนาไปใช)้ 5. ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. พระพุทธศาสนาใหค้ นไทยไมเ่ ปลีย่ นแปลงศาสนา ข. วถิ ีชีวิตของคนไทยส่วนใหญม่ ีพืนฐานมาจากพทุ ธศาสนา ค.พระพุทธศาสนาเปน็ สถาบันหลกั ของสังคมไทย มาตังแตส่ มัยทวารวดี ง. ไทยไม่เคยรูจ้ ักศาสนาอื่นมากอ่ นจึงตอ้ งนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติ (การสังเคราะห)์ 6. ข้อใดแสดงถงึ อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาท่ีมตี อ่ ภาษาไทย ก. ชื่อและนามสกลุ ของบุคคล ข. ชอื่ ถนนและชือ่ สะพาน ค. ชือ่ ห้างร้านและสถานทที่ างราชการ ง. ภาษไทยส่วนใหญ่มพี ืนฐานมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต(วิเคราะห์)

7. ขอ้ ใดแสดงให้เห็นว่าพระพทุ ธศาสนาสอดคล้องกบั ลักษณะนสิ ัยของคนไทย ก. ประเทศเพ่อื นบ้าน นับถอื ศาสนาอื่น ๆ ข. แนวคดิ เรอื่ งนรกสวรรค์ในพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เปน็ ศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ ง. พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนากลุ่มแรกทีค่ นไทยรู้จกั (การ นาไปใช้) 8. “ขาวคือบรสิ ทุ ธิ์ ศรสี วัสดิ์ หมายถงึ พระรตั นตรยั และ ธรรมะค้มุ ครองจิตใจไทย” ขอ้ ความที่เปน็ ตวั หนา้ หมายถึงขอ้ ใด ก. ธงชาติไทย ข. พระพุทธศาสนา ค. วรรณคดี ง. ชือ่ พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา (การประเมนิ คา่ ) 9. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกับคุณของอริยสจั ก. การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ข. การแก้ปญั หาด้วยปญั ญาและเหตุผล ค. การแกป้ ัญหารว่ มกนั เป็นหมู่คณะ ง. การแกป้ ัญหาเพ่ือเอาหน้ารอด 10. ตะวนั ชอบชวนเดือนฉายไปอ่านหนงั สือทีห่ อ้ งสมุดทกุ เช้ากอ่ นเข้าเรยี นทาให้เดือนฉายมีความรอบรหู้ ลายอย่าง เหตกุ ารณน์ สี อดคลอ้ งกบั ขอ้ ใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบณั ฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสรา้ งสรรค์)

กจิ กรรมการเรยี น เร่อื ง ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย บตั รคาสง่ั คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมในศูนย์การเรยี น ดงั นี 1. ครูแบง่ นักเรยี นเปน็ กลมุ่ ให้แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรู้จากศนู ย์การเรยี น เรื่อง ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย 3 ศนู ย์ ดงั นี - ศนู ย์ฯ ที่ 1 : พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ - ศูนย์ฯ ท่ี 2 : พระพุทธศาสนาเป็นสถาบนั หลักของสังคมไทย - ศูนยฯ์ ท่ี 3 : พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดล้อมทกี่ ว้างขวางและครอบคลุมสงั คมไทย 2. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มปฏิบตั ิตนตามขนั ตอนต่อไปนี 1) ศึกษาบัตรเนอื หา 2) ทาบตั รคาถาม 3) ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย ถา้ ไม่ถกู ต้องให้กลับไปศึกษาหาความร้ใู นบตั รเนอื หาใหม่ แล้วแกไ้ ขให้ถกู ต้อง 4) ประชมุ สรุปความรู้

ใบความรู้การเรยี นร้ทู ่ี 1 พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย บตั รเน้อื หา พระพทุ ธศาสนาอยูเ่ คียงคู่กบั สัมคมไทยมาหลายศตวรรษ ประวตั ิศาสตร์ไทยจงึ มเี รื่องราวเกี่ยวพันกับ พระพทุ ธศาสนาอย่เู สมอ นับตังแต่คนไทยสามารถรวมตวั กนั กอ่ ตงั อาณาจกั รของตนเองขึนมา พระพุทธศาสนาไดเ้ ข้ามามี บทบาทตังแต่นันจนถงึ ปัจจบุ นั คนไทยสว่ นใหญ่ยอมรับนับถอื พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาตโิ ดยไมเ่ ปลี่ยนแปลงไป ยดึ ถือศาสนาอ่ืนใดเป็นศาสนาประจาชาติ ทงั นเี หตผุ ลของการนับถือยอมรับพระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติไทย มี ดังนี 1. คนไทยส่วนใหญย่ อมรบั นบั ถือ การยอมรับนับถือพระพทุ ธศาสนาของคนไทยมีมาแตอ่ ดีต สบื เนื่องจนถงึ ปจั จบุ นั ทังนพี ระพุทธศาสนาเป็น ศาสนาอนั ดบั แรกๆ ทีส่ งั คมรจู้ ักและคนุ้ เคย แมภ้ ายหลงั จะมศี าสนาอื่นเผยแผ่เขา้ มาบา้ ง หรือแมส้ ังคมไทยจะเปิดกวา้ งให้มี การเผยแผศ่ าสนาตา่ งๆ ได้ตามใจชอบ แตผ่ ูค้ นส่วนใหญใ่ นสังคมไทยประมาณรอ้ ยละ 95 ก็เลอื กนบั ถือพระพทุ ธศาสนา 2. มีสญั ลักษณ์แทนพระพุทธศาสนาในสถานทีร่ าชการ นอกเหนือจากพระบรมฉายาลกั ษณ์ และธงชาตไิ ทยแลว้ สถานที่ราชการซงึ่ เป็นของรฐั ส่วนใหญ่มักจะมี พระพุทธรปู อันเป็นสญั ลักษณ์อย่างหน่งึ ของพระพุทธศาสนาประดษิ ฐานไว้ 3. พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นพทุ ธมามกะและอัครศาสนปู ถมั ภก พระมหากษัตริยไ์ ทยในอดีตจนถึงปจั จุบนั ทกุ พระองค์ทรงเปน็ พุทธมามกะตามขัตติยราชประเพณี แมม้ กี าร เปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยม์ าเป็นระบอบประชาธิปไตย รฐั ธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พุทธศักราช 2550 ไดบ้ ัญญัตไิ วใ้ นหมวด 2 มาตรา 9 วา่ พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ พทุ ธมามกะและทรงเป็น อัคร ศาสนูปถมั ภกเท่ากับเป็นการกาหนดให้สถาบันพระมหากษัตริย์มีพระพทุ ธศาสนาอยู่เคียงครู่ วมทงั เป็นหลักประกันว่า พระ ประมุขของชาตเิ ปน็ ชาวพุทธ นบั ถอื ศาสนารว่ มกบั ประชาชนสว่ นใหญใ่ นประเทศ 4. กาหนดใหว้ นั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาเป็นวนั หยดุ ราชการ วันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาต่างๆ นัน ทางราชการได้กาหนดใหเ้ ปน็ วนั หยุดท่วั ประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ พทุ ธศาสนิกชนได้มีเวลาไปปฏบิ ัตศิ าสนกจิ อันยาให้เหน็ ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย แมน้ านาชาติ ทัว่ โลกก็รบั ทราบวา่ วนั ดังกลา่ วนี ทางราชการและรฐั วสิ าหกจิ ตลอดจนบรษิ ทั เอกชนส่วนใหญ่จะหยุดทาการ ทงั นีวันสาคัญ ทางพระพุทธศาสนาที่ราชการกาหนดใหเ้ ป็นวันหยุด ได้แก่ วันมาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขา้ พรรษา โดยในวนั ดังกล่าว นอกจากทางราชการจะเปน็ แกนนาในการจัดศาสนพิธีในสถานที่บางแหง่ แลว้ ยังรณรงค์ให้พทุ ธศาสนกิ ชน ไปปฏบิ ัติศาสนกจิ ท่วี ดั และลด ละ เลกิ ความประพฤตเิ สียหายทังปวง ที่มา : วทิ ย์ วิศทเวทย์ และเสฐยี รพงษ์ วรรณปก. 2552. หนงั สือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม.1. พิมพ์ครังที่ 10. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น.์

ใบงานการเรียนรทู้ ี่ 1 พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติไทย บัตรคาถาม 1. บอกเหตุผลท่ีคนส่วนใหญ่ในสงั คมไทยนับถอื พระพุทธศาสนาประมาณรอ้ ยละ 95 มาอย่างน้อย 2 ข้อ 2. ระบรุ ายละเอียดในธงพระพุทธศาสนาทีป่ ระดบั คธู่ งชาตไิ ทยในวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา 3. สถาบันพระมหากษตั รยิ ม์ สี ว่ นชว่ ยธารงใหพ้ ระพทุ ธศาสนาอยู่คชู่ าติไทยไดอ้ ยา่ งไร 4. ประกาศสานักนายกรฐั มนตรี เรื่อง กาหนดวนั ห้ามขายเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2551 โดยหา้ มมใิ หผ้ ใู้ ดขายเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาวันใด

เฉลยใบงานการเรียนร้ทู ่ี 1 พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย บตั รเฉลย 1. บอกเหตผุ ลที่คนส่วนใหญ่ในสงั คมไทยนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาประมาณร้อยละ 95 มาอยา่ งน้อย 2 ข้อ 1) พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาตไิ ทย และอยู่เคยี งค่กู บั สังคมไทยมาหลายศตวรรษ 2) พระมหากษัตริย์ไทยในประวัตศิ าสตร์หลายศตวรรษทรงมีพระราชกรณียกจิ ในการทานบุ ารงุ พระพุทธศาสนา ทาใหป้ ระชาชนเล่อื มใสในพระพทุ ธศาสนาด้วย 2. ระบุรายละเอยี ดในธงพระพทุ ธศาสนาท่ปี ระดบั คู่ธงชาติไทยในวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา ธงพระพทุ ธศาสนา เป็น ธงสีเหลือง อันหมายถึง พระพทุ ธศาสนา และมรี ปู ธรรมจกั ร เป็นกงล้ออยู่กลางผืนธง 3. สถาบันพระมหากษตั ริย์มีสว่ นช่วยธารงให้พระพทุ ธศาสนาอย่คู ู่ชาตไิ ทยได้อยา่ งไร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับไดบ้ ัญญตั วิ า่ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะ และทรงเปน็ อัครศาสนปู ถัมภก จึงเปน็ การกาหนดให้สถาบนั กษตั รยิ ์ดารงอยคู่ ู่กบั สถาบันศาสนา ซง่ึ ร้อยละ 95 ของคนไทย นับถือพระพทุ ธศาสนา 4. ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรอ่ื ง กาหนดวนั ห้ามขายเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2551 โดยหา้ มมใิ หผ้ ใู้ ดขายเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาวันใด 1) วันมาฆบูชา 2) วันวิสาขบูชา 3) วันอาสาฬหบูชา 4) วันเข้าพรรษา

ใบความรู้บัตรเนอ้ื หา สถาบันหลกั ของไทยมี 3 สถาบนั ได้แก่ สถาบันชาติ สถาบนั ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ทัง 3 สถาบันนี ตา่ งเกอื หนุนคาจนุ กนั เสมือนหน่งึ เป็นโครงสรา้ งอันแข็งแกร่งใหส้ งั คมไทยและชาตไิ ทยดารงอยูไ่ ด้ตงั แตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาเป็นสถาบันท่มี ีบทบาทอยา่ งสูงในการควบคุมพฤติกรรมของผู้คนในสงั คมไทย ทงั นีเหตผุ ล ท่ีทา ใหส้ ถาบนั พระพทุ ธศาสนาเป็นหนึ่งในสถาบันหลกั ของสังคมไทย เนอ่ื งมาจาก 1. พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั คู่ชาติไทย พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ข้ามาในดนิ แดนสวุ รรณภูมอิ ันเปน็ ทต่ี ังของประเทศไทยในปัจจุบันนบั ตงั แต่ พทุ ธ ศตวรรษที่ 3 อาณาจักรชาตไิ ทยตา่ งๆ ลว้ นสืบทอดพระพุทธศาสนาไวต้ งั แตส่ มัยสุโขทยั สมยั อยุธยา สมยั ธนบรุ ี จนมาถงึ สมัย รตั นโกสนิ ทร์ไว้อยา่ งมน่ั คง จึงกลา่ วไดว้ ่า พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันค่ชู าตไิ ทย 2. พระมหากษตั ริย์ไทยทรงเปน็ พทุ ธมามกะ ในประวัตศิ าสตร์ของชาตอิ ่ืน กษตั ริย์ที่ปกครองประเทศในแต่ละสมัยมักจะนับถอื ศาสนาต่างกัน แต่พระมหา-กษตั ริย์ ไทยทกุ สมยั ลว้ นเป็นพุทธมามกะ โดยราชประเพณี กอ่ นท่ีพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทกุ พระองค์จะขึนครองราชย์ จะมพี ระราช ประเพณใี ห้ออกผนวชชั่วคราวเพ่อื ศึกษาหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและนาหลกั ธรรมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปกครองประเทศ แมใ้ นกรณที ีไ่ ม่สามารถออกผนวชกอ่ นขนึ เสวยราชสมบัติก็ตอ้ งออกผนวชหลังจากขนึ ครองราชยแ์ ลว้ ดงั กรณพี ระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลปัจจบุ นั เปน็ ตน้ 3. พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ อัครศาสนปู ถัมภก พระมหากษตั ริยไ์ ทยทกุ พระองค์ทรงให้ความสาคญั ในการอุปถมั ภ์พระพุทธศาสนา โดยทรงถอื เปน็ พระราช-ภารกจิ สาคัญ พระราชภารกจิ ทีพ่ ระมหากษตั ริย์ไทยทรงทานบุ ารงุ พระพทุ ธศาสนา อาทิ ทรงสร้างวดั ปฏสิ งั ขรณ์วัด และปชู นยี สถาน ต่างๆ ทรงอปุ ถมั ภ์การศึกษาพระพุทธศาสนา ทรงสง่ เสรมิ การปฏิบตั ธิ รรมทรงยกยอ่ งพระสงฆผ์ เู้ ชย่ี วชาญ ในพระปริยตั แิ ละ เช่ียวชาญในการปฏิบตั ิให้ดารงสมณศักด์ติ ามความสามารถและความเหมาะสม ทรงสนบั สนนุ การสังคายนา ดงั ท่ี พระมหากษตั รยิ บ์ างพระองค์ไดท้ รงสนบั สนนุ อุปถมั ภ์การสงั คายนา (ดงั ในสมัยรชั กาลท่ี 1 และรชั กาลที่ 9 เป็นต้น) และทรงวาง พระองค์เปน็ แบบอย่างของชาวพุทธที่ดี 4. รัฐบาลไทยสง่ เสรมิ สนับสนุนพระพทุ ธศาสนา เมือ่ ประเทศไทยได้เปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย พระราชอานาจและพระราช-ภารกจิ ในการอุปถัมภบ์ ารงุ พระศาสนาของพระมหากษัตริยแ์ ตเ่ ดิมกถ็ ูกมอบหมายให้รัฐบาลทาหนา้ ที่สบื แทนต่อไป เพราะฉะนันรัฐบาลจงึ มี หนา้ ท่โี ดยตรงทจ่ี ะอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ทงั ดา้ นการศึกษาและดา้ นการปฏบิ ตั ิพระศาสนา โดยกาหนดเปน็ นโยบายที่แน่นอน และปฏิบตั ิใหบ้ รรลผุ ลตามนโยบายทก่ี าหนดไว้ ทังนโี ดยการดาเนนิ งานผา่ นทางหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องอาทิ กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงมหาดไทยและสานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ เปน็ ต้น ท่มี า : วิทย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน พระพุทธศาสนา ม.1. พมิ พ์ครังที่ 10. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น.์

ใบงานการเรยี นรู้ที่ 2 พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันหลกั ของสงั คมไทย บัตรคาถาม 1. สถาบันหลักตามโครงสรา้ งของสงั คมไทยท่ีมีส่วนช่วยคาจนุ ให้สังคมไทยและชาตไิ ทยดารงอยู่มาจนถงึ ปจั จุบนั ประกอบดว้ ยสถาบนั ใดบา้ ง 2. เหตุผลสาคญั ท่ที าให้สถาบันพระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหนงึ่ ของสังคมไทยคอื อะไร 3. “พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” หมายความว่าอยา่ งไร 4. หนว่ ยงานของรฐั บาลไทยท่ีมีแนวนโยบายและการดาเนนิ งานทเี่ ก่ยี วกับการสนับสนนุ ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา ได้แก่หน่วยงานใดบ้าง

แบบเฉลยการเรียนรู้ท่ี 2 พระพุทธศาสนาเปน็ สถาบันหลักของสังคมไทย บัตรเฉลย 1. สถาบนั หลกั ตามโครงสรา้ งของสงั คมไทยท่มี สี ่วนชว่ ยคาจนุ ใหส้ งั คมไทยและชาติไทยดารงอยมู่ าจนถงึ ปจั จบุ นั ประกอบดว้ ยสถาบันใดบ้าง 1) สถาบนั ชาติ 2) สถาบันศาสนา 3) สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ 2. เหตผุ ลสาคญั ท่ีทาใหส้ ถาบันพระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันหน่งึ ของสงั คมไทยคอื อะไร เพราะสถาบันพระพทุ ธศาสนามีบทบาทในการควบคมุ พฤติกรรม และกาหนดแนวทางการดาเนินชวี ิต ตามหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาของคนในสงั คมไทย 3. “พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” หมายความวา่ อยา่ งไร หมายถึง พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ์ทท่ี รงใหค้ วามสาคัญในการอุปถัมภ์พระพทุ ธศาสนา เพื่อใหพ้ ระพทุ ธศาสนาธารงอยู่คู่สังคมไทย เชน่ ทางสร้างวัด ปฏิสงั ขรณว์ ดั และปูชนียสถานต่างๆ ทรงอุปถมั ภ์ การศึกษาพระพุทธศาสนา ทรงสนบั สนุนการสงั คายนาพระพทุ ธศาสนา เป็นต้น 4. หน่วยงานของรฐั บาลไทยท่ีมีแนวนโยบายและการดาเนินงานท่ีเกี่ยวกบั การสนับสนนุ ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา ไดแ้ กห่ น่วยงานใดบ้าง 1) กระทรวงศกึ ษาธิการ 2) กระทรวงวฒั นธรรม 3) กระทรวงมหาดไทย 4) กระทรวงพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ 5) สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ใบความรู้การเรียนรูท้ ่ี 3 พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มที่กว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย บัตรเนอ้ื หา คนไทยสว่ นใหญ่ภายในสังคมไทยเป็นชาวพุทธโดยกาเนิด ไม่ตอ้ งมีการประกาศเพราะวถิ ีชวี ติ ของคนไทยได้รับการ ผสมผสานกลมกลนื เปน็ อันหน่งึ อันเดยี วกบั พระพทุ ธศาสนามาทุกยคุ ทุกสมยั สภาพแวดลอ้ มรอบตัวทังทางกายภาพและ สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม สว่ นใหญม่ ักไดร้ บั อิทธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนา หรือกลา่ วอีกนยั หน่งึ คือ ตงั แต่เกิดจนตายคนไทยส่วน ใหญ่มกั ต้องสมั ผสั กบั พระพุทธศาสนามากหรือนอ้ ยบ้างตามโอกาส ดงั นันพระพุทธศาสนาจงึ เปน็ สภาพแวดลอ้ มท่ีกว้างขวางและ ครอบคลุมสังคมไทยอยา่ งแทจ้ รงิ ดว้ ยเหตุผลดังนี 1. มีวดั และสานกั สงฆ์มากมายทวั่ ประเทศ จากสถิติ พ.ศ. 2552 ในประเทศไทยมีวัดประมาณ 35,271 วัด และสานกั สงฆอ์ กี จานวนมาก มีพระภิกษุและสามเณร ประมาณ 322,000 รูป ไมน่ ับพระภิกษุสามเณรผู้บวชชัว่ คราว ทกุ หม่บู า้ นมวี ัดประจาหมบู่ า้ น แม้เม่ือจะกอ่ ตงั หมบู่ ้านขนึ ใหมก่ ็ นิยมสรา้ งวัดไวเ้ ป็นสถานทบ่ี าเพญ็ บญุ ทางพระศาสนาดว้ ย วัดจึงนับเปน็ “ศูนยก์ ลาง” ของสงั คมไทยส่วนใหญ่มาแตอ่ ดีตถึง ปัจจุบัน 2. มีปูชยีนสถาน ปูชนยี วตั ถุมากมาย เหตุที่วัดเป็นสภาพแวดลอ้ มทคี่ รอบคลุมสงั คมไทยท่ัวไป จึงมปี ชู นยี สถานและปูชนยี วัตถสุ าคัญๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนาประดษิ ฐานเกบ็ รกั ษาอยู่มากมาย เช่น พระบรมธาตไุ ชยา พระปฐมเจดีย์ พระธาตุดอยสุเทพ พระพทุ ธรปู ตู้ พระไตรปิฎก วหิ าร เปน็ ต้น 3. ประเพณพี ิธีกรรมตา่ งๆ ของคนไทย มาจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง เชน่ ประเพณีการอปุ สมบท ประเพณวี ันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณี ทอดผ้าปา่ ประเพณที อดกฐิน และคตบิ างอย่างกน็ าเอาแนวคดิ ทางพระพทุ ธศาสนาไปปรบั ใชใ้ ห้ผสมผสานกลมกลนื เชน่ การตัง ชือ่ โกนผมไฟ ขนึ บา้ นใหม่ ทาบุญอายุ งานศพ ถา้ ไมม่ พี ระพทุ ธศาสนา ประเพณีพิธีกรรมเหลา่ นีอาจเป็นไปในรปู แบบอ่นื นอกจากนจี ติ ใจของคนไทยสว่ นใหญก่ ็อาจขาดการขดั เกลาหรอื มิไดถ้ กู หลอ่ หลอมใหม้ ีลกั ษณะเป็นคนไทยอยา่ งท่ีเหน็ เปน็ อยูใ่ น ปจั จบุ ันนกี ็ได้ 4. ลกั ษณะนสิ ยั และมารยาทของคนไทยสว่ นใหญม่ รี ากฐานจากพระพทุ ธศาสนา คนไทยไดร้ ับการยกยอ่ งจากชาวตา่ งชาติว่าเปน็ คนทม่ี ลี ักษณะนสิ ัยดีงาม เชน่ มีความเออื เฟื้อเผอื่ แผ่ มนี าใจ เมตตา กรุณา เกรงใจ พร้อมใหอ้ ภัยคนอืน่ เสมอ ยมิ แย้มแจม่ ใส เป็นต้น คนไทยมีคาพดู ติดปาก คือ “ไมเ่ ปน็ ไร” อัน หมายถึง ไมถ่ ือโทษ ไม่อาฆาตมาดร้าย ใหอ้ ภัยอยู่เสมอ ลกั ษณะนสิ ัยเหลา่ นลี ้วนหลอ่ หลอมมาจากพระพุทธศาสนา อนั เป็น สภาพแวดล้อมท่คี รอบคลุมสงั คมไทยอย่างกวา้ งขวาง ดว้ ยกิรยิ ามารยาทนัน คนไทยมกี ิรยิ ามารยาทเรยี บร้อย นุ่มนวล การไหว้ การกราบ มารยาทในการตอ้ นรับ การแต่งกาย ตลอดจนอริ ิยาบถของคนไทย ล้วนได้รับการชนื่ ชม จากท่วั โลก ทงั นมี ารยาท เหล่านีล้วนมีพนื ฐานมาจากหลักคาสอนทางพระพทุ ธศาสนา เช่น หลกั คารวธรรม หลกั การปฏสิ นั ถาร เปน็ ต้น

5. ภาษาและวรรณคดไี ทยมอี ทิ ธพิ ลมาจากพระพทุ ธศาสนา ภาษาไทยท่ีใช้อยใู่ นปัจจุบนั ส่วนมากมีพืนฐานมาจากภาษาบาลสี นั สกฤต ซึ่งเปน็ ภาษาในทางพระพุทธศาสนาสังเกตได้ จากช่อื นามสกลุ ชือ่ บรษิ ัท หา้ งรา้ น สถานที่ แม้กระทั่งช่ือหน่วยงานราชการต่างๆ ตลอดจนวรรณคดีไทยตา่ งๆ มกั มีแนวคิดทาง พระพุทธศาสนาเปน็ แนวคดิ หลัก โดยสะท้อนความเชอื่ เรื่อง นรก สวรรค์ บุญ บาป กรรม สงั สารวัฏ เปน็ ตน้ 6. การนบั ศักราช การนบั ศักราชอยา่ งเป็นทางการของประเทศไทยจะนับเปน็ “พทุ ธศักราช” โดยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดาริใหเ้ ปลี่ยนแปลงจากการนบั ศักราชแบบรตั นโกสินทรศ์ ก มาเปน็ พุทธศกั ราช อันแสดงใหเ้ หน็ วา่ ประเทศไทยให้ ความสาคัญอยา่ งยง่ิ ยวดแกพ่ ระพุทธศาสนา และประเทศไทยเปน็ ประเทศเดยี วในโลกทใี่ ชว้ ิธกี ารนบั ศกั ราชเชน่ นี ท่มี า : วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐยี รพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม.1. พมิ พ์ครงั ที่ 10. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น.์

ใบงานการเรยี นรทู้ ี่ 3 พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มทก่ี ว้างขวาง และครอบคลุมสงั คมไทย บัตรคาถาม 1. ปชู นียสถาน ปชู นยี วัตถสุ าคญั ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง ยกตัวอยา่ งอย่างน้อย 4 ตัวอยา่ ง 2. ประเพณีพธิ ีกรรมของคนไทยท่ีมาจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ไดแ้ ก่อะไรบ้าง 3. ลกั ษณะนสิ ัยและมารยาทของคนไทยที่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 4. วรรณคดขี องไทยไดร้ ับแนวคิดทางพระพุทธศาสนาอยา่ งไร

แบบเฉลยการเรยี นรู้ท่ี 3 พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดล้อมทีก่ ว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย บัตรเฉลย 1. ปูชนยี สถาน ปชู นยี วัตถสุ าคญั ๆ ท่ีเก่ียวข้องกบั พระพทุ ธศาสนาไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ยกตัวอยา่ งอยา่ งนอ้ ย 4 ตัวอยา่ ง - พระปฐมเจดยี ์ - วิหาร - พระธาตุดอยสุเทพ - ตูพ้ ระไตรปฎิ ก - พระพุทธรปู 2. ประเพณีพิธีกรรมของคนไทยทีม่ าจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง - ประเพณกี ารบวช - ประเพณวี นั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา - ประเพณีทอดผ้าป่า - ประเพณที อดกฐนิ - ประเพณขี ้ึนบ้านใหม่ 3. ลักษณะนิสัยและมารยาทของคนไทยทม่ี รี ากฐานมาจากพระพทุ ธศาสนา ได้แก่อะไรบา้ ง - ลกั ษณะนสิ ยั มคี วามเอื้อเฟ้ือเผอ่ื แผ่ มีนา้ ใจ เมตตากรณุ า เกรงใจ พร้อมให้อภัยคนอ่ืนเสมอ ยมิ้ แย้มแจ่มใส - มารยาท เรียบรอ้ ย นุม่ นวล การไหว้ การกราบ การตอ้ นรับ 4. วรรณคดขี องไทยได้รบั แนวคดิ ทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร มีแนวคิดทางพระพทุ ธศาสนา โดยสะทอ้ นความเชอื่ เรอื่ ง นรก สวรรค์ บุญ บาป กรรม สงั สารวฏั เป็นต้น

สือ่ การเรียน ช่วยกนั ทายภาพ 3. บตั รคาถาม คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเขียนบรรยายใต้ภาพท่ีกาหนดใหถ้ กู ต้อง 1. 2. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

แบบเฉลยสื่อการเรียน ช่วยกนั ทายภาพ บัตรคาถาม คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นเขียนบรรยายใตภ้ าพทกี่ าหนดใหถ้ กู ต้อง 3. 1. 2. พระบรมธาตไุ ชยา วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดเบญจมบพิตร 4. 5. 6. วดั ราชบรู ณะ พระธาตดุ อยสเุ ทพ พระปฐมเจดีย์ 7. 8. 9. พิธีอปุ สมบท พิธที อดผา้ ปา่ การทาบุญตักบาตร 10. 11. 12. การเทศน์มหาชาติ การกราบพระสงฆ์ ประเพณแี ห่เทยี นพรรษา

บตั รภาพ  ภาพการทาบุญใส่บาตรในวนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนา ภาพการถวายสังฆทานในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ที่มา : วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐยี รพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม.1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 10. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.

แบบทดสอบหลงั เรียน คาชแี้ จง ให้นกั เรียนเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี ว 1.คารณ เป็นตัวแทนเพื่อน ๆ ในห้องเรยี น กล่าวขอบคุณครทู ่ีชว่ ยสอนพิเศษใหแ้ กน่ ักเรียน การกระทาดังกล่าว สอดคลอ้ งกับเรอ่ื งใด ก. การคบบัณฑติ ข. การบูชา ผู้ควรบชู า ค. การใหแ้ ก่ผสู้ มควรให้ ง. การสานึกในความดี ความชว่ั (วเิ คราะห)์ 2. เพราะเหตุใดจึงกลา่ วว่า พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันค่พู ระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ก. คนไทยส่วนใหญ่นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ข. รัฐบาลไทยสนบั สนนุ สง่ เสริมพระพุทธศาสนา ค. พระมหากษัตริยไ์ ทย ทรงอุปถัมภก์ ารศกึ ษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษัตรยิ ์ไทยทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมาม กะ (ความเข้าใจ) 3. ข้อใดแสดงถงึ ประเพณีทีม่ าจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณีแต่งงาน ข. ประเพณีทอดกฐนิ ค. ประเพณีงานศพ ง. ประเพณีสืบชะตาต่ออายุ (ความจา) 4. อะไรคือเหตผุ ลที่แสดงว่า พระพทุ ธศาสนาคอื สภาพแวดล้อมทดี่ ีของสงั คมไทย ก. ประเทศเพ่ือนบา้ นไทยก็นับถอื พระพทุ ธศาสนา ข. เพือ่ ความม่ันคงและแพร่หลายของพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาได้เข้ามาเผยแผใ่ นประเทศไทยเป็นเวลานาน ง. พระพทุ ธศาสนาเป็นบ่อเกดิ วัฒนธรรม และประเพณีทดี่ ีงามของไทย (การนาไปใช้) 5.ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง ข. พระพทุ ธศาสนาให้คนไทยไม่เปล่ียนแปลงศาสนา ข. วถิ ชี ีวิตของคนไทยส่วนใหญ่มพี นื ฐานมาจากพทุ ธ ศาสนา ค.พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันหลกั ของสังคมไทย มาตงั แตส่ มัยทวารวดี ง. ไทยไมเ่ คยรจู้ กั ศาสนาอื่นมาก่อนจงึ ต้องนับถอื พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ (การสังเคราะห)์ 6. ข้อใดแสดงถึงอทิ ธิพลของพระพุทธศาสนาที่มตี ่อภาษาไทย ก. ชอื่ และนามสกุลของบุคคล ข. ชอื่ ถนนและชือ่ สะพาน ค. ชอื่ ห้างร้านและสถานที่ทางราชการ ง. ภาษไทยส่วนใหญ่มีพืนฐานมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต(วิเคราะห)์

7. ขอ้ ใดแสดงให้เหน็ วา่ พระพทุ ธศาสนาสอดคลอ้ งกับลกั ษณะนิสัยของคนไทย ก. ประเทศเพื่อนบ้าน นบั ถือศาสนาอืน่ ๆ ข. แนวคดิ เร่อื งนรกสวรรค์ในพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เปน็ ศาสนาแหง่ อสิ ระเสรภี าพ ง. พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนากลุ่มแรกท่คี นไทยรูจ้ ัก(การ นาไปใช)้ 8. “ขาวคอื บรสิ ุทธ์ิ ศรีสวัสด์ิ หมายถึงพระรัตนตรัย และ ธรรมะคมุ้ ครองจิตใจไทย” ขอ้ ความท่เี ปน็ ตวั หนา้ หมายถึงขอ้ ใด ก. ธงชาตไิ ทย ข. พระพทุ ธศาสนา ค. วรรณคดี พระพทุ ธศาสนา ง. ช่ือพระสงฆใ์ น พระพุทธศาสนา (การประเมนิ ค่า) 9. ขอ้ ใดสอดคล้องกับคณุ ของอริยสจั ก. การแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ข. การแกป้ ญั หาดว้ ยปญั ญาและเหตุผล ค. การแกป้ ญั หาร่วมกันเปน็ หมู่คณะ ง. การแกป้ ญั หาเพอื่ เอาหน้ารอด 10. ตะวนั ชอบชวนเดอื นฉายไปอา่ นหนงั สอื ท่ีหอ้ งสมดุ ทุกเชา้ ก่อนเข้าเรยี นทาใหเ้ ดือนฉายมคี วามรอบรู้หลายอยา่ ง เหตุการณน์ สี อดคล้องกบั ข้อใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบัณฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสรา้ งสรรค์)

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องทีส่ ุด เพยี งคาตอบเดียว 1.คารณ เปน็ ตวั แทนเพ่อื น ๆ ในห้องเรียน กลา่ วขอบคุณครทู ี่ช่วยสอนพิเศษใหแ้ ก่นกั เรียน การกระทาดังกล่าว สอดคล้องกบั เรอื่ งใด ก. การคบบัณฑิต ข. การบชู า ผ้คู วรบูชา ค. การให้แก่ผู้สมควรให้ ง. การสานึกในความดี ความชว่ั (วเิ คราะห์) 2. เพราะเหตุใดจงึ กลา่ วว่า พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันคพู่ ระมหากษตั ริยไ์ ทย ก. คนไทยส่วนใหญน่ บั ถือพระพทุ ธศาสนา ข. รฐั บาลไทยสนับสนนุ สง่ เสริมพระพุทธศาสนา ค. พระมหากษัตริยไ์ ทย ทรงอุปถัมภ์การศกึ ษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองคท์ รงเปน็ พุทธมาม กะ (ความเขา้ ใจ) 3. ขอ้ ใดแสดงถึงประเพณที มี่ าจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณแี ต่งงาน ข. ประเพณที อดกฐิน ค. ประเพณีงานศพ ง. ประเพณีสืบชะตาตอ่ อายุ (ความจา) 4. อะไรคอื เหตุผลที่แสดงว่า พระพทุ ธศาสนาคือ สภาพแวดล้อมที่ดีของสงั คมไทย ก. ประเทศเพื่อนบ้านไทยกน็ บั ถือพระพทุ ธศาสนา ข. เพอ่ื ความมนั่ คงและแพร่หลายของพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ขา้ มาเผยแผใ่ นประเทศไทยเปน็ เวลานาน ง. พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกดิ วัฒนธรรม และประเพณที ดี่ งี ามของไทย (การนาไปใช้) 5.ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก. พระพุทธศาสนาให้คนไทยไม่เปลี่ยนแปลงศาสนา ข. วิถีชีวติ ของคนไทยสว่ นใหญม่ ีพนื ฐานมาจากพุทธศาสนา ค.พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันหลักของสงั คมไทย มาตงั แตส่ มยั ทวารวดี ง. ไทยไม่เคยรจู้ ักศาสนาอื่นมาก่อนจึงต้องนับถอื พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ (การสงั เคราะห)์ 6. ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มตี ่อภาษาไทย ก. ช่ือและนามสกุลของบุคคล ข. ชอื่ ถนนและช่อื สะพาน ค. ชื่อห้างร้านและสถานท่ีทางราชการ ง. ภาษไทยสว่ นใหญ่มพี ืนฐานมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต(วิเคราะห์)

7. ขอ้ ใดแสดงให้เห็นว่าพระพทุ ธศาสนาสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะนสิ ยั ของคนไทย ก. ประเทศเพือ่ นบา้ น นบั ถือศาสนาอนื่ ๆ ข. แนวคดิ เร่ืองนรกสวรรค์ในพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เป็นศาสนาแห่งอสิ ระเสรภี าพ ง. พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนากลุม่ แรกที่คนไทยรูจ้ กั (การ นาไปใช)้ 8. “ขาวคอื บรสิ ทุ ธ์ิ ศรีสวัสด์ิ หมายถึงพระรัตนตรัย และ ธรรมะค้มุ ครองจิตใจไทย” ข้อความทเี่ ปน็ ตัวหน้า หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ธงชาติไทย ข. พระพุทธศาสนา ค. วรรณคดี ง. ชือ่ พระสงฆ์ในพระพทุ ธศาสนา (การประเมิน คา่ ) 9. ข้อใดสอดคล้องกบั คณุ ของอรยิ สัจ ก. การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า ข. การแกป้ ญั หาดว้ ยปญั ญาและเหตุผล ค. การแกป้ ัญหาร่วมกนั เป็นหมู่คณะ ง. การแกป้ ญั หาเพือ่ เอาหน้ารอด 10. ตะวันชอบชวนเดอื นฉายไปอา่ นหนงั สอื ท่หี ้องสมุดทุกเชา้ กอ่ นเขา้ เรยี นทาใหเ้ ดอื นฉายมีความรอบรู้หลายอย่าง เหตุการณ์นีสอดคลอ้ งกบั ข้อใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบณั ฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสร้างสรรค์)

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน ประเมนิ การนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการทก่ี าหนด แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 432 1 ความถูกตอ้ งของเนือหา 2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ / 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน / 4 การนาไปใชป้ ระโยชน์ / 5 การตรงตอ่ เวลา / / รวม ลงชื่อ ......................... ....................... ผู้ประเมนิ (นายศรมี ลู สมบุตร) เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ้ บกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทางานกลุ่ม ช่อื กลมุ่ ท่ี 1 ชัน ม.1/1 คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง ที่ตรงกับระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ทกี่ นั อย่างเหมาะสม 2 ความร่วมมอื กนั ทางาน / 3 การแสดงความคิดเหน็ / 4 การรับฟงั ความคดิ เหน็ 5 ความมนี าใจช่วยเหลือกัน / / / รวม ลงชื่อ ........................ ............................ ผู้ ประเมิน (นายศรีมลู สมบตุ ร) เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงคด์ า้ น 4321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ เพลงชาติ / กษัตรยิ ์ 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของนักเรยี น / 2. ซ่อื สตั ย์ สุจริต / 1.3 ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชกิ ในชนั เรยี น / 3. มวี นิ ัย รับผิดชอบ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 1.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่ / 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง โรงเรยี นและชุมชน / 1.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏบิ ัติตนตามหลักของศาสนา / / 1.6 เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ตามที่โรงเรียน และ ชมุ ชนจัดขนึ / / 2.1 ให้ข้อมลู ที่ถกู ตอ้ ง และเป็นจรงิ / 2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิ่งทถ่ี ูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวท่จี ะทาความผิด ทาตามสญั ญาที่ / ตนใหไ้ ว้กบั เพือ่ น พ่อแมห่ รือผปู้ กครอง และครู / / 2.3 ปฏบิ ตั ติ ่อผอู้ ่ืนดว้ ยความซ่ือตรง / 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครวั และ / โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆ / ในชีวิตประจาวนั 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ การเรยี นร้ตู ่างๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งมีเหตุผล 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเกบ็ รกั ษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยดั คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี 5.3 ปฏบิ ัตติ นและตัดสินใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อ่นื และไม่ทาใหผ้ ้อู ื่นเดอื ดรอ้ น พร้อมใหอ้ ภยั เม่อื ผอู้ ่ืนกระทา ผิดพลาด

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ดา้ น 4321 5.5 วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ วี ติ ประจาวนั บนพนื ฐานของ 6. มุ่งมั่นในการ ความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร / ทางาน 5.6 รเู้ ท่าทันการเปล่ียนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตัว / 7. รกั ความเป็นไทย อยู่รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งมีความสขุ 8. มจี ิตสาธารณะ / 6.1 มีความตังใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย / 6.2 มีความอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ / 7.1 มีจติ สานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย / 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย / 8.1 รูจ้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน / 8.2 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบ่งปนั สง่ิ ของให้ผู้อนื่ / 8.3 รจู้ ักดูแล รกั ษาทรัพย์สมบตั แิ ละสงิ่ แวดล้อมของห้องเรียน โรงเรยี น ชุมชน 8.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ลงชอ่ื .................. ............... ผปู้ ระเมนิ (นายศรีมูล สมบตุ ร) เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 191 - 108 ดมี าก ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครัง้ 73 - 90 ดี 54 - 72 พอใช้ ต่ากวา่ 54 ปรบั ปรงุ

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน  ด้านความรู้ พอใช้ได้  ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น พอใช้ได้  ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ด้านอ่นื ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมทมี่ ปี ัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี ) มนี ักเรียนชายบางคนขาดเรยี น /ไมม่ ค่ วามรับผิดชอบต่องานทม่ี อบหมาย  ปญั หา/อุปสรรค นกั เรียนชายชอบขาดเรียน  แนวทางการแก้ไข บันทกึ แจ้งผ่านไลน์กลมุ่ งานในราชการ เพอ่ื ให้คุณครปู รกึ ษาได้ตดิ ตามอบรมให้นักเรียนใฝเ่ รียนรู้ ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ .............................................. (นายอดิศร แดงเรอื น) ตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31

แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ประวตั แิ ละความสาคญั ของพระพุทธศาสนา รายวชิ า สังคมพนื้ ฐาน รหสั ส 21104 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชอ่ื -สกุลครูผูส้ อน นายศรมี ูล สมบตุ ร ********************* คาชแี้ จง แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ ฉบับนี มวี ัตถุประสงค์เพอื่ ใหท้ า่ นซง่ึ เปน็ ผู้นเิ ทศไดก้ รุณาพจิ ารณาความ เหมาะสม และความสอดคลอ้ งระหว่างองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมนิ แบง่ เป็น 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้เปน็ การพจิ ารณาองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของ แผนการจดั การเรียนรู้วา่ มีความเหมาะสมเพยี งใด ตอนที่ 2 แบบประเมินความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการพจิ ารณาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของ แผนการจดั การเรียนรวู้ า่ มีความสอดคล้องกันเพยี งใด ตอนที่ 1 แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ คาช้แี จง โปรดทาเคร่อื งหมาย √ ในชอ่ งระดับความเหมาะสมทตี่ รงกบั ความคิดเห็นของทา่ น และขอความกรณุ า เขยี นข้อเสนอแนะอ่นื ๆ เพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรตู้ ่อไป ขอ้ รายการประเมิน ระดับความคิดเหน็ ใช่ ไม่ใช่ 1 แผนการจดั การเรียนรูม้ ีองคป์ ระกอบสาคัญครบถ้วนตามแบบฟอรม์ ท่ีโรงเรยี นกาหนด √ 2 การเขียนสาระสาคญั ในแผนการจัดการเรียนรมู้ ีความถูกตอ้ ง √ 3 จดุ ประสงค์การเรียนรรู้ ะบุพฤติกรรมชัดเจน สามารถวัดได้ √ 4 สาระการเรยี นรคู้ รบถว้ น สัมพันธ์กบั ตวั ชีวดั /ผลการเรยี นรู้/จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ √ 5 ระบุวธิ ีการวัดผลประเมนิ ผลอยา่ งชดั เจน √

6 ระบุเคร่ืองมอื สาหรบั การวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน √ 7 ระบุเกณฑก์ ารวดั ผลประเมินผลอย่างชัดเจน √ 8 กจิ กรรมการเรียนร้มู คี วามเหมาะสม ครบถว้ นทกุ ขนั ตอนตามวิธสี อน หรอื กระบวนการ √ หรือเทคนคิ การสอนท่รี ะบุไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ √ 9 ระบกุ ารใช้สอ่ื นวัตกรรม/แหล่งเรยี นรูส้ ัมพันธส์ อดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ √ 10 มีหลักฐานประกอบ เชน่ สื่อ ใบกจิ กรรม ใบความรู้ เครอ่ื งมือวดั ฯ ท่ปี รากฏใน แผนการจดั การเรียนรคู้ รบถว้ น ตอนท่ี 2 แบบประเมินความสอดคลอ้ งองค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ คาช้แี จง โปรดทาเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ความคดิ เหน็ ของทา่ น ขอ้ ที่ รายการประเมิน สอดคลอ้ ง ไม่แน่ใจ ไมส่ อดคล้อง (1) (0) (-1) 1 การเขยี นสาระสาคัญมคี วามสมั พันธส์ อดคล้องกับตวั ชีวัด/ผลการ √ เรยี นรู้/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2 จุดประสงค์การเรยี นรมู้ คี วามสอดคล้องสมั พันธ์กับ √ สาระการเรียนรู้ 3 หลักฐานการเรียนร้มู ีความสมั พันธ์ สอดคลอ้ งกับสาระ การเรยี นรู้ √ ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้ 4 วธิ กี ารวัดผลประเมินผลมคี วามสัมพันธก์ บั สาระการเรียนรู้ ตัวชีวดั / √ ผลการเรยี นรู้ 5 เครอื่ งมือวดั ผลประเมินผล มคี วามสมั พนั ธ์กบั คณุ ลกั ษณะอนั พึง √ ประสงค์ของผู้เรยี น 6 เคร่ืองมือวดั ผลประเมนิ ผล มคี วามสมั พนั ธ์กับสมรรถนะทีส่ าคัญของ √ ผู้เรยี น

7 กจิ กรรมการเรียนรูม้ คี วามสมั พันธ์สอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ √ √ ตัวชวี ดั /ผลการเรียนรู้ √ √ 8 กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามสมั พันธส์ อดคล้องกบั คณุ ลักษณะอนั พงึ √ ประสงค์ของผู้เรียน √ 9 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งสมรรถนะทีส่ าคญั ของ √ ผู้เรยี น 10 สอ่ื -นวัตกรรม/อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้ มีความสมั พนั ธ์สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรยี นรู้ 11 แผนการจัดการเรียนรู้มีกจิ กรรมบรู ณาการกบั งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี น 12 แผนการจัดการเรยี นรูม้ ีกจิ กรรมบรู ณาการกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 13 แผนการจัดการเรยี นรู้มีกจิ กรรมบรู ณาการกับงานสงิ่ แวดลอ้ ม เกณฑก์ ารประเมนิ ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรยี นรู้ ค่าความสอดคลอ้ งตอ้ งมคี ่าตังแต่ 0.50 ขนึ ไป ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้ คะแนนระหว่าง 1 - 4 ระดบั คุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ คะแนนระหว่าง 5 - 8 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนนระหวา่ ง 9 - 13 ระดับคณุ ภาพ ดี

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ า สงั คมพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ส 21104 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 เรื่อง พุทธประวัติ สาวก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก จานวน 5 ชว่ั โมง : 5 คะแนน ช่ือเร่ือง พุทธประวัติ สาวก ศาสนิกชนตวั อย่าง และชาดก จานวน 3 ช่วั โมง : 8 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง พุทธประวตั ิ สาวก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก จานวน……………ช่วั โมง 3 จานวน 5 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง แผนจัดการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง พทุ ธสาวก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง และชาดก รายวชิ า สังคมพ้ืนฐาน รหสั วิชา ส 21101 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 น้าหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจท่คี งทน) การศกึ ษาพทุ ธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า โดยใชก้ ารวิเคราะห์อยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผลนนั ย่อมทาใหไ้ ด้ขอ้ คดิ สาคญั และคุณธรรมอนั เป็นแบบอย่างของท่าน ซึ่งเราสามารถนาไปเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสม 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป/ี ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ ส 1.1 ม.1/4 วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคดิ จากประวัติ สาวก ชาดก เรอื่ งเล่า และศาสนิกชนตวั อยา่ งตามท่ีกาหนด 3. สาระการเรยี นรู้ ประวตั ิพทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ท่คี วรศึกษา มีดังนี 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอุบาลี 3. อนาถบิณฑิกเศรษฐี 4. นางวิสาขา 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge พทุ ธสาวก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก ประวัตพิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ทค่ี วรศกึ ษา มีดังนี 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอุบาลี 3. อนาถบิณฑิกเศรษฐี 4. นางวิสาขา 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ทากิจกรรมรายบุคคล รายกล่มุ ในการศึกษาเรยี นรู้ตามเนอ้ื หา 3.3 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude ประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนินชวี ติ ท่ดี ีในสงั คมอย่างมี ความสุข 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม 6. คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

2. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : 7.1 เร่ือง พุทธสาวก ศาสนิกชนตวั อยา่ ง และชาดก ประวัตพิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ทคี่ วรศึกษา มีดังนี 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอุบาลี 3. อนาถบิณฑิกเศรษฐี 4. นางวสิ าขา - ใบงานท่ี 1.1 ให้ศึกษาวเิ คราะหเ์ รอ่ื ง ประวตั ิพทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ทีค่ วรศกึ ษา (ทาหนังสอื เลม่ เล็ก) - แบบฝกึ ทักษะท่ี 1 นาเสนอ ประวตั พิ ุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ทคี่ วรศกึ ษา 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความจาเปน็ ท่ีเราควรเรยี นรปู้ ระวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ได้ 2. อธิบายวิธกี ารปฏบิ ัติตนตอ่ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ได้ 3. ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมคาสอนและจริยาวตั รของพุทธสาวก พุทธสาวกิ า ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม เข้าส่บู ทเรียน/ขนั้ ตั้งคาถาม (วิธสี อนโดยใช้เทคนคิ แบบหมวกหกใบ) ชัว่ โมงที่ 1 - 5 นักเรยี นสวดมนตบ์ ูชาพระรัตนตรยั และทาสมาธิก่อนเรียน 1. ครใู ห้นกั เรียนเลา่ ประสบการณด์ ้านความรูเ้ ดิมเกี่ยวกับพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ท่ีเคยเรยี นมาแล้วในหัวข้อต่อไปนี 1) พุทธสาวก พุทธสาวกิ าทนี่ กั เรียนเคยเรียนมีใครบา้ ง 2) แต่ละท่านมคี ุณธรรมทคี่ วรถอื เป็นแบบอย่างอะไรบา้ ง 3) นักเรียนเคยปฏิบัติตามคุณธรรมของท่านอยา่ งไรบ้าง และผลการปฏิบัติเป็นอยา่ งไร 2. ครอู ธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ การศึกษาประวตั ิพุทธสาวก พุทธสาวิกาจะทาให้เราเขา้ ใจวิถกี ารดาเนินชีวติ ของ ทา่ น และสามารถนาคุณธรรมอนั เปน็ แบบอย่างของท่านมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน ซ่งึ จะเปน็ ผลดีต่อตนเอง ซ่ึงใน ชว่ั โมงเรียนนนี กั เรยี นจะไดศ้ ึกษาประวตั ิของพระมหากัสสปะ พระอุบาลี และอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี และนางวสิ าขา 3. ใหน้ ักเรียนแบง่ ออกเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และให้แต่ละกลุม่ จับสลากประวัตขิ องพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ดังนี 1) ประวตั ิพระมหากสั สปะ 2) ประวตั ิพระอบุ าลี 3) ประวัตอิ นาถบณิ ฑิกเศรษฐี 4) ประวตั ินางวิสาขา

4. ครูอธบิ ายวธิ กี ารเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคการคดิ แบบหมวกหกใบ พรอ้ มแจกใบความรูเ้ รอื่ งเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ซง่ึ ประกอบด้วย 1) หมวกสีขาว 2) หมวกสีแดง 3) หมวกสีดา 4) หมวกสีเหลอื ง 5) หมวกสีเขียว 6) หมวกสีฟ้า 5. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ อา่ นประวตั ิของพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ท่ีจบั สลากได้ 6. สมาชิกในกลมุ่ แตล่ ะกลุ่มเลอื กหมวกคนละสี จากนันใหอ้ ่านบตั รคาสัง่ และปฏิบัตติ ามขันตอน ดังนี - สมาชกิ ท่ีสวมหมวกสขี าว บอกเร่ืองราวเกย่ี วกับประวัตขิ องพทุ ธสาวก หรอื พทุ ธสาวิกา - สมาชกิ ท่ีสวมหมวกสีฟ้า สรปุ ถงึ คุณธรรม จริยธรรมของพทุ ธสาวก หรอื พทุ ธสาวกิ า - สมาชิกท่ีสวมหมวกสเี ขยี ว บอกประโยชน์ของการนาคุณธรรม จรยิ ธรรมของพุทธสาวก หรอื พทุ ธสาวิกา ไปใชใ้ น การดาเนินชวี ิต - สมาชิกท่ีสวมหมวกสีเหลอื ง สีดา สแี ดง เล่าถึงประสบการณท์ ังดา้ นบวก และดา้ นลบเกีย่ วกับการนาหรือไม่นา คุณธรรม จรยิ ธรรมนันๆ ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิต จากนันใหส้ มาชิกทุกคนสวมหมวกสฟี ้า เพือ่ สรุปแนวทางในการนาคณุ ธรรม จริยธรรมนันๆ มาใช้ในการดาเนินชวี ิต 7. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสรุปประเด็นสาคญั เกีย่ วกบั ประวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ตามที่กลุ่มจบั สลากได้ และทา กจิ กรรมหมวกหกใบร่วมกนั เพอื่ เตรียมนาเสนอผลงานตอ่ ชนั เรยี น ดังนี - ประวัตโิ ดยยอ่ - คุณธรรมทคี่ วรถอื เป็นแบบอยา่ ง - แนวทางการนาคุณธรรมของทา่ นไปประยกุ ต์ใช้ 8. ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงาน และใหก้ ลุ่มอน่ื แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม โดยครเู ป็นผู้ชีแนะและตรวจสอบความ ถกู ตอ้ ง ในกรณีทบ่ี างกล่มุ ได้ศกึ ษาในเรอ่ื งเดยี วกนั นัน ให้เสนอเพิม่ เตมิ ในส่วนท่ีแตกต่างกันไป 9. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรปุ สาระสาคญั และขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากการศึกษาประวัติของพระมหากัสสปะ พระอบุ าลี อนาถ บณิ ฑกิ เศรษฐี นางวสิ าขา และแนวทางการนาคณุ ธรรมอนั เปน็ แบบอย่างของท่านไปปฏบิ ัติ 10. ครมู อบหมายให้นกั เรียนทกุ คนไปศกึ ษาความรเู้ กีย่ วกับศาสนิกชนตวั อย่าง คอื พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะ และพระอุตตระ จากหนังสือเรียนมาล่วงหน้า เพื่อเตรียมการเรยี นใน เร่อื ง ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งในช่ัวโมงเรยี นตอ่ ไป 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สือ่ 1.หนังสอื เรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.1 1 ชดุ ขนั ตรวจสอบความรูเ้ ดมิ 2.บัตรคาสงั่ กจิ กรรมหมวกหกใบ 1 ชุด ขนั สารวจและคน้ พบ 1 ชุด ขันขยายความรู้ 3. แบบฝึกทักษะ 1 เรอ่ื ง ประวัติพุทธสาวก พทุ ธ สาวกิ า

10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธีวดั เครอื่ งมือวัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน การตรวจผลงาน เกณฑ์การให้ การตรวจผลงาน เกณฑก์ ารประเมินผลงาน 1.สามารถอธิบาย ใบงาน นักเรียน คะแนน การสงั เกต ผ่านระดบั ดีขนึ ไป พุทธสาวก พุทธ สาวิกาทน่ี ักเรียนเคย ใบงาน เกณฑ์การประเมินผลงาน ผา่ นระดบั ดขี ึนไป เรยี นมใี ครบ้าง นกั เรยี น 2.สามารถนาเสนอ ความสาคญั แต่ละท่าน มีคณุ ธรรมทีค่ วรถือ แบบบนั ทกึ แบบบนั ทึกการสังเกต ผา่ นระดบั ดีขนึ ไป เปน็ แบบอยา่ ง พฤตกิ รรม รายบคุ คล และรายกลุม่ อะไรบ้าง 3.นกั เรยี นเคยปฏบิ ัติ ตามคุณธรรมของ ทา่ นอย่างไร บา้ ง และผลการ ปฏิบตั ิเปน็ อยา่ งไร 11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตวั อย่าง) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผเู้ รียน พอเพยี ง พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 6. ความพอประมาณ รูจ้ ักใช้เทคโนโลยีมาผลติ สอื่ ทเี่ หมาะสม มจี ิตสานกึ ท่ดี ี เออื อาทร ประนปี ระนอม และสอดคล้องเนือหาเป็นประโยชน์ต่อ นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่ ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาของผู้เรยี น

7. ความมีเหตุผล - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความถูกต้อง ไมห่ ยุดนงิ่ ท่ีหาหนทางในชีวิต หลดุ พ้นจาก สจุ รติ แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การค้นหาคาตอบเพอ่ื ให้ 8. มีภูมิคมุ กนั ในตัวท่ดี ี การดารงชีวติ หลดุ พ้นจากความไมร่ ู)้ 9. เง่อื นไขความรู้ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ 10. เง่อื นไขคุณธรรม ความรอบรู้ เรื่อง งานและกาลงั ที่ ความรอบรู้ เรื่อง งานและกาลัง กรณที ่ี สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เกีย่ วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบท่จี ะนา เกดิ งาน ปรมิ าณท่เี กี่ยวขอ้ ง การคานวณสูตร ความร้เู หลา่ นันมาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั ทีต่ ้องใช้ สามารถนาความรเู้ หลา่ นันมา งานและกาลัง เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั สามารถประยุกต์ - การเกิดงานแตล่ ะกรณี กจิ กรรมการเรียนรู้ให้กับผเู้ รยี น ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน - การเกดิ กาลัง การไดเ้ ปรยี บ เชิงกล มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม สง่ิ แวดลอ้ ม ซอื่ สตั ย์สุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ซอื่ สตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร งานและพลงั งาน ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวี ติ ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชีวิต - การเลอื กใช้อยา่ งถกู วธิ ี - การอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รยี น งานและกาลงั งานและกาลงั - ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ระบปุ จั จยั ที่มผี ลต่อการเกิดงาน - ปริมาณทีเ่ กี่ยวข้องกบั การเกิดงานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกิดงานและ กาลัง กาลัง พรอ้ มคานวณปริมาณท่ีเกย่ี วขอ้ ง ครู ผเู้ รียน งานและพลงั งาน งานและพลังงาน - การเลือกใช้อย่างถูกวิธี/ เทคนคิ วธิ ีการ - ยกตวั อยา่ งการใชอ้ ปุ กรณ์/เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ - กระบวนการการอนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งถกู วิธี - แสนอแนะแนวทางอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ลงช่ือ........... .............................ผู้สอน (นายศรมี ลู สมบุตร)

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน ประเมนิ การนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกาหนด แลว้ ขดี  ลงในช่อง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 432 1 ความถูกต้องของเนอื หา 2 ความคิดสร้างสรรค์ / 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน / 4 การนาไปใชป้ ระโยชน์ / 5 การตรงต่อเวลา / / รวม ลงช่อื ............ . ผปู้ ระเมนิ (นายศรมี ูล สมบุตร) เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องบางสว่ น ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีขอ้ บกพร่องเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี อ้ บกพรอ่ งมาก 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลมุ่ ชื่อกลุ่ม 2 ชัน ม. ๒/๒ คาชีแ้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในช่อง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การแบง่ หน้าท่กี ันอย่างเหมาะสม 2 ความรว่ มมอื กนั ทางาน / 3 การแสดงความคิดเหน็ / 4 การรับฟงั ความคดิ เห็น / 5 ความมนี าใจช่วยเหลือกัน / รวม ลงชื่อ ....................... .... ผู้ประเมนิ (นายศรมี ลู สมบุตร) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงคด์ า้ น 4321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ เพลงชาติ / กษัตรยิ ์ 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของนักเรยี น / 2. ซ่อื สตั ย์ สุจริต / 1.3 ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชกิ ในชนั เรยี น / 3. มวี นิ ัย รับผิดชอบ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 1.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ / 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง โรงเรยี นและชุมชน / 1.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏบิ ัติตนตามหลักของศาสนา / / 1.6 เข้ารว่ มกจิ กรรมทีเ่ กย่ี วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ตามที่โรงเรียน และ ชมุ ชนจัดขนึ / / 2.1 ให้ข้อมลู ที่ถกู ตอ้ ง และเป็นจรงิ / 2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิ่งทถ่ี ูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวท่จี ะทาความผิด ทาตามสัญญาที่ / ตนใหไ้ ว้กบั เพือ่ น พอ่ แมห่ รือผปู้ กครอง และครู / / 2.3 ปฏบิ ตั ติ ่อผอู้ ่ืนดว้ ยความซ่ือตรง / 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครวั และ / โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ / ในชีวิตประจาวนั 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ การเรยี นร้ตู ่างๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งมีเหตุผล 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คมุ้ ค่า และเกบ็ รกั ษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี 5.3 ปฏบิ ัตติ นและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อ่นื และไม่ทาใหผ้ ้อู ื่นเดอื ดรอ้ น พร้อมใหอ้ ภยั เม่อื ผอู้ ่ืนกระทา ผิดพลาด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook