Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual_Report_2016

Annual_Report_2016

Published by gooooogels, 2019-06-06 02:53:24

Description: Annual_Report_2016

Search

Read the Text Version

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 049  คณะกรรมการมกี ารประเมนิ ตนเองและรว่ มกนั เป้าหมายการด�ำเนินงานประจ�ำปีและใช้เป็นแนวทาง อภิปรายผลการประเมิน ในคราวการประชุมคณะ ในการพฒั นาตามเกณฑป์ ระเมนิ ผลดว้ ยการเชอื่ มโยงและ กรรมการการยางแห่งประเทศไทยคร้งั ท่ี 11/2559 เม่อื บูรณาการระบบการบริหารความเส่ียงทั้งองค์กร และ วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เพ่ือน�ำขอ้ เสนอแนะจากการ พัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงเข้ากับการบริหาร ประเมนิ ผล มาใชป้ รับปรุงประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการติดตาม ของการก�ำกับดแู ลของ กยท. ใหผ้ ลการดำ� เนนิ งานบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย 2. ด้านการบริหารจัดการองคก์ ร รวมทั้งปลูกฝังการบริหารจัดการเป็นส่วนหน่ึงของ 2.1 การจัดท�ำแผนวิสาหกจิ วัฒนธรรมองค์กร ตลอดจนเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ใหก้ ับ กยท. อีกทางหน่งึ ดว้ ย คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทยสง่ เสรมิ ให้ มีการจดั ทำ� แผนวิสาหกจิ ประกอบดว้ ย ทศิ ทาง นโยบาย ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนนิ งานด้านการบริหาร กลยทุ ธ์ แผนงาน ทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว รวมถงึ วสิ ยั ความเส่ียง ดงั นี้ ทัศน์และพันธกิจของ กยท. ซ่ึงเป็นไปตามแนวนโยบาย ของผถู้ ือหุ้นภาครฐั (Statement of Director : SOD)  คณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงและควบคุม โดยแผนดังกล่าวมีความชัดเจน ครบถ้วน และมีความ ภายในรบั ทราบแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการบรหิ ารความเสย่ี ง สอดคล้องเชื่อมโยงกันและให้ความส�ำคัญกับบทบาท และควบคมุ ภายใน เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ าน การมีส่วนร่วมในการพิจารณาทบทวน ปรับปรุงแผน เม่ือวันท่ี 20 ตุลาคม 2558 การดำ� เนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณส์ ภาพแวดลอ้ ม ท่เี ปลี่ยนแปลงไป  ทกุ สว่ นงานมกี ารประเมนิ และควบคมุ ความเสย่ี ง ดว้ ยตนเองโดยมคี ณะอนกุ รรมการบรหิ ารความเสย่ี งและ ในปี 2559 กยท. มกี ารด�ำเนินงานดา้ นการจดั ทำ� ควบคุมภายในเป็นผู้ก�ำกับดูแล และสรุป/ทบทวนผล แผนวสิ าหกจิ ดังนี้ การบริหารความเส่ียง ประจ�ำปี 2559 รายงานต่อ คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียงฯ ในการประชุม  คณะกรรมการเห็นชอบแผนวิสาหกิจการยาง ครั้งท่ี 8 เม่อื วันท่ี 10 ตลุ าคม 2559 แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ตามมติการประชุม คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย คร้ังท่ี 11/2559  มีการฝึกอบรมบุคลากรของ กยท. ในเร่ือง เมอ่ื วันทว่ี นั ท่ี 27 กรกฎาคม 2559 บริหารความเสี่ยง โดยจัดโครงการพัฒนาพนักงานตาม หลักสูตรการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน เมื่อ  มกี ารรายงานผลการดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ วนั ท่ี 29 - 30 สงิ หาคม 2559 ณ หอ้ งประชมุ สถลสถานพทิ กั ษ์ ปี 2559 และผลการด�ำเนินงานด้านธุรกิจของ กยท. เพื่อช้ีแจงท�ำความเข้าใจในเรื่องบริหารความเสี่ยงแก่ ให้คณะกรรมการ กยท. ประจ�ำปี 2559 (ต้ังแต่เดือน พนักงานในองค์กรทุกระดับ และรณรงค์ให้ตระหนัก ตุลาคม 2558 - สิงหาคม 2559) ในคราวประชุม และให้ความส�ำคญั กบั การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ครั้งท่ี 14/2559 2.3 การควบคุมภายใน เม่ือวันท่ี 26 ตลุ าคม 2559 2.2 การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย กำ� กบั ดแู ล ให้ กยท. มรี ะบบควบคมุ ภายในเพอื่ ชว่ ยใหก้ ารดำ� เนนิ งาน คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย มีการ มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้องค์กรมีหลักการก�ำกับดูแล ก�ำหนดนโยบายบริหารจัดการความเส่ียงของ กยท. เพอื่ กจิ การทด่ี ี ชว่ ยสนบั สนนุ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย ให้ด�ำเนินงานบรรลุตามยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ ทก่ี ำ� หนดไว้ และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของผมู้ ี สว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งเหมาะสม โดยยดึ หลกั การปฏบิ ตั ติ าม

050 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) ว่าด้วย พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มมูลค่าและปรับปรุง การกำ� หนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 การด�ำเนินงานให้ดีข้ึน ทั้งนี้ เพื่อการบริหารความเสี่ยง การควบคมุ ภายในและกระบวนการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี ในปี 2559 กยท. มกี ารดำ� เนนิ งานดา้ นการควบคมุ ภายใน ดงั นี้ ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนินงานด้านการ ตรวจสอบภายใน ดงั นี้  มีการฝึกอบรมผู้รับผิดชอบด้านควบคุมภายใน ตามหลกั สูตรการค้นหาจุดอ่อน/ประเดน็ เสย่ี งและการใช้  ด�ำเนินงานตามขอบเขตท่ีก�ำหนดในกฎบัตร ระบบสารสนเทศมาสนบั สนนุ การตดิ ตามและการรายงาน ส�ำนักตรวจสอบภายใน กยท. รวมท้ังคู่มือการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 29 – 31 สิงหาคม 2559 การตรวจสอบภายในของรฐั วิสาหกิจ มผี ูเ้ ข้ารบั การอบรมจาก กยท. เขต และ กยท. สว่ นกลาง  จดั ทำ� แผนการตรวจสอบเชงิ กลยทุ ธ์ ปี 2559 -  มี ก า ร บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ก ่ อ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม 2563 และปรับปรุงแผนการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปี คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน 2559 คร้ังท่ี 4/2559 เมื่อวันท่ี 21 มิถุนายน 2559 เรื่อง การบรหิ ารจดั การสำ� หรบั ผบู้ รกิ ารดา้ นการควบคมุ ภายใน  ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความเช่ียวชาญของ เก่ียวกบั มาตรฐานทางจริยธรรม (Code of Conduct) เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบภายใน อาทเิ ชน่  จดั ตง้ั คณะทำ� งานบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ - หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารงานตรวจสอบ ภายในของ กยท. ตามค�ำสั่งการยางแห่งประเทศไทย ภายในและคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ที่ 112/2559 ส่ัง ณ วันท่ี 14 ธันวาคม 2558 และ ตรวจสอบเข้ารับการอบรมของสถาบันพระปกเกล้า คณะอนุท�ำงานบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน หลักสูตร การก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและ ตามคำ� สัง่ การยางแห่งประเทศไทย ที่ 7/2559 เมอ่ื วันท่ี ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน 21 มกราคม 2559 เพ่ือติดตามผลการควบคุมภายใน รุ่นที่ 15 เดอื นกรกฎาคม - สิงหาคม 2559 ขององค์กร โดยมีคณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียง และควบคมุ ภายในเป็นผู้กำ� กบั ดูแล - โครงการพัฒนาบุคลากรด้านกระบวนงาน หลักและกระบวนงานสนับสนุน โดยมีการอบรม  มีการทบทวนพัฒนาระบบการควบคุมภายใน เชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การเพ่ิมความรู้กระบวนการ และทบทวนค่มู ือควบคุมภายในประจ�ำปี 2559 หลัก (Core Process)” เม่อื วันที่ 9 - 15 สงิ หาคม 2559 2.4 การตรวจสอบภายใน ณ กองจัดการสวนยาง 1-3 และกองจัดการโรงงาน 1-3 อ.นาบอน และ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช และ คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย กำ� กบั ดแู ล จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การเพิ่มประสิทธิภาพ ให้ กยท. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในซ่ึงรายงานตรง การตรวจสอบภายใน” เมอ่ื วนั ท่ี 15 - 16 กนั ยายน 2559 ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งน้ี คณะกรรมการ ณ ห้องประชุมส�ำรวจพฤกษาลยั กยท. ต ร ว จ ส อ บ ป ฏิ บั ติ ต า ม คู ่ มื อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส� ำ ห รั บ 2.5 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ โดยสอดคล้อง ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยคณะกรรมการ กยท. เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการประยุกต์ ตรวจสอบและหน่วยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ ใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร (Information and พ.ศ. 2555 ก�ำหนด เพ่ือให้ความเห็นท่ีเป็นอิสระและ Communication Technology : ICT) เพอื่ การบรหิ ารจดั การ เทย่ี งธรรมเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การองคก์ รในแตล่ ะดา้ น ซงึ่ จะชว่ ยใหอ้ งคก์ รบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละมกี ารปรบั ปรงุ ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนินงานด้านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 051  ทบทวน พัฒนา ปรับปรุงระบบสารสนเทศให้ ประชาสมั พนั ธ์ บรเิ วณชัน้ 1 อาคาร 1 และอาคาร 2 ของ รองรับภารกิจหลัก และระบบการบริหารจัดการของ กยท. ส�ำนกั งานใหญ่ และมีหนงั สอื ท่ี กษ 2008/1/0529 องค์กร รวมท้ังตอบสนอง และรองรับการตัดสินใจของ ลงวันท่ี 29 สงิ หาคม 2559 แจง้ เวยี นใหพ้ นกั งานทราบ ผู้บริหาร และถือปฏบิ ัติ 2.7 จริยธรรมและจรรยาบรรณ  ใชร้ ะบบ ICT เปน็ เครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารจดั การ ความเส่ียง และควบคุมภายในให้เกิดประสิทธิผลและ กยท. ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับในองค์กร ประสทิ ธิภาพ รวมถึงคณะกรรมการ ยดึ มั่นในระบบคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน เพื่อสอดคล้อง  ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ และ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล สมรรถนะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศทมี่ มี าตรฐาน ในปี 2559 กยท. มกี ารดำ� เนนิ งานดา้ นจรยิ ธรรม  พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการให้ และจรรยาบรรณ ดงั น้ี บรกิ ารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 การขัดแย้งของผลประโยชน์  จัดฝึกอบรม/บรรยายให้ความรู้ในเรื่อง “การ เสรมิ สรา้ งวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการขดั กนั ระหวา่ ง กยท. ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การพจิ ารณาเรอ่ื งทเี่ กดิ ประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวม” เมอ่ื วนั ที่ 31 หรืออาจเกิดความขัดแย้งผลประโยชน์ โดยจัดให้มีการ สิงหาคม - 2 กันยายน 2559 ณ กยท. เขตภาคใต้ ควบคมุ ดแู ลและปอ้ งกนั เกยี่ วกบั กรณที มี่ คี วามขดั แยง้ ทาง ตอนกลาง และตอนลา่ ง มพี นกั งานเข้ารว่ ม 217 คน และ ผลประโยชนอ์ ยา่ งรอบคอบ ด้วยความซ่ือสัตย์สจุ ริต มีการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร เพิ่มพูนความรู้ พนกั งานใหม่ เม่อื วนั ที่ 5 - 7 กันยายน 2559 ณ โรงแรม ในปี 2559 กยท. มกี ารดำ� เนนิ งานด้านการขัดแยง้ เดอะเวโรน่า เอท ทับลาน ต.บุพราหมณ์ อ.นาดี ของผลประโยชน์ ดงั นี้ จ.ปราจนี บรุ ี โดยมพี นกั งานเขา้ รบั การอบรมทง้ั สนิ้ 294 คน  สอบทานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับการขัดกันทาง  จัดบรรยายธรรมในหัวข้อ “ธัมมจรณกถา ผลประโยชน์ของพนักงานทุกระดับตามข้อก�ำหนดใน ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่” โดยพระครูปลัดนายกวัฒน์ ระเบยี บ กยท. วา่ ดว้ ยการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ น ดร. เจา้ อาวาสวดั เทพนารี เมอื่ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2559 บุคคลและประโยชน์ส่วนรวม โดยฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ 2.8 การรายงานทางด้านการเงนิ และการบรหิ าร ร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายในได้ติดตามผลการปฏิบัติ ตามระเบยี บฯ ในช่วงเดอื นมีนาคมและสิงหาคม 2559 กยท. ไดจ้ ดั ทำ� รายงานทางการเงนิ และการบรหิ าร เพ่ือให้ผู้เก่ียวข้องสามารถตรวจสอบได้ โดยรายงาน  ทบทวนระเบยี บ กยท. วา่ ดว้ ยการขดั กนั ระหวา่ ง ทางการเงินของ กยท. ได้ผ่านการตรวจสอบจาก ผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม โดยน�ำ ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ซ่ึงสามารถสร้าง ระเบียบฯ ของทงั้ 3 หนว่ ยงาน (สกย. อ.ส.ย. และ ส.วย.) ความม่ันใจ น่าเชื่อถือว่าข้อมูลท่ีแสดงในรายงาน มาบูรณาการเป็นระเบียบฯ ว่าด้วยการขัดกันระหว่าง ทางการเงิน มคี วามถกู ต้องเปน็ ทีย่ อมรบั ท่วั ไป ประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมของ กยท. และประกาศใช้เมือ่ วนั ที่ 17 สิงหาคม 2559 ในปี 2559 กยท. มกี ารดำ� เนนิ งานดา้ นการรายงาน ทางด้านการเงินและการบรหิ าร ดังนี้  เผยแพร่ระเบียบ กยท. ว่าด้วยการขัดกัน ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวมให้ พนักงาน ลูกจ้าง ทราบ และถือปฏิบัติโดยทั่วกัน โดย ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ระเบียบฯ ผ่านการติดบอร์ด

052 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย  การจัดท�ำงบทดลองรายเดือน งบการเงินราย หรือผังเว็บไซต์ มีการเปิดเผยรายงานประจ�ำปี และ ไตรมาส และงบการเงนิ ประจำ� ปงี บประมาณ 2559 กยท. มีการเปดิ เผยขอ้ มลู ดา้ นผลการดำ� เนนิ งาน (Operation) อยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การเจรจากบั สคร. เพอ่ื ขยายระยะเวลา สง่ งบการเงนิ ประจำ� ปี 2559 เนอื่ งจากอยรู่ ะหวา่ งการโอน  เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นยางพาราผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ ทรัพย์สิน และต้องแก้ไขความถูกต้องให้เป็นไปตาม ดังนี้ มาตรฐานบัญชี  จดั รายการวทิ ยโุ ดยนำ� สาระความรู้ ขา่ วสาร  การเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาส/ปี ในแวดวงยางพารา รวมถึงการด�ำเนินงาน กิจกรรมและ ลงเว็บไซต์ www.raot.co.th ไม่สามารถส่งรายงาน ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การซอื้ -ขายวสั ดปุ ลกู และผลผลติ ยางพารา ทางการเงินเปิดเผยลงเว็บไซต์ได้ เนื่องจากการรับรอง ของ กยท. โดยเผยแพร่ให้เกษตรกร/สถาบันเกษตรกร/ งบการเงินประจ�ำปี 2559 ยงั ไมเ่ สร็จสน้ิ ผู้สนใจทั่วไป ผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียง 2.9 การเปดิ เผยข้อมลู ความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงาน แห่งประเทศไทย นครศรีธรรมราช F.M. 93.5 MHz ทุกวันจนั ทร์ เวลา 15.10 น. - 16.00 น. และสถานีวทิ ยุ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ส่งเสริม กระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทุ่งสง F.M. 97.0 MHz ให้มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ กยท. เวลา 14.10 น. – 15.00 น. เป็นประจำ� ทกุ วันพุธ ทั้งข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้เพียงพอ สม�่ำเสมอ  จัดรายการเสียงตามสายเผยแพร่ข้อมูล ทันเวลาและเข้าถึงได้ง่าย ผ่านช่องทางข้อมูลสารสนเทศ ข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ และน�ำเสนอข้อมูลที่กลุ่ม เพอื่ ใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หรอื ผเู้ กย่ี วขอ้ งไดร้ บั ทราบขอ้ มลู เป้าหมายภายในหน่วยงานควรทราบ ทางสถานีวิทยุ อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรมและด�ำเนินการตาม ครอบครัวเสียงตามสายกระจายเสียงครอบคลุมพ้ืนท่ี พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 สำ� นกั งานนาบอนและชมุ ชนรอบๆ ตงั้ แตว่ นั จนั ทร์ - เสาร์ และกฎหมายอนื่ ที่เกย่ี วข้อง  น�ำเสนอเนื้อหาและภาพข่าว ข้อมูลที่ ในปี 2559 กยท. มกี ารดำ� เนนิ งานดา้ นการเปดิ เผย เป็นประโยชน์ เผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมายภายนอกองค์กร ข้อมูลความโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งาน ดังนี้ ผ่านเว็บไซต์ กยท. และผ่านระบบ social media เชน่ facebook, youtube เป็นต้น  เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ กยท. (www.raot.co.th) โดยเปดิ เผยขอ้ มลู ตามขอ้ กำ� หนดของ  จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ข่าวสารความรู้ ผู้บริหารในส่วนของผลการด�ำเนินงานโครงการตาม ด้านยางพารา การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยน�ำเสนอ นโยบายรัฐบาล และเปิดเผยข้อมูลบัญชีเจ้าของสวน เนอื้ หา และภาพกจิ กรรม เผยแพรส่ กู่ ลมุ่ เปา้ หมายภายใน ผ่านระบบบริการข้อมูลสำ� หรบั เกษตรกรชาวสวนยาง องค์กร  เปิดเผยข้อมูลในรายงานประจ�ำปี สามารถ  กยท. ได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลงกับส�ำนักงาน ดาวน์โหลดที่เว็บไซต์ของ กยท. (www.raot.co.th) ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (ปปช.) ในการ หัวขอ้ รายงานประจ�ำปี กยท. เข้าร่วมการประเมินคุณภาพและความโปร่งใสในการ ทำ� งาน (Integrity & Transparency Assessment : ITA)  มีการเปิดเผยข้อมูลตามข้อก�ำหนดของ สคร. และมกี จิ กรรมในการใหค้ วามรู้ และเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจ ผ่านทางเว็บไซต์ โดยมีข้อมูลประวัติ ภารกิจขององค์กร ให้บุคลากรของ กยท. ได้ตระหนักถึงผลกระทบของ ทอ่ี ยแู่ ละเบอรโ์ ทรศพั ท์ ขา่ วทวั่ ไป และขา่ วของหนว่ ยงาน การทจุ ริตคอร์รปั ชั่น เชน่ โครงการส่งเสรมิ ธรรมาภิบาล link ท่ัวไป และ link ที่เก่ียวข้อง มีข้อมูลกฎระเบียบ เพอ่ื ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ โครงการดลู ะครยอ้ นดเู รา ขน้ั ตอน บรกิ ารแบบฟอรม์ ดาวนโ์ หลด มคี ำ� แนะนำ� เวบ็ ไซต์ ไมเ่ อาการทจุ รติ คอรร์ ัปชนั่ เปน็ ต้น

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 053  โครงการ “ดูละครยอ้ นดูเรา ไม่เอาการทุจรติ คอรร์ ัปชน่ั ” 3. ดา้ นบทบาทของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี การมีส่วนร่วมกันระหว่าง กยท. กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทยให้ความ ในการสร้างความมั่นคง สร้างงาน และสร้างกิจการ ใหม้ ีความมนั่ คงอยา่ งยงั่ ยนื ส�ำคัญในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มหรือ ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ อย่างเท่าเทียมกัน โดยสนับสนุนให้มี ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนินงานด้านบทบาท ของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ดังน้ี ประเภท จ�ำนวน (เร่อื ง) ข้อรอ้ งเรยี นประเภทใหข้ อ้ เสนอแนะ 2 ขอ้ ร้องเรยี นจากบุคคลทวั่ ไป 1 ข้อรอ้ งเรยี นจากเกษตรกร 57 รวม 60  การจดั การเรอื่ งร้องเรียน ประจำ� ปีงบประมาณ กจิ กรรมต่างๆ โดยใหช้ ุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วม (ได้รายงาน 2559 มเี ร่อื งรอ้ งเรียนท้ังสิ้น 60 เรือ่ ง มรี ะยะเวลาในการ ในหัวข้อ นโยบายและโครงสร้างการด�ำเนินงาน จดั การโดยเฉลยี่ 12 วัน และยังไม่พบการรายงานปัญหา ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม) และอปุ สรรคในการดำ� เนินการตอบผรู้ ้องแตอ่ ยา่ งใด  มีการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า กยท.  การดำ� เนนิ การและบรหิ ารจดั การดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ผ่านแบบสำ� รวจความพึงพอใจ โดยแบ่งออกเป็น 3 ดา้ น โดยไม่ให้กระทบต่อชุมชนโดยรวม และการด�ำเนิน คือ ด้านสินค้า ด้านการให้บริการ และด้านแนวโน้ม ในการสัง่ ซ้ือสินค้า

054 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 4. ด้านบคุ ลากร - การฝกึ อบรม หลกั สตู รครบเครอ่ื งเรอ่ื งพธิ กี ร คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ให้ความ เมื่อวนั ที่ 24 - 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 สำ� คญั กบั การพฒั นาดา้ นบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล โดยสง่ เสรมิ - การฝึกอบรม หลักสูตรการบูรณาการเพื่อ ให้มีการยกระดับความรู้ความสามารถของบุคลากร การหลอมรวมเป็นหนงึ่ เมื่อวันท่ี 22 - 23 มีนาคม 2559 ทุกระดับ ให้โอกาสความก้าวหน้าแก่พนักงานด้วยความ ให้แก่พนักงานจำ� นวน 100 คน ยุติธรรมและเสมอภาคของบุคลากรทุกระดับ ตลอดจน สร้างจิตส�ำนึกเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติ - การฝึกอบรม หลักสูตรการผลิตเอกสาร งาน เพ่ือพัฒนาองคก์ รให้มีประสิทธิภาพสงู สุด อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Book & e-Magazine) เมอ่ื วนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2559 ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนินงานด้านบุคลากร ดังนี้ - การฝกึ อบรม หลกั สตู รกฎหมายและระเบยี บ สำ� หรับงานการคลัง เมือ่ วันที่ 5 - 6 สิงหาคม 2559  พัฒนาบุคลากรเพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถสอดคล้องกับความต้องการขององค์กร - การฝึกอบรม ประชุมวิชาการยางพารา โดยการอบรมและสมั มนา และการบรรยาย เชน่ เมอ่ื วันท่ี 30 สงิ หาคม – 2 กันยายน 2559 - การสัมมนาให้ความรู้ด้านการด�ำเนินงาน - การฝึกอบรม หลักสูตรการบริหาร ตามตวั ชวี้ ดั ดา้ นการหลอมรวมองคก์ รแกผ่ บู้ รหิ ารระดบั สงู ยทุ ธศาสตรใ์ หเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ เมอื่ วนั ที่ 5 - 7 กนั ยายน 2559 ของ กยท. โดยบริษทั ทรสิ คอรป์ อเรชัน่ จำ� กดั  การติดตามผลการด�ำเนินงานด้านการบริหาร - การบรรยายให้ความรู้เร่ืองการวิเคราะห์ ทรัพยากรบุคคลผ่านคณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ สถานการณแ์ ละการวางแผนพฒั นาการเกษตรแกผ่ บู้ รหิ าร ตามค�ำส่ังคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ระดับสูงของ กยท. โดยอธิบดีกรมนหลวงและการบิน ท่ี 29/2559 ส่ัง ณ วันที่ 2 กันยายน 2559 ซึ่งเป็น เกษตร (นายเลอศกั ด์ิ รวิ้ ตระกูลไพบลู ย์) กรรมการทวิภาคี ประกอบด้วยผู้แทนฝ่ายบริหาร ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ทุกเดือน เพ่ือปรึกษาหารือเกี่ยวกับ - การฝึกอบรม หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความ การปรับปรุงสภาพการจ้าง ปรับปรุงระเบียบข้อบังคับ ปลอดภยั ในการทำ� งาน เมอื่ วนั ที่ 7 - 9 มกราคม 2559 ในการท�ำงานและอ่ืนๆ ตาม มาตรา 23 แห่ง พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ 2543 โดยมีการประชุม - การฝึกอบรม หลกั สูตรการจดั ต้ังศนู ย์ข้อมูล คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ คร้ังที่ 1/2559 เมื่อวันท่ี ขา่ วสารอเิ ล็กทรอนิกสส์ �ำหรับหนว่ ยงานภาครัฐ เม่ือวันที่ 28 กนั ยายน 2559 มีนายสุรพล จารุพงศ์ เป็นประธาน 10 กุมภาพนั ธ์ 2559 กรรมการกจิ การสมั พันธ์

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 055 โครงสร้างการก�ำกับดูแลกจิ การทด่ี ขี องการยางแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ กยท. อำ� นาจและหน้าที่ คณะอนุกรรมการ อ�ำนาจและหน้าท่ี • ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย และ การกำ� กับดแู ล • จดั ทำ� และทบทวนกฎบตั รและคมู่ อื การกำ� กบั แผนงานการด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแล กจิ การที่ดี ของ กยท. ดแู ลกจิ การทดี่ ขี อง กยท. กิจการที่ดีประจ�ำปีบัญชีท่ีชัดเจน เป็น คณะทำ� งาน • จัดท�ำและทบทวนแผนงานการก�ำกับดูแล รปู ธรรม และสอดคลอ้ งไปกบั การดำ� เนนิ งาน การก�ำกบั ดแู ล ของรฐั วสิ าหกจิ และนำ� เสนอตอ่ คณะกรรมการ กิจการที่ดขี อง กยท. กยท. กิจการท่ดี ี ของ กยท. • กำ� กบั ดแู ลการดำ� เนนิ งานดา้ นการกำ� กบั ดแู ล • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเกี่ยวกับการส่งเสริม กจิ การทดี่ ขี อง กยท. ให้เปน็ ไปตามแผนงาน ให้มีการก�ำกบั ดูแลกิจการทีด่ ี • ติดตามรายงานผลการด�ำเนินงานด้าน • ตดิ ตามและรายงานผลการดำ� เนนิ งาน พรอ้ ม ท้ังประเมินผลส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรมเสนอต่อ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ต่อ คณะกรรมการ กยท. ทราบ คณะอนุกรรมการการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี ของ กยท.

056 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย นโยบายการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สังคม (CSR) การยางแหง่ ประเทศไทย (กยท.) ตระหนกั ถงึ ความ ซ่ึงการบริหารจัดการดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้ระบบ สำ� คัญของการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน ซง่ึ ในปี 2559 การยาง การก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีขององค์กร และการมีจิตส�ำนึก แห่งประเทศไทย มุ่งเน้นการแสดงความรับผิดชอบต่อ ในด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ี เพ่ือให้มีมาตรฐานทาง สงั คมในดา้ นการพฒั นาชมุ ชนและสงั คม ซง่ึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะ จริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดยมีกลไกและระบบ อนกุ รรมการดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ การบงั คับใชอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ สังคม เพ่ือก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดย โดยการยางแหง่ ประเทศไทย มีการจดั ทำ� ระเบียบ คณะอนกุ รรมการ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยไตรมาส ข้อบงั คบั คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย วา่ ด้วย ละ 1 ครงั้ เพอื่ ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานและพจิ ารณาเรอื่ ง ประมวลจริยธรรมของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย ต่างๆ ตามนโยบายด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อ พนกั งาน และลกู จา้ งการยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2559 สังคม และกฎบตั รของคณะอนุกรรมการดำ� เนนิ งานดา้ น ซึ่งมมี าตรฐานดังนี้ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งน้ีการยางแห่ง 5.1 มาตรฐานจริยธรรมอนั เป็นค่านิยมหลัก ประเทศไทยจะค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อันได้แก่ เกษตรกรชาวสวนยาง ชุมชนโดยรอบโรงงาน และ ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องยึดมั่นใน พนกั งาน-ลูกจา้ งของ กยท. โดยการดำ� เนินกิจกรรม CSR มาตรฐานจริยธรรมอนั เป็นคา่ นิยมหลัก 9 ประการ ดงั นี้ ของ กยท. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ชุมชน ลูกค้า และประชาชนทั่วไป 1) การยึดมั่นในระบบประชาธิปไตยอันมี ต้ังแต่กระบวนการคิดค้นและการออกแบบการด�ำเนิน พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ กิจกรรมไปจนถึงการมีส่วนร่วมในผลลัพธ์การด�ำเนินงาน รวมถงึ การดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ระหวา่ งหลายหนว่ ยงานและ 2) การยดึ ม่นั ในคณุ ธรรมจริยธรรม มกี ารจดั สรรการใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 3) มจี ิตส�ำนึกท่ดี ี ซ่ือสัตย์ สจุ ริต และรับผดิ ชอบ 1. การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทีด่ ี 4) การยดึ ถอื ประโยชนข์ องประเทศชาตเิ หนอื กวา่ ประโยชน์ส่วนตน และไม่มีการกระท�ำท่ีเป็นการขัดกัน การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ใี นความหมายของกจิ การ ระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม ทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม หมายถงึ การจดั ใหม้ รี ะบบ 5) การยืนหยัดท�ำในส่ิงที่ถูกต้อง เป็นธรรม และ บริหารจัดการอย่างรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบในการ ถูกกฎหมาย จัดการอย่างโปร่งใส เท่าเทียม เป็นธรรมและมี 6) การใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนดว้ ยความรวดเรว็ มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถเพม่ิ คณุ คา่ และมูลค่าพรอ้ ม อธั ยาศยั ดี และไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ รบั การตรวจสอบได้ 7) การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่าง 2. การเคารพสิทธมิ นุษยชน ครบถ้วน ถกู ต้องและไม่บิดเบือนขอ้ เทจ็ จริง 8) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน รักษามาตรฐาน การยางแห่งประเทศไทย ในฐานะหน่วยงาน มคี ณุ ภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ รัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจดูแลการบริหารจัดการยางพารา 9) การยึดม่ันในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร ของประเทศท้ังระบบครบวงจร เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ โดยถอื ตามระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของการยางแหง่ ประเทศไทย แหง่ พระราชบญั ญัติการยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 5.2 มาตรฐานจริยธรรมขององค์กร 1) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องจงรักภักดี ตอ่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 057 2) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องเป็นแบบ 10) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องรักษา อย่างท่ีดีในการรักษาไว้และปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่ง ความลับที่ได้จากการปฏิบัติหน้าที่ การเปิดเผยข้อมูล ราชอาณาจกั รไทย ท่ีเป็นความลับ จะกระท�ำได้ต่อเมื่อมีอ�ำนาจหน้าท่ีและ ไดร้ ับอนญุ าตจากผู้บงั คบั บญั ชาหรอื เป็นไปตามกฎหมาย 3) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องเป็นแบบ ก�ำหนดเท่านัน้ อย่างที่ดีในการเป็นพลเมืองดี เคารพและปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างเคร่งครดั 11) พนักงานและลูกจ้างต้องไม่น�ำผลงาน ของผูอ้ ่นื มาแอบอา้ งเป็นผลงานของตนเอง 4) ผวู้ า่ การ พนกั งาน และลกู จา้ งตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี อย่างเต็มกำ� ลังความสามารถด้วยความเสยี สละ ทุ่มเทสติ 12) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องไม่ใช้ ปัญญา ความรู้ความสามารถ ให้บรรลุผลส�ำเร็จและมี สถานะหรือต�ำแหน่งไปแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ ประสิทธิภาพตามภาระหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย เพ่ือให้ ส�ำหรบั ตนเองหรอื ผู้อ่นื เกิดประโยชน์สงู สดุ แก่ประเทศชาตแิ ละประชาชน 5.3 มาตรฐานจริยธรรมขององค์กรตอ่ คคู่ ้า 5) ผวู้ า่ การ พนกั งาน และลกู จา้ งตอ้ งปฏบิ ตั ติ นอยู่ 1) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องปฏิบัติต่อ ในกรอบจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรม ตามหลัก คู่ค้า โดยยึดหลักความซื่อสัตย์และยุติธรรม รวมท้ัง ศาสนา ทั้งโดยส่วนตัวและโดยความรับผิดชอบต่อ เปิดเผยและให้ข้อมูลเก่ียวกับสินค้าและบริการที่ถูกต้อง สาธารณชน ตลอดจนละเว้นจากอบายมุขและความช่ัว ครบถ้วนแกค่ ู่คา้ โดยไมบ่ ิดเบือนขอ้ เท็จจริง ทง้ั ปวง 2) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องปฏิบัติ 6) ผวู้ า่ การ พนกั งาน และลกู จา้ งตอ้ งมงุ่ แกป้ ญั หา ตามเง่ือนไขข้อผูกพันต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด ความเดือดร้อนของเกษตรกรชาวสวนยางด้วยความเป็น ตลอดจนใหบ้ รกิ ารและปฏบิ ัติต่อลูกคา้ ดว้ ยความมีน้ำ� ใจ ธรรม รวดเรว็ และมงุ่ เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดีระหว่าง การยางแหง่ ประเทศไทยและเกษตรกรชาวสวนยาง 3) คำ� รอ้ งเรยี นของลกู คา้ พงึ ไดร้ บั การเอาใจใสแ่ ละ ด�ำเนินการอย่างเป็นธรรมเพื่อสนองตอบความต้องการ 7) ผวู้ า่ การ พนกั งาน และลูกจ้างตอ้ งปฏบิ ัตติ อ่ ผู้ ของคคู่ า้ อย่างรวดเร็ว ร่วมงาน และบุคคลอ่ืนด้วยความสุภาพ เรียบร้อย และ อธั ยาศยั ดีงาม 4) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องรักษา ความลับทางการค้าของคู่ค้าและไม่น�ำไปใช้ เพ่ือ 8) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องรักษาและ ประโยชนข์ องตนเองหรอื ผเู้ กีย่ วขอ้ งโดยมชิ อบ เสริมสร้างความสามัคคีระหว่างผู้ร่วมงานพร้อมกับให้ ความชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลซง่ึ กนั และกันในทางทชี่ อบ 5) พนกั งาน และลกู จา้ งตอ้ งผลติ สนิ คา้ ทมี่ คี ณุ ภาพ และได้มาตรฐานอยา่ งสม่ำ� เสมอ 9) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างระดับผู้บังคับ บญั ชาตอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาดว้ ยความเมตตาและ 6) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องไม่ค้าก�ำไร ยุติธรรม ดูแลเอาใจใส่ และพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้มี เกินควรเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพของสินค้า และ ความรู้ความสามารถและก้าวหน้าในหน้าที่การงาน หลีกเล่ียงการก�ำหนดเง่ือนไขทางการค้าท่ีไม่เป็นธรรม สนับสนุนให้มีการเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์อยู่เสมอ ตอ่ คู่คา้ ยึดถือหลักความรับผิดชอบ ผลส�ำเร็จของงาน และ ระบบคุณธรรมอย่างจริงจัง เพื่อสร้างความเข้มแข็ง และความกา้ วหนา้ ของการยางแห่งประเทศไทย

058 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 5.4 กลไกและระบบการบงั คบั ใชป้ ระมวลจรยิ ธรรม คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย วา่ ดว้ ยวนิ ยั และ 1) ผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างต้องประพฤติ การลงโทษพนักงานและลูกจ้างประจ�ำ 3. การปฏบิ ตั ิดา้ นแรงงาน ปฏิบัติและวางตนอยู่ในกรอบประมวลจริยธรรมน้ีอย่าง เคร่งครัด ตลอดจนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี ควรแกก่ ารยกยอ่ ง การยางแห่งประเทศไทย ตระหนักเสมอว่า ใหเ้ ป็นทปี่ ระจกั ษต์ ่อสาธารณชนท่ัวไป พนกั งานทกุ คนเปน็ ทรพั ยากรทท่ี รงคณุ คา่ เปน็ ปจั จยั แหง่ ความส�ำเร็จของการบรรลุเป้าหมายของการยางแห่ง 2) การประพฤตปิ ฏิบตั ิฝ่าฝืนประมวลจรยิ ธรรมนี้ ประเทศไทย ตอ้ งเคารพและปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย และหลกั จะถอื เปน็ การฝา่ ฝนื จรยิ ธรรมรา้ ยแรงหรอื ไม่ ใหพ้ จิ ารณา จริยธรรม เพ่อื สร้างความยุตธิ รรม ความมนั่ คงและความ พฤตกิ รรมของการฝา่ ฝนื ความจงใจหรอื เจตนา มลู เหตจุ งู ใจ สงบสุขในสังคม การยางแห่งประเทศไทยจึงให้การดูแล ความส�ำคัญและระดับต�ำแหน่ง ตลอดจนหน้าที่ และการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นธรรมทัง้ ในด้านโอกาส ผลตอบแทน ความรบั ผดิ ชอบของผฝู้ า่ ฝนื อายุ ประวตั แิ ละความประพฤติ การแต่งต้ัง โยกย้าย และสวัสดิการท่ีเหมาะสมและเป็น ในอดีต สภาพแวดล้อมแห่งกรณี ผลร้ายอันเกิดจาก ธรรม การฝ่าฝนื และเหตุอ่ืนอนั ควรน�ำมาประกอบพจิ ารณา 5.5 การลงโทษผู้ฝ่าฝนื 1) การยางแหง่ ประเทศไทย ใหก้ ารดแู ลขอ้ มลู สว่ น ตัวของพนักงาน โดยถือเป็นความลับ ไม่ส่งข้อมูลหรือ 1) กรณีการร้องเรียนหรือปรากฏเหตุว่าผู้ว่าการ กระจายขอ้ มลู สว่ นบุคคลไปยังบคุ คลอนื่ ทไ่ี มเ่ กยี่ วข้อง ประพฤตปิ ฏบิ ตั ฝิ า่ ฝนื ประมวลจรยิ ธรรม ใหค้ ณะกรรมการ การยางแหง่ ประเทศไทยเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบพจิ ารณาดำ� เนนิ 2) การเปิดเผยหรือการถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคล การ จะกระทำ� เมอ่ื ได้รบั การยินยอมจากเจา้ ของขอ้ มลู กรณีมีการร้องเรียนหรือปรากฏเหตุว่าพนักงาน 3) บุคคลย่อมอ้างศักด์ิศรีแห่งความเป็นมนุษย์ ประพฤติปฏิบัติฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม ให้ผู้ว่าการเป็น หรอื ใชส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพของตนไดเ้ ทา่ ทไ่ี มล่ ะเมดิ สทิ ธแิ ละ ผู้รบั ผดิ ชอบดำ� เนินการ เสรภี าพของบุคคลอ่ืน 2) การด�ำเนินการตามข้อ 1 ให้ผู้รับผิดชอบ 4) การยางแห่งประเทศไทย ปฏิบัติต่อพนักงาน พิจารณาด�ำเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการจ�ำนวนไม่น้อย ทกุ คนดว้ ยความเสมอภาค ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ ไมว่ า่ จะเปน็ ใน กวา่ สามคน แตไ่ มเ่ กนิ หา้ คนเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การสอบสวนทาง เร่อื งของเชื้อชาติ สัญชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ และ จริยธรรม การศึกษา หากปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีการฝ่าฝืนประมวล 5) พนกั งานตอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ดว้ ยความเคารพ ให้ จริยธรรม ใหผ้ ู้รบั ผดิ ชอบพจิ ารณาดำ� เนินการตามขอ้ 28 เกียรตซิ ึ่งกนั และกนั ประพฤตติ นเหมาะสมกับหนา้ ทก่ี าร ว่ากล่าวตักเตือน ท�ำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ หรือน�ำ งานตามระเบียบ ข้อบังคับของการยางแห่งประเทศไทย ไปประกอบการพจิ ารณาแตง่ ตงั้ การเขา้ สตู่ ำ� แหนง่ การพน้ และตามขนมธรรมเนยี มประเพณี โดยไมส่ รา้ งความเสอื่ ม จากตำ� แหนง่ การเลอ่ื นขัน้ เงินเดอื น การพิจารณาความดี เสียต่อภาพลักษณข์ องการยางแห่งประเทศไทย ความชอบ หรือส่งั ให้ได้รบั การพัฒนาตามที่เห็นสมควร 6) การยางแหง่ ประเทศไทย ใหโ้ อกาสพนกั งานใน 3) การส่ังตามข้อ 2 ของผู้รับผิดชอบพิจารณา การแสดงความสามารถอย่างเต็มท่ี โดยก�ำหนดผล ด�ำเนินการนั้น กรณีสั่งยุติเร่ืองให้ถือเป็นที่สุด เว้นแต่จะ ตอบแทนที่เหมาะสมตามระเบียบของการยางแห่ง ปรากฏข้อเท็จจริงในภายหลังที่อาจท�ำให้ผลการนั้น ประเทศไทย และให้โอกาสพนักงานศึกษาเพิ่มเติมท้ังใน เปลยี่ นแปลงไป กรณีสัง่ ลงโทษผฝู้ า่ ฝืนประมวลจริยธรรม ระดบั อดุ มศกึ ษา และการอบรมในระยะสนั้ และระยะยาว ผู้ถูกลงโทษมีสิทธิอุทธรณ์ค�ำส่ังลงโทษได้ตามข้อบังคับ

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 059 7) การดำ� เนนิ การพจิ ารณาผลงานความดคี วามชอบ 5. การปฏิบตั ดิ ำ� เนินงานอย่างเป็นธรรม ต้องด�ำเนินอย่างถูกตอ้ งและเป็นธรรม การยางแห่งประเทศไทย ด�ำเนนิ ธรุ กิจและบริหาร 8) ในการปฏิบัติหน้าที่พึงหลีกเลี่ยงการแสดง งานดว้ ยความเปน็ ธรรมโดยนำ� หลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ น ความคดิ เหน็ เกยี่ วขอ้ งกบั ความแตกตา่ งทางกายและจติ ใจ เมืองท่ีดีหรือธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ เพื่อส่งเสริม เชื้อชาติ สญั ชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา หรอื สนบั สนนุ ใหก้ รรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งานของการยางแหง่ เร่ืองอน่ื ใดทอ่ี าจน�ำไปสู่ความขดั แย้ง ประเทศไทย ได้ยึดถือปฏิบัติโดยเฉพาะการปฏิบัติงาน และการด�ำเนินธุรกิจของการยางแห่งประเทศไทย 9) ชว่ ยกนั สอดสอ่ งดแู ลใหส้ ภาพการทำ� งานปลอด โดยส่งเสริมให้มีการด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส จากการกดขีข่ ่มเหงหรอื การกระท�ำทไ่ี มเ่ ป็นธรรม ตรวจสอบได้ ส่งเสริมให้บุคลากรขององค์กรเป็นคนเก่ง และเปน็ คนดี มจี รยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล ซง่ึ จะชว่ ยสรา้ ง 10) ให้เกียรติ และเคารพความคิดเห็นซ่ึงกัน ความเช่ือมั่นความม่ันใจต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน และกัน เชน่ เกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง 4. สิง่ แวดลอ้ ม และผู้ประกอบกิจการยาง รวมไปถึง การยางแห่ง ประเทศไทยยังตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม การป้องกันมลภาวะการใช้ทรัพยากรอย่างย่ังยืน ซึ่งเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะน�ำพาองค์กรไปสู่ความส�ำเร็จ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการปกป้อง อย่างยัง่ ยืน สิง่ แวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ และการฟนื้ ฟู ถิ่นทอี่ ย่ทู างธรรมชาติ 6. ประเดน็ ตอ่ ผู้บรโิ ภค 3. มกี ารสำ� รวจความคดิ เหน็ และความพงึ พอใจ การยางแหง่ ประเทศไทย ได้ให้ความสำ� คัญในการ ของลูกค้า และมีช่องทางที่สามารถให้ลูกค้าแจ้งปัญหา ต่างๆ เกีย่ วกับสนิ ค้า/บริการ ไดอ้ ย่างรวดเร็วเพ่ือที่จะได้ ส่งมอบสินค้าที่ได้คุณภาพตามมาตรฐานให้แก่ผู้บริโภค แกป้ ญั หาใหท้ างลกู คา้ และพฒั นาปรบั ปรงุ สนิ คา้ / บรกิ าร โดยมีนโยบายต่างๆ ที่สำ� คัญ ดงั นี้ ดังกลา่ วตอ่ ไป 1. จ�ำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ ผ่านการรับรอง 4. จัดให้มีการเยี่ยมเยียนลูกค้า เพ่ือรักษาความ มาตรฐาน ในราคาที่เป็นธรรมใหแ้ กล่ ูกคา้ สัมพันธ์ที่ดีระหว่างลกู ค้า และการยางแหง่ ประเทศไทย 2. จัดให้มีการบริการหลังการขายเพื่ออ�ำนวย 5. ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งแกล่ กู คา้ รวมไปถงึ การรกั ษา ความสะดวกกับลกู คา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ความลับของลูกค้า ไม่น�ำข้อมูลของลูกค้าไปเปิดเผยเพื่อ หาประโยชน์โดยมชิ อบ

060 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย 7. การรว่ มกันพฒั นาชมุ ชนและสงั คม ผู้ประกอบกิจการยาง ด้านวิชาการ การเงิน การผลิต การยางแห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตาม การแปรรูป การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบ ธุรกิจ และการด�ำเนินการอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง เพื่อยกระดับ พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 รายไดแ้ ละคณุ ภาพชีวติ ใหด้ ีขึน้ ไดป้ ระกาศลงในราชกจิ จานเุ บกษา ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 และมีผลบังคับใช้ ในวันที่ 15 กรกฎาคม 2558 4) ดำ� เนนิ การใหร้ ะดบั ราคายางพารามเี สถยี รภาพ ซ่ึงเป็นองค์กรท่ีเกิดจากการควบรวมของ 3 หน่วยงาน 5) ดำ� เนนิ การสง่ เสริมและสนับสนุนให้มกี ารปลูก โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ตามมาตรา 8 ดงั น้ี แทนและการปลกู ใหม่ ในปงี บประมาณ 2559 การยางแห่งประเทศไทย 1) เป็นองค์กรกลางรับผิดชอบดูแลการบริหาร ได้ด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม จัดการยางพาราของประเทศทั้งระบบอย่างครบวงจร ภายใตข้ อบขา่ ยและแนวทางปฏบิ ตั ิ โดยมคี ณะอนกุ รรมการ บรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั การเงนิ ของกองทนุ พฒั นายางพารา ด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศเป็นศูนย์กลาง มีส่วนร่วมในการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม และติดตาม อตุ สาหกรรมผลิตภัณฑย์ างพารา ผลการดำ� เนนิ งาน พรอ้ มทงั้ ใหข้ อ้ เสนอแนะ และแนวทาง ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ใหผ้ ลการดำ� เนนิ งานมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการศึกษา ย่ิงข้ึน ตามโครงการ/กิจกรรม ดังนี้ วิเคราะห์ วิจัยพัฒนา เผยแพรข่ อ้ มลู สารสนเทศเกย่ี วกบั ยางพารา 3) ส่งเสริม สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือ เกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง และ

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 061 1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โดยคัดเลือก สวนยางไมเ่ กนิ 50 ไร่ มีการดำ� เนนิ ชวี ติ ตามแนวปรัชญา เกษตรกร รวมท้งั สิ้น 225 ครวั เรอื น สนับสนุนครัวเรอื น เศรษฐกจิ พอเพียง มีกิจกรรมปลกู พืช เลย้ี งสตั ว์ เป็นต้น ละ 5,000 บาท ให้เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยท่ีมี และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่บุคคลท่วั ไปได้

062 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย 2. โครงการหม่บู า้ นชาวสวนยางพัฒนา (CSR) มี ในชุมชนให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้ โดยใช้ภูมิปัญญา เปา้ หมาย 4 หมบู่ า้ น หมบู่ า้ นละ 50,000.-บาท ในจงั หวดั ทอ้ งถนิ่ พฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนในตน้ ทนุ ทางสงั คม รว่ มกบั บึงกาฬ ตราด ระนอง และสงขลา เพอ่ื พัฒนาหมบู่ ้านฯ เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งคลอ่ งตวั ดว้ ยการทำ� งานแบบมสี ว่ นรว่ ม ไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน และเกิดการรวมตัวของคน ของชุมชน และบรู ณาการกบั หน่วยงานอืน่

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 063 3. โครงการบริจาคเงินสมทบและร่วมปลูกฟื้นฟู (2558-2560) สำ� หรบั ปงี บประมาณ 2559 เปน็ การตดิ ตาม ป่าและปลูกหวายกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ ผลการด�ำเนินงาน และการบ�ำรุงรักษา ซึ่งมีอัตราการ พันธุ์พืช เป็นโครงการท่ีด�ำเนินการ 3 ปีต่อเนื่อง รอดตาย 85%

064 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 4. โครงการปลูกป่าในพื้นท่ีป่าชุมชน หรือหน่วย เพอื่ สรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดี ความสามคั ครี ะหวา่ งพนกั งาน งานราชการ หรือท่ีสาธารณประโยชน์ท่ีอยู่รอบโรงงาน โรงงานและคนในชุมชน และเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวในชุมชน โดยด�ำเนินการปลูกป่าในพ้ืนที่สาธารณประโยชน์ เสริมสร้างชุมชนทีน่ ่าอยู่ เปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 065 5. โครงการทุนการศึกษา กยท. ได้มอบทุน สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนเหน็ คณุ คา่ ของการศกึ ษา และ การศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษา ทั่วประเทศ ซ่ึง เป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายแก่ครอบครัวเกษตรกร ตระหนักถึงความส�ำคัญด้านการศึกษาของเด็กและ ช า ว ส ว น ย า ง   จึ ง ไ ด ้ จั ด ส ร ร ทุ น ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น เยาวชน ถือเป็นส่วนส�ำคัญในการพัฒนาให้เด็กและ ก า ร ศึ ก ษ า แ ก ่ บุ ต ร ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ช า ว ส ว น ย า ง ท่ี มี เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต เพื่อ ความประพฤตดิ ีแตย่ ากจน จ�ำนวน 82 ทนุ เป็นการแสดงให้เห็นถึงความใส่ใจในการช่วยเหลือดูแล

066 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย 6. โครงการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นสาธารณะตา่ งๆ ชุมชน กิจกรรมปรับปรุงป้อมยามต�ำรวจ ส่ีแยกลุงปี้ ของชมุ ชน โดยไดจ้ ดั กจิ กรรมวนั เดก็ แหง่ ชาติ กจิ กรรมการ กิจกรรมปรับปรุงสนามเด็กเล่นและจัดซ้ืออุปกรณ์กีฬา ร่วมแข่งขันกีฬาของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร เพือ่ สร้างความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างพนักงานและชมุ ชน และสหกรณ์ กิจกรรมเพ่ิมพื้นที่สีเขียว สานสัมพันธ์กับ

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 067 7. โครงการบริจาคโลหิต กยท. ได้รณรงค์ให้ สังคมด้วยจิตส�ำนึกสาธารณะ โดยไม่มุ่งหวังสิ่งตอบแทน บคุ ลากรของ กยท. บคุ คลในครอบครวั และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี เปา้ หมาย 1,200 ราย ผลการด�ำเนนิ งานได้ตามเป้าหมาย (Stakeholders) กบั กยท. รว่ มกนั บรจิ าคโลหติ ชว่ ยเหลอื

068 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 8. โครงการประชาสัมพันธ์การด�ำเนินกิจกรรม อายุไม่เกิน 25 ปี ส่งภาพประกวดชิงรางวัล เพ่ือเป็น CSR ไปสู่สาธารณชน ได้จัดกิจกรรมประกวดวาดภาพ การประชาสัมพันธ์องค์กร ให้บุคคลท่ัวไปทราบอย่าง ชิงรางวัล จ�ำนวน 15 รางวัล โดยให้เยาวชนทั่วไป ท่ัวถงึ 9. การยางแหง่ ประเทศไทย กองจดั การโรงงาน 4 โดยผ่านทางหมู่บ้านโนนปัญญา บ้านหนองใหญ่ รว่ มกบั ชุมชนรอบโรงงาน ด�ำเนินการซอ่ มแซมถนนลูกรงั บ้านซ�ำสะโหมง ทางเข้ากองจัดการโรงงาน 4 เป็นระยะทาง 3 กโิ ลเมตร

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 069 โครงสร้างการด�ำเนินงาน ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม อำ� นาจหน้าท่ี คณะกรรมการการยาง แหง่ ประเทศไทย 1. ติดตามการดำ� เนินงานด้านการแสดงความรับผดิ ชอบ ตอ่ สงั คมของ กยท. อยา่ งสมำ�่ เสมออยา่ งนอ้ ยรายไตรมาส คณะอนุกรรมการด�ำเนนิ งาน ดา้ นการแสดงความรับผดิ ชอบ 2. ก�ำกับการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคมของ กยท. ให้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย ต่อสงั คม (CSR) ของแผนการดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ คณะทำ� งานด�ำเนนิ งาน ต่อสังคม ดา้ นการแสดงความรบั ผิดชอบ 3. ก�ำกับดูแลให้มีการจัดท�ำรายงานด้านการแสดงความ ตอ่ สังคม (CSR) รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมของ กยท. เสนอตอ่ คณะกรรมการ การยางแห่งประเทศไทย อ�ำนาจหน้าที่ 1. จัดท�ำและทบทวนแผนการด�ำเนินงานระยะส้ันหรือแผนประจ�ำปี และ แผนระยะยาวหรอื แผนวิสาหกจิ ดา้ นการแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม 2. จัดท�ำและทบทวนคู่มือการด�ำเนินงานเพ่ือการมอบหมายและถ่ายโอน ด้านการแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมอยา่ งเป็นรปู ธรรม 3. สนับสนุนและส่งเสริมพนักงานให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านการแสดง ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 4. ติดตามและจดั ท�ำรายงานผลการดำ� เนนิ งาน เสนอต่อ คณะอนกุ รรมการด�ำเนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 5. ปฏิบัตงิ านอื่นๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย



รายงานผลการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญ ประจ�ำปี 2559

072 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย รายงานผลการดำ� เนินงานทส่ี �ำคัญ ประจำ� ปี 2559 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ 1.1 กจิ กรรม : ส่งเสริม สนบั สนุน และใหค้ วามชว่ ยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางเพ่อื การปลูกแทน วตั ถปุ ระสงค ์ : เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางเก่าในการปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี หรือไม้ยืนต้นชนิดอ่ืน ท่มี คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกจิ ผลการดำ� เนินงาน : กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ร้อยละ - รบั คำ� ขอ (ไร่) 470,000 402,493.31 85.64 - อนมุ ตั ิ (ไร่) 408,900 362,092.95 88.55 - โค่น (ไร่) 400,000 364,327.55 91.08 - ปลูกแทน (ไร)่ 400,000 364,123.00 91.03 - จ่ายเงินสวนปลูกแทน (ล้านบาท) 6,406.95 80.76 5,174.38 2. สวนท่ีอยู่ระหว่างให้การปลูกแทนเดือนตุลาคม 2558 – กันยายน 2559 จ�ำนวน 204,119 ราย เนื้อท่ี 2,022,458.55 ไร่ 3. สวนระงับการปลูกแทน เดอื นตลุ าคม 2558 – กันยายน 2559 จ�ำนวน 675 ราย เนือ้ ท่ี 4,855.75 ไร่ 4. สวนพ้นการปลูกแทน เดือนตุลาคม 2558 – กนั ยายน 2559 จำ� นวน 20,475 ราย เน้อื ที่ 197,221 ไร่ 1.2 กจิ กรรม : ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานและให้ความรู้ด้านวิชาการแก่เกษตรกรที่ไม่เคยมีสวนยาง มากอ่ นในแหลง่ ปลกู ยางใหม่ วตั ถปุ ระสงค์ : เพือ่ ตดิ ตามดูแลให้ค�ำแนะน�ำการปลูกสรา้ งสวนยางอย่างถกู วธิ ี ผลการดำ� เนนิ งาน : กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน รอ้ ยละ - จ�ำนวนเกษตรกรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ (ราย) 231,000 208,217 90.14 - จำ� นวนเน้ือทสี่ วนทอี่ ยู่ระหว่างการรบั บรกิ าร (ไร่) 2,000,000 1,975,470 98.77 - เน้อื ทสี่ วนท่เี ข้าร่วมโครงการใหม่ (ไร่) 63.37 300,000 190,111 หมายเหต ุ : ผลการอนุมัติเกษตรกรเข้าร่วมโครงการปี 2559 น้อยกว่าเป้าหมาย เนื่องจากราคายางตกต�่ำเกษตรกร จึงหันไปปลกู พืชอ่นื แทนยางพารา

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 073 2. โครงการปลกู ยางพาราในพ้ืนที่วา่ งเปล่าในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 2.1 กิจกรรม : ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในการปลกู ยางพาราใน 1,377 หมบู่ า้ น วตั ถุประสงค์ : ช่วยเหลือเกษตรกรยากจนใน 1,377 หมูบ่ ้าน ผลการด�ำเนินงาน : กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ - จำ� นวนเกษตรกรเข้ารว่ มโครงการฯ (ราย) 4,126 4,126 100 - จ�ำนวนเกษตรกรเข้ารว่ มโครงการฯ (ไร)่ 24,419.8 24,419.8 100 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 : การเพิ่มประสทิ ธภิ าพตลาดและโลจสิ ติกส์ ผลผลติ : การจัดการตลาดประมูลยางแบบครบวงจร 1.1 กิจกรรม : จดั ตลาดประมูลยาง วัตถปุ ระสงค์ : เพือ่ พัฒนาธรุ กจิ ชุมชนของเกษตรกรชาวสวนยางใหส้ ามารถขายผลผลติ ในราคาทีเ่ ปน็ ธรรม ผลการด�ำเนินงาน : กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน รอ้ ยละ - จ�ำนวนตลาดเปิดด�ำเนินการ (ตลาด) 108 108 100 - ปริมาณยางเข้าสู่ตลาด (ตัน) 915,000 854,458.73 93.38 1.2 กิจกรรม : ส่งข้อมลู ขา่ วสารราคายางทาง SMS วัตถปุ ระสงค ์ : เพ่ือให้เกษตรกร พนักงานและผู้ที่เก่ียวข้องกับการด�ำเนินงานตลาดยางพาราได้รับทราบ ขอ้ มลู ความเคล่อื นไหวของราคายางและนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการด�ำเนินงาน : กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน รอ้ ยละ - จำ� นวนพนกั งานเกษตรกรและผู้เกีย่ วขอ้ ง 5,500 5,798 105.42 ได้รับ SMS ราคายาง 1.3 กจิ กรรม : จัดตลาดประมลู ยางอเิ ล็กทรอนิกส์ วตั ถปุ ระสงค ์ : เพอื่ พฒั นาระบบตลาดยางพาราและเปน็ ทางเลอื กใหผ้ ซู้ อ้ื และผขู้ ายยางสามารถขายยางพารา ไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว และได้ราคาเป็นธรรมทง้ั ผ้ซู อื้ และผู้ขาย

074 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย ผลการดำ� เนนิ งาน : เป้าหมาย ผลการดำ� เนินงาน ร้อยละ กิจกรรม 30 30 100 - จ�ำนวนตลาดท่ดี ำ� เนินการซอ้ื ขายในระบบ ตลาดยางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ตลาด) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : พฒั นาเกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง และผปู้ ระกอบกจิ การยาง 1. โครงการจดั การศูนยเ์ รยี นรู้ วตั ถุประสงค์ : 1. เพอ่ื ถา่ ยทอดความรสู้ เู่ กษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการนำ� ไปปรบั ใชแ้ ละสามารถลดตน้ ทนุ การผลติ และสรา้ งรายได้ เพิม่ ขึน้ 2. เพ่ือเป็นแหลง่ เรียนรู้ การเพ่มิ มูลค่ายางพาราใหก้ ับเกษตรกรชาวสวนยางและผสู้ นใจมาค้นคว้าดา้ นยางพารา ผลการด�ำเนนิ งาน : กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนินงาน ร้อยละ - ถา่ ยทอดเทคโนโลยี เกษตรกรที่เข้ารว่ มโครงการ 780 845 108.33 (ราย) - พัฒนาศนู ย์เรียนรู้ ผใู้ ชบ้ ริการศกึ ษาเขา้ เรยี นรู้ 900 1,589 176.56 และดูงาน (ราย) 2. โครงการเงินหมนุ เวียนเพ่ือช่วยเหลือผู้รบั การสงเคราะห์ วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้เกษตรกรผู้รับการสงเคราะห์เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต�่ำเพ่ือประกอบอาชีพเสริม หรือลดตน้ ทุนการผลติ ผลการดำ� เนินงาน : กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ - จ�ำนวนผู้กรู้ ายใหม่ (ราย) 130 246 189.23 3. โครงการสง่ เสริมการรวมกลมุ่ ของเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพ่อื ใหส้ มาชิกรายใหมส่ มคั รเขา้ กลุ่มเพ่ิมมากขึน้ 2. เพอ่ื สร้างความเขม้ แข็งใหก้ ลุ่มชาวสวนยาง กยท. โดยสมาชกิ มีส่วนร่วมในการด�ำเนนิ กิจกรรม

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 075 ผลการด�ำเนนิ งาน : เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน รอ้ ยละ กจิ กรรม 25,000 5,018 20.07 6,000 6,564 109 - จำ� นวนเกษตรกรรายใหมส่ มคั รเข้ากลุ่ม (ราย) 640 - ดแู ลกล่มุ /สถาบันเกษตรกรตอ่ เน่ือง (กลมุ่ ) 10 64 - จำ� นวนกลมุ่ ท่มี คี วามเข้มแขง็ และสามารถ จดทะเบียนเป็นนิติบคุ คล (กลุ่ม) 4. โครงการหมู่บา้ นชาวสวนยางพัฒนา วัตถุประสงค์ : เพอื่ พัฒนาหมูบ่ า้ นชาวสวนยางไปสคู่ วามเข้มแขง็ และยงั่ ยนื ผลการด�ำเนนิ งาน : กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ - จำ� นวนกจิ กรรมที่สร้างรายได้ใหก้ บั สมาชกิ 40 62 155 (กิจกรรม) - จำ� นวนหมบู่ ้านทจ่ี ดั ต้งใหม่ (หมบู่ า้ น) 17 17 100 20 20 100 - ดูแลหมูบ่ ้านตอ่ เน่ือง (หมู่บ้าน) 5. โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีสเู่ กษตรกรชาวสวนยาง วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยาง ระยะก่อนเก็บเก่ียวผลผลิตสามารถลดต้นทุนในการผลิต และดูแลรักษา สวนยางอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ทง้ั ในระยะก่อนเก็บเก่ียว ระยะเก็บเก่ยี ว และระยะเตรยี มการโค่น 2. เพือ่ ให้ผู้นำ� เกษตรกรชาวสวนยางได้รับความรทู้ ีส่ ามารถน�ำไปปรบั ใช้กบั กลุม่ /สหกรณ์ของตนเองให้เขม้ แขง็ 3. เพ่ือสร้างองค์ความรู้ทักษะด้านยางพาราให้ครูยางในพื้นที่ปลูกยางเดิมสามารถปฏิบัติงานภาคสนามได้ และสามารถช่วยให้คำ� แนะนำ� แกเ่ กษตรกรรายอื่นไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและมีประสิทธภิ าพ ผลการดำ� เนินงาน : กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ 1. การดูแลรกั ษาสวนยางระยะ กอ่ นเกบ็ เกีย่ วผลผลติ 26,210 28,290 107.94 (ราย) 27,176 29,131 107.19 2. การดแู ลรักษาสวนยางระยะ เกบ็ เกี่ยวผลผลิต 6,840 7,207 105.37 (ราย) 3. การดแู ลรกั ษาสวนยางระยะ เตรยี มการกอ่ นโค่น (ราย)

076 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนนิ งาน ร้อยละ 4. พัฒนาเกษตรกรชาวสวนยาง 2,470 2,413 97.69 4.1 พัฒนาผู้นำ� เกษตรกรชาวสวนยาง (ราย) 1,140 1,477 129.56 4.2 เสริมสร้างเกษตรกรยคุ ใหม่ (ราย) 12,000 10,952 91.27 5. พฒั นาครยู าง 101.74 5.1 สัมมนาครยู าง (ราย) 920 936 5.2 การสรา้ งวิทยากรกรีดยางจากครยู าง (ราย) 6. โครงการหมู่บ้านเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชริ าลงกรณ์ วัตถุประสงค์ : เพ่อื พฒั นาหมู่บา้ นไปสูค่ วามเข้มแขง็ และย่ังยืน ผลการดำ� เนนิ งาน : กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนนิ งาน ร้อยละ - จ�ำนวนกิจกรรมทีส่ รา้ งรายไดใ้ หก้ บั สมาชกิ 102 178 174.51 (กิจกรรม) 7. โครงการตลาดน้ำ� ยางสดระดบั ท้องถน่ิ วตั ถปุ ระสงค์ : เพ่ือติดตามให้คำ� แนะนำ� ในการตดิ ตามตลาดท้องถิ่นใหม้ ีประสิทธิภาพ ผลการดำ� เนินงาน : กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ - ดูแลกลุม่ เดมิ ตอ่ เนอื่ ง 452 452 100 8. โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยสี สู่ ถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง วัตถุประสงค์ : เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง การบริหารจัดการโรงงาน เพื่อเพ่มิ มลู ค่าผลผลติ และพฒั นาอุตสาหกรรมยาง ผลการดำ� เนนิ งาน : กิจกรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ร้อยละ - จ�ำนวนกิจกรรม (กิจกรรม) 1 1 100 - จ�ำนวนเกษตรกรท่ีเขา้ ร่วม (ราย) 360 279 77.50

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 077 หมายเหตุ : ผลการฝึกอบรมน้อยกว่าเป้าหมาย เน่ืองจาก กยท.จ.ระยอง ไม่ได้ฝึกอบรมเกษตรกรเนื่องจากโรงงาน ต้นแบบฯ ไม่พร้อมใชใ้ นการฝกึ อบรม 9. โครงการฝกึ อบรมช่างกรีดยาง (ตามโครงการลมุ่ น้ำ� ปากพนัง ตามพระราชดำ� ริ) วตั ถุประสงค์  : เพื่อเพ่ิมแรงงานกรีดยางที่สามารถกรีดยางได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ท�ำให้เก็บเกี่ยวผลผลิต ไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ผลการดำ� เนินงาน : กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ - จ�ำนวนเกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการ (ราย) 180 217 120.56 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 : ยทุ ธศาสตรส์ นบั สนนุ นโยบายแหง่ รฐั 1. โครงการสรา้ งมูลภณั ฑก์ ันชนรักษาเสถียรภาพราคายาง วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางให้อยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสม 2. เพอื่ รวบรวมยางสรา้ งมาตรการเสริมจดั การตลาดยางให้กับสถาบนั เกษตรกรภายใตก้ ารด�ำเนนิ งาน 3. โครงการสนับสนุนเงินทนุ หมนุ เวยี นแกส่ ถาบันเกษตรกร 4. เพอ่ื พฒั นากรรมวิธีการซือ้ ขายยางในตลาดยางพาราของไทย รองรับการเป็นตลาดโลก ผลการด�ำเนินงาน : กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนินงาน - ระดับราคายางในตลาดสงู กวา่ ช้ีน�ำ (กก./บาท) 60 59.74 2. โครงการพฒั นาตลาดและแปรรปู ยางเพือ่ เพ่มิ มูลคา่ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อปฏบิ ตั ติ ามนโยบายรฐั บาลว่าด้วยการเพมิ่ ศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 2. เพื่อเพมิ่ พ้นื ท่ใี นการจดั เกบ็ ยางแผน่ รมควนั อดั กอ้ นตามโครงการรฐั บาล 4,000 ตัน 3. เพ่ือลดตน้ ทนุ ด้านคา่ ใชจ้ า่ ยในการเช่าโกดงั ผลการด�ำเนนิ งาน : กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน - พฒั นาตลาดและแปรรปู ยางเพอื่ เพิ่มมลู ค่าตาม 1 - ประกวดราคาจ้างเขียนแบบเสรจ็ สน้ิ แลว้ นโยบายรฐั บาล (โกดงั ) อยู่ระหวา่ งจดั ท�ำแบบก่อสร้างโกดัง

078 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 3. โครงการสนบั สนนุ สินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสรมิ วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อสนับสนุนสินเชื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยน�ำไปลงทุนประกอบอาชีพเสริม ดา้ นการเกษตรหรือเก่ียวเน่ืองการเกษตรเพื่อเพิม่ รายได้ ผลการด�ำเนนิ งาน : กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน รอ้ ยละ - จำ� นวนเกษตรกรทไี่ ดร้ บั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (ราย) 100,000 69,768 69.77 หมายเหตุ : โครงการสนับสนุนสินเชอื่ เกษตรกรชาวสวนยางรายยอ่ ยเพอื่ ประกอบอาชีพเสรมิ เปน็ โครงการตอ่ เน่อื งถงึ ปี 2560 โครงการตามนโยบายรฐั บาล 1. รายงานผล โครงการสร้างความเขม้ แข็งใหแ้ กเ่ กษตรกรชาวสวนยาง วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพอื่ สร้างความเขม้ แขง็ และเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของเกษตรกรชาวสวนยาง 2. เพอ่ื ช่วยเหลอื ค่าครองชีพคนกรีดยาง ผลการด�ำเนนิ งาน : ล�ำดบั กิจกรรม ครัวเรือน 1 รับแจ้งเกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการฯ 808,981 2 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ 718,622 3 ผ่านการตรวจสอบจากคณะท�ำงานตรวจสอบสทิ ธ์ิฯ ระดับตำ� บล 714,355 4 คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับอำ� เภอรับรองสิทธ ์ิ 714,281 5 คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับอ�ำเภอสง่ ขอ้ มูลให้ กยท. และธ.ก.ส. 714,266 6 ผลการจา่ ยเงินใหแ้ ก่เกษตรกรชาวสวนยางรวมท้ังสิน้ 10,461,784,875 บาท - เจา้ ของสวนยาง (ครัวเรอื น) 710,749 - คนกรีดยาง (ราย) 673,728 2. โครงการส่งเสรมิ การใชย้ างในหน่วยงานภาครัฐ วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพื่อส่งเสรมิ การใชผ้ ลติ ภณั ฑย์ างในหนว่ ยงานภาครัฐ 2. เพอ่ื ลดอปุ ทานยางพาราทเี่ ขา้ สู่ตลาด 3. เพื่อเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของผู้ประกอบการในการผลติ ผลิตภณั ฑย์ างในประเทศ 4. เพอ่ื เพม่ิ รายไดใ้ หก้ ับเกษตรกรชาวสวนยาง

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 079 ผลการด�ำเนินงาน : 2.1 ปริมาณยางทร่ี ับซอ้ื ระยะแรก ต้งั แตว่ ันที่ 25 มกราคม – 30 มีนาคม 2559 ชนิดยางท่ีรบั ซอ้ื ปรมิ าณยาง (ตนั ) มลู คา่ (ลา้ นบาท) ยางแผน่ ดิบคณุ ภาพ 3 533.97 24.03 1,561.65 64.03 ยางกอ้ นถว้ ย 33.45 น�ำ้ ยางสด 796.57 121.51 2,892.19 รวม 2.2 ระยะทีส่ อง ต้งั แต่ 1 พฤษภาคม 2559 จนถึงปัจจบุ นั ยังไมม่ กี ารรบั ซื้อเนอ่ื งจากราคายางในทอ้ งตลาดสูงกว่า ราคายางโครงการฯ ก�ำหนด การจดั เก็บคา่ ธรรมเนยี มการสง่ ออกยาง แยกตามอัตราการจัดเกบ็ ดงั น้ี 1. ยอดจดั เกบ็ คา่ ธรรมเนยี มการส่งออกยาง ต้ังแตเ่ ดือนตลุ าคม 58 - กนั ยายน 59 สามารถจดั เก็บคา่ ธรรมเนียม การส่งออกยาง ได้ 5,564,217,278.92 บาท จากปรมิ าณยางสุทธิ 3,973,392,951 กโิ ลกรมั 2. แยกตามอัตราการจดั เกบ็ - อัตรา 3 บาท ปรมิ าณยาง 1,248 กโิ ลกรมั มูลคา่ 3,744 บาท - อัตรา 2 บาท ปรมิ าณยาง 2,441,919 กโิ ลกรมั มลู คา่ 4,883,838 บาท - อัตรา 1.4 บาท ปริมาณยาง 3,970,949,784 กิโลกรัม มูลค่า 5,559,329,696.92 บาท ระบบรบั ช�ำระคา่ ธรรมเนยี มทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Cess) วัตถปุ ระสงค์ : 1. เพือ่ ให้ผูส้ ่งออกยางลดปรมิ าณการใช้เอกสาร 2. เพื่อให้ผูส้ ่งออกยางช�ำระค่าธรรมเนยี มการสง่ ออกยางได้ตลอดเวลา 3. เพอื่ ใหผ้ สู้ ง่ ออกยางลดขนั้ ตอนและระยะเวลาในการตดิ ตอ่ ประสานงานขอใบรบั เงนิ คา่ ธรรมเนยี มการสง่ ออกยาง 4. เพอ่ื ให้หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งในการน�ำเข้า-ส่งออก ใชข้ ้อมูลรว่ มกันจากการบนั ทกึ รายการครัง้ เดียว 5. เพื่อให้การจดั เกบ็ เงนิ ค่าธรรมเนยี มการส่งออกยางมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน 6. เป็นการสนองนโยบายตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2554 ภายใต้ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การปรบั ปรุงสิ่งอำ� นวยความสะดวกทางการคา้ ผลการด�ำเนินงาน : มกี ารชำ� ระคา่ ธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Cess) นับแต่วันท่ี 2 กรกฎาคม 2556 – 30 กันยายน 2559 มีผู้ใช้ระบบรับช�ำระค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ ผา่ นระบบ National single window (NSW) จำ� นวน 289 บรษิ ัท เป็นจ�ำนวนเงินทง้ั สิ้น 8,410,098,873.20 บาท โดยในปีงบประมาณ 2559 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 มีบริษัทใหม่เข้าใช้ระบบเพิ่มข้ึน 71 บรษิ ัท เปน็ จ�ำนวนเงนิ ทั้งส้ิน 5,528,327,639.80 บาท

080 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย รายงานผลการวจิ ัยประจำ� ปี 2559 ผลการวิจยั ท่สี �ำคัญในปี พ.ศ. 2559 มดี ังนี้ 1.1 พันธ์ยุ างทแ่ี นะนำ� ในพืน้ ทป่ี ลูกยางเดิม งานวิจยั ดา้ นการผลติ ยาง พนั ธ์ุยางชน้ั 1 ไดแ้ ก่ สถาบนั วิจัยยาง 226 1. การปรบั ปรงุ พนั ธย์ุ างใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม สถาบนั วิจัยยาง 251 พนั ธ์ยุ างช้ัน 2 ไดแ้ ก่ สถาบนั วิจัยยาง 403 การด�ำเนินงานโครงการปรับปรุงพันธุ์ยาง มี สถาบันวิจัยยาง 406 สถาบันวิจยั ยาง 408 สถาบันวจิ ยั วัตถุประสงค์หลัก คือ สร้างพันธุ์ยางใหม่ท่ีให้ผลผลิต ยาง 3702 สถาบันวิจยั ยาง 3801 สถาบันวจิ ยั ยาง 3802 นำ้� ยางและ/หรอื เนอื้ ไมส้ งู การเจรญิ เตบิ โตดี ตา้ นทานโรค พนั ธย์ุ างช้ัน 3 ไดแ้ ก่ สถาบนั วจิ ยั ยาง 3902 ปรบั ตวั เข้ากบั สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ได้ดี มีคุณสมบตั ขิ อง สถาบนั วจิ ยั ยาง 3903 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3904 สถาบนั วจิ ยั นำ�้ ยางทเี่ หมาะสมกบั อตุ สาหกรรมยาง และมลี กั ษณะของ ยาง 3908 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3909 IRCA 825 IRCA 871 พันธุ์ยางตรงตามความต้องการของเกษตรกร โดยใช้ข้ัน 1.2 พนั ธุย์ างทแ่ี นะน�ำในพนื้ ที่ปลกู ยางใหม่ ตอนการดำ� เนนิ งานตามวธิ กี ารปรบั ปรงุ พนั ธย์ุ างมาตรฐาน พันธ์ุยางชนั้ 1 ไดแ้ ก่ สถาบันวิจัยยาง 226 เร่มิ ต้งั แต่การผสมพันธย์ุ างตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2534 ถงึ ปี พ.ศ. สถาบนั วจิ ยั ยาง 251 สถาบนั วจิ ยั ยาง 408 ฉะเชงิ เทรา 50 2559 จากการผสมพันธุ์ยางจ�ำนวน 1,793 คู่ผสม ได้ พันธุ์ยางชั้น 2 ไดแ้ ก่ สถาบันวจิ ัยยาง 411 ตน้ ยางลกู ผสมจ�ำนวน 40,635 ตน้ น�ำตน้ ยางลกู ผสมท่ไี ด้ สถาบันวจิ ัยยาง 417 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3604 สถาบนั วิจยั ในแต่ละปีไปปลูกในแปลงคัดเลือกพันธุ์ยางเบื้องต้น ยาง 3607 สถาบันวจิ ยั ยาง 3609 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3610 พบวา่ ตน้ ยางลูกผสมที่ปลูกรอดตายจำ� นวน 29,412 ต้น สถาบนั วจิ ยั ยาง 3612 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3702 สถาบนั วจิ ยั เปดิ กรดี ได้ 27,856 ตน้ คัดเลอื กต้นยางลูกผสมไดจ้ �ำนวน ยาง 3902 สถาบนั วิจัยยาง 3904 สถาบันวจิ ัยยาง 3906 4,513 ต้น คิดเป็นร้อยละ 16.2 ของจ�ำนวนต้นกรีด พนั ธ์ยุ างชั้น 3 ไดแ้ ก่ สถาบนั วิจัยยาง 3608 ตน้ ยางลูกผสมทีค่ ดั เลือกได้ ดำ� เนินการตดั กง่ิ น�ำไปตดิ ตา สถาบนั วจิ ยั ยาง 3611 สถาบนั วจิ ยั ยาง 3613 สถาบนั วจิ ยั ขยายพนั ธใ์ุ นแปลงกงิ่ ตาและนำ� ไปตดิ ตาตน้ กลา้ นำ� ไปปลกู ยาง 3614 IRCA 825 IRCA 871 ร่วมกับพันธุ์ยางที่น�ำเข้าจากต่างประเทศในแปลง 2. การป้องกนั กำ� จัดเช้ือราโรครากขาวของยางพารา เปรียบเทียบพันธุ์ยางข้ันต้นในพ้ืนที่ต่างๆ ท้ังในภาคใต้ ศึกษาประสทิ ธภิ าพและวธิ กี ารใชแ้ ม่ปุ๋ยไนโตรเจน ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคเหนอื บางชนดิ และกำ� มะถนั ตอ่ การปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ ราโรคราก จ�ำนวน 3,509 สายพันธุ์ 42 แปลงทดลอง คัดเลือก ขาวของยางพาราในพ้ืนที่ปลูกแทนยางเก่าท่ีเป็นโรคราก สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตน้�ำยางและเน้ือไม้สูง มีลักษณะรอง ขาว สามารถส่งเสรมิ แนะนำ� ให้เกษตรกรปฏบิ ัติ ดงั น้ี อนื่ ๆ ท่ดี ี ไดจ้ ำ� นวน 188 สายพนั ธ์ุ น�ำมาขยายพนั ธุ์และ 1) การจัดการโรครากขาวโดยวิธีการผสมผสาน ตดิ ตาปลกู ในแปลงเปรยี บเทยี บพนั ธย์ุ างขนั้ ปลายในพน้ื ท่ี ตงั้ แตเ่ รม่ิ ปลกู โดยกำ� จดั ตอไมแ้ ละรากไมเ้ ดมิ รว่ มกบั การ ต่างๆ จำ� นวน 28 แปลงทดลอง ผลการทดลองทไ่ี ด้น�ำไป ใชป้ ยุ๋ แอมโมเนียมซัลเฟต อัตรา 200-300 กรมั ตอ่ ตน้ ต่อ พิจารณาร่วมกับข้อมูลในแปลงเปรียบเทียบพันธุ์ยาง ครง้ั หรอื ปยุ๋ ยเู รยี อตั รา 100-200 กรมั ตอ่ ตน้ ตอ่ ครงั้ หรอื ขน้ั ตน้ คัดเลือกได้จำ� นวน 35 สายพันธุ์ นำ� ไปจัดทำ� เป็น กำ� มะถัน อตั รา 100-200 กรมั ตอ่ ต้นต่อครั้ง ผสมกับดนิ พนั ธุย์ างแนะน�ำในค�ำแนะนำ� พนั ธยุ์ างปี พ.ศ. 2559 ดงั นี้ ปลกู และใสร่ อบลำ� ตน้ ในแนวรศั มพี มุ่ ใบยาง หลงั ปลกู ทกุ 4 เดอื น ซงึ่ ในชว่ งแรกของการปลกู ควรใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั ก�ำจดั โรครากขาวร่วมดว้ ย

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 081 • พนั ธ์ยุ าง สถาบันวิจัยยาง 3802

082 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 2) ในกรณี ไมส่ ามารถขดุ ตอเดิมออก ควรวางแถว กระจายตัวสมดุลกว่ารากของต้นยางท่ีเพาะในถุงช�ำ ยางปลูกใหม่ในระหว่างแถวยางเดิม การใส่ปุ๋ยให้ใช้ ได้ทดลองเพาะช�ำต้นกล้ายางในภาชนะเพาะช�ำพลาสติก แอมโมเนยี มซัลเฟต หรือ ปุย๋ ยเู รีย หรอื ก�ำมะถนั ตาม เปรียบเทียบกับการเพาะในถุงพลาสติกด�ำ ผลปรากฏว่า อัตราและวธิ กี ารใชข้ า้ งต้น เพ่ือป้องกนั การตดิ เชื้อควรใช้ ต้นกล้ายางที่เพาะช�ำในภาชนะเพาะช�ำพลาสติก สารเคมีปอ้ งกันกำ� จดั โรครากขาวรว่ มดว้ ย มรี ะบบรากแกว้ ทสี่ มบรู ณ์ ลกั ษณะรากแกว้ ตรง ปลายราก ไม่ม้วนงอ ทุกวัสดุเพาะช�ำสามารถสร้างระบบรากได้ดี 3) การใส่ปยุ๋ ยเู รยี หรือ ก�ำมะถันในชว่ งแรกปลกู มีปริมาณรากแขนงและรากฝอยจ�ำนวนมาก เม่ือ ควรผสมดินปลูกและพักไว้ในหลุม ก่อนปลูกต้นยาง เปรียบเทียบกับการปลูกในถุงเพาะช�ำท่ีใช้ดินเป็นวัสดุ ประมาณ 15 วนั เพอื่ ลดความเปน็ พษิ สว่ นปยุ๋ แอมโมเนยี ม ปลกู ซ่ึงเร่ิมพบการมว้ นงอของรากท่ีก้นถงุ ซัลเฟตสามารถผสมดินและปลูกได้เลย นอกจากนี้ การใช้ก�ำมะถันกับต้นยางขนาดเล็กควรระมัดระวังไม่ให้ การใช้ขุยมะพร้าวผสมดินอัตราส่วน 3:1 หรือขุย ผงกำ� มะถนั สมั ผสั โคนตน้ ในปรมิ าณมาก จะทำ� ใหโ้ คนตน้ แตก มะพร้าวผสมดนิ และมลู ววั อัตราส่วน 3:1:1 ท�ำใหต้ น้ ยาง เปลอื กเนา่ มีโครงสร้างของรากแก้วตั้งตรงมากที่สุด เมื่อท�ำการย้าย 3. การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ วัสดปุ ลกู ยาง ปลกู ต้นติดตาทีเ่ ล้ียงในภาชนะเพาะชำ� พบว่ามอี ตั ราการ รอดตายเมอ่ื ยา้ ยปลกู สงู กวา่ ตน้ ตดิ ตาทเี่ ลยี้ งในถงุ พลาสตกิ การพัฒนาภาชนะเพาะช�ำ เพ่ือควบคุมการเจริญ ในปีแรกการเจริญเติบโตของต้นยางไม่แตกต่างกัน แต่ ของรากต้นกล้ายาง โดยการเพิ่มช่องอากาศรอบภาชนะ ในปที ่ี 3 ต้นยางติดตาที่เลีย้ งในภาชนะเพาะช�ำพลาสติก เพ่ือช่วยกระตุ้นให้รากยางแตกแขนงมากขึ้น และมีการ เจรญิ เติบโตดกี วา่ ตน้ ยางท่ีเลีย้ งในถงุ พลาสติกเพาะชำ� • ตน้ กลา้ ยางท่ีเพาะช�ำในภาชนะเพาะช�ำพลาสตกิ

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 083 1. ค่าใช้จ่ายการตลาดยางในระดบั ผูส้ ง่ ออก ผา่ นดา่ นปาดงั เบซารป์ ลายทางทา่ เรอื ปนี งั มคี า่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ย ศึกษาค่าใช้จ่ายการตลาดยางในระดับผู้ส่งออก ที่สุด รองลงมาคือท่าเรือกรุงเทพ และท่าเรือแหลมฉบัง ตามล�ำดับแต่การขนส่งด้วยรถไฟผ่านท่าเรือกรุงเทพ พบวา่ ตน้ ทนุ ในการผลติ ยางแผน่ รมควนั เฉลยี่ 3.734 บาท มคี า่ ใช้จา่ ยนอ้ ยทสี่ ดุ รองลงมาคอื ทา่ เรือแหลมฉบงั และ ตอ่ กโิ ลกรมั แยกเปน็ ตน้ ทนุ คงทเี่ ฉลยี่ 1.234 บาทตอ่ กโิ ลกรมั ด่านปาดงั เบซาร์ปลายทางทา่ เรือปนี งั หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.038 และตน้ ทนุ ผนั แปรเฉลยี่ 2.50 2. ตน้ ทุนการผลิตยางของเกษตรกร บาทต่อกโิ ลกรัม หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 66.952 ส�ำหรบั ช่อง ทางหลักในการส่งออกมี 3 ช่องทาง คือ 1) ผ่านด่าน ตน้ ทนุ การผลติ ยางของเกษตรกร จากการรวบรวม ปาดังเบซาร์ปลายทางท่าเรือปีนังขนส่งด้วยรถบรรทุกมี ข้อมูลการผลิตและค่าใช้จ่ายในการผลิตยาง ได้แก่ ยาง คา่ ใชจ้ า่ ยเฉลยี่ 2.785 บาทตอ่ กโิ ลกรมั และรถไฟมคี า่ ใชจ้ า่ ย แผน่ ดบิ นำ้� ยางสด และยางกอ้ นถว้ ย ทง้ั กอ่ นและหลงั เปดิ เฉลย่ี 2.727 บาทตอ่ กโิ ลกรมั 2) ผา่ นทา่ เรอื กรงุ เทพ ขนสง่ กรดี รวมท้ังผลผลติ ยางทเี่ กษตรกรผลติ ได้ และราคายาง ด้วยรถบรรทุกมีค่าใช้จ่ายเฉล่ีย 2.817 บาทต่อกิโลกรัม ที่ขายได้ โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive และรถไฟมคี า่ ใชจ้ ่ายเฉลี่ย 2.466 บาทตอ่ กโิ ลกรัม และ sampling) คัดเลือกเกษตรกรจากค�ำแนะน�ำของผู้น�ำ 3) ผา่ นท่าเรือแหลมฉบงั ขนส่งดว้ ยรถบรรทกุ มีคา่ ใชจ้ า่ ย เกษตรกรในแต่ละพ้ืนที่ โดยแบ่งตามอายุปลูกตลอด เฉลยี่ 2.905 บาทตอ่ กโิ ลกรมั รถไฟมคี า่ ใชจ้ า่ ยเฉลยี่ 2.510 โครงการ 22 ปี และบนั ทกึ ขอ้ มลู โดยจดั ทำ� ตารางสำ� เรจ็ รปู บาทต่อกิโลกรัมและเรือชายฝั่งมีค่าใช้จ่ายเฉล่ีย 2.377 (Model) และวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนของการผลิตยาง บาทตอ่ กโิ ลกรมั และเมอ่ื เปรยี บเทยี บคา่ ใชจ้ า่ ยเฉลยี่ ในการ แต่ละชนดิ ผลการศกึ ษาสรปุ ได้ดังนี้ สง่ ออกผ่าน 3 ช่องทาง พบวา่ การขนส่งดว้ ยรถบรรทกุ รายการ ยา(งบแาผทน่ )ดิบ น�ำ้(บยาาทงส)ด ยาง(กบอ้ านทถ)ว้ น 1. ต้นทนุ ชว่ งยางยงั ไมใ่ ห้ผลผลิต 5.89 5.89 5.89 2. ต้นทุนการบ�ำรุงรักษาชว่ งยางใหผ้ ลผลิต 17.54 17.54 17.54 3. ตน้ ทุนการกรีด เก็บและแปรรูป 32.78 32.54 28.57 4. คา่ อุปกรณ์แปรรปู 3.10 0.21 0.43 5. ค่าทด่ี นิ 4.41 4.41 4.41 63.73 60.59 56.85 รวมตน้ ทนุ ตอ่ กิโลกรัม 3. ศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดต้ังตลาดกลาง หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง 505 ราย ในปี 2557-2558 ผลการ ยางพาราภาคเหนอื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดด้ า้ นเทคนคิ พบวา่ ในพนื้ ท่ี 5 จงั หวดั มีเนอ้ื ท่กี รดี ยาง 466,384 ไร่ ผลผลติ 111,163 ตัน มีกลุ่ม ศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดต้ังตลาดกลาง ที่ด�ำเนินการ 321 กลุ่ม สมาชิกกลุ่มละ 21-40 คน ยางพาราในภาคเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน โครงสร้างการผลิตยางในภาคเหนือ ส่วนใหญ่ผลิตยาง สถานการณก์ ารผลติ และการตลาด รวมทงั้ ศกั ยภาพของ ก้อนถ้วย ขายโดยวิธีประมูลโดยรัฐและเอกชน รวมยาง กลุ่มเกษตรกร โดยการเก็บข้อมูลในจังหวัดที่ปลูกยาง ที่กลุ่มแล้วนัดพ่อค้ามาประมูล หรือไม่ก็ตกลงราคา ในภาคเหนือ 5 จังหวดั จากเกษตรกร กล่มุ เกษตรกรและ

084 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย ปญั หาการขายยางของกลมุ่ มผี ซู้ อ้ื รายใหญม่ าประมลู นอ้ ย ท่ีไดร้ บั ปลี ะ 10.48 ล้านบาท ระยะเวลาคนื ทุน 5.58 ปี ผลผลิตของกลุ่มส่วนใหญ่จึงขายผ่านพ่อค้าเร่ที่เข้ามารับ อัตราผลการตอบแทนภายในโครงการ 7.58% อัตราผล ซ้ือน�ำไปขายต่อให้พ่อค้ารายใหญ่ การจัดตั้งตลาดกลาง ประโยชนต์ อ่ ตน้ ทนุ 1.02 และมลู คา่ ปจั จบุ นั สทุ ธิ 191,832 จึงมีความเปน็ ไปได้ทางดา้ นเทคนิค ควรจดั ตั้งตลาดกลาง บาท ผลการศึกษาพบว่าท่ีปริมาณยางระดับนี้มีความ ยางพาราในภาคเหนือ ศูนย์กลางรับซื้อท่ีมีศักยภาพ คุ้มค่าทางการเงิน แต่ถ้าให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนต้องใช้ พอจะเป็นตลาดกลางได้มี 2 แห่ง คือ ยางแผ่นดิบ เวลาคืนทุนนานกว่าตลาดกลางของในภาคใต้ที่น�ำมา ทจ่ี ังหวดั พษิ ณโุ ลก ยางก้อนถว้ ยทจี่ ังหวดั เชยี งราย เปรยี บเทยี บกนั ซง่ึ จะตอ้ งมยี างผา่ นตลาดปลี ะ 6,000 ตนั ความเปน็ ไปไดด้ า้ นตลาด การจดั ตลาดประมลู ยาง ความเปน็ ไปไดใ้ นดา้ นบรหิ ารจดั การสว่ นใหญ่ รอ้ ย มียางแผ่นดิบ 51 ครั้งต่อปี ยางก้อนถ้วย 43 คร้ังต่อปี ละ 36.8 ใชก้ ารยน่ื ซองประมลู ปญั หาการดำ� เนนิ งานของ เปรียบเทยี บกบั ปริมาณยางท่ีคาดหวงั ปีละ 1,519-7,055 กลุ่มส่วนใหญ่ขาดแคลนอุปกรณ์การตลาด ถูกพ่อค้ากด ตนั กบั ปรมิ าณยางทซี่ อื้ ขายผา่ นแตล่ ะกลมุ่ เกษตรกรปลี ะ ราคา ศักยภาพของเกษตรกรในพื้นท่ีขาดการฝึกอบรม 620-3,000 ตัน สรุปว่าการจัดตั้งตลาดกลางภาคเหนือ ตลาด ขาดเครอ่ื งมอื และโรงเกบ็ ยางรอประมลู รปู แบบซอ้ื มีความเป็นไปได้ทางเทคนิค การตลาด การเงิน และ ขายยังไม่เหมาะสม ข้อเสนอแนะรัฐควรจัดท�ำโครงการ บริหารจัดการ น�ำร่องจัดตั้งเป็นตลาดกลาง 2 รูปแบบ คือ ในจังหวัด พษิ ณโุ ลกตลาดยางแผน่ ดบิ รปู แบบเดยี วกบั ตลาดกลางใน ความเป็นไปได้ด้านการเงิน ค�ำนวณจากปริมาณ ภาคใต้ ในจังหวัดเชยี งรายควรจดั ตัง้ ตลาดกลางยางกอ้ น ยางที่เข้าสู่ตลาดของกลุ่มที่ด�ำเนินการปีละ 620-3,000 ถว้ ย โดยยดึ รปู แบบการประมลู ลว่ งหนา้ โดยตลาดนำ� รอ่ ง ตัน ค่าด�ำเนินการของกลุ่มเก็บจากผู้ขาย 0.50 บาท/ ต้องมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและมีหน่วยงานรับรอง กโิ ลกรมั มลู คา่ ลงทนุ จดั ตงั้ ตลาดเปน็ ตน้ ทนุ คงทปี่ ลี ะ 1.54 คณุ ภาพในพืน้ ทท่ี ที่ กุ ฝา่ ยยอมรบั ลา้ นบาท ตน้ ทนุ ผนั แปรปลี ะ 8.74 ลา้ นบาท ผลประโยชน์

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 085 การพัฒนาโรงรมควันยางพาราแบบประหยัดพลังงาน มีต้นทุนพลังงานเชื้อเพลิงซึ่งเป็นค่าไฟฟ้าและไม้ฟืนรวม และรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม กนั เทา่ กับ 1.06 บาท สว่ นเตาเผาโครงเหลก็ แนวนอน ใช้ หลกั การไหลของอากาศรอ้ นโดยธรรมชาติผสมกบั การใช้ มอเตอร์ขับเคลื่อนอากาศร้อนเข้าห้องรมควัน มีต้นทุน ศกึ ษาการเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการรมควนั โดยนำ� พลงั งานเชอื้ เพลงิ ซงึ่ เปน็ คา่ ไฟฟา้ และไมฟ้ นื รวมกนั เทา่ กบั ความรอ้ นทปี่ ลอ่ ยทงิ้ จากทอ่ ระบายควนั หมนุ เวยี นกลบั มา 0.81 บาท แสดงวา่ การสรา้ งโรงรมควนั ทม่ี คี วามจขุ องยาง ใช้ใหม่ เป็นการลดปริมาณการเผาไหม้เชื้อเพลิงและลด ขนาด 1-2 ตัน โดยสร้างเตาเผาแบบอุโมงค์จะประหยัด มลภาวะจากควันที่กระจายไปในอากาศ โดยการเปรียบ พลงั งานมากกวา่ การกอ่ สรา้ งไม่ยุง่ ยาก สามารถควบคุม เทียบระหว่างเตาเผาแบบอุโมงค์กับเตาเผาโครงเหล็กทั้ง อณุ หภมู ไิ ดง้ า่ ย ไดย้ างคณุ ภาพดี สว่ นเตาเผาโครงเหลก็ มี ตวั เตาอย่ใู นแนวนอนและแนวตง้ั และใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ใน ค่าก่อสร้างสูง มีปัญหาในการบ�ำรุงรักษาต้องท�ำความ การขบั เคลอ่ื นอากาศรอ้ นเขา้ ห้องรมควัน สะอาดชดุ ดกั สะเกด็ ไฟ ดกั เขมา่ ควนั เปน็ ระยะ ๆ และตอ้ ง จากการค�ำนวณพลังงานที่ใช้ต่อการผลิตยาง 1 อุ่นเตาให้แห้งไม่เช่นนั้นจะเกิดสนิม หากเร่งอุณหภูมิให้ กิโลกรัม พบวา่ เตาเผาแบบอุโมงค์ มตี ้นทุนพลังงานเช้อื ยางสกุ เรว็ ภายในระยะเวลา 2 วนั จะสง่ ผลใหย้ างเกดิ ฟอง เพลงิ 0.63 บาท ขณะทเี่ ตาเผาโครงเหลก็ แนวตั้ง ซึง่ ตอ้ ง อากาศ ไมส่ ามารถจัดเปน็ ยางแผน่ รมควนั คุณภาพดีได้ ใชม้ อเตอร์ 2 ชดุ ในการขบั เคลอ่ื นอากาศรอ้ นและดดู กลบั • โรงรมควนั ยางพาราแบบประหยดั พลังงานและรักษาสิง่ แวดล้อม



สภาพธุรกิจและแผนงานทางธุรกิจ ของการยางแห่งประเทศไทย

088 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย สภาพธรุ กิจและแผนงานทางธุรกจิ ของ การยางแหง่ ประเทศไทย ดา้ นภาคการผลติ สภาพภาคการผลิตของการยางแห่งประเทศไทย การยางแหง่ ประเทศไทย มฝี า่ ยสวนทง้ั หมด 3 สวน ด้านคุณภาพต้นยาง เน่ืองจากต้นยางในส่วนของ ได้แก่ ฝ่ายสวน 1-3 มีพื้นท่ีรวมทั้งหมด 41,800 ไร่ สวนยางกรีดได้ จ�ำนวน 27,812 ไร่ เป็นต้นยางกรีดได้ ฝา่ ยสวนนน้ั มอี ายมุ ากสง่ ผลใหผ้ ลผลติ ลดลงและเกนิ อายุ 628,313 ตน้ ปรมิ าณผลผลติ 5,272 ตนั สวนปาลม์ นำ้� มนั ท่ีจะเก็บเก่ียว ท�ำให้ผลผลิตท่ีได้รับต่อไร่น้อยลงกว่า ที่ให้ผลผลิต จ�ำนวน 452 ไร่ ปรมิ าณผลผลติ 724.30 ตัน มาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้ จึงส่งผลกระทบต่อกระบวนการ แปลงขยายพันธุ์ยาง จ�ำนวน 315 ไร่ ปริมาณผลผลิต แปรรูป แต่ยังคงมีฝ่ายสวนท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 1,372,453 ต้น ดังนี้ พันธุ์ยาง RRIM 600 จ�ำนวน ในการผลติ เช่น ฝา่ ยสวน 2 ที่มผี ลผลติ เปน็ ไปตามเกณฑ์ 1,063,050 ต้น RRIT 251 จำ� นวน 27,509 ตน้ BPM 24 จ�ำนวน 101,313 ต้น RRIT 901 จ�ำนวน 16,760 ตน้ PB ในส่วนของผลผลิตปาล์มน้�ำมันและสายพันธุ์ 5/51 จ�ำนวน 163,821 ตน้ ต้นยางพาราน้ัน สภาพธุรกิจไม่สมบูรณ์เนื่องจากขาด การด�ำเนินการดา้ นการตลาดอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ดา้ นโรงงานแปรรูป การยางแห่งประเทศไทย มีโรงงานท้ังหมด 6 โรงงาน ไดแ้ ก่ กองการโรงงาน 1 – 6 โดยมผี ลการด�ำเนนิ งานท้งั หมด ดงั นี้ ผลิตภณั ฑ์ เป้าหมาย (ตนั ) ผลการด�ำเนินงาน (ตัน) ร้อยละ ยางเครปขาว 200 30.43 15.22 ยางแทง่ STR5L 4,000 2,022.50 50.56 ยางแทง่ STR20 21,435 5,562.48 25.95 นำ�้ ยางขน้ ยางแทง่ สกมิ 10,000 5,545.93 55.46 รวม 900 409.41 45.49 36,535 13,570.75 7.14 สภาพด้านการแปรรูปของกองการโรงงาน ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสูงกว่า กองการโรงงานไม่สามารถด�ำเนินการได้เป็นไป เอกชน ตามแผน เนื่องจากวัตถดุ บิ ในการผลิตมไี ม่เพียงพอ ด้วย ในส่วนด้านการตลาด สภาวะราคายาง ราคารบั ซอื้ หนา้ โรงงานไมเ่ ปน็ ทจ่ี งู ใจสำ� หรบั เกษตรกรและ โดยทวั่ ไปนน้ั ยางมีการปรับตัวข้ึนและลดลงอย่างรุนแรง ผู้ค้ารายย่อย โรงงานบางแห่งมีการใช้งานมานาน ในปีงบประมาณ 2559 ท�ำใหผ้ ลประกอบการด้านธรุ กจิ เครอ่ื งจกั รทรดุ โทรม ขาดการบำ� รงุ รกั ษา ขาดงบประมาณ เกิดสภาวะการขาดทุน และยังขาดการวางแผนในด้าน ในการซ่อมแซม รวมทั้งขาดนวัตกรรมในการผลิต การตลาดอย่างครอบคลุม

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 089 การดำ� เนนิ การจดั ตั้งหน่วยธุรกิจ (Business Unit) ในการประชุมของคณะกรรมการการยางแห่ง มมี ตเิ หน็ ชอบใหม้ กี ารจดั ตง้ั หนว่ ยธรุ กจิ (Business ประเทศไทย ครงั้ ท่ี 13/2559 เมอ่ื วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2559 Unit) ของการยางแห่งประเทศไทยข้ึน เนื่องจาก ณ การยางแห่งประเทศไทย นน้ั มีความเห็นว่าการยางแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงาน ท่ีต้องพึ่งตนเองมากข้ึน จึงควรจัดต้ังหน่วยธุรกิจและ ทำ� แผนทางธรุ กจิ เพอ่ื บรหิ ารจดั การองคก์ รใหม้ กี ารพฒั นา อยา่ งยงั่ ยืน



สารสนเทศ เกี่ยวกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

092 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย สารสนเทศเกีย่ วกบั ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การยางแห่งประเทศไทย ได้พัฒนาระบบ การยางแห่งประเทศไทย มีระบบเว็บไซต์ ระบบ สารสนเทศขน้ึ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้ บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการส่ือสาร สว่ นเสยี ทง้ั ภายนอกองคก์ รและภายในองคก์ รไมว่ า่ จะเปน็ ในภาครัฐ (MailGoThai Service) ระบบบริการข้อมูล ดา้ นการส่อื สาร การลดขั้นตอน การอำ� นวยความสะดวก ส�ำหรับเกษตรกรชาวสวนยางและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง การ Share ข้อมูล การบรกิ ารแบบ online การบรกิ าร ภายนอก ระบบรายงานความเคลื่อนไหวโครงการสร้าง ร่วมกันท่ีจุดเดียวและการตอบสนองนโยบายต่างๆ ความเขม้ แขง็ ใหแ้ กเ่ กษตรกรชาวสวนยาง (SFS) และ SMS ในปีงบประมาณ 2559 การยางแห่งประเทศไทย มาช่วยในการสื่อสารกับหน่วยงานภายนอกองค์กร มรี ะบบสารสนเทศตอบสนองความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้ ท้ังในส่วนของเกษตรกรชาวสวนยาง ผู้ประกอบการ สว่ นเสยี ทัง้ ภายนอกองค์กรและภายในองค์กรดงั น้ี เกย่ี วกับยางพารา ประชาชนทว่ั ไปและหน่วยงานภาครัฐ 1. ระบบสารสนเทศท่ีตอบสนองต่อความต้องการของ ต่างๆ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กร รวมถงึ นโยบาย ต่างๆ ของรัฐบาล 1.1.3 ระบบสารสนเทศทีเ่ ปน็ One Stop Service ท้ังในการให้บริการต่าง ๆ ของรัฐวิสาหกิจ 1.1 ระบบสารสนเทศท่ีช่วยในการลดข้ันตอน ที่จุดเดียว และ/หรือ การร่วมกับหน่วยงานอ่ืน และการอำ� นวยความสะดวกแกผ่ รู้ บั บริการ/ผูม้ สี ่วนได้ เพอื่ ให้บริการร่วมกนั ท่จี ุดเดียว ส่วนเสยี ภายนอกองค์กร และประชาชน การยางแห่งประเทศไทย มีระบบรับช�ำระ 1.1.1 ระบบสารสนเทศท่ีช่วยในการลด ค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ NSW ระยะเวลาในการให้บริการ/การอนุมัติ/การอนุญาต (e-Cess) เป็นระบบ One Stop Service ซึ่งสามารถ แก่ผ้ใู ช้บริการภายนอกองค์กร ช่วยสนับสนุนภารกิจด้านการรับช�ำระค่าธรรมเนียม การสง่ ยางออกของ กยท. ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การยางแห่งประเทศไทย มีระบบรับช�ำระ ค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ NSW 1.1.4 ระบบสารสนเทศที่สามารถ Share (e-Cess) ระบบรับค�ำขอและอนุมัติการปลูกแทน ข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องภายนอกองค์กร (ระบบ A) ระบบตรวจสวนและติดตามสวนปลูกแทน ได้ โดยหน่วยงานที่มีข้อมูลจะต้องหารือร่วมกัน (ระบบ F) ระบบบัญชีสวนปลูกแทนรายตัว (ระบบ R) เพื่อ Share ข้อมูลในลักษณะของการเข้าสู่ข้อมูล ระบบสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ของหนว่ ยงานอน่ื โดยมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ท่ีดี (SFS)X ระบบการซ้ือยางโครงการส่งเสริมการใช้ยาง เพ่ือป้องกันผทู้ ่ีไมม่ ีสทิ ธใิ์ ช้ขอ้ มลู ในหน่วยงานภาครัฐ (คสร.) ท่ีช่วยในการลดระยะเวลา ในการให้บริการ/การอนุมัติ/การอนุญาตแก่ผู้ใช้บริการ การยางแห่งประเทศไทย มีระบบรับช�ำระ ภายนอกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ เกษตรกร ค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ NSW สวนยาง คนกรีดยาง ธนาคาร กรมศุลกากร กรมส่งเสริม (e-Cess) ท่ีมีการ Share ข้อมูลใบอนุญาต (ใบรับ การเกษตรและกรมการปกครอง ซ่ึงระบบสารสนเทศ ค่าธรรมเนียม) กับระบบการออกใบอนุญาตแบบ ดงั กลา่ วมคี วามพอเพยี งกบั ความตอ้ งการในการดำ� เนนิ งาน อิเล็กทรอนิกส์ (e-Licensing) ของกรมศุลกากร ของการยางแห่งประเทศไทย ผ่านระบบ National Single Window เพื่อใช้ใน การตรวจสอบความถูกต้อง และมีระบบรับส่งข้อมูล 1.1.2 ระบบสารสนเทศที่ช่วยเพิ่มความ การโอนเงินโครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกร สะดวกในการให้บริการ เช่น การน�ำระบบสารสนเทศ ชาวสวนยาง (SFS) เปน็ ระบบสำ� หรบั รบั -สง่ ขอ้ มลู การโอน เข้ามาช่วยการสื่อสารภายนอกองค์กร การติดต่อกับ เงินระหว่าง การยางแห่งประเทศไทยและธนาคาร รฐั วสิ าหกจิ ไดห้ ลายชอ่ งทาง หรอื การใหบ้ รกิ าร Online เพ่อื การเกษตรและสหกรณ์

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 093 1.2 ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการด�ำเนินการ ประกอบดว้ ย ระบบเงนิ สด สนบั สนนุ งานทางดา้ นการเงนิ หรือแผนงานเพื่อสนับสนุนนโยบายต่างๆ ท่ีจ�ำเป็น ระบบลกู หนพ้ี นกั งาน เพอ่ื คอยควบคมุ จดั การเรอื่ งเกย่ี วกบั จะตอ้ งน�ำระบบสารสนเทศเขา้ มาชว่ ย รายได้และรายจ่ายของพนักงาน ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุนงานรับ-ส่งหนังสือขององค์กร การยางแห่งประเทศไทย มีระบบสารสนเทศ ระบบ GIS (สารสนเทศทางภมู ศิ าสตร)์ สนบั สนนุ การนำ� พกิ ดั ที่ช่วยในการด�ำเนินการหรือแผนงานเพ่ือสนับสนุน สวนยางเขา้ มาเกบ็ ไวใ้ นระบบ เพอื่ สง่ ตอ่ ใหร้ ะบบรบั คำ� ขอ นโยบายตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย ระบบทสี่ นบั สนนุ การปดิ บญั ชี และอนุมัติการปลูกแทน ระบบรับค�ำขอและอนุมัติ รายไตรมาส รายปี ระบบท่ีสนับสนุนโครงการ การปลกู แทน (ระบบ A) สนับสนุน การบรกิ ารรับคำ� ขอ สร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางปี 58/59 และอนุมตั ิการปลกู แทนให้แกเ่ กษตรกร ระบบตรวจสวน เพ่ืออนุมัติการจ่ายเงินให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง และตดิ ตามสวนปลูกแทน (ระบบ F) สนับสนุนให้บรกิ าร ท�ำตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ติดตามตรวจสวนปลูกแทนให้ค�ำแนะน�ำการท�ำสวนยาง ระบบที่สนับสนุน e-Auction และระบบที่สนับสนุน หรอื พชื ทางเศรษฐกจิ อน่ื ระบบบญั ชสี วนปลกู แทนรายตวั การเก็บข้อมูลการจราจรทางคอมพิวเตอร์ ตาม พ.ร.บ. (ระบบ R)/เป็นระบบงานที่ช่วยสนับสนุนการท�ำงาน วา่ ด้วยการกระท�ำผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรป์ ี 2550 ด้านการจ่ายเงิน/จ่ายวัสดุให้แก่เจ้าของสวนปลูกแทน ร ะ บ บ ง า น ส า ร ส น เ ท ศ ท่ี ส นั บ ส นุ น โ ค ร ง ก า ร ส ร ้ า ง 1.3 การเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ ความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางปี 58/59 อยา่ งเหมาะสม เพ่ืออนุมัติการจ่ายเงินให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ท�ำตามมติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 3 พฤศจิกายน 2558 เว็บไซต์การยางแห่งประเทศไทยมีการเปิดเผย ระบบโครงการส่งเสริมการใช้ยางในหน่วยงานภาครัฐ ข้อมูลตามประเด็นพิจารณาในเอกสารการประเมิน สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการใช้ การบริหารจัดการสารสนเทศประจ�ำปีบัญชี 2559 ดังน้ี ผลิตภัณฑ์ยางในหน่วยงานภาครัฐ ระบบรับช�ำระ ประวัติ ภารกิจ โครงสร้าง ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศัพท์ e-mail ค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ National ข่าวท่ัวไป ข่าวของหน่วยงาน ภาษาเพ่ือเลือกแสดงผล Single Window (ระบบ e-Cess) ช่วยอ�ำนวย มากกว่า 1 ภาษา link ทั่วไป และ link ท่ีเก่ียวข้อง ความสะดวก ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการช�ำระ ข้อมลู กฎระเบียบ ขนั้ ตอนบริการ แบบฟอร์มดาวนโ์ หลด คา่ ธรรมเนยี มการสง่ ยางออก (Cess, เดมิ : เงนิ สงเคราะห)์ ค�ำแนะน�ำเว็บไซต์ หรือ ผังเว็บไซต์ การเปิดเผย ให้แก่ผู้ประกอบการส่งยางออกนอกราชอาณาจักร รายงานประจ�ำปี การเปิดเผยข้อมูลด้านการเงินรายปี/ ระบบการบริหารความเสี่ยงสนับสนุนการด�ำเนินงาน รายไตรมาส การเปิดเผยข้อมูลด้านผลการด�ำเนินงาน ด้านการบริหารความเส่ียง (Operation) 2. ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการ 2.1.2 ระบบสารสนเทศท่ีช่วยเพิ่ม ของผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียภายในองคก์ ร ความสะดวกในการให้บริการ เช่น การน�ำระบบ สารสนเทศเข้ามาช่วยการส่ือสารภายในองค์กร 2.1 การลดขน้ั ตอนและการอำ� นวยความสะดวก การติดต่อระหว่างหน่วยงานภายในรัฐวิสาหกิจ แกพ่ นักงานและผรู้ บั บรกิ ารภายในองคก์ ร ไดห้ ลายชอ่ งทาง หรอื การใหบ้ ริการ Online 2.1.1 การลดระยะเวลาในการให้บริการ/ การยางแหง่ ประเทศไทย มรี ะบบสารสนเทศ การอนมุ ัต/ิ การอนญุ าต แก่ผ้ใู ช้บรกิ ารภายในองคก์ ร ที่เพ่ิมความสะดวกในการให้บริการ การติดต่อระหว่าง หน่วยงานภายใน ประกอบด้วย ระบบสารบรรณ ก า ร ย า ง แ ห ่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย   มี ร ะ บ บ สารสนเทศท่ีช่วยลดระยะเวลาในการให้บริการ/ การอนุมัติ/การอนุญาต แก่ผู้ใช้บริการภายในองค์กร

094 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย อิเล็กทรอนิกส์ ระบบอินทราเน็ต ระบบ E-mail ระบบ การยางแห่งประเทศไทย มีระบบสารสนเทศ Web streaming ระบบ Web Conferences ระบบ Back Office ทสี่ ามารถ Share ขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานอน่ื โทรศัพท์ VoIP ภายในองค์กร ประกอบด้วย ระบบงานการเงินและบัญชี มี ก า ร   S h a r e   ข ้ อ มู ล ภ า ย ใ น ฝ ่ า ย ก า ร เ งิ น แ ล ะ บั ญ ชี 2.2 การน�ำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อลดต้นทนุ ก า ร   S h a r e   ข ้ อ มู ล ภ า ย ใ น ร ะ ห ว ่ า ง ร ะ บ บ เ งิ น ส ด กั บ การผลติ หรอื ตน้ ทนุ การใหบ้ รกิ ารขององคก์ ร และ/หรอื ระบบ MIS การ  Share  ข้อมูลภายในระหว่าง มคี วามคมุ้ คา่ ในการด�ำเนนิ งาน ระบบบัญชีบริหารกับระบบ Project management ระบบงานบุคลากร มีการ Share ข้อมูลภายในระหว่าง การยางแห่งประเทศไทย มีโครงการจัดหาเพื่อ ระบบบคุ ลากรกบั ระบบการเงนิ และบญั ชี ระบบสารบรรณ ทดแทนเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่หมดสภาพ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบลูกหน้ีพนักงาน ระบบบริหาร (สำ� หรบั งาน office) ตามแผนแมบ่ ทเทคโนโลยสี ารสนเทศ โครงการ และระบบความเสี่ยงและควบคุมภายใน ปี 2557 – 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทดแทน ระบบขึ้นทะเบียนเกษตรกรมีการ Share ข้อมูลภายใน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่ีช�ำรุด เพ่ือให้มีเคร่ือง ระหวา่ งระบบโครงการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหแ้ กเ่ กษตรกร คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่มีความทันสมัยต่อเทคโนโลยี ชาวสวนยาง ในปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพสูงเพียงพอต่อการใช้งาน ของบุคลากรในองค์กร และได้มีการประเมินความคุ้มค่า 2.4 การน�ำระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนให้ ของโครงการดังกล่าว ผลท่ีได้พบว่า โครงการจัดหาเพ่ือ เป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ (Learning Organization) ทดแทนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่หมดสภาพ (ส�ำหรับงาน Office) มีความคุ้มค่าเหมาะสมที่จะลงทุน การยางแหง่ ประเทศไทย มีระบบสารสนเทศ และน�ำมาใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน และการให้บริการ เพื่อสนับสนุนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning ประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ Organization) ใน 2 ส่วนคือ ระบบสารสนเทศเพ่ือ สนับสนุนการถ่ายโอนองค์ความรู้ของการยางแห่ง 2.3 ระบบสารสนเทศ Back Office ท่ีสามารถ ประเทศไทย (ระบบอินทราเน็ต Intranet) และระบบ Share ข้อมูลระหว่างหน่วยงานอ่ืนภายในองค์กรได้ สารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การเรยี นรผู้ า่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยทต่ี า่ งฝา่ ยทม่ี ขี อ้ มลู จะตอ้ งหารอื รว่ มกนั เพอ่ื Share (ระบบการศึกษาผ่านสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ E-Learning) ข้อมูลในลักษณะของการเข้าสู่ข้อมลู ของหน่วยงานอนื่ ภายในองค์กร โดยมรี ะบบรกั ษาความปลอดภัยท่ดี ีเพอ่ื ป้องกนั ผทู้ ่ไี ม่มีสิทธิ์ใช้ข้อมลู

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 095



รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การยางแห่งประเทศไทย

098 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทย ประจำ� ปีงบประมาณ 2559 คณะกรรมการตรวจสอบการยางแห่งประเทศไทย ประกอบดว้ ยกรรมการอิสระ 4 ทา่ น ซง่ึ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้และประสบการณ์ด้านการเงินและบัญชี บริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ การเกษตรและสหกรณ์ และได้รับแต่งตั้ง จากคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ตามคำ� สงั่ ท ี่ 7/2559 สัง่ ณ วันที่ 22 มกราคม 2559 ประกอบดว้ ย 1) นางสาวลดาวัลย์ ค�ำภา ประธานกรรมการ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต ิ 2) นายปณธิ าน จินดาภ ู กรรมการ รองปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม หวั หนา้ กลมุ่ ภารกิจดา้ นส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมและผปู้ ระกอบการ 3) นายเสนยี ์ จติ ตเกษม กรรมการ กรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 4) นายธนวรรธน ์ พลวชิ ยั กรรมการ กรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 5) ผอู้ �ำนวยการสำ� นักตรวจสอบภายใน เลขานกุ าร การยางแห่งประเทศไทย อ�ำนาจหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบฯ มอี ำ� นาจหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ ขอบเขตการปฏบิ ตั งิ านตามกฎบตั รของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยคณะกรรมการตรวจสอบและหนว่ ยตรวจสอบภายในของรฐั วสิ าหกิจ พ.ศ. 2555 และคู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ ฉบับปรับปรุง ปี 2555 ของ สำ� นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลงั โดยคณะกรรมการตรวจสอบฯ ต้องรายงานผล การดำ� เนนิ งานเกย่ี วกบั การตรวจสอบรายไตรมาสและรายงานประจำ� ปเี สนอตอ่ คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ คณะกรรมการตรวจสอบการยางแห่งประเทศไทย มีการประชุมร่วมกันรวม 7 คร้ัง โดยมีผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมในวาระท่ีเกี่ยวข้องด้วยทุกคร้ัง ในการปฏิบัติงานคณะกรรมการ ตรวจสอบฯ ไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะจากการสอบทานการตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั ของ กยท. ตลอดจนผลการปฏบิ ตั ิ งานตรวจสอบของสำ� นกั ตรวจสอบภายในอยา่ งเปน็ อสิ ระและเทยี่ งธรรม เพอื่ เพมิ่ มลู คา่ และปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ งานของ การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการ ตรวจสอบฯ ได้ดำ� เนินการตามบทบาทความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบฯ สรุปสาระส�ำคัญ ดงั น้ี 1. การสอบทานรายงานการเงิน ได้สอบทานความน่าเช่ือถือของรายงานทางการเงิน เพ่ือให้มั่นใจได้ว่า การจดั ท�ำรายงานการเงินของ กยท. ได้จดั ทำ� ขึ้นอย่างถูกต้องตามท่คี วรในสาระสำ� คัญตามหลักการบญั ชที ีร่ บั รองท่ัวไป มีการเปดิ เผยขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอ ครบถว้ นและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้ใช้งบการเงนิ 2. การสอบทานกระบวนการการควบคมุ ภายใน การบรหิ ารความเสยี่ ง และการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี ดงั นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook