Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual_Report_2016

Annual_Report_2016

Published by gooooogels, 2019-06-06 02:53:24

Description: Annual_Report_2016

Search

Read the Text Version

การยางแห่งประเทศไทย รายงานประจ�ำปี Annual Report 2559 • 2016 Rubber Authority of Thailand

กยท.

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอนอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหม่อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ หาท่ีสดุ มไิ ด้ ขา้ พระพุทธเจ้า คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ผู้บรหิ ารและพนกั งาน การยางแหง่ ประเทศไทย

Annual Report 2016

สารบัญ การยางแห่งประเทศไทย 004-005 ความเปน็ มาการยางแหง่ ประเทศไทย 006-007 โครงสร้างการบรหิ ารงานของ 008 โครงสร้างการด�ำเนนิ งาน 069 การยางแหง่ ประเทศไทย ด้านการแสดงความรับผดิ ชอบต่อสังคม อตั ราก�ำลงั พนักงานและลูกจา้ ง 009 รายงานผลการดำ� เนนิ งานทสี่ ำ� คญั ประจำ� ปี 2559 070-071 การยางแหง่ ประเทศไทย รายงานผลการดำ� เนนิ งานที่สำ� คัญประจำ� ปี 2559 072-079 คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย 010-011 และคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ รายงานผลการวจิ ยั ประจ�ำปี 2559 080-085 รายชอื่ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย 012 สภาพธรุ กจิ และแผนงานทางธุรกจิ 086-087 ของการยางแหง่ ประเทศไทย คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 014-026 (1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) สภาพธรุ กิจและแผนงานทางธรุ กจิ 088-089 ของการยางแห่งประเทศไทย นโยบายการกำ� หนดคา่ ตอบแทน 027 สารสนเทศเกี่ยวกบั ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี 090-091 ตารางสรุปการเข้าประชมุ /เบี้ยประชมุ 028 คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย สารสนเทศเกีย่ วกบั ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย 092-095 ตารางสรปุ การเข้าประชุม/เบีย้ ประชมุ 029 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 096-097 และคา่ ตอบแทนของคณะกรรมการ การยางแห่งประเทศไทย การยางแหง่ ประเทศไทยเปน็ รายบคุ คล รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 098-101 การยางแหง่ ประเทศไทย ตารางสรุปการเขา้ ประชุม/ 030-039 เบย้ี ประชมุ คณะอนกุ รรมการชดุ ต่างๆ รายงานทางการเงิน 102-103 นโยบายและโครงสรา้ งการก�ำกับดูแล 040-041 งบแสดงฐานะการเงิน 104-105 กิจการทด่ี ี (CG) และนโยบายและโครงสรา้ ง การแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (CSR) งบกำ� ไรขาดทุนเบด็ เสร็จ 106-107 นโยบายและโครงสรา้ งการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี (CG) 042-054 งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสว่ นของทนุ 108 โครงสร้างการกำ� กบั ดแู ลกิจการทีด่ ี 055 งบกระแสเงินสด 109-110 ของการยางแห่งประเทศไทย หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล 111-123 นโยบายและโครงสร้าง 056-068 งบแสดงฐานะการเงนิ แยกตามกองทุน 124-126 การแสดงความรับผิดชอบต่อสงั คม (CSR) งบก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสร็จแยกตามกองทนุ 127-128 สถานทตี่ ดิ ตอ่ การยางแหง่ ประเทศไทยทว่ั ประเทศ 130-131 สถานทีต่ ดิ ตอ่ การยางแห่งประเทศไทยทั่วประเทศ 132-144



การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)

006 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand) ความเป็นมา คา่ นยิ มองค์กร การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) เกิดจากการ REST = (ความสงบรม่ เยน็ /รม่ ยาง) เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของ เกษตรกรชาวสวนยาง สถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง รวม 3 หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์ และผ้ปู ระกอบกจิ การยางพารา การท�ำสวนยาง องค์การสวนยาง และสถาบันวิจัยยาง R = Responsibility รับผิดชอบ โดยมพี ระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 E = Ethical มีจรยิ ธรรม ไดป้ ระกาศลงในราชกจิ จานเุ บกษา ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม S = Service น�ำบรกิ าร 2558 และมีผลบังคับใช้ในวันท่ี 15 กรกฎาคม 2558 T = Trust ดำ� เนนิ งานดว้ ย มีวัตถุประสงค์ให้การยางแห่งประเทศไทย เป็นองค์กร ความน่าเช่อื ถือ กลางรับผิดชอบดูแลการบริหารจัดการยางพาราของ ประเทศทั้งระบบอย่างครบวงจร บริหารจัดการเกี่ยวกับ พนั ธกิจ เงินของกองทุน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศเป็น 1) บริหารจัดการเก่ียวกับเงินของกองทุน ศูนย์กลางอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางพารา โดยจัดให้มี การศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั พฒั นา เผยแพรข่ อ้ มลู สารสนเทศ ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศ เกี่ยวกับยางพารา และด�ำเนินการให้ระดับราคายาง เป็นศูนย์กลางการผลิตและอุตสาหกรรม มเี สถียรภาพ รวมทั้งส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้มีการปลูกแทน ผลิตภณั ฑ์ยางพารา และการปลูกใหม่ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ชาวสวนยาง สถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง ผู้ประกอบ 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการศึกษา วิเคราะห์ กิจการยางด้านวิชาการ การเงิน การผลิต การแปรรูป วิจัย พัฒนา และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบธุรกิจ และ เกี่ยวกับยางพารา การด�ำเนินการอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับรายได้ และคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน บริหารงานโดยคณะกรรมการ 3) ส่งเสริม สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือ การยางแห่งประเทศไทย มีผู้ว่าการการยางแห่ง เกษตรกรชาวสวนยาง เพ่ือยกระดับรายได้ ประเทศไทย รวมทงั้ คณุ ภาพชวี ติ และเพม่ิ ขดี ความสามารถ วสิ ยั ทัศน์ ในการแข่งขันให้แก่สถาบันเกษตรกรชาว สวนยางและผู้ประกอบกิจการยาง เป็นองค์กรน�ำด้านการบริหารกิจการยางพารา ทั้งระบบ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร 4) สร้างกลไกในการรักษาเสถียรภาพราคา ชาวสวนยาง และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ยางพารา ของผปู้ ระกอบกจิ การยาง 5) ด�ำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการ ปลูกแทนและการปลกู ใหม่ 6) ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยางพารา และสร้าง ความเช่ือมั่นในผลิตภัณฑ์ยางของไทยใน ตลาดโลก

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 007 วัตถปุ ระสงค์ 3) ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือ 1) เป็นองค์กรกลางรับผิดชอบดูแลการบริหาร เกษตรกรชาวสวนยาง สถาบันเกษตรกร จัดการยางพาราของประเทศท้ังระบบอย่าง ชาวสวนยาง และผู้ประกอบกิจการยาง ครบวงจร บริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน ด้านวิชาการ การเงิน การผลิต การแปรรูป ของกองทุน ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุน การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบ ให้ประเทศเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม ธุรกิจและการด�ำเนินการที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ผลติ ภณั ฑย์ างพารา ยกระดบั รายไดแ้ ละคณุ ภาพชีวติ ใหด้ ขี นึ้ 2) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการศึกษา 4) ดำ� เนนิ การใหร้ ะดบั ราคายางพารามเี สถยี รภาพ วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และเผยแพร่ข้อมูล 5) ดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารปลกู และสารสนเทศเกี่ยวกบั ยางพารา แทนและการปลูกใหม่

โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย 008 รายงานประจ�ำาปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย โครงสรางการบรหิ ารงานของการยางแหง ประเทศไทย คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย (คกก.กยท.) คณะอนกุ รรมการ/อน่ื ๆ บรษิ ัทจํากัด และ บริษัทจํากัด(มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทรวมทนุ สาํ นกั ตรวจสอบภายใน BU ผูว าการการยางแหง ประเทศไทย ภาคเหนือ •กองตรวจสอบกระบวนการหลกั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน •กองตรวจสอบกระบวนการสนบั สนนุ รองผูวาการดา นบรหิ าร รองผวู าการดา นอุตสาหกรรมยางและการผลิตยาง รองผูว าการดานธุรกจิ และปฏบิ ัตกิ าร ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลาง •กองตรวจสอบหนวยงานในสว นกลาง •กองพัฒนาและสนับสนนุ งานตรวจสอบ ภาคกลางและภาคตะวันออก ภาคใตตอนบน สํานกั ผวู าการ ฝายวจิ ัยและพฒั นาอตุ สาหกรรมยาง ภาคใตต อนกลาง •กองกลาง ฝา ยยทุ ธศาสตรอ งคก ร •กองวิจยั อตุ สาหกรรม สถาบันวจิ ัยยาง ฝายวจิ ัยและพัฒนาเศรษฐกจิ ยาง กกยยทท..เเขขตต(7(๗เขเขต)ต) ภาคใตต อนลาง •กองการประชมุ •กองนโยบายและแผน •กองมาตรฐานอตุ สาหกรรมยาง •กองบริหารงานวิจยั •กองประชาสมั พันธแ ละเผยแพร •กองโครงการพเิ ศษ •กองสงเสริมและสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมยาง •กองวจิ ัยและพัฒนาการผลติ ยาง •กองวจิ ัยและพัฒนาเศรษฐกจิ ยาง •กองแผนและวชิ าการ •กองกิจการตา งประเทศ •กองประเมนิ ผล •ศูนยบรกิ ารทดสอบรบั รองภาคกลาง •ศูนยวิจยั ยางฉะเชงิ เทรา •กองวิจัยและพฒั นาระบบโลจิสติกส •กองควบคุมและติดตาม ฝา ยกฎหมาย •กองบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน •ศูนยบ ริการทดสอบรบั รองภาคตะวนั ออก •ศูนยว จิ ยั ยางหนองคาย •กองพัฒนาการตลาดและธุรกจิ •กองจัดการโรงงาน 1 (อ.ชางกลาง จ.นครศรธี รรมราช) •ศนู ยบรกิ ารทดสอบรบั รองภาคใต •ศนู ยว จิ ยั ยางบรุ รี ัมย •กองจัดการโรงงาน 2 (อ. ทุง ใหญ จ.นครศรีธรรมราช) •กองนติ ิกรรมสญั ญา ฝายเทคโนโลยสี ารสนเทศ •ศนู ยว จิ ยั ยางสรุ าษฎรธานี •กองจัดการโรงงาน 3 (อ.ชางกลาง จ.นครศรธี รรมราช) •กองคดแี ละบังคับคดี •กองปฏิบัติการคอมพิวเตอร •ศูนยวิจยั ยางสงขลา •กองจัดการโรงงาน 4 (อ.ขุนหาญ จ.ศรสี ะเกษ) •กองสิทธิประโยชน •กองพฒั นาระบบงานและโปรแกรม •กองจัดการโรงงาน 5 (อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี) •กองพัฒนาระบบสอื่ สารขอมลู ฝายสงเสรมิ และพัฒนาการผลติ กยท. จังหวดั (45 จังหวดั ) •กองจัดการโรงงาน 6 (อ.ทาอุเทน จ.นครพนม) •กองฐานขอ มลู สารสนเทศ •กองแผนงานและวชิ าการ •สาํ นกั งานตลาดกลางยางพาราจงั หวัดหนองคาย •กองสงเสรมิ การปลูกแทนและปลูกใหม •กองประสานนโยบายและวิชาการ •สํานกั งานตลาดกลางยางพาราจงั หวดั บรุ ีรัมย •กองผลติ และขยายพนั ธยุ าง •กองงานสนับสนนุ •สาํ นักงานตลาดกลางยางพาราจงั หวัดสุราษฎรธานี ฝา ยการคลัง •กองวชิ าการและถายทอดเทคโนโลยี •กองบรหิ ารกองทนุ •สาํ นกั งานตลาดกลางยางพาราจงั หวัดนครศรีธรรมราช •กองงบประมาณ •กองสง เสรมิ และพัฒนายาง •สํานกั งานตลาดกลางยางพาราจงั หวัดสงขลา •กองการเงนิ ฝายพัฒนาเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร •กองปฏิบัตกิ าร •สาํ นักงานตลาดกลางยางพาราจงั หวดั ยะลา •กองตรวจจาย •กองสวสั ดกิ ารเกษตรกร (กรณีไม่ม ี กกยยทท..สาขาหรือมสี าขขาเเปป็นนจจงั งั หหววดั ัด)) •กองจดั การสวนยาง 1 (อ.ชา งกลาง จ.นครศรธี รรมราช) •กองบญั ชี •กองสงเสริมเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร •ศูนยเ รยี นรยู างพารา (นครพนม) •กองจดั การสวนยาง 2 (อ. ทุงใหญ จ.นครศรีธรรมราช) •กองจัดเก็บคา ธรรมเนยี มและรายได •กองสง เสริมและพัฒนาอาชพี •ศูนยเ รียนรยู างพารา (ขอนแกน ) •กองจัดการสวนยาง 3 (อ. ทงุ ใหญ จ.นครศรธี รรมราช) •กองทะเบยี น •ศูนยเรยี นรยู างพารา (นครศรธี รรมราช) •กองจัดการโรงงานไมย าง (อ. ทุงใหญ จ.นครศรธี รรมราช) ฝา ยทรพั ยากรมนษุ ย •กองพัฒนาระบบงานและอตั รากําลงั •ศูนยเ รยี นรยู างพารา (กระบี่) •กองการเจา หนาที่ •ศูนยเรียนรยู างพารา (พัทลงุ ) •กองคาตอบแทนและสวัสดิการ •กองความปลอดภัยอาชีวอนามยั และแรงงานสมั พนั ธ กกยยท.สสาาขขาา(8(๘0๐สาเขาต)) •กองพัฒนาระบบสมรรถนะและการจัดการความรู -แผนกธุรการและพสั ดุ •กองฝกอบรม -แผนกการเงนิ และบัญชี -แผนกปฏิบัตกิ าร ฝายบริหารทรัพยสิน -แผนกสง เสริมสถาบนั เกษตรกรและตลาด •กองบริหารจดั ซื้อจดั จา ง •กองบริหารสญั ญา •กองอาคารสถานที่และยานพาหนะ •กองบรหิ ารทรพั ยส นิ หมายยเเหหตตุ ุ โครงสรา้ งการบบรริหหาารรงงาานนกกยยทท..ใใหหม้มีผีผลลใชใชใ ช้บบ ังังคคับับตต้ัง้งัแแตต่ววันนั ทที่ ี่ ๓3๐0 มีนาคม ๒25๕5๕9๙

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 009 อัตราก�ำลังพนักงานและลูกจ้างการยางแห่งประเทศไทย อตั 3ร,0าก0�ำ4ลอังตั กรยาท. พนักงาน 2,526 อัตรา ลูกจ้างประจ�ำ 478 อัตรา ส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค 460 อตั รา 2,544 อัตรา พนกั งาน ลกู จา้ งประจำ� พนกั งาน ลกู จา้ งประจ�ำ 426 อตั รา 34 อัตรา 2,100 อัตรา 444 อตั รา ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2559



คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย และคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ

012 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีบัญชี 2559 ชื่อ - สกุล ต�ำแหนง่ ในคณะกรรมการ เขา้ รับต�ำแหนง่ สิ้นสดุ 1. นายเลศิ วิโรจน์ โกวัฒนะ ประธานกรรมการ 1-ต.ค.-58 11-ม.ค.-59 12-ม.ค.-59 ปจั จบุ นั 2. พล.อ. ฉตั รเฉลิม เฉลมิ สุข ประธานกรรมการ 1-ต.ค.-58 26-พ.ย.-58 27-พ.ย.-58 ปัจจุบนั 3. นายณฐั พงศ์ ศริ ชิ นะ (ผแู้ ทนกระทรวงมหาดไทย) รองประธานกรรมการ 5-ม.ค.-59 ปจั จบุ นั 4. ร.ต.ท. อาทติ ย์ บญุ ญะโสภัต รองประธานกรรมการ 1-ต.ค.-58 24-ม.ค.-59 (ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย) 25-ม.ค.-59 ปจั จบุ นั 5. นายสรุ พล จารพุ งศ์ รองประธานกรรมการ 29-ก.ค.-58 11-ม.ค.-59 29-ก.ค.-58 30-ก.ย.-59 (ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ)์ 17-ก.ย.-58 ปัจจบุ นั 29-ก.ค.-58 ปัจจบุ ัน 6. นางสาววิบลู ยล์ ักษณ์ รว่ มรกั ษ์ กรรมการ 12-ม.ค.-59 ปัจจบุ ัน (ผูแ้ ทนกระทรวงพาณิชย)์ 12-ม.ค.-59 ปจั จุบนั 12-ม.ค.-59 ปัจจบุ ัน 7. นางกลุ ณี อิศดศิ ัย (ผู้แทนกระทรวงพาณชิ ย)์ กรรมการ 12-ม.ค.-59 ปัจจุบนั 12-ม.ค.-59 ปจั จุบัน 8. นายเอด วิบูลย์เจรญิ (ผแู้ ทนกระทรวงการคลัง) กรรมการ 12-ม.ค.-59 ปจั จุบัน 12-ม.ค.-59 ปัจจุบัน 9. นายชตุ วิ ัฒน์ วรรธนผล (ผแู้ ทนกระทรวงการคลัง) กรรมการ 23-ม.ี ค.-59 ปัจจบุ นั 26-ก.ค.-58 11-พ.ย.-58 10. นายปณิธาน จินดาภู (ผู้แทนกระทรวงอตุ สาหกรรม) กรรมการ 12-พ.ย.-58 22-ม.ี ค.-59 11. นางสาวลดาวัลย์ ค�ำภา กรรมการ (ผ้แู ทนสำ� นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คม) 12. นายธนวรรธน์ พลวชิ ยั (กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ) กรรมการ 13. นายพชิ ยั ถิ่นสนั ตสิ ขุ (กรรมการผู้ทรงคุณวุฒ)ิ กรรมการ 14. นายประสิทธ์ิ หมดี เส็น (กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒ)ิ กรรมการ 15. นายธีรพงศ์ ตันติเพชราภรณ์ (กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ) กรรมการ 16. นายสงั ข์เวิน ทวดห้อย (กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ )ิ กรรมการ 17. นายเสนยี ์ จติ ตเกษม (กรรมการผูท้ รงคุณวุฒ)ิ กรรมการ 18. นายสาย อ่นิ คำ� (กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ) กรรมการ 19. นายธธี ชั สขุ สะอาด (ผวู้ ่าการการยางแหง่ ประเทศไทย) กรรมการและเลขานกุ าร 20. นายวีระศักด์ิ ขวญั เมอื ง กรรมการและเลขานกุ าร (ผู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทผี่ ู้ว่าการการยางแหง่ ประเทศไทย) 21. นายเชาว์ ทรงอาวธุ กรรมการและเลขานุการ (ผปู้ ฏบิ ัตหิ น้าทีผ่ ูว้ า่ การการยางแห่งประเทศไทย)

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 013

014 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย (1 ต.ค. 58 – 30 ก.ย. 59) นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ ประธานกรรมการ วนั /เดอื น/ปีเกิด 19 กันยายน 2501 อายุ 58 ปี ประวัตกิ ารศึกษา - Bachelor of Science (Civil Engineering) from Central New England College of Technology USA. - Master of Business Administration from Florida Institute of Technology USA. - นิติศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง ประวัติการทำ� งานทสี่ ำ� คญั - รองอธบิ ดฝี ่ายบรหิ าร กรมชลประทาน - รองอธิบดฝี า่ ยวชิ าการ กรมชลประทาน - ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - เลขาธิการสำ� นกั งานการปฏริ ปู ท่ีดนิ เพอื่ เกษตรกรรม - รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - อธิบดีกรมชลประทาน ตำ� แหน่งหนา้ ทปี่ จั จบุ ัน - รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วนั /เดอื น/ปี ท่ีเขา้ ด�ำรงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วันสิน้ สุด 1 ตุลาคม 2558 – 11 มกราคม 2559

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 015 พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ประธานกรรมการ วนั /เดือน/ปเี กดิ 7 กรกฎาคม 2498 อายุ 61 ปี ประวัตกิ ารศกึ ษา - ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ (การทหาร) โรงเรียนเสนาธกิ ารทหารบก - ปรญิ ญาตรี วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกล้า รุน่ ที่ 26 ประวัตกิ ารทำ� งานทีส่ �ำคญั - เสนาธกิ ารทหารบก กองทพั บก - รองเสนาธิการทหารบก กองทัพบก - ผูช้ ่วยเสนาธิการทหารบกฝา่ ยยทุ ธการ กองทพั บก ต�ำแหน่งหน้าทป่ี จั จุบนั - ข้าราชการบ�ำนาญ - กรรมการบริษทั ปตท. จำ� กัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บรษิ ทั อสมท จำ� กดั (มหาชน) วนั /เดอื น/ปี ท่เี ข้าดำ� รงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วนั สน้ิ สดุ 12 มกราคม 2559 – ปัจจบุ นั

016 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย วนั /เดอื น/ปเี กดิ 8 เมษายน 2503 อายุ 56 ปี ประวัตกิ ารศกึ ษา - พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑติ (รัฐประศาสนศาสตร)์ สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) - รฐั ศาสตรบณั ฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประวตั กิ ารท�ำงานทส่ี �ำคญั - ปลดั อ�ำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 5) อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา - ปลัดอ�ำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 5) อำ� เภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล นายณัฐพงศ์ ศิริชนะ - เจ้าหน้าท่ีวเิ คราะหน์ โยบายและแผน 6 ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ส�ำนกั งานจงั หวดั ภูเกต็ จงั หวดั ภเู กต็ รองประธานกรรมการ - เจา้ หน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 6 สำ� นักงานจงั หวดั ปัตตานี จังหวดั ปัตตานี ตำ� แหนง่ หนา้ ทป่ี จั จุบัน - รองปลัดกระทรวงมหาดไทย วนั /เดอื น/ปี ทเ่ี ข้าด�ำรงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วนั ส้นิ สดุ 1 ตุลาคม 2558 – 26 พฤศจกิ ายน 2558 นายสุรพล จารุพงศ์ วนั /เดอื น/ปเี กิด ผู้แทนกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ 7 กันยายน 2500 อายุ 59 ปี รองประธานกรรมการ ประวัติการศกึ ษา - ปริญญาตรี สาขาเกษตรทัว่ ไป มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ - ประกาศนยี บัตรชั้นสูง รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ - ปริญญาโท สาขาส่งเสรมิ การเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารทำ� งานที่สำ� คญั - ผอู้ �ำนวยการส�ำนัก (ผู้อำ� นวยการเฉพาะดา้ นวิชาการเกษตร) ส�ำนักสง่ เสริมและจดั การสินคา้ เกษตร - เกษตรจงั หวดั นราธิวาส สำ� นกั งานเกษตรจงั หวัดนราธวิ าส - หวั หน้าฝา่ ยสง่ เสริมการเกษตรทีส่ ูง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำ� แหน่งหน้าทป่ี จั จุบัน - ผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัน/เดอื น/ปี ทเ่ี ขา้ ดำ� รงตำ� แหน่งคณะกรรมการ – วนั ส้นิ สดุ 5 มกราคม 2559 – ปัจจุบัน

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 017 วัน/เดอื น/ปเี กดิ 13 กันยายน 2502 อายุ 57 ปี ประวัตกิ ารศกึ ษา - วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร (ปรอ.25) - รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั - พฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) ประวัติการท�ำงานท่ีสำ� คญั - รักษาการแทนรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ร.ต.ท. อาทิตย์ บุญญะโสภัต - ผวู้ า่ ราชการจังหวดั สมทุ รสาคร ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย - ผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการ - รองอธบิ ดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - รองผวู้ ่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม - รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั นา่ น ตำ� แหนง่ หน้าที่ปจั จบุ นั - อธบิ ดกี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย - กรรมการการประปาส่วนภมู ภิ าค วัน/เดอื น/ปี ท่เี ข้าดำ� รงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วันสนิ้ สดุ 27 พฤศจิกายน 2558 – ปัจจุบนั วัน/เดือน/ปเี กดิ 13 กนั ยายน 2502 อายุ 57 ปี ประวตั ิการศึกษา - Master of Business Administration Oklahoma University U.S.A. - เศรษฐศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ - เศรษฐศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง ประวัตกิ ารทำ� งานที่ส�ำคัญ - รองอธิบดกี รมการค้าภายใน นางสาววิบูลย์ลักษณ์ ร่วมรักษ์ - รกั ษาการท่ีปรกึ ษาการพาณิชย์ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ - ทปี่ รกึ ษาการพาณิชย์ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์ - อธิบดกี รมการคา้ ภายใน กรรมการ - เอกอัครราชทตู ผู้แทนถาวรไทยประจ�ำองค์การการคา้ โลก ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำ� แหน่งหนา้ ที่ปัจจบุ นั - อธบิ ดีกรมการคา้ ภายใน กระทรวงพาณิชย์ วัน/เดอื น/ปี ที่เขา้ ดำ� รงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วนั สน้ิ สดุ 1 ตลุ าคม 2558 – 24 มกราคม 2559

018 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย นายเอด วิบูลย์เจริญ วนั /เดือน/ปีเกิด ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ 1 กมุ ภาพันธ์ 2506 อายุ 53 ปี ประวตั ิการศกึ ษา - วทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักร (วปอ.57) - พฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑิต สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ - วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารทำ� งานทส่ี ำ� คัญ - รองผอู้ �ำนวยการสำ� นักงานบริหารหนสี้ าธารณะ ส�ำนกั งานบรหิ ารหนี้สาธารณะ - ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานบรหิ ารหน้สี าธารณะ ส�ำนักงานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ - ผู้อ�ำนวยการสำ� นักบริหารการช�ำระหน้ีและสารสนเทศ ส�ำนกั งานบริหารหนี้สาธารณะ - เลขานกุ ารกรม สำ� นักงานเลขานุการกรม สำ� นักงานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ ตำ� แหน่งหนา้ ท่ีปจั จบุ นั - ทป่ี รกึ ษาดา้ นหนส้ี าธารณะ สำ� นกั บรหิ ารหนส้ี าธารณะ กระทรวงการคลงั - กรรมการผแู้ ทนกระทรวงการคลงั ในบรษิ ัท ปตท. (กมั พูชา) จำ� กัด วนั /เดือน/ปี ทเี่ ข้าด�ำรงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วนั สนิ้ สดุ 29 กรกฎาคม 2558 – 11 มกราคม 2559 นายชุติวัฒน์ วรรธนผล วนั /เดอื น/ปเี กดิ ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ 11 ธนั วาคม 2498 อายุ 61 ปี ประวตั ิการศึกษา - เศรษฐศาสตรบัณฑิต บรหิ ารการตลาด มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง ต�ำแหน่งหนา้ ท่ปี ัจจุบัน - รองอธบิ ดีกรมศลุ กากร กระทรวงการคลัง วัน/เดือน/ปี ทเ่ี ขา้ ด�ำรงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วันสิ้นสดุ 29 กรกฎาคม 2558 – 30 กนั ยายน 2559

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 019 นายปณิธาน จินดาภู วัน/เดือน/ปเี กดิ ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 อายุ 59 ปี ประวัติการศึกษา - การป้องกนั ราชอาณาจกั รภาครฐั รว่ มเอกชน รุ่นที่ 23 วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร - พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑติ (รฐั ประศาสนศาสตร์) สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ - วศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ (วิศวกรรมเหมืองแร่) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - นิติศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ประวตั ิการท�ำงานที่ส�ำคญั - ผู้ตรวจราชการกระทรวงอตุ สาหกรรม - รองอธบิ ดกี รมอตุ สาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมอื งแร่ - ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั เหมอื งแรแ่ ละสัมปทาน กรมอตุ สาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมอื งแร่ - ผอู้ �ำนวยการกองการเหมืองแร่ (วศิ วกรเหมอื งแร่ 8) กรมทรัพยากรธรณี - ผู้อ�ำนวยการกองสัมปทาน (เจ้าหนา้ ที่บรหิ ารงานทรัพยากรธรณี 8) กรมทรพั ยากรธรณี - เลขานุการกรม (เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารงานทั่วไป 8) กรมทรพั ยากรธรณี - ทรัพยากรธรณจี งั หวัดตาก (เจา้ หนา้ ทบี่ ริหารงานทรพั ยากรธรณี 8) กรมทรัพยากรธรณี ตำ� แหนง่ หนา้ ท่ปี จั จุบนั - รองปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม - กรรมการองค์การจดั การนำ�้ เสีย วนั /เดือน/ปี ท่ีเข้าดำ� รงตำ� แหน่งคณะกรรมการ – วันสน้ิ สดุ 17 กันยายน 2558 – ปัจจบุ นั

020 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย วัน/เดอื น/ปีเกิด 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2500 อายุ 59 ปี ประวตั กิ ารศกึ ษา - M.A. (Agricultual Development Economics), Australia - วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.52) ปี พ.ศ. 2552 - สถาบันพระปกเกลา้ หลกั สตู รนโยบายเศรษฐกจิ สาธารณะฯ (ปศส.6) ปี พ.ศ. 2550 - วทิ ยาศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ นางสาวลดาวัลย์ ค�ำภา ประวัติการทำ� งานท่สี �ำคัญ ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการ - กรรมาธกิ ารวสิ ามญั การบริหารจดั การน�้ำเพ่อื การพลงั งานและ พัฒนาการเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม สภานติ ิบัญญัตแิ ห่งชาติ สังคมแห่งชาติ - ทีป่ รกึ ษาดา้ นนโยบายและแผนงาน (เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบาย และแผน 10 ชช. ) ทรงคณุ วฒุ ิ สำ� นักงานคณะกรรมการพฒั นาการ กรรมการ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ - ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวางแผนการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ� นกั วางแผนการเกษตร ทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส�ำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ต�ำแหนง่ หนา้ ทป่ี ัจจุบนั - รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ - คณะกรรมการบริหารสำ� นักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) - คณะกรรมการรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย วนั /เดือน/ปี ที่เข้าดำ� รงต�ำแหน่งคณะกรรมการ – วนั ส้นิ สดุ 29 กรกฎาคม 2558 – ปจั จบุ ัน

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 021 นางกุลณี อิศดิศัย วัน/เดอื น/ปเี กิด ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ 19 ตลุ าคม 2500 อายุ 58 ปี ประวตั ิการศึกษา - ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ สถาบัน West Virginia University ประเทศสหรฐั อเมรกิ า - ปรญิ ญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประวตั ิการทำ� งานท่สี ำ� คัญ - รองอธบิ ดกี รมส่งเสริมการส่งออก - รองอธิบดกี รมพัฒนาธรุ กิจการค้า (นักบริหารระดบั ต้น) - รองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปญั ญา (นักบรหิ ารระดับตน้ ) - ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ ตำ� แหนง่ หน้าทป่ี จั จุบัน - หวั หน้าผ้ตู รวจราชการกระทรวงพาณิชย์ วนั /เดือน/ปี ท่เี ขา้ ดำ� รงตำ� แหน่งคณะกรรมการ – วนั สน้ิ สุด 25 มกราคม 2559 – ปัจจบุ ัน นายธนวรรธน์ พลวิชัย วัน/เดอื น/ปีเกิด กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 20 ตุลาคม 2508 อายุ 51 ปี ประวตั ิการศึกษา - ปริญญาเอก ดา้ น Applied Statistics and Research Methods, University of Northern Colorado ประเทศสหรัฐอเมริกา - พฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) - เศรษฐศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง ประวัตกิ ารทำ� งานทีส่ ำ� คญั - เศรษฐกร ฝ่ายวจิ ัยและวางแผน ธนาคารไทยพาณชิ ย์ - เศรษฐกร ฝา่ ยนโยบายเศรษฐกจิ การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย - อาจารย์พเิ ศษ คณะบริหารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม - อาจารยป์ ระจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย - ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การและวเิ คราะหห์ ลกั ทรพั ย์ บรษิ ทั เงนิ ทนุ หลกั ทรพั ยไ์ ทยฟจู ิ ต�ำแหนง่ หน้าที่ปจั จบุ ัน - ผอู้ ำ� นวยการศนู ยพ์ ยากรณเ์ ศรษฐกจิ และธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย - กรรมการส�ำนกั งานสลากกินแบ่งรฐั บาล - รองอธกิ ารบดีอาวุโสวิชาการและงานวิจัย มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย วนั /เดอื น/ปี ท่ีเขา้ ด�ำรงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วนั สิน้ สุด 12 มกราคม 2559 – ปัจจุบนั

022 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย นายพิชัย ถิ่นสันติสุข วัน/เดือน/ปีเกิด กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5 พฤศจิกายน 2495 อายุ 63 ปี ประวัติการศกึ ษา - ปริญญาโทบริหารธรุ กจิ และสง่ิ แวดลอ ม มหาวทิ ยาลัยเซนตจอหน - ปริญญาตรีวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช ประวตั กิ ารท�ำงานที่ส�ำคัญ - กรรมการบรหิ ารสภาอตุ สาหกรรมแหงประเทศไทย - ประธานคณะทาํ งานสบดู าํ พืชนำ้� มนั เพื่อชาติ (สถาบนั สงิ่ แวดลอมเพื่ออตุ สาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย) - คณะกรรมการคัดเลือกโครงการวจิ ยั (สภาวิจัยแหง ชาติ) ตำ� แหนง่ หนา้ ทปี่ ัจจุบัน - ประธานกติ ติมศักด์ิสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย วนั /เดือน/ปี ท่เี ขา้ ดำ� รงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วนั ส้นิ สุด 12 มกราคม 2559 – ปจั จุบัน นายประสิทธิ์ หมีดเส็น วัน/เดอื น/ปเี กิด กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 27 กรกฎาคม 2498 อายุ 61 ปี ประวัตกิ ารศึกษา - เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช - บรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช - วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารท�ำงานที่สำ� คัญ - ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานกองทนุ สงเคราะหก์ ารทำ� สวนยางจงั หวดั ยะลา - ผ้อู �ำนวยการฝา่ ยพฒั นาสวนสงเคราะห์ - รองผูอ้ ำ� นวยการสำ� นักงานกองทนุ สงเคราะห์การทำ� สวนยาง - รักษาการในต�ำแหนง่ ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั งานกองทนุ สงเคราะห์ การท�ำสวนยาง ต�ำแหนง่ หนา้ ทีป่ ัจจุบัน - เกษตรกรชาวสวนยาง วนั /เดือน/ปี ทเ่ี ข้าดำ� รงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วันสิ้นสุด 12 มกราคม 2559 – ปจั จุบนั

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 023 วัน/เดอื น/ปีเกดิ 21 ตุลาคม 2512 อายุ 47 ปี ประวัตกิ ารศึกษา - ปรญิ ญาตรี สาขาส่งเสรมิ การเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช - ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู สาขาเกษตรกรรมทั่วไป สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช ประวตั กิ ารท�ำงานท่ีสำ� คญั - ประธานกองทนุ หมบู่ า้ น นายธีรพงศ์ ตันติเพชราภรณ์ - ประธานสหกรณป์ าลม์ นำ้� มนั จงั หวัดพงั งา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ - อนุกรรมการกองทุนฟน้ื ฟูและพฒั นาเศรษฐกจิ จงั หวัดพงั งา - ประธานชมรมไมผ้ ลจงั หวดั พงั งา - รองประธานเครือข่ายชาวสวนยางแห่งประเทศไทย ต�ำแหนง่ หนา้ ที่ปัจจบุ นั - ประธานสภาเกษตรกรจังหวดั พงั งา - ประธานคณะกรรมการยางพารา สภาเกษตรแห่งชาติ - คณะกรรมการวสิ าหกิจชุมชน - ประธานเครอื ขา่ ยชาวสวนยางพาราจังหวดั พงั งา วัน/เดือน/ปี ทีเ่ ขา้ ดำ� รงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วันส้ินสุด 12 มกราคม 2559 – ปัจจุบัน นายสังข์เวิน ทวดห้อย วนั /เดอื น/ปเี กดิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 11 พฤศจกิ ายน 2503 อายุ 55 ปี ประวตั ิการศกึ ษา - อนปุ รญิ ญา สาขาการจดั การ วทิ ยาลยั การอาชีพอำ� เภอแกลง จงั หวดั ระยอง ประวตั ิการท�ำงานท่สี ำ� คญั - บรหิ ารกลุ่มเกษตรกรและส่งยางอดั กอ้ นออกตา่ งประเทศ - วิทยากรใหค้ วามร้เู รื่องยางพารา - ประธานเครอื ขา่ ยชาวสวนยาง ตำ� แหน่งหนา้ ที่ปจั จุบัน - ก�ำนันตำ� บลห้วยทับมอญ อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง - คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) - เกษตรกร วนั /เดือน/ปี ทีเ่ ข้าด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการ – วันส้ินสดุ 12 มกราคม 2559 – ปัจจุบนั

024 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย นายเสนีย์ จิตตเกษม วัน/เดือน/ปเี กดิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 20 กุมภาพนั ธ์ 2497 อายุ 62 ปี นายสาย อ่ินค�ำ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ประวตั ิการศกึ ษา - ปริญญาโท ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ� แหง - ปรญิ ญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (บรหิ ารการศึกษา) มหาวทิ ยาลัยรามคำ� แหง - ปรญิ ญาตรี นิตศิ าสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง - ปริญญาตรี รฐั ศาสตรบณั ฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประวัตกิ ารท�ำงานท่สี ำ� คัญ - กรรมการและกรรมการพิจารณาคา่ ตอบแทน บริษัท ศิครนิ ทร์ จำ� กดั (มหาชน) - ผู้วา่ ราชการจังหวดั ชลบุรี - ผ้วู ่าราชการจังหวัดนา่ น -  ผู้วา่ ราชการจงั หวัดระยอง - ผ้วู ่าราชการจังหวัดตรงั -  ผู้วา่ ราชการจังหวัดอุดรธานี - ประธานคณะกรรมการการเลือกตงั้ (กกต.) จงั หวัดอุดรธานี ต�ำแหน่งหนา้ ท่ปี จั จุบัน - ประธานกรรมการบรหิ าร บรษิ ัท เมอื งอุตสาหกรรมอดุ รธานี จ�ำกดั - ประธานกรรมการ บรษิ ัท ประชารฐั รักสามัคคอี ุดรธานี (วิสาหกิจเพ่อื สังคม) จำ� กดั - ปฏบิ ัตหิ น้าทปี่ ระจ�ำสถาบนั วิจัยจฬุ าภรณ์ ผู้ประสานงาน โครงการก่อสร้างพพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมเจดีย์ พระธรรมวิสุทธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบวั ญาณสัมปนั โน) - ประธานกรรมการ (กรรมการอสิ ระ) บรษิ ทั ศคิ รนิ ทร์ จำ� กดั (มหาชน) - ประธานมูลนธิ ิยุทธศาสตร์เพอ่ื การพฒั นา (เสนยี ์ จติ ตเกษม) - ประธานมลู นธิ เิ พ่ือพฒั นาเมืองนา่ น (มพน.) วัน/เดือน/ปี ทเ่ี ข้าด�ำรงต�ำแหนง่ คณะกรรมการ – วนั สิน้ สุด 12 มกราคม 2559 – ปจั จุบัน วัน/เดอื น/ปีเกดิ 1 มกราคม 2508 อายุ 51 ปี ประวตั กิ ารศกึ ษา - ปรญิ ญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั นเรศวร ประวัตกิ ารทำ� งานทส่ี ำ� คญั - ประธานวสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ทงุ่ ผาสกุ ยางพาราและพืชผล - นายทะเบยี นสมาคมเครอื ขา่ ยเกษตรกร สถาบนั เกษตรกรยางพาราไทย - ประธานเครือข่ายวสิ าหกจิ ชมุ ชนยางพาราจังหวดั พะเยา ตำ� แหนง่ หน้าท่ปี จั จุบัน - เกษตรกร วนั /เดือน/ปี ที่เข้าดำ� รงต�ำแหน่งคณะกรรมการ – วนั สน้ิ สุด 12 มกราคม 2559 – ปจั จบุ นั

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 025 วนั /เดอื น/ปเี กิด 30 กรกฎาคม 2511 อายุ 48 ปี ประวตั ิการศกึ ษา - ปรญิ ญาเอก ดุษฎบี ณั ฑติ ด้านการบรหิ ารธุรกจิ Victoria University, Australia (ผลงานวจิ ยั เรอ่ื งการบรหิ ารกจิ การรว่ มภาครฐั และเอกชน กรณศี กึ ษาการทา่ อากาศยานแหง่ ประเทศไทย) - ปริญญาโท มหาบัณฑติ ด้านการบรหิ ารธรุ กจิ ระหว่างประเทศ The University of Melbourne, Australia ดร. ธีธัช สุขสะอาด - ปรญิ ญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ คณะกรรมการและเลขานุการ ประวัติการท�ำงานท่ีส�ำคญั - กรรมการบริหารองค์การค้าของ สก.สค. องค์การค้าของสำ� นักงาน สวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพครแู ละบคุ ลากรดา้ นการศึกษา (หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ ผูผ้ ลิตและจ�ำหนา่ ยแบบเรยี น และอปุ กรณ์การศกึ ษาภายใต้ตราสนิ ค้าศกึ ษาภัณฑ์พาณชิ ย์) - ท่ปี รึกษากรรมาธิการตดิ ตามปัญหาสนามบนิ สวุ รรณภมู ิ สนช. ปี พ.ศ. 2547 – 2549 ทีป่ รึกษากรรมาธิการพิจารณางบประมาณ วุฒสิ ภา - อนุกรรมการ บริหารกองทุนและพัฒนาทรพั ยากร ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา - ประธานอนกุ รรมการ คณะอนกุ รรมการอ�ำนวยการพื้นทีพ่ เิ ศษ เมอื งพทั ยาและพืน้ ท่ีเชือ่ มโยงองคก์ ารบริหารการพฒั นาพน้ื ทีพ่ ิเศษ เพ่อื การทอ่ งเทยี่ วอย่างย่งั ยนื (องคก์ ารมหาชน) ต�ำแหนง่ หน้าท่ีปัจจบุ ัน - ผู้วา่ การการยางแห่งประเทศไทย วัน/เดอื น/ปี ที่เข้าดำ� รงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วนั สนิ้ สดุ 23 มีนาคม 2559 – ปจั จบุ ัน

026 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย นายวีระศักดิ์ ขวัญเมือง วัน/เดอื น/ปเี กดิ กรรมการและเลขานุการ 2 มกราคม 2503 อายุ 56 ปี ประวัตกิ ารศกึ ษา - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) ประวัตกิ ารทำ� งานทสี่ �ำคัญ - ผู้ชว่ ยหวั หน้าแผนกควบคมุ การผลิต (ภาคเหนือ) ศนู ยค์ วบคมุ การผลิต สำ� นักงานคณะกรรมการออ้ ยและนำ�้ ตาลทราย - ผอู้ �ำนวยการสำ� นักงานกองทนุ อ้อยและนำ�้ ตาลทราย ต�ำแหน่งหนา้ ทป่ี ัจจุบัน - ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานกองทุนอ้อยและนำ้� ตาลทราย วัน/เดอื น/ปี ที่เข้าดำ� รงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วนั ส้ินสุด 16 กรกฎาคม 2558 – 11 พฤศจกิ ายน 2558 นายเชาว์ ทรงอาวุธ วนั /เดอื น/ปีเกิด กรรมการและเลขานุการ 15 มีนาคม 2500 อายุ 59 ปี ประวตั ิการศกึ ษา - ปริญญาโท การจดั การภาครฐั และเอกชน สถาบนั บัณฑิต พัฒนบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) - ปริญญาตรี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประวัติการท�ำงานทสี่ ำ� คญั - ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง จงั หวดั นครพนม - ผูอ้ ำ� นวยการฝา่ ยสง่ เสรมิ การสงเคราะห์ ส�ำนักงานกองทนุ สงเคราะห์การทำ� สวนยาง - รองผ้อู �ำนวยการสำ� นกั งานกองทุนสงเคราะห์การทำ� สวนยาง - ผปู้ ฎิบัติหนา้ ทผ่ี ูว้ ่าการการยางแห่งประเทศไทย - รองผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานกองทุนสงเคราะหก์ ารทำ� สวนยาง รกั ษาการในตำ� แหนง่ รองผวู้ า่ การดา้ นอตุ สาหกรรมยางและการผลติ ยาง ตำ� แหนง่ หนา้ ทป่ี ัจจบุ ัน - รองผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง รกั ษาการในตำ� แหนง่ รองผวู้ า่ การดา้ นอตุ สาหกรรมยางและการผลติ ยาง วนั /เดือน/ปี ที่เข้าด�ำรงตำ� แหนง่ คณะกรรมการ – วันส้นิ สดุ 12 พฤศจกิ ายน 2558 – 22 มนี าคม 2559

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 027 นโยบายการกำ� หนดคา่ ตอบแทน ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2556 - กรณคี ณะกรรมการชดุ ยอ่ ย/คณะอนกุ รรมการ/ เห็นชอบเร่ืองอัตราและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ คณะท�ำงานอื่นท่ีแต่งต้ังโดยบทบัญญัติแห่ง รัฐวิสาหกิจ และ หนังสือกระทรวงการคลังด่วนท่ีสุด กฎหมายมติคณะรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการ กค 0805/1654 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2557 เรื่อง รัฐวิสาหกิจให้ได้รับเบี้ยประชุมเท่ากับเบี้ย การปรบั ปรงุ อัตราเบีย้ กรรมการรัฐวิสาหกิจ ใหค้ วามเหน็ ประชุมกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ชอบก�ำหนดอัตราเบ้ียกรรมการรัฐวิสาหกิจใหม่ โดย โดยได้รับเบ้ียประชุมไม่เกิน 2 คณะ คณะละ น�ำเสนอคณะกรรมการสงเคราะห์การท�ำสวนยาง ไม่เกิน 1 ครั้ง/เดอื น ในคราวประชุม คร้ังท่ี 1/2558 เม่ือวันท่ี 22 มกราคม 2558 มมี ตดิ งั นี้ อนงึ่ ในการปรบั ปรงุ อตั ราเบยี้ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ ในครั้งน้ี กระทรวงการคลังมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ อตั ราค่าตอบแทน และเบ้ียประชมุ คณะกรรมการ การปฏิบตั ิหน้าทีข่ องคณะกรรมการรัฐวิสาหกจิ ดงั นี้ รัฐวิสาหกิจ (ขนาดปานกลาง) 1. ในการประชุมคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ - กรณคี า่ ตอบแทนรายเดอื นไมเ่ กนิ 8,000.- บาท/ เห็นสมควรให้กรรมการมีระยะเวลาในการ คน/เดือน โดยให้ประธานกรรมการได้รับ เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ ค่าตอบแทนรายเดอื นเปน็ 2 เท่าของกรรมการ ระยะเวลาท่ีดำ� รงตำ� แหนง่ ในรอบปบี ญั ชนี ้นั - กรณีเบี้ยประชุมให้คณะกรรมการได้รับ 2. คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจควรมีส่วนร่วม เบ้ียประชุมไม่เกิน 8,000.- บาท/คน/คร้ัง ในการก�ำหนด/ให้ความเห็นชอบ/ทบทวน ในกรณีประธานกรรมการ และรองประธาน วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมายหรือวตั ถปุ ระสงค์ กรรมการ ให้ไดร้ ับเบ้ียประชุมสงู กวา่ กรรมการ กลยทุ ธ์ นโยบายในการดำ� เนนิ งานและแผนงาน ในอัตราร้อยละ 25 และ 12.5 ของเบย้ี ประชุม ต่างๆ ดังกล่าว และจ่ายเป็นรายครั้งเฉพาะกรรมการ ทม่ี าประชุมไมเ่ กนิ 1 คร้งั /เดือน รวมถึงแผนเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐวิสาหกิจ นอกเหนือจากอ�ำนาจหน้าท่ีท่ีระบุไว้ตามกฎหมาย หรือ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ในการจัดตัง้ รฐั วสิ าหกิจแลว้ แต่กรณี

028 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย ตารางสรุปการเข้าประชมุ /เบ้ยี ประชมุ และคา่ ตอบแทน ของคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทยเป็นรายบุคคล ช่ือ - สกลุ จ�ำนวนครง้ั เข้าประชุม/ คา่ เบีย้ ประชุม คา่ ตอบแทนรายเดอื น ประชมุ ท้งั หมด (บาท) (บาท) 1. นายเลศิ วโิ รจน์ โกวฒั นะ 2. พล.อ. ฉตั รเฉลิม เฉลิมสุข 11/11 60,000 51,612.90 3. นายณฐั พงศ์ ศริ ชิ นะ 12/13 80,000 154,322.58 4. นายสรุ พล จารพุ งศ์ 7/7 26,000 14,933.33 5. ร.ต.ท. อาทิตย์ บุญญะโสภัต 29/33 190,000 70,193.55 6. นางสาววบิ ูลยล์ กั ษณ์ รว่ มรักษ์ 18/26 132,000 81,066.67 7. นายเอด วิบลู ยเ์ จรญิ 3/6 16,000 30,193.55 8. นายชตุ ิวฒั น์ วรรธนผล 7/8 44,000 27,096.77 9. นายปณธิ าน จนิ ดาภู 15/20 92,000 68,903.23 10. นางสาวลดาวลั ย์ คำ� ภา 38/41 152,000 152,000.00 11. นางกุลณี อศิ ดศิ ยั 36/42 184,000 208,000.00 12. นายธนวรรธน์ พลวชิ ัย 31/32 176,000 65,806.45 13. นายพชิ ัย ถน่ิ สนั ตสิ ุข 30/38 158,000 125,161.29 14. นายประสิทธ์ิ หมดี เสน็ 26/28 166,000 69,161.29 15. นายธรี พงศ์ ตันตเิ พชราภรณ์ 43/49 218,000 69,161.29 16. นายสงั ขเ์ วิน ทวดห้อย 33/35 190,000 69,161.29 17. นายเสนีย์ จติ ตเกษม 23/24 144,000 69,161.29 18. นายสาย อิน่ ค�ำ 18/28 96,000 125,161.29 19. นายเชาว์ ทรงอาวธุ 27/28 168,000 69,161.29 20. นายธีธัช สุขสะอาด 14/20 74,000 34,744.09 21. นายวีระศักดิ์ ขวญั เมอื ง 16/24 122,000 50,322.58 4/4 16,000 10,933.33

ตารางสรุปกตาารรางเสขรปุ้ากปารรเข้าะปชระมุ ชุม//เบเบย�ี ป้ียระชปุมรคณะะชกรมุ รมคกาณรการะยกางรแหร่งปมระกเทาศรไทกย ารยางแหง่ ประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการการยาง ตําแหนง ต.ค. ต.ค. ต.ค. พ.ย. พ.ย. ธ.ค. ม.ค ม.ค ม.ค ก.พ. ก.พ. ม.ี ค. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. พ.ค. ก.ค. ส.ค. ก.ย. จาํ นวนครงั้ เขา รวม แหงประเทศไทย ประชมุ /ประชุม (6/58) (7/58) (8/58) (9/58) (10/58)(11/58) (1/59) (2/59) (3/59) (4/59) (5/59) (6/59) (7/59) (8/59) (9/59) (10/59)(11/59)(12/59)(13/59) ทงั้ หมด 30,000 1. นายเลิศวโิ รจน โกวัฒนะ ประธานกรรมการ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 6/6 18,000 2. นายณัฐพงศ ศิริชนะ รองประธาน หมดวาระ 11 ม.ค. 59 5/5 16,000 88,000 ∕∕∕∕∕ หมดวาระ 26 พ.ย. 58 24,000 88,000 3. นางสาววิบูลยล ักษณ รวมรักษ กรรมการ ×× ∕ ∕ ∕ × หมดวาระ ม.ค. 59 3/6 16,000 72,000 4. นายปณธิ าน จินดาภู กรรมการ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 18/19 40,000 80,000 5. นายเอด วบิ ูลยเ จริญ กรรมการ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ หมดวาระ 11 ม.ค. 59 5/6 72,000 64,000 6. นางสาวลดาวลั ย คาํ ภา กรรมการ × ∕ × ∕ ∕ ∕ ∕ × ∕ ∕ ×× ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 14/19 64,000 Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 029 64,000 7. นายวรี ะศกั ดิ์ ขวัญเมือง กรรมการและเลขานกุ าร ∕ ∕ ∕ ∕ หมดวาระ 11 พ.ย. 58 4/4 64,000 48,000 8. ร.ต.ท. อาทติ ย บุญญะโสภัต รองประธาน เริม่ วาระ 27 พ.ย. 58 ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 12/14 64,000 64,000 9. นายเชาว ทรงอาวุธ กรรมการและเลขานกุ าร เริม่ วาระ 12 พ.ย. 58 ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ หมดวาระ 22 มี.ค. 59 8/9 56,000 64,000 10. พลเอกฉตั รเฉลมิ เฉลมิ สุข ประธานกรรมการ เรม่ิ วาระ 12 ม.ค. 59 ∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 12/13 40,000 11. นายสุรพล จารพุ งศ รองประธาน เริ่มวาระ 5 ม.ค. 59 ∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕ 13/13 12. นายชุติวฒั น วรรธนผล กรรมการ เริ่มวาระ 13 ม.ค. 59 ×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ 11/13 13. นางกลุ ณี อิศดศิ ัย กรรมการ เริ่มวาระ 25 ม.ค. 59 ×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 12/13 14. นายประสิทธ์ิ หมีดเส็น กรรมการ ∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕ 13/13 15. นายสงั ขเวิน ทวดหอย กรรมการ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 12/13 16. นายเสนีย จิตตเกษม กรรมการ ∕ × ∕ ∕ ××× ∕ ∕ × ∕ × ∕ 7/13 17. นายธีรพงศ ตนั ติเพชราภรณ กรรมการ เริม่ วาระ 12 ม.ค. 59 ∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕ 13/13 18. นายสาย อน่ิ คาํ กรรมการ ∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕∕ 13/13 19. นายธนวรรธน พลวชิ ยั กรรมการ ∕×∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ 10/13 20. นายพชิ ัย ถนิ่ สันติสุข กรรมการ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕×∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ ∕ 12/13 21. นดารย. ธธธี ีธชั ัช สสุขุขสสะะออาดาด กรรมการและเลขานกุ าร เริม� วาระ 23 มี.ค. 59 ∕∕∕∕∕∕ 6/6

030 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย ตารางสรุปการเขา้ ประชมุ /เบี้ยประชมุ คณะอนกุ รรมการชดุ ตา่ งๆ (ต.ค. 2558 – ก.ย. 2559) 1.  คณะอนุกรรมการด้านกฎหมายและระเบยี บของการยางแหง่ ประเทศไทย รายชือ่ คณะกรรมการ ตำ� แหนง่ รว่ มประชมุ / จำ� นวนเงนิ เบย้ี ประชมุ การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทง้ั หมด ท่ไี ด้รับ (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. ร.ต.ท. อาทิตย์ บุญญะโสภตั อนุกรรมการ 6/12 60,000 2. นายประสทิ ธ์ิ หมีดเสน็ 9/11 40,000 มีอำ� นาจหนา้ ทด่ี งั นี้ 1) ศกึ ษาและเสนอแนะแนวทางบูรณาการ ปรบั ปรงุ แก้ไข หรอื ยกเลิก ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกาศ หรอื คำ� ส่ัง ของส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง และองค์การสวนยาง เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตาม พระราชบัญญตั กิ ารยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 2) เสนอความเหน็ ในการออกระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศ หรอื คำ� สงั่ ตาม พระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 3) ยกร่างระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือข้อบังคับต่างๆ ที่เก่ียวกับการด�ำเนินงาน การบริหารงานของ การยางแหง่ ประเทศไทย 4) แตง่ ต้งั คณะทำ� งานเพื่อสนับสนนุ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ตามความจำ� เป็น และเหมาะสม 5) ปฏิบัตหิ น้าทอี่ ื่นๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 2. คณะอนุกรรมการติดตามการด�ำเนินการโอนกิจการ เงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หน้ีสิน ภาระผูกพันและ งบประมาณของกองทุนสงเคราะหก์ ารท�ำสวนยาง องคก์ ารสวนยาง และสถาบันวิจัยยาง ไปเปน็ ของ การยางแหง่ ประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการ ต�ำแหน่ง ร่วมประชมุ / จำ� นวนเงินเบยี้ ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชุมทัง้ หมด ท่ีไดร้ บั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายเอด วบิ ูลย์เจรญิ อนุกรรมการ 2/2 20,000 2. นางสาวลดาวัลย์ คำ� ภา 3/3 24,000 3. นายชุติวฒั น์ วรรธนผล ประธานอนุกรรมการ 1/1 10,000 4. นายสาย อิ่นคำ� อนกุ รรมการ 1/1 8,000 มอี ำ� นาจหนา้ ทด่ี ังนี้ ศึกษาและเสนอแนะแนวทางบูรณาการ ปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิก ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือค�ำสั่ง ของสำ� นกั งานกองทนุ สงเคราะหก์ ารทำ� สวนยาง และองคก์ ารสวนยาง เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคต์ ามพระราชบญั ญตั ิ การยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 031 3.  คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาคา่ ตอบแทนผูว้ ่าการการยางแห่งประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ตำ� แหน่ง ร่วมประชมุ / จ�ำนวนเงนิ เบ้ยี ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ทั้งหมด ที่ได้รบั (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายชตุ ิวัฒน์ วรรธนผล อนุกรรมการ 2/2 10,000 2. นายปณิธาน จินดาภ ู 2/2 8,000 โดยมีอ�ำนาจหน้าท่ี พิจารณาค่าตอบแทนผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทยช่ัวคราว เสนอคณะกรรมการการยาง แหง่ ประเทศไทย 4.  คณะอนกุ รรมการดา้ นการจดั การโครงสรา้ งองคก์ ร โครงสรา้ งอตั ราเงนิ เดอื น ตำ� แหนง่ และอตั รากำ� ลงั ของการยางแหง่ ประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการ ต�ำแหน่ง ร่วมประชมุ / จ�ำนวนเงนิ เบ้ียประชุม การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทง้ั หมด ทไี่ ดร้ ับ (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายเชาว์ ทรงอาวุธ ประธานอนุกรรมการ 3/3 10,000 2. ดร. ธธี ัช สุขสะอาด 1/1 10,000 มอี ำ� นาจหน้าที่ดงั น้ี 1) พจิ ารณาและให้ความเห็นขอ้ เสนอด้านโครงสร้างองคก์ ร โครงสร้างอัตราเงินเดือน ต�ำแหน่ง และอตั รากำ� ลงั ของการยางแหง่ ประเทศไทย เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั อำ� นาจหนา้ ทต่ี ามพระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 2) พิจารณาให้ความเห็นในเรื่องของการบรรจุ แต่งต้ัง อัตราเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน สวัสดิการ และ ประโยชน์อย่างอืน่ ในการโอนเป็นพนกั งานหรือลกู จ้างของการยางแหง่ ประเทศไทย 3) พิจารณาและให้ความเห็นข้อเสนอด้านอ�ำนาจหน้าท่ีความรับผิดชอบของส่วนงานและหน่วยงาน เพื่อให้ ครอบคลมุ ครบถว้ น โดยคำ� นงึ ถงึ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล ความไมซ่ ำ�้ ซอ้ น ความประหยดั และความรวดเรว็ เปน็ หลกั 4) แตง่ ต้ังคณะท�ำงานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าทไ่ี ดต้ ามความจำ� เปน็ และเหมาะสม 5) ปฏบิ ตั ิหนา้ ทอี่ น่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย โดยให้คณะอนุกรรมการดำ� เนนิ การตามอำ� นาจหนา้ ทใ่ี หแ้ ลว้ เสร็จภายในวันท่ี 30 มถิ ุนายน 2559

032 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 5.  คณะอนกุ รรมการบริหารจัดการสารสนเทศและการส่อื สารของการยางแหง่ ประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการ ตำ� แหนง่ รว่ มประชุม/ จำ� นวนเงนิ เบยี้ ประชุม การยางแหง่ ประเทศไทย การประชมุ ทั้งหมด ท่ีได้รับ (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายธนวรรธน์ พลวชิ ยั อนุกรรมการ 3/3 30,000 2. นายพชิ ัย ถิน่ สนั ตสิ ขุ อนุกรรมการ 3/3 24,000 3. นายธรี พงศ์ ตนั ตเิ พชราภรณ์ 3/3 16,000 ใหค้ ณะอนกุ รรมการมอี �ำนาจหนา้ ที่ดังน้ี 1) ก�ำหนดทิศทางกลยุทธ์และนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของการยางแห่งประเทศไทย ใหม้ ปี ระสิทธิภาพและสอดคลอ้ งกับวสิ ัยทศั น์ของการยางแหง่ ประเทศไทย 2) พิจารณากลั่นกรองแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และแผนปฏิบัติการระบบสารสนเทศ และการสื่อสาร ให้ตอบสนองต่อความต้องการขององค์กร และนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภายใน และภายนอกองคก์ ร 3) ติดตามและทบทวนความเพียงพอของระบบสารสนเทศและการส่ือสาร ท่ีสนับสนุนการบริหารจัดการของ การยางแหง่ ประเทศไทย สนบั สนนุ การบรหิ ารความเสยี่ ง สนบั สนนุ การควบคมุ ภายในและตรวจสอบภายใน สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล และที่สนองตอบต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ท้ังภายในและ ภายนอกองคก์ ร 4) ติดตามและทบทวนให้มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กรด้านทักษะ และความสามารถ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร 5) ติดตามและทบทวนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อรองรับ การใช้งานระบบสารสนเทศและการสือ่ สารขององคก์ รให้มีประสิทธภิ าพ 6.  คณะกรรมการตรวจสอบการยางแห่งประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ต�ำแหน่ง รว่ มประชมุ / จ�ำนวนเงินเบี้ยประชมุ การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทั้งหมด ทไ่ี ดร้ บั (บาท) ประธานกรรมการ 1. นางสาวลดาวัลย์ คำ� ภา กรรมการ 7/7 112,000 2. นายปณิธาน จนิ ดาภู กรรมการ 7/7 56,000 3. นายเสนีย์ จติ ตเกษม กรรมการ 6/7 56,000 4. นายธนวรรธน์ พลวชิ ัย 6/7 56,000

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 033 ให้คณะกรรมการดังกล่าวมีอ�ำนาจหน้าท่ีตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและ หนว่ ยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกจิ พ.ศ.2555 และให้ถือปฏิบตั ิตามมตคิ ณะรัฐมนตรีทเ่ี ก่ียวขอ้ ง รวมทง้ั หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ ตามท่ีกระทรวงการคลังก�ำหนด โดยให้มีอ�ำนาจ ตรวจสอบภารกจิ เดิมของสำ� นกั งานกองทุนสงเคราะหก์ ารทำ� สวนยาง และองค์การสวนยางด้วย 7.  คณะกรรมการบรหิ ารความเสี่ยงและควบคุมภายในของการยางแห่งประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ตำ� แหนง่ ร่วมประชุม/ จำ� นวนเงินเบ้ยี ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชุมทงั้ หมด ทไ่ี ดร้ บั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายประสทิ ธ์ิ หมีดเสน็ อนุกรรมการ 7/7 40,000 2. นางกุลณี อศิ ดศิ ยั อนกุ รรมการ 7/7 48,000 3. นายสาย อิน่ คำ� อนุกรรมการ 6/7 48,000 4. นายเชาว์ ทรงอาวธุ อนกุ รรมการ 0/2 5. ดร. ธีธชั สุขสะอาด 3/5 - 24,000 ใหค้ ณะอนกุ รรมการมีอ�ำนาจหน้าทีด่ ังต่อไปน้ี 1) ศึกษา ทบทวน และประเมินความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงแนวโน้มของผลกระทบที่อาจมีต่อองค์กร ทั้งความเส่ยี งจากภายนอกและภายในองค์กร โดยครอบคลมุ ไม่ตำ�่ กวา่ 4 ประการดงั น้ี 1.1 ความเสย่ี งด้านกลยทุ ธ์ (Strategy Risk) 1.2 ความเส่ยี งดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน (Operation Risk) 1.3 ความเสย่ี งด้านการเงนิ (Financial Risk) 1.4 ความเส่ยี งด้านการตลาด (Marketing Risk) 1.5 ความเสี่ยงด้านกฎ ระเบยี บ ข้อบังคับฯ (Compliance Risk) 2) ก�ำหนดนโยบายการบริหารความเส่ียง เสนอต่อคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทยเพ่ือพิจารณา ในเรอื่ งการบริหารความเส่ียงโดยรวม 3) ก�ำหนดกลยุทธ์ โครงสร้างขององค์กร และทรัพยากรที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ นโยบายการบริหารความเสยี่ ง ตลอดจนกลยทุ ธ์และทศิ ทางภารกจิ ของการยางแหง่ ประเทศไทย 4) ก�ำหนดวงเงินหรือประเภทของกิจกรรมตามความเส่ียง เสนอต่อคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย เพอ่ื ขออนุมัตเิ ปน็ เกณฑใ์ นการปฏิบัตงิ าน ในสถานการณ์ความเสยี่ งแตล่ ะประเภท 5) ก�ำกับดแู ล ตลอดจนทบทวนนโยบาย กลยทุ ธ์ และวธิ ีปฏบิ ัติ เพอื่ ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ กลยทุ ธก์ ารบรหิ ารความเสี่ยง ได้นำ� ไปปฏบิ ัตอิ ย่างเหมาะสม 6) รับผิดชอบการติดตามการควบคุมภายในองค์กร และติดตามความก้าวหน้าของแผนการด�ำเนินงาน การจัดวางระบบควบคมุ ภายในของการยางแห่งประเทศไทย 7) แต่งตัง้ คณะท�ำงานเพอ่ื สนบั สนุนการปฏบิ ตั หิ น้าทไี่ ดต้ ามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 8) ปฏิบตั หิ น้าท่อี ่ืนตามท่ไี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย

034 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 8.  คณะอนุกรรมการการกำ� กับดแู ลกิจการทด่ี ีของการยางแหง่ ประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ตำ� แหนง่ รว่ มประชมุ / จำ� นวนเงินเบี้ยประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ท้งั หมด ทีไ่ ด้รบั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายสรุ พล จารพุ งศ ์ อนุกรรมการ 6/6 60,000 2. นายประสิทธ์ิ หมีดเสน็ อนกุ รรมการ 4/6 16,000 3. นางสาวลดาวัลย์ คำ� ภา อนกุ รรมการ 5/6 40,000 4. นายเชาว์ ทรงอาวุธ อนุกรรมการ 1/1 8,000 5. ดร. ธีธัช สุขสะอาด 4/5 32,000 ให้คณะอนุกรรมการมอี �ำนาจหนา้ ท่ีดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย และแผนการด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแล ประจ�ำปีบัญชีที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และสอดคล้องไปกับการด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการการยาง แหง่ ประเทศไทย 2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เกี่ยวกับการส่งเสริมให้มีการก�ำกับดูแล กิจการทด่ี ี 3) ตดิ ตามและรายงานผลการดำ� เนนิ งาน พรอ้ มทง้ั ประเมนิ ผลสำ� เรจ็ ทเี่ ปน็ รปู ธรรม และรายงานใหค้ ณะกรรมการ การยางแห่งประเทศไทยทราบ 9.  คณะอนกุ รรมการทบทวนและจดั ท�ำแผนวสิ าหกจิ การยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2560 – 2564 รายช่อื คณะกรรมการ ตำ� แหน่ง ร่วมประชุม/ จำ� นวนเงินเบี้ยประชมุ การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทงั้ หมด ทีไ่ ดร้ บั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายธนวรรธน์ พลวชิ ยั อนุกรรมการ 4/4 40,000 2. นายพิชัย ถิน่ สันตสิ ขุ อนุกรรมการ 4/4 32,000 3. นายธีรพงศ์ ตนั ติเพชราภรณ์ อนกุ รรมการ 3/4 34,000 4. นายเชาว์ ทรงอาวธุ อนกุ รรมการ 1/2 8,000 5. ดร. ธีธชั สุขสะอาด 1/2 8,000 ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าทดี่ ังตอ่ ไปน้ี 1) ทบทวนและจดั ท�ำแผนวิสาหกิจการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 รวมถึงจดั ท�ำแผนงานโครงการ ให้สอดคล้องกบั วิสัยทศั น์ พันธกิจ และยทุ ธศาสตรข์ ององค์กร 2) ศกึ ษาวเิ คราะห์ และให้ข้อเสนอแนะ ในการทบทวนแผนวสิ าหกิจเปน็ ประจำ� ทกุ ปี

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 035 3) ดำ� เนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในวนั ที่ 30 กรกฎาคม 2559 และนำ� เสนอคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย เพ่อื ให้ความเห็นชอบภายในเดือนสิงหาคม 2559 4) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.  คณะอนุกรรมการด�ำเนนิ งานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบ (CSR) ของการยางแหง่ ประเทศไทย รายชอื่ คณะกรรมการ ต�ำแหนง่ ร่วมประชุม/ จ�ำนวนเงินเบี้ยประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ทงั้ หมด ท่ไี ด้รับ (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายเสนีย์ จิตตเกษม อนกุ รรมการ 4/4 40,000 2. นายสาย อิ่นคำ� อนกุ รรมการ 4/4 32,000 3. นายสังขเ์ วิน ทวดหอ้ ย อนุกรรมการ 4/4 32,000 4. นายเชาว์ ทรงอาวธุ อนุกรรมการ 0/1 5. ดร. ธีธชั สุขสะอาด 0/3 - - ให้คณะอนุกรรมการมอี ำ� นาจหนา้ ท่ี ดงั น้ี 1) ติดตามการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของการยางแห่งประเทศไทยอย่างสม�่ำเสมอ อย่างน้อยเปน็ รายไตรมาส 2) กำ� กบั การดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมของการยางแหง่ ประเทศไทย ใหบ้ รรลผุ ลสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายของแผนการด�ำเนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 3) ก�ำกับดูแลให้มีการจัดท�ำรายงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของการยางแห่งประเทศไทย ต่อคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทยทราบ 11.  คณะอนุกรรมการด้านทรัพยากรบุคคลของการยางแห่งประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ตำ� แหน่ง ร่วมประชมุ / จำ� นวนเงนิ เบ้ียประชุม การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทง้ั หมด ท่ีได้รับ (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายประสิทธ์ิ หมดี เส็น อนกุ รรมการ 4/4 30,000 2. นายสุรพล จารพุ งศ ์ อนุกรรมการ 4/4 24,000 3. นายธรี พงศ์ ตนั ตเิ พชราภรณ ์ 4/4 24,000 โดยใหค้ ณะอนุกรรมการ มอี ำ� นาจหน้าทีก่ ลน่ั กรองการก�ำหนดกลยทุ ธแ์ ละแผนงานด้านทรพั ยากรบคุ คล รวมทั้ง ติดตามและรายงานผลการด�ำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลของการยางแห่งประเทศไทย เสนอคณะกรรมการการยาง แหง่ ประเทศไทย

036 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย 12.  คณะอนุกรรมการสรรหากรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย รายชื่อคณะกรรมการ ตำ� แหนง่ รว่ มประชุม/ จ�ำนวนเงินเบ้ยี ประชมุ การยางแหง่ ประเทศไทย การประชุมทั้งหมด ทีไ่ ดร้ บั (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายเลศิ วโิ รจน์ โกวฒั นะ อนกุ รรมการ 2/2 10,000 2. นายณฐั พงศ์ ศริ ชิ นะ 2/2 8,000 โดยให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่สรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งต้ังเป็นกรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 13.  คณะอนุกรรมการจัดทำ� งบประมาณและการบริหารเงินกองทนุ พฒั นายางพาราตามมาตรา 49 รายช่อื คณะกรรมการ ต�ำแหนง่ รว่ มประชุม/ จำ� นวนเงนิ เบย้ี ประชุม การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ท้ังหมด ท่ไี ด้รบั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายธรี พงศ์ ตนั ติเพชราภรณ ์ อนุกรรมการ 3/3 20,000 2. นายประสิทธ์ิ หมดี เสน็ อนกุ รรมการ 3/3 18,000 3. นายสงั ขเ์ วนิ ทวดห้อย อนกุ รรมการ 3/3 16,000 4. นายสาย อ่นิ ค�ำ อนุกรรมการ 3/3 16,000 5. นายเชาว์ ทรงอาวุธ อนกุ รรมการ 1/2 8,000 6. ดร. ธีธชั สุขสะอาด 0/1 - ให้คณะอนุกรรมการมอี ำ� นาจหนา้ ทด่ี งั นี้ 1) เพื่อท�ำหน้าที่กลั่นกรองรายละเอียด ประมาณการรายรับ รายจ่าย และงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ของ กยท. กอ่ นนำ� เสนอคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ใหค้ วามเหน็ ชอบงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี ของ กยท. ตอ่ ไป 2) แตง่ ต้งั คณะท�ำงานเพอื่ สนบั สนุนการปฏิบตั ิงาน ไดต้ ามความจำ� เป็นและเหมาะสม 3) ปฏบิ ตั งิ านอืน่ ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 037 14.  คณะอนกุ รรมการยทุ ธศาสตรก์ ารค้าและการลงทนุ รายชอ่ื คณะกรรมการ ตำ� แหนง่ ร่วมประชุม/ จำ� นวนเงนิ เบี้ยประชุม การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ทงั้ หมด ที่ไดร้ บั (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายพชิ ยั ถ่นิ สันติสขุ อนุกรรมการ 4/4 30,000 2. นางกุลณี อิศดิศยั อนุกรรมการ 4/4 24,000 3. นายเสนยี ์ จติ ตเกษม อนุกรรมการ 1/4 8,000 4. นายธีรพงศ์ ตนั ติเพชราภรณ์ อนกุ รรมการ 3/4 16,000 5. นายธนวรรธน์ พลวชิ ัย อนกุ รรมการ 3/4 16,000 6. นายปณิธาน จินดาภู 3/4 24,000 ใหค้ ณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหนา้ ท่ดี งั นี้ 1) ก�ำหนดนโยบาย และพิจารณาหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการด้านการค้าและการลงทุนของการยาง แหง่ ประเทศไทย 2) ติดตาม ก�ำกับ ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานด้านการค้าและการลงทุนของการยาง แหง่ ประเทศไทย 3) รายงานผลการดำ� เนินงาน เสนอคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 4) แตง่ ตง้ั คณะท�ำงานเพอื่ สนับสนุนการปฏิบตั ิหน้าทไี่ ดต้ ามความจ�ำเปน็ และเหมาะสม 5) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ืน่ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 15.  คณะอนุกรรมการศกึ ษาแนวทางการจดั หาปุ๋ย ในปี 2559 – 2560 รายชอ่ื คณะกรรมการ ตำ� แหน่ง ร่วมประชุม/ จ�ำนวนเงนิ เบย้ี ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชมุ ทั้งหมด ทไี่ ด้รับ (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นางกลุ ณี อิศดศิ ยั อนุกรรมการ 4/4 20,000 2. นายสุรพล จารพุ งศ์ อนกุ รรมการ 1/4 8,000 3. นายชตุ วิ ฒั น์ วรรธนผล อนุกรรมการ 1/4 8,000 4. นายประสิทธิ์ หมีดเสน็ อนกุ รรมการ 2/4 - 5. นายธรี พงศ์ ตนั ติเพชราภรณ์ อนุกรรมการ 4/4 16,000 6. นายสังข์เวนิ ทวดห้อย 4/4 32,000 ใหค้ ณะอนกุ รรมการศกึ ษาแนวทางการจดั หาปยุ๋ ในปี 2559 – 2560 มหี นา้ ทศ่ี กึ ษาแนวทางการบรหิ ารจดั การปยุ๋ โดยก�ำกับดูแลการจัดหาปุ๋ยให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ด้วยคุณภาพท่ีได้มาตรฐาน และราคาท่ีเป็นธรรม ด้วย ความโปรง่ ใส ถกู ตอ้ งตามระเบยี บ และน�ำเสนอคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย เพอ่ื พิจารณา

038 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย 16.  คณะอนุกรรมการติดตามตรวจสอบการสง่ ออกยางพารา รายชือ่ คณะกรรมการ ต�ำแหน่ง ร่วมประชุม/ จ�ำนวนเงินเบยี้ ประชุม การยางแหง่ ประเทศไทย การประชมุ ท้งั หมด ท่ีไดร้ บั (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นางกลุ ณี อิศดศิ ัย อนุกรรมการ 4/4 20,000 2. นายสุรพล จารุพงศ ์ อนุกรรมการ 3/4 16,000 3. นายพชิ ัย ถิ่นสนั ตสิ ุข อนกุ รรมการ 3/4 16,000 4. นายธนวรรธน์ พลวิชยั 1/4 8,000 ใหค้ ณะอนกุ รรมการมีอ�ำนาจหน้าท่ีดังน้ี 1) พจิ ารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์ เง่อื นไข วธิ กี าร การตรวจสอบ ควบคมุ ตดิ ตาม กำ� กับปรมิ าณการสง่ ยางพารา ออกนอกราชอาณาจกั ร 2) ติดตามตรวจสอบ ควบคุม ก�ำกับปริมาณการส่งยางพาราออกนอกราชอาณาจักร และเสนอแนะแนวทาง วิธีการควบคมุ ปริมาณ การส่งยางออกนอกราชอาณาจกั ร 3) รายงานผลการปฏิบตั งิ านเสนอคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย 4) แตง่ ตัง้ คณะทำ� งานเพอื่ ช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานได้ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 5) ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 17.  คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ต�ำแหนง่ ร่วมประชมุ / จ�ำนวนเงนิ เบยี้ ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชุมทง้ั หมด ท่ีไดร้ ับ (บาท) ประธานอนกุ รรมการ 1. นายสุรพล จารุพงศ์ อนกุ รรมการ 2/2 10,000 2. นายธนวรรธน์ พลวิชยั อนกุ รรมการ 2/2 8,000 3. นายปณิธาน จินดาภู 2/2 8,000 โดยให้คณะกรรมการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทยมอี ำ� นาจและหนา้ ทด่ี งั ตอ่ ไปนี้ 1) ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย โดยค�ำนึงถึง เป้าหมาย ระดับความส�ำเร็จ (Benchmark) ของเป้าหมายหรือพันธกิจ รวมท้ังตัวชี้วัดที่ชัดเจน อันเป็น ความรับผิดชอบของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย แล้วเสนอคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ใหค้ วามเหน็ ชอบ เพอื่ จดั สง่ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารดงั กลา่ วใหส้ ำ� นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ ทราบ 2) พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทยครั้งแรก จากผลการปฏิบัติงาน ระหว่างวันที่ 23 มีนาคม 2559 ซ่ึงเป็นวันท่ีลงนามในสัญญาจ้าง ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2559 และ ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านครงั้ ต่อไปทุก 6 เดอื น 3) พิจารณาปรับเพิ่มค่าตอบแทนคงที่ประจ�ำปี ให้เป็นไปตามสัญญาจ้างผู้บริหารในต�ำแหน่งผู้ว่าการการยาง แห่งประเทศไทย และน�ำเสนอคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทยเพอ่ื พิจารณา

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 039 18.  คณะกรรมการสรรหาผูว้ า่ การการยางแห่งประเทศไทย รายชอื่ คณะกรรมการ ต�ำแหนง่ รว่ มประชมุ / จ�ำนวนเงนิ เบีย้ ประชุม การยางแหง่ ประเทศไทย การประชมุ ท้งั หมด ท่ไี ดร้ บั (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายเลิศวโิ รจน์ โกวฒั นะ กรรมการ 3/3 20,000 2. นายปณิธาน จนิ ดาภ ู กรรมการ 6/7 24,000 3. นางสาวลดาวัลย์ ค�ำภา 7/7 32,000 ให้คณะกรรมการมอี �ำนาจหนา้ ที่พจิ ารณาสรรหาบุคคล ผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถ และมีประสบการณท์ ี่เหมาะสม จะเป็นผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ เพ่ือแต่งตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย และพิจารณาก�ำหนด อัตราเงินเดือนของผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย โดยให้ด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน แล้วน�ำเสนอ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย 19. คณะกรรมการสรรหาผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่า (นักบริหารระดับ 9) และ รองผวู้ า่ การการยางแหง่ ประเทศไทย (นักบริหารระดบั 10) รายชอ่ื คณะกรรมการ ต�ำแหน่ง รว่ มประชมุ / จำ� นวนเงนิ เบ้ยี ประชมุ การยางแห่งประเทศไทย การประชุมท้งั หมด ท่ไี ด้รับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายประสทิ ธ์ิ หมดี เส็น กรรมการ 1/1 10,000 2. นายธนวรรธน์ พลวิชัย กรรมการ 1/1 8,000 3. ดร. ธธี ชั สุขสะอาด 1/1 8,000 ให้คณะกรรมการมีอำ� นาจหน้าทดี่ งั น้ี 1) ก�ำหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไข คุณสมบัติผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือ เทยี บเทา่ (นกั บริหารระดับ 9) และรองผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย (นกั บริหารระดับ 10) 2) คัดเลือกผู้สมัครเข้าด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่า (นักบริหารระดับ 9) และรองผู้ว่าการ การยางแห่งประเทศไทย (นักบริหารระดบั 10) 3) เสนอรายชอื่ ผไู้ ด้รับการคดั เลอื กเข้าดำ� รงต�ำแหนง่ ผอู้ �ำนวยการฝา่ ยหรือเทยี บเท่า (นักบริหารระดับ 9) และ รองผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย (นักบริหารระดับ 10) ต่อคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย เพ่ือพจิ ารณา



นโยบายและโครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) และนโยบายและโครงสร้างการแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR)

042 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย นโยบายและโครงสรา้ งการก�ำกับดูแลกิจการทดี่ ี (CG) การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ตระหนักถึง ผบู้ รหิ าร และพนกั งานเกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารกำ� กบั ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี (Corporate ดูแลกจิ การทีด่ ี Good Government) อันเป็นปัจจัยหลักส�ำคัญ ในการเสริมสร้างพัฒนาองค์กร เช่ือมโยงแนวทาง กยท. ได้ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย การปฏบิ ตั กิ ารกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล การก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ด้วย กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรทุกส่วนของ กยท. การใหบ้ คุ ลากรภายในองคก์ รทง้ั ผบู้ รหิ าร พนกั งาน ลกู จา้ ง เพื่อให้เกิดแนวทางในการปฏิบัติงานที่สามารถปฏิบัติ รวมถงึ คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย มสี ว่ นรว่ ม ได้จริง เพ่ือส่งเสริมให้ กยท. เป็นหน่วยงานท่ีมี ในการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี และเสริมสร้างจิตส�ำนึก ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน มีการก�ำกับดูแลกิจการ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อให้องค์กรเจริญเติบโต และบริหารจัดการท่ีดีเลิศ ท�ำให้เกิดการยึดเหน่ียว และ อยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป ซง่ึ นโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ขี อง สามารถตอบสนองความพึงพอใจและความคาดหวัง การยางแห่งประเทศไทยจะครอบคลุมนโยบายหลัก ของประชาชนและภาคธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย มีความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ และตรวจสอบได้ รวมถึงการมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีการส่งเสริมให้ 1. ด้านบทบาทและความรับผิดชอบของ บุคลากรในองค์กรเป็นทั้งคนเก่งและคนดี มีจริยธรรม คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย และธรรมาภิบาล ซ่ึงจะช่วยสร้างความเช่ือม่ันต่อผู้รับ บริการ ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี หรอื ผ้เู กีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ย 2. ด้านการบรหิ ารจดั การองค์กร นโยบายการก�ำกบั ดูแลกิจการท่ดี ี 3. ดา้ นบทบาทของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 4. ด้านบุคลากร คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทยก�ำหนด 1. ด้านบทบาทและความรบั ผิดชอบของ ให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของการยาง คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย แหง่ ประเทศไทย เพอ่ื เปน็ นโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ย า ง แ ห ่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ขององค์กร และเป็นแนวทางส่งเสริมให้การด�ำเนินงาน พ.ศ. 2558 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ ของ กยท. เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ โปร่งใส และเปน็ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 และมผี ลบังคับใชใ้ นวันที่ 15 ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ตามหลักการ กรกฎาคม 2558 บัญญัติให้คณะกรรมการคณะหนึ่ง สากลในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และตามแนวทาง เรียกว่า “คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย” โดย การประเมินผลการด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจของ คณะกรรมการฯ จะตอ้ งยดึ มน่ั ในหลกั การและปฏบิ ตั ติ าม ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ โดยมี แนวทางทกี่ ำ� หนดไวใ้ นหลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการกำ� กบั คณะอนุกรรมการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของการยาง ดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ 7 ประการ และมีบทบาท แหง่ ประเทศไทย ทำ� หนา้ ทกี่ ำ� กบั ดแู ล ตดิ ตามและรายงาน ส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการเพ่ือประโยชน์สูงสุดของ ผลการด�ำเนินงาน พร้อมท้ังประเมินผลส�ำเร็จที่เป็น กยท. มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อ รปู ธรรมเสนอต่อคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ผ้เู ก่ียวข้องและเป็นอสิ ระจากฝา่ ยบรหิ าร ทราบ พร้อมท้งั ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ ในปี 2559 กยท. มีการด�ำเนินงานด้านบทบาท แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ย า ง แห่งประเทศไทย ดังน้ี

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 043  คณะกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ องค์กรการยางแห่งประเทศไทย และได้เชิญ ดร.ไวฑูรย์ บ ร ร ย า ย ใ น ท่ี ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ย า ง แ ห ่ ง โภคาชยั พฒั น์ กรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ทรสิ คอรป์ อเรชน่ั ประเทศไทย เรื่อง บทบาทคณะกรรมการการยางแห่ง จ�ำกัด เพื่อมาบรรยายเก่ียวกับบทบาทคณะกรรมการ ประเทศไทย และการประเมินการยางแห่งประเทศไทย รัฐวสิ าหกิจ เมอ่ื วนั ที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2559 ซ่งึ กยท. ไดช้ ้แี จงเกีย่ วกบั  การบรรยายเร่อื ง บทบาทคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย และการประเมนิ การยางแห่งประเทศไทย

044 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแห่งประเทศไทย ณยาะาะยกยเกรเรรื่อรรือ่ งรงมบมบกทกทาบาบนราราทาทยนคนธคณาีรณาพะย ะยกงคธกรศธณนร์ นรมะตวมกักนวรการตรรราิรเรกรธพมกาธชนกรานรยรา ายารพ ภงาพรลแงนณลแหวาหง์วยิชปนง ิธชัยปรานัะยยรวเะพนทรเนิชทศารัยไธศายทนไยธถทย์ ่ินธีรยแพสีรพลแัลนพะงลวตกิศะงชิสากัุศยข ราตป รตัรนปะัรนตเกกะมติเเาาินมพรริเกนิดจพขา�กำัดรขเรากนยราราิานยภรงากาแดภางรห้ารแณรนงดหปณ้าโง รรนปนงะกรงเนาาทะารยเานศทผพไยแลศทลิตพิไชยทะัยิชสแยปวัยถนรรย่ินถูปาส่ินงแใันสนลตันพะกื้ิสนตาทุขิรส่ี ตุขแลลา ะ ด คคณณะะออนนุกุกรรผรรู้วมม่ากกกาาารรรทกทยบบทท.ทวแวนลนะแคแลณละะะจอจัดนัดุกทรทํารําแมแกผาผนรนทวบวิสทิสาวหานหกแลกิจะิจกกยยทเพท.ือ่ .รบัพทพ.รศา.ศ.บ2ข.2้อ5ม56ูลแ60ล0ะ-2ก-ร25ะบ56วน64ก4ารไปดฏไลบิดตังลงิ พางนื้นพจทรื้นิง่ีทแี่ละ มมื่อื่อววันันทที่ ่ี229จ9ัดท�ำมแมีนผีนนาวาคิสคามหมก2จิ 25ก5ย5ท59.9พ.ศเ.พเพ2่ือ5่ือ6เย0เ-ย่ีย2่ี5ยม6มช4ชมไดมกล้ กางพรานื้ ดรทดํา่ี เํานเนิ ริน่วงมางในาหนข้ ้ออขสองังตงเกลตตาลแดาละกดขลก้อาลเสงานยงอายแงานพงะาพเกรี่ายาวรกากับาปกราะรเด็น ลาาะระรสปสปวฏวฏนนิบยิบยัตาัตาิงงิงงาจเใพาในน.นื่นอนพจคเพจยรร้ืน่ียรื้นศิงมทิงรทชีแธ่ี มแแี่รลกแรลลาะมลระะรรดะรกาว�ำกชวเามนามรใิเนรมดหใงด่ืหอาําขนวําเขอันขนเออนสทินงส่ีังินตก2ังเลกก9าเาการตดมรดตกีนดลแาาาแลานคงลนยะกมาะขกาง2ขพอรา5าผอรเ5รสผลเ9าสนลิตนอิตแอแทแปแนีส่ ปรน�ำะครเะญั กูปรเใกี่ยูปนแกี่วยาลแกวระลจักบดั กะับปทาก�ำปรรแาะผรตรนเะลตดวเิสาล็นดาดาห็ทนกด่ีทสเจิ พแําี่สเกื่พอคํา่ครัญื่อคณับระัญใอทับนนใรทกนุการารกรบรามากบรารฯ กกค คณณะะออนนกุ ุกรรรรมมกกาารรฯฯ มมกกาารรเยเยี่ย่ียมมชชมมกกาารรดดาํ ําเนเนนิ นิ งางานนขขอองตงตลลาดาดกกลลางายงายงาพงพาราารากากราจรัดจกัดากราดราดนาโนรโงรงงางนาแนลแะลสะวสนวยนายงาใงนใพน้ืนพทน้ื ี่ ที่ แแลละะกกาารรดดาํ าํเนเนนิ นิ กการาดรดา นานกการาผรผลติลติ แปแปรรรปู รปู แลแะลกะากราตรลตาลดาด - 2- 2- -  คณะกรรมการเย่ยี มชมการด�ำเนินงานของตลาดกลางยางพารา การจัดการด้านโรงงานและสวนยางในพื้นที่ และการด�ำเนินการด้านการผลติ แปรรปู และการตลาด

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 045  นายสงั ขเ์ วนิ ทวดหอ้ ย กรรมการ กยท. ลงพนื้ ที่ ในพ้ืนท่ี กยท. อ.ช้างกลาง เพื่อรับทราบข้อมูลและ จ.นครศรธี รรมราช เมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 เพ่อื เข้าชมการปฏิบัติงานจริง รวมถึงการด�ำเนินงาน เยี่ยมชมการด�ำเนินงานและการจัดการด้านโรงงาน ดา้ นการผลติ -แปรรูปยาง  กรรมการ กยท. ลงพื้นท่ี จ.นครศรีธรรมราช เยี่ยมชมการด�ำเนินงานและการจัดการดา้ นโรงงานในพ้ืนที่ กยท. อ.ช้างกลาง

046 รายงานประจำ� ปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย  การยางแหง่ ประเทศไทย รว่ มกบั สภาอตุ สาหกรรม การยางแห่งประเทศไทย กล่าวเป็นประธานเปิดงาน แห่งประเทศไทย จัดสัมมนา “ยางพาราสู่คุณค่า พร้อมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “อัศจรรย์พันธุ์พืช พลังงานชีวมวล” น�ำเสนอแนวทางการเพิ่มมูลค่า ยางพารา” โดยการสัมมนาครั้งนี้น�ำเสนอแนวทาง ยางพาราของประเทศ เมื่อวันท่ี 6 มิถุนายน 2559 การเพิ่มมูลค่ายางพารา พร้อมทั้งให้ผู้เข้ารับการสัมมนา ณ ห้อง GH202 ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา โดย มองเห็นถึงจุดแข็งโอกาสทางการค้า การลงทุน พลเอกฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ประธานกรรมการ ดา้ นอตุ สาหกรรมยาง และการผลิตยาง  งานสมั มนา “ยางพารา สู่คณุ ค่าพลงั งานชวี มวล”  คณะกรรมการ นายเสนยี ์ จติ ตเกษม นายสงั ขเ์ วนิ บ้านดงกระพง หมู่ท่ี 5 ต.น้�ำจั้น อ.เซกา จ.บึงกาฬ ทวดห้อย และนายสาย อิ่นค�ำ เย่ียมชมกิจการบริษัท เพอ่ื เยย่ี มชมและรบั ทราบการดำ� เนนิ งานโครงการทช่ี มุ ชน ส.กจิ ชยั บึงกาฬ จำ� กัด อ.ปากคาด จ.บงึ กาฬ เมอ่ื วันท่ี จัดข้ึนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการผลิต 10 มิถุนายน 2559 เพ่ือศึกษากระบวนการแปรรูป ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ตราต้นยาง โครงการปลูกยางนาผสม ไม้ยางพารา และเดินทางไปหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เช้ือเห็ดระโงกในสวนยาง เป็นต้น  คณะกรรมการเย่ยี มชมกจิ การบรษิ ัท ส.กจิ ชัย บงึ กาฬ จำ� กัด และหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง บ้านดงกระพง

Annual Report 2016 • Rubber Authority of Thailand 047  คณะกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษา เพ่ือน�ำขอ้ มูลต่างๆ ทีไ่ ดร้ บั ไปแก้ไขและพัฒนาเครอ่ื งจักร ดูงานและมอบนโยบาย ณ จ.อุดรธานี เม่ือวันที่ 8-9 ของแต่ละโรงงานให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น และ กรกฎาคม 2559 เพือ่ ศึกษาดงู านการปลูกพืชผสมผสาน เพื่อรองรบั การซอื้ ขายยางจากเกษตรกรใหม้ ากข้ึนด้วย และเศรษฐกิจพอเพียง ณ ไร่สวนเวียนมา อ.เมือง จ.อุดรธานี และศึกษาดูงาน ตรวจสอบสภาพปัญหา  คณะกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษา พรอ้ มมอบนโยบาย ณ กองจดั การโรงงาน 5 อ.วงั สามหมอ ดูงาน ณ สถาบันวจิ ัยยาง บางเขน กรงุ เทพฯ และ บริษัท จ.อดุ รธานี แสงไทย ผลติ ยาง จำ� กดั อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เมอ่ื วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2559 เพื่อใหค้ ณะกรรมการได้  คณะกรรมการ พรอ้ มดว้ ยผวู้ า่ การ กยท. ลงพน้ื ที่ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่า พบปะพนักงาน กยท. และตรวจเย่ียมกิจการของ ยางพารา และท�ำให้เห็นสถานการณ์จริง ปัญหาและ กองจัดการโรงงาน 1, 2, 3 และกองจัดการโรงไม้ อุปสรรค เพอื่ หาแนวทางการพฒั นา ปรับปรงุ แก้ไข ให้มี ณ จ.นครศรีธรรมราช เมื่อวันท่ี 20 กรกฎาคม 2559 ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ

048 รายงานประจ�ำปี 2559 • การยางแหง่ ประเทศไทย  นายสุรพล จารุพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เพื่อสอบถามความเห็นต่อร่าง MOU เร่ืองการชักชวน เกษตรและสหกรณ์ ในฐานะรองประธานกรรมการ ประเทศเวียดนามเข้าร่วมกลุ่มภาคีประเทศผู้ปลูก การยางแหง่ ประเทศไทย และผวู้ า่ การ กยท. เขา้ เยยี่ มคารวะ ยางพารา เพ่อื ผลักดันราคายางพาราใหส้ ูงขนึ้ ท้ังระบบ ผู้บรหิ ารระดบั สูงของกระทรวงเกษตร ประเทศเวยี ดนาม  กยท. เขา้ เยี่ยมคารวะผบู้ ริหารระดบั สูงของกระทรวงเกษตร ประเทศเวยี ดนาม  คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย พร้อม ผู้ผลิตยางล้อประเทศอินเดีย (Automotive Tyre ดว้ ยคณะยทุ ธศาสตรก์ ารค้าและการลงทุนของ กยท. เข้า Manufacturers Association : ATMA) ผู้แทนบริษัท รว่ มประชมุ ณ เมอื งนวิ เดลี ประเทศอนิ เดยี รว่ มกบั ผแู้ ทน ผลิตล้อรถยนต์ และผู้แทนบริษัทผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ สภาอตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย์ างอนิ เดยี (All India Rubber เพ่ือเป็นไปตามนโยบายภาครัฐและกระทรวงเกษตรและ Inclustries Association : AARIA) ผู้แทนสมาคม สหกรณท์ ม่ี แี ผนการสง่ เสรมิ ตลาดยางพาราในตา่ งประเทศ  คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย พร้อมด้วยคณะยทุ ธศาสตร์การค้าและการลงทุนของ กยท. เขา้ ร่วมประชมุ ณ เมอื งนิวเดลี ประเทศอนิ เดีย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook