Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by Yaowaluck sawatdichai, 2020-03-07 22:59:29

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

E-book Amnatcharoen สำนกั งำนพฒั นำชุมชนจงั หวดั อำนำจเจริญ ชน้ั ๓ ศำลำกลำงจงั หวดั อำนำจเจรญิ อำเภอเมืองอำนำจเจรญิ จงั หวดั อำนำจเจรญิ ๓๗๐๐๐ โทร. ๐๔๕๕๒๓๐๐๘

ชอ่ื – นามสกุล นางเยาวลักษณ์ สวสั ดิไชย ตาแหน่ง นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ สังกดั เสนางคนคิ ม เบอรโ์ ทร 095 – 621 - 3686 ชือ่ เร่อื ง กลมุ่ ออมทรัพย์ดีเด่นระดับจังหวดั สถานที่เกดิ /เหตกุ ารณน์ ีเ้ กดิ ขน้ึ เม่ือ ปี ๒๕๕๘ เนอ้ื เรื่อง กรมการพฒั นาชมุ ชน สง่ เสรมิ การดาเนนิ งานของกลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลติ โดยใช้ “เงนิ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาคน” และหลกั คุณธรรม ๕ ประการ คือความซือ่ สัตย์ ความเสยี สละ ความ รบั ผิดชอบ ความเห็นอกเหน็ ใจ และความไว้วางใจ จงึ เป็นกลไกสาคัญในกระบวนการเสรมิ สร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง ทาใหเ้ กิดการพัฒนาชุมชนครอบคลมุ ในหลายมิติ ทั้งด้านเศรษฐกจิ สังคม การส่งเสริมประชาธิปไตย การพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ตลอดจนการสง่ เสรมิ วัฒนธรรมวถิ ีการดารงชวี ิตของคนใน ชมุ ชน ซ่ึงเป็นรากฐานในการพัฒนาชุมชนใหเ้ ข้มแข็งอยา่ งยง่ั ยืน โครงการเชิดชูเกยี รตผิ นู้ าเครือขา่ ยพฒั นาชุมชน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เพ่อื คดั เลอื ก หมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง “อยู่เยน็ เป็นสุข” ระดับจังหวดั และกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชนดีเด่นระดับจังหวดั อาเภอ เสนางคนิคมคดั เลือกกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นโคกสะอาด หมู่ที่ ๗ ตาบลไรส่ ีสกุ เขา้ รับการคดั เลือก ประเภทกล่มุ องค์กรดเี ดน่ ระดับจงั หวดั กลยทุ ธใ์ นการทางาน ๑. ผรู้ บั ผดิ ชอบงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่อื การผลิต ระดับอาเภอ รับนโยบายและสร้างความเข้าใจในการ ดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพอ่ื การผลติ ตามแนวทางกรมการพฒั นาชุมชน ๒. สร้างความเขา้ ใจ ในทมี งานระดับอาเภอ ประกอบด้วย พัฒนาการอาเภอ เจ้าหน้าทพ่ี ัฒนาชมุ ชน ทกุ คน และปราชญ์ชุมชนดา้ นกลุม่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ ๓. ชี้แจงวตั ถปุ ระสงค์การดาเนนิ งานของกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิตตน้ แบบ แก่คณะกรรมการ และ สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ๔. คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลติ เขา้ รับการอบรมการจัดทาบัญชีตามแนวทางกรมการ พฒั นาชุมชน ๕. คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ศึกษาดูงานกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตตน้ แบบ ที่ ประสบผลสาเรจ็ ในการดาเนินงาน ๖. จดั เวทีการทบทวนการดาเนนิ งานของกล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ และเวทีสรุปผลการดาเนินงาน การขับเคล่ือนกลุ่มออมทรัพย์เพอ่ื การผลติ ตน้ แบบ ขุมความรู้ 1. ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีการออมเงนิ และนาเงนิ ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ โดยลดภาระการกู้ยมื เงนิ จากแหลง่ อ่ืน ๆ ที่ต้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายสูง 2. พฒั นาคนใหม้ คี ุณธรรม 5 ประการ คือ ซ่ือสัตย์ เสยี สละ รับผิดชอบ เหน็ อกเหน็ ใจ และไว้วางใจซง่ึ กนั และกนั 3. ฝกึ ประสบการณ์การบรหิ ารเงนิ ทนุ ใหก้ ับบุคคลในชุมชน

4. พฒั นาศักยภาพของคนในดา้ นต่าง ๆ เช่น การเป็นผู้นา การปกครอง ตามระบบประชาธิปไตย 5. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนา คดิ และแก้ปญั หาของตนเองด้วยวธิ กี ารทางานรว่ ม แก่นความรู้ 1. มีการประหยัดและออมเงินในรูปเงนิ สัจจะ 2. การบริหารเงนิ ทุนสนบั สนุนการประกอบอาชพี และสวสั ดกิ ารของสมาชิก 3. ประสบการณ์ในการบริหาร และจัดทาเงินทนุ ด้วยตนเอง 4. มคี วามสามัคคี การทางานร่วมกนั และการช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกัน กฎระเบยี บ แนวคิด ทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง ๑. แนวทางการดาเนนิ งานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ของกลมุ่ การพฒั นาชมุ ชน ๒. ระเบียบกรมการพฒั นาชมุ ชนวา่ ด้วยการส่งเสริมการดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต พ.ศ.๒๕๕๕ ๓. เทคนิค กระบวนการ AAR

บนั ทกึ องค์ความรู้เรอื่ ง การสร้างสัมมาชพี ชุมชน 1. ชื่อองค์ความรู้ การสง่ เสริมการสรา้ งสัมมาชีพชุมชนระดับหม่บู า้ น 2. เจ้าขององค์ความรู้ นายประมูล ทองเกษ ตาแหนง่ นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ สังกัด สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอหวั ตะพาน จังหวดั อานาจเจรญิ 3. ความเป็นมา / ความสาคญั การสง่ เสรมิ การขับเคลื่อนการสรา้ งสัมมาชพี ชุมชน โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตาม แผนงานยทุ ธศาสตร์เศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเขม้ แข็ง ซ่งึ ตอบสนองนโยบายรฐั บาลเร่ืองการลดความ เหล่ือมล้าทางสังคมและการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรับ โดยกาหนดพ้ืนที่เป้าหมายในการ ดาเนินงาน จากพื้นที่หมู่บ้านเป้าหมายท่ีผ่านการให้การศึกษาด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตร และชนบท(ยุทธศาสตร์ท่ี1) ซ่ึงกาหนดกระบวนการขับเคล่ือนท่ีเริ่มด้วยการพัฒนาทักษะ การถ่ายทอด องคค์ วามร้ใู หก้ บั ปราชญช์ ุมชน เพือ่ ใหก้ ลับไปสรา้ งทีมและจัดฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมายท่ี ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน โดยใช้พ้ืนที่บ้านปราชญ์ชุมชนหรือศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ เพ่ือให้ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าอบรมมีความรู้ด้านการทาอาชีพและปฏิบัติได้จริง จนพัฒนาเป็นอาชีพ สรา้ งรายได้ให้กับครวั เรือนและตอ่ ยอดสู่การรวมกลุ่มจัดต้ังเป็นกล่มุ อาชีพท่มี คี วามเข้มแขง็ ต่อไป กระทรวงมหาดไทย มอบหมายใหก้ รมการพัฒนาชมุ ชนเป็นหนว่ ยงานหลักในการบูรณาการไปสู่การ ปฏบิ ัติ โดยมแี ผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง โดยการส่งเสริมการขับเคลื่อนการ สร้างสัมมาชีพชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คาว่า “สัมมาชีพชุมชน” หมายถึง ชุมชนท่ีมีการประกอบอาชีพโดยชอบ ซ่ึงมีรายได้มากกว่ารายจ่าย โดยลดการเบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และส่ิงแวดล้อม ท้ังน้ีต้องมีความสอดคล้องกับวิถีชุมชนเพื่อความมุ่งหมายในการสร้างระบบเศรษฐกิจ ชมุ ชน วธิ ีดาเนนิ การ 1. ประสานองค์กร เครือข่าย รว่ มสนบั สนนุ การสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ได้แก่ ศอชต. คณะกรรมการหมู่บ้าน กรรมการพัฒนาสตรี กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ ผู้นาอาสาพฒั นาชุมชน เพอ่ื รว่ ม ดาเนินการในระบบทีมสนับสนุนสมั มาชพี ชมุ ชน 2. จัดเวทีประชาคมสารวจหาผู้มีความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพ และจัดทา ทะเบียน ปราชญ์ชุมชนเปา้ หมายในหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน 10 คน /หมบู่ า้ น/ชุมชนเปา้ หมาย . 3. ทาการคัดเลือกผู้ท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพด้านใดดา้ นหน่ึง ใน หมบู่ า้ น/ชุมชน เป้าหมาย จานวน 1 คน /หมูบ่ ้าน เพอื่ เข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สูตร “วทิ ยากรสัมมาชีพ” ณ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชน จานวน 3 คนื 4 วัน 4. เตรยี มความพร้อมทีมสัมมาชีพชุมชน โดยเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอ ร่วมกับวิทยากร ผ้นู าสมั มาชพี ชุมชนที่ผ่านการฝึกอบรมฯ คัดเลือกปราชญ์ชุมชนเพิ่มอีกหมู่บ้านละ 4 คน รวมเป็น 5 คน

เพ่ือร่วมเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน โดยคัดเลือกจากฐานข้อมูลตามแบบสารวจปราชญ์ ชุมชนที่ได้สารวจไว้แล้วสร้างความรู้ ความเข้าใจ ชี้แจง แนวทาง โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน ความ เป็นมาของโครงการฯ ความสาคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชน และกระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ความเป็นมาของโครงการฯ ความสาคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชนและกระบวนการสร้างสัมมาชีพ ชุมชน 5. จัดประชมุ เพือ่ ถ่ายทอดความรู้ เทคนคิ การเป็นวิทยากร ความเป็นมาในการสร้างสัมมาชีพ ชุมชนให้กับปราชญ์ที่คัดเลือก 4 คน เพ่ือทาหน้าท่ีเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน โดยปราชญ์ท่ีเข้าอบรม จากศูนยศ์ ึกษาฯเป็นผู้ถา่ ยทอดองค์ความรู้ จานวน 1 วัน 6. จัดทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน พร้อมมอบหมายภารกิจหน้าท่ีในการ ส่งเสริมสนับสนุน กากับและติดตามครัวเรือนเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมอาชีพ “ครัวเรือนสัมมาชีพ ชุมชน” โดยแบ่งสัดส่วนทีมวิทยากรสัมมาชีพระดับหมู่บ้าน 1 คน อ ครัวเรือน สัมมาชีพ 4 ครัวเรือน จานวน 1 วนั ณ ศนู ยเ์ รียนรู้ชุมชน 7. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน โดยการสนับสนุนของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน อาเภอ ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการอาชีพจากแบบความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนท่ี สารวจไว้แล้ว โดยจัดกลุ่มตามความต้องการอาชีพท่ีจะฝึกปฏิบัติ แล้วจึงวิเคราะห์ให้เชื่อมโยงกับตลาด สร้างผลผลิต สร้างผลติ ภณั ฑ์ เข้าสู่ระบบหน่ึงตาบล หนงึ่ ผลิตภัณฑ์ 8. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอรวบรวมข้อมูลอาชีพที่ครัวเรือนเป้าหมายต้องการที่จะฝึก ปฏิบัติ เพอ่ื ดาเนนิ การจดั ซ้อื วสั ดมุ าสาธิตการทาอาชีพทไี่ ด้กาหนดไว้ 9. เจา้ หน้าทพี่ ฒั นาชุมชนอาเภอรว่ มกับทีมวทิ ยากรสัมมาชพี จัดอบรมฝึกปฏิบตั ิอาชีพให้กับ ครัวเรือนเป้าหมายตามกลุ่มอาชีพที่ได้คัดเลือกไว้ โดยให้ปราชญ์ที่มีความรู้ด้านอาชีพนั้นเป็นผู้ถ่ายทอด ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ เมอ่ื ปฏิบัตจิ นเกิดความชานาญแล้ว จึงนากลับไปปฏิบัติในครัวเรือนของตนและพร้อม ทจ่ี ะถ่ายทอดให้ความรู้กบั ครวั เรอื นใกล้เคยี งดว้ ย 10. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ลงพื้นท่ีเยี่ยมเยือน ติดตามความคืบหน้าของ ครัวเรือนเป้าหมายที่ได้ฝึกอาชีพท้ัง 20 ครัวเรือน โดยแบ่งตามสัดส่วนของทีมวิทยากรสัมมาชีพระดับ หม่บู ้าน 1 คน ต่อ 4 ครวั เรือนเปา้ หมาย 11. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนอาเภอร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ประเมินผลและ คัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง หมู่บ้านละ 1 คน โดยได้ต้ังงบประมาณไว้ส่วนหน่ึงเพื่อเป็น รางวลั ใหก้ บั ครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชนตวั อย่าง เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจและกาลังใจที่จะก้าวเดินบนสันทาง สัมมาชพี ชมุ ชน 12. เจา้ หน้าท่ีพัฒนาชมุ ชนอาเภอ แนะนาครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนท่ีได้ผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดจาก การฝึกปฏบิ ัติแล้ว ให้นาผลิตภัณฑ์มาข้ึนทะเบียนเปน็ หนึง่ ตาบลหนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์(OTOP) 13. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนอาเภอ แนะนาครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ที่ประสบผลสาเร็จใน การ ฝึกอาชพี ใหม้ กี ารจดั ตัง้ กลุ่มอาชีพ อยา่ งนอ้ ยหมบู่ า้ นละ 1 กลุ่มอาชีพ เพื่อมีวัตถุประสงค์ในการ

ประสานงานกับองค์กรต่างๆ และขอรับการสนับสนุนในด้านงบประมาณดาเนินงานพัฒนาอาชีพให้ ก้าวหนา้ และยง่ั ยืนต่อไป ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ 1.ไดร้ ับความรว่ มมือจากทีมวิทยากรสมั มาชีพชมุ ชน เห็นความสาคญั ในการสร้างสมั มาชีพ ท่ี เป็นอาชพี ตามความต้องการของครวั เรอื น 2.การส่งเสริมกระบวนการมีสว่ นรว่ มของทมี สนับสนนุ การสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ได้แก่ - คณะกรรมการหมบู่ า้ น/สอบต./ศอ.ชต. สนบั สนุนด้านการจัดทาแผนเพื่อนาเสนอเข้า อปท. ในการบรรจเุ ข้าแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ - คณะกรรมการพัฒนาสตรี สนับสนุนการพัฒนาอาชีพ,แนะนาการประกอบอาชีพ,หา ชอ่ งทางการตลาดใหมๆ่ ,หาแหลง่ เงนิ ทนุ - กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต สนับสนุนด้านเงินทุน,ส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพเป็นสมาชิก กลมุ่ ออมทรัพย์ฯ,แนะนาการเขยี นโครงการขอรบั สนับสนนุ เงนิ ทนุ - ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน สนับสนุนความรู้ในการประกอบอาชีพ,ติดตามครัวเรือนสัมมาชีพ ชุมชน,ประสานความรว่ มมอื ดา้ นแหล่งทุนและแหล่งเรยี นรู้ 3.ความสามารถในการถา่ ยทอดความรจู้ ากปราชญ์ชุมชน 4.หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนด้านการตลาด เช่น บริษัทประชารัฐรักสามัคคี ศูนย์จาหน่าย สนิ คา้ หนึ่งตาบลหนึง่ ผลิตภณั ฑ์ ปญั หา/อุปสรรค 1.ครวั เรอื นเปา้ หมายยงั ขาดแรงจงู ใจในการฝกึ อาชีพเท่าท่คี วร 2.ส่วนใหญ่การสร้างสัมมาชีพเป็นอาชีพของคนรุ่น ปู่ ย่า ตา ยาย จึงไม่เหมาะกับการนามา ประกอบเป็นอาชีพหลักได้ เนื่องจากความนิยมในการใช้สอยลดลง ไม่ตอบสนองกับยุคปัจจุบัน ที่จะเข้า เข้าสูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0 3.คนที่เขา้ รว่ มฝกึ อาชีพสว่ นใหญเ่ ปน็ คนสูงอายุ วัยแรงงานมีน้อย 4.อาชพี ที่เลอื กยังเป็นอาชีพทีไ่ ม่เหมาะกบั คนรุ่นใหม่ ยากตอ่ การทาตลาด ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรใหโ้ อกาสครัวเรอื นเป้าหมายในการฝึกอาชพี ทตี่ อ้ งการในด้านอน่ื ๆทหี่ ลากหลาย 2.ควรจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชนให้เพียงพอต่อความ ต้องการและมคี วามเข้มแข็งและย่ังยืน

3.ลดข้ันตอนการฝึกอบรมให้น้อยลง เน้นให้ความสาคัญในด้านการตลาด การจาหน่าย ผลติ ภณั ฑท์ ่ีแน่นอนและยง่ั ยืน ชื่อ-สกลุ นายประมลู ทองเกษ ตาแหนง่ นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ สงั กดั สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอหวั ตะพาน โทรศัพท์ 082-7467814

แบบบันทึกองคค์ วามรูร้ ายบุคคล 1. ช่ือองคค์ วามรู้ เทคนิคการมีสว่ นรว่ มของอาสาพฒั นาชมุ ชน ( อช.) ในการขยายผลการพฒั นาศักยภาพ ชุมชนและการประกอบธรุ กจิ ชมุ ชน 2. ช่อื เจ้าขององค์ความรู้ นายประจักษ์ อย่คู ง ตาแหน่งนักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ 3. หมวดองค์ความรู้ที่บง่ ช้ี องค์ความรหู้ มวดเทคนคิ การส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากและประชารฐั 4. ที่มาและเป้าหมายของการจดั การความรู้ กรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินโครงการพัฒนาอาสาพัฒนาชมุ ชน ตามมติคณะรัฐมนตรเี มื่อ วันท่ี 28 มกราคม 2512 โดยการคัดเลือกบุคคลในหม่บู ้านที่มคี ณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะการเป็นผนู้ า จิตใจ เสยี สละเขา้ มาเป็นอาสาพัฒนาชุมชน (อช.) และผู้นาอาสาพัฒนาชมุ ชน (ผนู้ า อช.) ทาหน้าท่ใี นการขบั เคลื่อน กจิ กรรมพัฒนาชุมชนต่างๆ โดยระเบียบของกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการอาสาพฒั นาชุมชน พ.ศ. 2547 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2552 และฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2555 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ได้ มอบหมายให้ อช.และผู้นา อช. เป็นกลไกลในการขยายผลการขับเคล่ือนสัมมาชีพชมุ ชน ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงพฒั นาคุณภาพชีวติ ครัวเรอื นยากจนทตี่ กเกณฑ์ จปฐ. ประกอบกับวันที่ 28 มกราคม 2561 ถอื เปน็ วนั ครบรอบวาระ 49 ปี การดาเนินงานโครงการพฒั นาอาสาพฒั นาชมุ ชน กรมการพฒั นา ชุมชนไดส้ ่งเสริมให้มีการจดั กิจกรรมภายใต้แนวคิด “รวมพลัง อช. สานตอ่ ท่ีพ่อทา สร้างสรรคส์ ังคมไทย ด้วยใจอาสา “ 5. วธิ ีการ/ขน้ั ตอนการจดั การองค์ความรู้ 5.1 ประชุมคณะกรรมการชมรมอาสาพัฒนาชุมชนระดับจงั วดั 5.2 วางแผนปฏิบัติการ ในการดาเนนิ งานในรอบปี - จัดต้ังกองทนุ ในการขับเคล่ือนงานดว้ ยการทอดผ้าป่าแจกจา่ ยทุกหมู่บ้านๆละ 3 ซอง - ทอดผ้าป่าและนาเงินที่ได้มาจัดตั้งกองทุนชมรมอาสาพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั ฯ/อาเภอ - จัดช้ือถงุ ยังชพี และเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภค 5.3 ดาเนนิ กิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั กิ าร - คณะทางานชมรมอาสาพัฒนาชุมชนนาถงุ ยังชีพไปมอบให้ครัวเรือนยากจนและครวั เรือน สัมมาชีพ รายอาเภอ โดยใหอ้ าสาพัฒนาชมุ ชนเดนิ ทางไปเป็นคณะ ในพ้ืนที่ตาบล อาเภอ เพื่อเป็นกาลังใจและ ให้การแนะนาสง่ เสริมการดาเนินงานตามแนวทางสร้างสมั มาชพี 5.4 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 6. ผลลัพธท์ ่ไี ด้จากการจัดการองค์ความรู้ - การทางานเปน็ ทีม - การจัดตง้ั กองทนุ ชมรม ( ทอดผ้าปา่ ) - การสนบั สนุนและให้กาลังใจ ครวั เรือนยากจนและครวั เรือนสัมมาชีพ จากทมี อาสาพฒั นาชมุ ชน 6.1 เทคนิคและแนวทางการดาเนนิ งาน 6.1.1 ประชุมวางแผน/มอบภารกิจ 6.1.2 ดาเนินกิจกรรมตามแผน จดั ต้งั กองทุนเพอ่ื เปน็ ค่าใช้จ่าย 6.1.3 มอบหมายภารกิจ ลงพืน้ ท่ี ในการเยี่ยมและติดตามส่งเสริมการประกอบอาชีพของ ครวั เรือนยากจนและครัวเรือนสมั มาชพี

6.2 ขอ้ พงึ ระวัง ( ถ้ามี ) - อาสาพัฒนาชมุ ชน/ผู้นาอาสาพฒั นาชุมชน ต้องไดร้ บั การพฒั นาทักษะการถ่ายทอดเทคนิค ทกั ษะ ภูมปิ ัญญาอาชีพครวั เรอื น 6.3 ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ - ทางานเปน็ ทมี - คนในชมุ ชนมีจิตใจเสยี สละ สนับสนถุนกองทุน (ผา้ ปา่ ) - ทมี ปฏบิ ัตงิ าน ( อช.และผ้นู า อช.) มีจิตอาสา สละเวลาในการลงพืน้ ท่เี ยี่ยมยามครัวเรอื นยากจน และครัวเรอื นสัมมาชีพ 6.4 ปญั หาและวธิ ีแกไ้ ข -ไมม่ ีค่าใชจ้ ่าย คา่ พาหนะในการเดนิ ทางของอช และ ผนู้ า อช. 6.5 ผลลพั ธ์จากการแก้ปญั หาและการพฒั นา - การมสี ว่ นรว่ มจากภาคใี นการสนบั สนุนครัวเรอื นยากจนและครวั เรอื นสมั มาชีพ - มีกองทนุ ชมรมระดับอาเภอ/ระดบั จงั หวดั - โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านประสบผลสาเรจ็ และมีรายไดเ้ พิ่มข้นึ

องคค์ วามรู้ ๑. ช่ือความรู้ การสร้างความยงั่ ยืนใหก้ บั สมั มาชีพชมุ ชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เจ้าของความรู้ นางอมั รา ปญั ญาสาย นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ ๒. สว่ นราชการ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเมืองอานาจเจรญิ ๓. องค์ความรู้เกยี่ วกบั เทคนิคการสร้างความย่ังยนื ให้กับสมั มาชีพชมุ ชนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เหตุการณน์ เ้ี กดิ ขึ้นเมอ่ื กุมภาพันธ์ 256๒ สถานที่ สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอเมอื งอานาจเจรญิ จังหวดั อานาจเจรญิ ๔. ท่ีมาและความสาคญั ในการจดั ทาองคค์ วามรู้ การสร้างสัมมาชีพชุมชน : การส่งเสริมการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน โดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็งของรัฐบาล ซึ่งตอบสนองนโยบายรฐั ซึ่งไดก้ าหนดกระบวนการขับเคล่ือนท่ีเริ่มต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชน เพ่ือให้กลับไปสร้างทีม และจัดฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมายท่ีต้องการ ฝึกอาชีพในหมู่บ้าน โดยใช้พื้นท่ีในบ้านปราชญ์ชุมชนหรือศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อมุ่งหมายให้ ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอาชีพมีความรู้ และปฏิบัติอาชีพได้จริง จนพัฒนาเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับ ครวั เรือน และต่อยอดสูก่ ารรวมกลมุ่ จดั ตงั้ เป็นกลุ่มอาชพี ท่มี ีความเข้มแข็งต่อไป ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้กาหนด ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคมเป็น 1 ใน 10 ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนฯ และรฐั บาลไดก้ าหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน จานวน 11 ด้าน ซ่ึงมีนโยบายการลดความเหลื่อมล้าของ สังคมและการสร้างโอกาสเข้าถงึ บริการของรัฐเปน็ หนง่ึ ในนโยบายสาคัญ ทมี่ ุง่ หวงั แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปากท้อง ของประชาชนในระดับล่าง ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมีแผนงานท่ีสาคัญคือ แผนงานการพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งได้มอบให้กระทรวงมหาดไทยท่ีมีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลัก บูรณาการไปสกู่ ารปฏบิ ัติ การดาเนินงานในปี 256๒ มุ่งเน้นท่ียกระดับเศรษฐกิจฐานราก คือ “รายได้” ท่ีต้องทาให้ ชมุ ชนมีรายได้เพ่ิมขึน้ โดยการสร้างอาชีพจงึ เปน็ ทีม่ าของ “สัมมาชีพชุมชน” ซึ่งกาหนดแผนการสร้างสัมมาชีพ ชุมชนบนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีมีเป้าหมาย คอื ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ ซ่ึง โดยให้ชาวบ้านสอนชาวบ้านในสิ่งที่เขาอยากทา ฝึกปฏิบัติจริงให้สามารถนาไปเป็นอาชีพได้ แต่จากการ ขับเคล่ือนโครงการในระยะเวลาที่ผ่านมายังไม่ประสบความสาเร็จเท่าท่ีควร อาจจะเกิดจากปัจจัยหลาย ประการท่ีทาให้การปฏิบัติประสบปัญหา และเกิดอุปสรรค จึงเป็นท่ีมาของการจัดการองค์ความรู้ในเรื่อง การ สรา้ งความย่งั ยืนให้กับสัมมาชพี ชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕.ปัญหาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไขปญั หา 1. ระดบั นโยบาย : การกาหนดนโยบาย/แนวทางการขับเคลื่อนโครงการไม่ชัดเจน หนังสือ ส่ังการมคี วามลา่ ชา้ มขี ้ันตอนการดาเนนิ การทซี่ ับซอ้ น 2. ระดับจังหวัด : ผ้รู ับผดิ ชอบงานสมั มาชีพชมุ ชนยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การ ดาเนินงาน แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการ กระบวนการ ข้ันตอน ทจ่ี ะนาไปส่คู วามสาเร็จของโครงการ

3. พัฒนากร : ไม่มีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการขับเคล่ือนโครงการ ทาให้การ ปฏบิ ัติงานในพืน้ ทม่ี คี วามลา่ ชา้ การคดั เลอื กกลุ่มเป้าหมายไมเ่ ป็นไปตามวตั ถุประสงค์ 4. ระดับพื้นท่ีชุมชน : แกนนาในชุมชนไม่เข้าใจแนวทางการคัดเลือกสัมมาชีพชุมชน ขาดการเตรียมความพร้อมท่ีเพียงพอ การให้ความร่วมมอื และให้ความสาคัญในขับเคล่ือนโครงการน้อย ไม่เห็น ถงึ ประโยชนท์ เ่ี กิดกบั ชุมชน แนวทางแก้ไขปัญหา : การส่งเสริมการขับเคลอ่ื นการสรา้ งสัมมาชพี ชุมชน 1. การสร้างความสัมพันธอ์ ันดกี บั หน่วยงานในสว่ นกลาง เพือ่ ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว มปี ระสทิ ธภิ าพ และตดิ ตามข้อมูลขา่ วสาร ความเคล่ือนไหวอยา่ งต่อเนอ่ื ง สามารถดาเนนิ การได้ทนั ท่วงทที ่ีมี การเปลี่ยนแปลง แก้ไข 2. ระดบั จงั หวดั มีการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ มีการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารทีมสนบั สนุนการ ขบั เคล่อื นสัมมาชพี ชมุ ชนระดับจังหวัด 3. ระดบั อาเภอ/เจ้าหนา้ ที่ ใช้กลไกในการขับเคลื่อนในระดับพ้ืนท่ี มีการแตง่ ต้ังคณะทางาน และให้ทุกส่วนมกี ารบูรณาการทางานรว่ มกนั อย่างจรงิ จงั มกี ารประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการทมี สนบั สนุนการ ขับเคล่ือนสมั มาชพี ระดับอาเภอ 4. ระดบั พนื้ ทช่ี ุมชน แกนนาในชมุ ชน มีข้นั ตอนการคัดเลือกสมั มาชพี ในชุมชน เปน็ ผทู้ ่ีมี ความรู้ ความสามารถ เสยี สละ และสามารถเป็นวทิ ยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับคนในชุมชนได้ และมีการ จัดต้ังกลมุ่ อาชีพในชุมชน ๖. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ/ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการนาองค์ความร้ไู ปใช้ 1. ประโยชน์ที่ประชาชนและชุมชนได้รบั ชมุ ชนสามารถนาความรู้ทไ่ี ด้จากการวิเคราะห์ ข้อมูลไปใช้ประโยชนใ์ นการแกไ้ ขปัญหาในชุมชน โดยคนในชุมชนเป็นแกนหลักในการแก้ไขปญั หา ทาใหช้ มุ ชน มีความเข้มแข็ง พ่งึ ตนเองได้ สามารถสร้างความย่ังยนื 2. ประโยชน์ของทางราชการ เกดิ การบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างแท้จริง มีประสิทธิภาพ เกิดผลเปน็ รปู ธรรม สามารถขับเคล่อื นกิจกรรมอ่นื ๆที่มอี ยู่ในพื้นทไ่ี ดเ้ ป็นการต่อยอดกจิ กรรมให้มคี วามย่งั ยนื ของการดาเนนิ งานตามโครงการ 3. ประโยชน์ทเ่ี จา้ หนา้ ทีจ่ ะได้รับ เจ้าหน้าทมี่ คี วามรู้ในการขบั เคล่อื นโครงการ มีความ ชดั เจนในข้ันตอน วิธีการ สามารถขบั เคลื่อนงานได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถเปน็ ท่ีปรึกษาและให้คาแนะนา แก่ชุมชนในการคัดเลอื กอาชีพ การสรา้ งสมั มาชพี ในชุมชน และสามารถต่อยอดกจิ กรรมในพ้นื ทไี่ ด้อย่างเปน็ รูปธรรม สามารถส่งเสริมกระบวนการกลุ่มให้กับคนในชมุ ชน เพ่อื สร้างงาน สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้ ๗. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน 1. ความหม่ันศึกษาหาความรู้ และความเอาใจใส่ในทุกองค์ประกอบ ที่จาเป็นในการ ขับเคล่ือนโครงการนามาซึง่ ผลสาเร็จของโครงการ 2. การให้ความสาคัญกบั ทุกกระบวนงานต้ังแต่เริ่มต้น-สิน้ สดุ เป็นปัจจยั แห่งความสาเร็จของ โครงการ 3. การนาข้อมูลท่ีมีในชุมชนมาเป็นฐานในการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาของคน ในชุมชน โดยคนในชุมชนเปน็ แกนนา เปน็ ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชน 4. การนอ้ มนาหลักของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในทุกระดับ เพื่อให้เกิด ความสมดลุ มง่ั คง่ั และยั่งยืน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook