สารสนเทศเกี่ยวกบั ผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย ภายในและภายนอกองค์กร
สารสนเทศเกย่ี วกบั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายในและภายนอกองค์กร สารสนเทศเกี่ยวกับผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอกองค์กร ณ ส้ินปีบัญชี 2561 ระบบสารสนเทศท่ีช่วยในการลดระยะเวลาในการให้บริการ/การอนุมัติ/การอนุญาต แก่ผใู้ ช้บริการ ภายนอกองคก์ ร ซ่งึ สรุประบบสารสนเทศ ตามตารางแสดงระบบงานและผใู้ ช้บรกิ ารภายนอกองค์กรดังน้ี ตารางแสดงระบบสารสนเทศที่ชว่ ยลดระยะเวลาในการให้บรกิ าร/การอนุมัต/ิ การอนุญาต แกบ่ ุคคลภายนอกองคก์ ร ระบบงาน ผู้ประกอบการ เจ้าของสวน คนกรีดยาง สถาบัน ธนาคาร กรศลุ กากร กรมสง่ เสริม กรมสง่ เสรมิ สศก. กรมการ เกษตร สหกรณ์ ปกครอง • • • • • รบั ชำ� ระคา่ ธรรมเนียม • • • • (e-Cess) • • • • • • รบั คำ� ขอฯ (A) • • • • •• ตรวจสวนฯ (F) • บญั ชีเจา้ ของสวน (R) • • พฒั นาอาชพี ฯ • ระบบทะเบยี น • • 49 (3) • • •• 49 (5) • 49 (6) ตลาดประมลู ยาง • อิเลก็ ทรอนกิ ส์ สร้างความเข้มแข็งฯ • (SFS) • การซ้อื ยางโครงการ ส่งเสริมฯ คสร. 1. ระบบสารสนเทศช่วยอำ� นวยความสะดวกใหบ้ ริการประชาชน • ระบบเว็บไซต์ www.raot.co.th • กยท. ไดพ้ ฒั นาเวบ็ ไซต์ www.raot.co.th เพ่อื เป็นช่องทางหนึง่ ใน การให้บริการข้อมูลแก่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ให้สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารของ กยท. ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
• ระบบบรกิ ารข้อมลู สำ� หรับเกษตรกรชาวสวนยาง (e-service) • โดยใหก้ ารบรกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารแกเ่ กษตรกรชาวสวนยาง ในสว่ นของ ขอ้ มลู บญั ชเี จา้ ของสวน ขอ้ มลู การตรวจสวน และการใหก้ ารสงเคราะห์ ปลกู แทน และได้มีการน�ำพัฒนาระบบใหเ้ กษตรกรสามารถเข้าถึงได้ง่าย ผา่ น mobile application โดยการดาวน์โหลดผา่ น ชอ่ งทาง apple store และ playstore • ระบบให้บริการข้อมูลเกษตรกร (e-service) ในรูปแบบ mobile application • ระบบบรกิ ารข้อมลู ส�ำหรับเกษตรกรชาวสวนยางและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องภายนอก กยท. ได้มีการให้บริการ ส่งข้อมูลข่าวสารราคายาง อาทิ ยางแผ่นดิบ ยางแผ่นรมครัวและน้�ำยางสด ฯลฯ ทางแอพพลิเคช่ัน “ยางไทย” ในช่วงไตรมาสท่ี 3 แทนการใช้ sms เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว ให้แก่ เกษตรกรชาวสวนยาง ประธานกล่มุ หรือสหกรณ์ชาวสวนยาง ครูยาง พนกั งาน กยท. และบุคคลอนื่ ๆ ที่มสี ่วนเก่ยี วข้อง ระบบบริการข้อมูลส�ำหรบั เกษตรกรผา่ นแอพพลิเคชั่น “ยางไทย” Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
• ระบบ KM และ e-library เปน็ ระบบเกบ็ องค์ความรู้เกีย่ วกับยางพาราหนงั สอื ออนไลน์ โดยทาง กยท. ได้นำ� วารสาร ยางพารามาเผยแพร่ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจเข้ามาศึกษา ท�ำให้เข้าถึงกลุ่มเกษตรกรได้ ทวั่ ถึง แทนการจดั พิมพ์ทใี่ ชง้ บประมาณคอ่ นข้างมาก ระบบ km ของ กยท. และระบบ e-library ของกยท.สำ� หรบั อ่านวารสารยางพารา และเอกสารวิชาการ 2. ระบบสารสนเทศในการให้บริการตา่ ง ๆ รว่ มกบั หน่วยงานอืน่ เพ่ือใหบ้ รกิ ารร่วมกนั ท่จี ุดเดยี ว (one-stop service) • ระบบรับช�ำระคา่ ธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ National Single Window (e-Cess) กยท. ได้ให้บริการระบบรับช�ำระค่าธรรมเนียมการส่งยางออกทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW และเชื่อมโยงขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนิกส์กับกรมศลุ กากร ผา่ นระบบ National Single Window (ระบบ e-Cess) เพอื่ ท่จี ะอำ� นวยความ สะดวก และลดขั้นตอนในการช�ำระค่าธรรมเนียมการสง่ ยางออก (Cess, เดมิ : เงินสงเคราะห)์ ใหแ้ กผ่ ูป้ ระกอบการสง่ ยางออกนอก ราชอาณาจกั ร ซงึ่ เปน็ ผใู้ ชบ้ รกิ าร และถอื เปน็ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกองคก์ รของ กยท. นอกจากนนั้ ระบบ e-Cess ไดถ้ กู พฒั นา ขึ้นเพ่ือรองรับการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง ตามนโยบาย การพัฒนา Thailand National Single Window อีกด้วย การให้บริการรับชำ� ระคา่ ธรรมเนียมการสง่ ยางออกทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ระบบ e-Cess) ของ กยท. สามารถ ชว่ ยอำ� นวยความสะดวก ลดขนั้ ตอนและระยะเวลาในการใหบ้ รกิ ารแกผ่ ปู้ ระกอบการสง่ ยางออกนอกราชอาณาจกั รในกระบวนการ ช�ำระค่าธรรมเนียมการสง่ ยางออกไปนอกราชอาณาจักรให้แก่ กยท. ได้ ดงั น้ี • ผู้ประกอบการส่งยางออกฯ สามารถยื่นค�ำขอช�ำระค่าธรรมเนียมได้ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้อง กรอกขอ้ มูลลงในแบบแบบฟอรม์ และย่ืนเอกสารประกอบในรูปแบบกระดาษให้แก่ กยท. • ผู้ประกอบการส่งยางออกฯ ไม่จ�ำเป็นต้องช�ำระเงินค่าธรรมเนียมไว้ล่วงหน้าเป็นระยะเวลานาน เนือ่ งจากการชำ� ระคา่ ธรรมเนียมโดยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส์ สามารถดำ� เนนิ การได้อยา่ งรวมเรว็ • ผปู้ ระกอบการสง่ ยางออกฯ ไมต่ อ้ งเสียเวลาเดินทางไปจดั ซ้ือแคชเชียรเ์ ช็ค ณ ธนาคาร เน่ืองจากสามารถ ทำ� การตัดบัญชอี อนไลน์ (e-Payment) เพ่ือชำ� ระค่าธรรมเนียมผ่านระบบธนาคารออนไลน์ (Internet Banking) ไดด้ ้วยตนเอง • ผ้ปู ระกอบการส่งยางออกฯ ไมต่ ้องเสียเวลาเดนิ ทางไปชำ� ระเงิน ณ สำ� นกั งานของ กยท. เน่ืองจากสามารถ ท�ำการสง่ คำ� ขอชำ� ระค่าธรรมเนยี ม และรับขอ้ มลู ใบรับค่าธรรมเนียมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วยตนเอง • ผูป้ ระกอบการส่งยางออกฯ ไม่จำ� เป็นต้องย่นื เอกสารใบรับค่าธรรมเนียมในรปู แบบเอกสารใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ท่ี กรมศลุ กากรในการตรวจสอบเอกสารเพอ่ื ผา่ นพธิ กี ารศลุ กากร เนอ่ื งจากระบบ e-Cess ของ กยท. มกี ารเชอ่ื มโยงขอ้ มลู รว่ มกบั ระบบ ตรวจสอบใบอนญุ าตและใบรบั รองอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พอ่ื การนำ� เขา้ -สง่ ออก (e-Licensing) ของกรมศลุ กากร เจา้ หนา้ ทข่ี องกรมศลุ กากร จงึ สามารถตรวจสอบข้อมูลใบรบั คา่ ธรรมเนยี มผ่านระบบสารสนเทศไดโ้ ดยไม่ตอ้ งรอเอกสารในรูปแบบกระดาษ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
• การช�ำระค่าธรรมเนียมโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์นี้ สามารถช่วยให้ ผู้ประกอบการฯ สามารถท�ำการยื่นค�ำขอช�ำระฯ และท�ำการช�ำระฯ ได้จากหน่วยงาน ของตน โดยไม่จำ� เป็นตอ้ งเดนิ ทางไปยื่นค�ำขอช�ำระฯ ณ จดุ ให้บรกิ ารของ กยท. และทำ� ธุรกรรมการเงนิ เพื่อท�ำการช�ำระฯ ณ ธนาคาร โดยในปัจจุบนั นั้น มธี นาคารทเี่ ขา้ รว่ มเป็น ธนาคารรบั ชำ� ระคา่ ธรรมเนยี ม ซง่ึ ผปู้ ระกอบการสามารถใชบ้ รกิ ารทำ� ธรุ กรรมทางการเงนิ เพอ่ื ชำ� ระคา่ ธรรมเนยี มการสง่ ยางออกทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ จ�ำนวน 6 ธนาคาร คือ ธนาคารทหารไทย จำ� กัด (มหาชน), ธนาคารกรงุ ไทย จ�ำกดั (มหาชน), ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกดั (มหาชน), ธนาคารกรุงศรอี ยธุ ยา จำ� กัด (มหาชน) และธนาคารกรงุ เทพ จำ� กัด (มหาชน) 3. ระบบสารสนเทศช่วยลดขั้นตอน ลดระยะเวลาในการให้บริการ/ การอนุมัติการจา่ ยเงินในการให้บรกิ ารประชาชน • ระบบรับค�ำขอและอนมุ ตั ิการปลกู แทน ระบบรับค�ำขอและอนุมัติการปลูกแทน(ระบบ A)สนับสนุน การบริการรับค�ำขอและอนุมัติการปลูกแทน ให้แก่เกษตรกรผู้ที่ย่ืนค�ำขอรับการปลูกแทน และเม่ืออนุมัติให้การปลูกแทนแล้วจะส่งข้อมูลไปยังระบบตรวจสวนและติดตาม สวนปลูกแทน และระบบบัญชีสวนปลูกแทนรายตัว ต่อไป ซ่ึงได้ก�ำหนดระยะเวลาการด�ำเนินการอนุมัติการปลูกแทนนับตั้งแต่ ย่นื คำ� ขอรบั การปลูกแทนจนถึงวนั ออกหนังสือแจง้ ผลการอนมุ ตั ิใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 20 วนั • ระบบตรวจสวนและติดตามสวนปลูกแทน (ระบบ F) ระบบตรวจสวนและติดตามสวนปลูกแทน (ระบบ F) ช่วยลดระยะเวลาการใหบ้ ริการในขั้นตอนการ ตดิ ตาม ดแู ลสวนปลกู แทน ช่วยก�ำหนดงวดการตรวจสวนปลกู แทน แผนควบคมุ สวนปลกู แทน ระยะกอ่ นให้ผลผลิต ตัง้ แต่ขนั้ ตอนการโคน่ และปลกู แทน จนกระท่งั สวนพ้นการปลูกแทน ชว่ ยเก็บข้อมูลผลการปฏบิ ตั ิงานของนกั วชิ าการสง่ เสรมิ การเกษตร (นวส.) ตามหลกั ปฏบิ ตั กิ ารปลกู แทน กรณเี จา้ ของสวนยางปฏบิ ตั งิ านเรยี บรอ้ ย ตน้ ยางโตไดข้ นาดตามมาตรฐานทกี่ ำ� หนด จะสง่ ขอ้ มลู เชอื่ มโยงไปยงั ระบบบญั ชีสวนปลูกแทนรายตัว (ระบบ R) เพอ่ื จา่ ยเงนิ ใหแ้ กเ่ กษตรกรชาวสวนยาง แผนการท�ำงานระบบตรวจสวนและติดตามสวนปลกู แทน Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
• ระบบบญั ชสี วนปลกู แทนรายตวั (ระบบ R) ระบบบัญชีสวนปลูกแทนรายตัว (ระบบ R) เป็นระบบงานท่ีช่วยลดข้ันตอนการ ให้บริการ การจ่ายเงิน/วัสดุให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ตามหลักเกณฑ์ที่ส�ำนักงานก�ำหนด ชว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู ผลการจา่ ย สามารถตรวจสอบยอดเงนิ จา่ ยและยอดเงนิ คงเหลอื ของสวนรายตวั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยมกี ารเชอ่ื มโยงกบั ระบบรบั คำ� ขอและอนมุ ตั กิ ารปลกู แทน และระบบตรวจสวนและตดิ ตามสวนปลกู แทน สามารถ ใหบ้ รกิ ารการจา่ ยเงนิ ใหเ้ จา้ ของสวน นบั จากวนั ทพี่ นกั งานตรวจสวนและตดิ ตามสวนปลกู แทน ตรวจสวนและสง่ั จา่ ยเงนิ เมอื่ ผลการ ปฏิบัตงิ านเรียบร้อย เจา้ ของสวนจะได้รับเงินภายในไม่เกิน 14 วนั • โครงการพฒั นาอาชพี รายย่อยเพ่ือความยั่งยืน กยท. ได้นำ� ระบบสารสนเทศมาชว่ ยในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู เกษตรกรทส่ี มคั ร เขา้ ร่วมโครงการฯ เพื่อจัดท�ำเอกสารรายงานและขอ้ มลู การจา่ ยเงินสง่ ใหก้ ับธนาคารทำ� การ โอนเงินเข้าบัญชเี กษตรกร โดยระบบมกี ารเชอ่ื มโยงขอ้ มลู กบั ระบบทะเบียเกษตรกรเพอ่ื นำ� ข้อมูลทม่ี ีอยู่ เช่น ชื่อ ทีอ่ ยู่ หลักฐานที่ดนิ เป็นขอ้ มลู ตงั้ ต้นทำ� ให้ลดระยะเวลาและขัน้ ตอน ในการบนั ทึกข้อมลู และข้อมูลมคี วามถกู ต้องย่งิ ขึน้ และจากเง่ือนไขท่ตี ้องมกี ารตรวจสอบ แปลงกับระบบ afr ว่าแปลงที่ขอเขา้ รว่ มเป็นแปลงสวนยางทีอ่ ยใู่ นโครงการสนบั สนุนปลกู แทนหรอื ไม่ ท�ำใหล้ ดระยะเวลาในการตรวจสอบ สง่ ผลใหเ้ กษตรกรไดร้ ับอนมุ ตั เิ งนิ ไดเ้ ร็วขนึ้ • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตรเ์ ป็นระบบสารสนเทศทใ่ี ช้ในการนำ� เขา้ เก็บพกิ ดั แปลงสวนปลกู แทน และบริหารจดั การแปลงสวนปลกู แทน รวมทงั้ แสดงขอ้ มลู เชิงแผนทีแ่ ละแสดงรายงานตา่ งๆทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการปลกู แทนและข้อมูลยางพาราภายใน ประเทศ โดยสนับสนนุ การท�ำงานของนกั วชิ าการส่งเสรมิ การเกษตร ดังน้ี 1. เม่อื น�ำเข้าพิกัดแปลงสวนปลูกแทนระบบจะท�ำการขยายเขา้ ไปยงั ทต่ี ั้ง แปลงสวนปลกู แทน ท�ำให้สามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของตำ� แหนง่ ความคลาดเคลื่อน หรอื ซอ้ นทบั กนั ของทต่ี ้ังแปลงสวนปลกู แทนในเบ้อื งตน้ ได้ 2. สามารถเรยี กรายงานค�ำนวณเน้ือท่วี งรอบปดิ จากพกิ ดั GPS เพ่ือตรวจสอบพกิ ัดและข้อมลู แปลงสวนปลูกแทน รวมทง้ั สามารถเพ่ิมรายละเอยี ดพ้ืนทข่ี า้ งเคียงและบนั ทกึ ข้อมลู พนื้ ที่ข้างเคยี ง เพอื่ จัดพมิ พไ์ ปประกอบการพิจารณาในส่วนของ การดำ� เนนิ งานด้านการปลูกแทนตอ่ ได้ 3. สามารถเรยี กดูข้อมลู ที่ตง้ั แปลงสวนปลูกแทน ข้อมลู เกษตรกร ข้อมลู รับคำ� ขอฯ ขอ้ มูลตรวจสวนฯ ประวัติ แปลงสวนปลกู แทน ได้ทันทีโดยคลกิ บนรปู แปลงสวนปลูกแทนท่ตี ้องการดูขอ้ มูลเน่อื งจากมกี ารเชื่อมโยงข้อมลู จากระบบอ่นื ๆ มาเปน็ ขอ้ มูลพนื้ ฐาน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
4. สามารถเลอื กเงอื่ นไขในการแสดงแปลงสวนปลกู แทนบนแผนทไี่ ดต้ ามเงอ่ื นไขทตี่ อ้ งการ เชน่ ตามขอบเขตและพนื้ ท่ี ตามสถานะแปลงสวนปลกู แทน ประเภทแปลงสวนปลกู แทน เปน็ ตน้ 5. สามารถเรียกรายงานต่างๆตามประเภทและเงื่อนไขท่ีต้องการได้ เช่น เน้ือที่แปลง ปลูกแทน ความเหมาะสมการปลูกยาง เป็นตน้ • โครงการสรา้ งความเขม้ แข็งใหแ้ กเ่ กษตรกรชาวสวนยาง โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง เป็นระบบงานสารสนเทศท่ีสนับสนุนโครงการสร้าง ความเข้มแขง็ ให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง เพอ่ื อนุมตั กิ ารจา่ ยเงินให้แกเ่ กษตรกรชาวสวนยาง ตามท่ี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เสนอ โดยกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางผู้มีเอกสารสิทธ์ิประกอบด้วยเจ้าของสวนยาง และหรือผู้เช่า และคนกรีดยาง อตั ราไรล่ ะ1,800บาท ระบบสารสนเทศและดิจทิ ลั ท่ีตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผู้รบั บริการ และผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียภายในองคก์ ร กยท. มสี �ำนกั งานใหญต่ ้งั อยูท่ ่ี กทม. มีส�ำนกั งานส่วนภมู ิภาค ระดบั เขต ระดับจังหวดั ระดบั สาขา กระจายต้งั อยู่ ท่ัวประเทศ เพือ่ ความสะดวก รวดเร็ว ระบบสารสนเทศท่สี นบั สนนุ การปฏิบตั งิ านขององค์กร ถูกออกแบบใหท้ ำ� งานแบบออนไลน์ (Online) มีฐานข้อมูลเก็บไว้ท่ีส่วนกลาง รวมถึงการให้สิทธิผู้ใช้งานท่ีได้รับอนุญาตโดยมีระบบป้องกันรักษาความปลอดภัยท่ี เช่อื ถือได้ มกี ารเชอ่ื มโยงใชฐ้ านข้อมลู ร่วมกัน โดยสามารแบ่งระบบออกไดเ้ ป็น ดงั นี้ 1. ระบบช่วยสนับสนนุ ในการวางแผน วิเคราะห์ และประเมนิ ผล เพ่ือกำ� กบั ใหเ้ ปน็ องคก์ รทีด่ ี • ระบบควบคมุ ภายใน ระบบสารสนเทศของแผนกการควบคุมภายในในการติดตาม และรายงานผลของส่วนงานทุกไตรมาส โดยสว่ นงานจะมกี ารรายงานความกา้ วหนา้ การประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน (แบบตดิ ตาม - ปย.3) ผา่ นทางระบบ สารสนเทศ ซึ่งชว่ ยใหก้ ารรายงานผลมีความรวดเรว็ แบบฟอรม์ ในการรายงานเป็นรปู แบบมาตรฐานเดียวกนั ท�ำให้สามารถสรปุ ผล การด�ำเนินงานได้อย่างถูกต้อง และการเก็บรักษาข้อมูลมีความปลอดภัย ไม่สูญหาย นอกจากนี้ยังใช้ในการรายงานภาคผนวก ก ภาคผนวก ข การประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.1) และการประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) ซึ่งระบบสารสนเทศช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลและประมวลผลสรุปข้อมูล เช่น ข้อมูลใน ภาคผนวก ก สามารถเช่อื มโยงข้อมลู ไปยงั การประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.1) เพื่อช่วยผใู้ ช้งานระบบใน การสรุปผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายในของแต่ละส่วนงาน และผู้ใช้งานระบบสามารถแก้ไขหรือเพ่ิมเติมรายงาน สรปุ ผลเพอ่ื ความครบถว้ นและถกู ตอ้ งได้ นอกจากนก้ี ารประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) เปน็ การกำ� หนด จดุ ออ่ นและแผนในการปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายในซงึ่ ขอ้ มลู จะเชอ่ื มโยงไปยงั รายงานความกา้ วหนา้ การประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน (แบบติดตาม - ปย.3) เพื่อให้ส่วนงานรายงานผลความก้าวหน้าการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุม ภายใน (แบบตดิ ตาม - ปย.3) วา่ ส่วนงานได้ด�ำเนนิ การตามแผนท่กี ำ� หนดไวอ้ ยา่ งไรบา้ งแตล่ ะไตรมาส • ระบบบรหิ ารความเสย่ี ง และควบคุมภายใน ระบบบริหารความเส่ียง เป็นระบบงานสารสนเทศ ท่ีจัดท�ำขึ้นเพ่ือช่วยสนับสนุนกระบวนการบริหาร ความเสีย่ ง ของ กยท. โดยมกี ารจัดเก็บข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้องกบั การบริหารความเสยี่ งทง้ั ในระดบั ส่วนงาน และระดบั องคก์ รในรูปแบบ Risk data warehouse ซ่ึงคณะท�ำงานบริหารความเส่ียงท้ังระดับสว่ นงานยอ่ ย และระดับองค์กร สามารถท�ำการบนั ทกึ ขอ้ มลู เข้า, ประมวลผล และเรยี กดรู ายงานตา่ งๆ ได้ โดยแสดงกระบวนการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ซงึ่ สามารถนำ� ขอ้ มลู มาวเิ คราะหม์ าเปน็ ปจั จยั เสย่ี งการ ควบคุมภายในขององค์กรไดอ้ ย่างรวดเร็ว Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
• ระบบ Compentecy และ KPI กยท.ไดพ้ ัฒนาระบบ PMSP (Performance and Competency Based Management System Program) ไดเ้ ปิดด�ำเนินการน�ำข้อมลู การประเมนิ เขา้ ระบบ และเมอ่ื ทำ� การประเมนิ เสร็จเรียบร้อย จะสามารถน�ำผลการประเมินไปประมวลผล เพ่ือบริหารจัดการ สืบค้น และนำ� ไปใช้ประโยชน์ ทัง้ ในสว่ นของ Core Competency, Functional Competency ,Managerial Competency และ KPI เพื่อนำ� ไปทราบจดุ แขง็ /จดุ อ่อน ของบคุ ลากรเพอื่ เปน็ ข้อมูลในการพฒั นาและเปล่ียนความสามารถของพนักงานเป็นความสามารถ ในการแข่งขันเพ่ือความยั่งยืนขององค์กร ท�ำให้พนักงานรับทราบจุดเด่น/จุดอ่อนของตนเมื่อเทียบกับมาตรฐานท่ีองค์กรก�ำหนด รวมถงึ มสี ว่ นร่วมกำ� หนดแนวทางการพัฒนาตนเอง • ระบบสารสนเทศเพ่อื ผู้บริหาร เป็นระบบที่จัดเก็บข้อมูลท่ีพร้อมประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นเคร่ืองมือช่วยให้ผู้บริหาร เพมิ่ ขีดความสามารถในการตดั สินใจทัง้ ทเ่ี ปน็ งานประจ�ำและนโยบาย โดยมีการเชือ่ มโยงกับฐานข้อมูลทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ลดความซำ�้ ซ้อน ของขอ้ มลู และผบู้ รหิ ารสามารถเจาะลกึ ลงดรู ายละเอยี ดของขอ้ มลู ทสี่ นใจโดยระบบสารสนเทศสำ� หรบั ผบู้ รหิ ารของ กยท. แบง่ เปน็ 3 ระดับ คอื ระบบสารสนเทศส�ำหรับผู้บริหารระดับต้นเพ่ือการจัดการในระดับปฏิบัติการและการควบคุม ในขน้ั ตอนของผบู้ ริหารระดบั ตน้ ระบบสารสนเทศส�ำหรับผู้บริหารระดับกลาง เพ่ือการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัติ และการตัดสนิ ใจของผูบ้ ริหารระดบั กลาง ระบบสารสนเทศส�ำหรบั ผบู้ รหิ ารระดับสูง เพือ่ การจดั การในการวางแผน นโยบาย กลยทุ ธ์ และการตัดสิน ใจของผ้บู ริหารระดบั สงู ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร เป็นระบบสารสนเทศท่ีน�ำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิตหรือต้นทุน การให้บริการขององค์กร ลดการขนั้ ตอนในสว่ นทเ่ี กยี่ วกับการนำ� ข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่อื การบริหารขององคก์ รไดอ้ ย่างรวดเรว็ ขึ้น 2. ระบบช่วยสนับสนนุ ในการด�ำเนนิ การและลดขน้ั ตอนการท�ำงาน • ระบบ ลูกหนี้พนกั งาน กยท. ได้ นำ� ระบบลูกหนี้พนกั งานซ่ึงเปน็ ระบบงานที่จดั ทำ� ขน้ึ ในรปู แบบของ Web Application เพอื่ คอยควบคุม จัดการเรือ่ งเกยี่ วกบั รายไดแ้ ละรายจา่ ยของพนักงาน โดยแยกเป็นระบบยอ่ ยๆ ตามลักษณะงานตามรายละเอยี ดดงั ภาพ • ระบบงานย่อยตา่ งๆ ภายในระบบลูกหน้ี รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
รายละเอยี ดของระบบลกู หน้ีพนกั งานที่ช่วยลดระยะเวลาและขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ระบบเงินทุนสวัสดิการ เป็นระบบท่ีช่วยให้พนักงานท�ำสัญญาใบขอกู้เงินสวัสดิการ เพอื่ นำ� สญั ญานน้ั มาใหก้ บั ทางภมู ภิ าคและสว่ นกลางทำ� การตรวจสอบหลกั ฐาน และทำ� การ อนุมัติสัญญา ซ่ึงกระบวนการในการพิจารณาอนุมัติน้ันใช้ระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน และสามารถแสดงรายงาน ค้นหาข้อมูลได้สะดวก รวดเรว็ ลดเวลาในการท�ำงาน ท�ำใหก้ ารทำ� งานมปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ข้นึ 2. ระบบยมื ซอื้ พาหนะ เป็นระบบท่ีชว่ ยใหพ้ นกั งานท�ำการบันทกึ รายการยมื ซื้อรถยนต/์ จกั รยานยนต์ จากนั้นกใ็ ห้ ทางส�ำนกั งานอำ� เภอจัดทำ� สญั ญาเพอ่ื ส่งใหส้ �ำนกั งานจังหวดั ทำ� การอนมุ ตั ิสัญญา ซ่ึงกระบวนการในการพิจารณาอนุมัติน้นั ใชร้ ะยะ เวลาไม่เกิน 7 วัน และสามารถแสดงรายงาน ค้นหาขอ้ มูลได้สะดวก รวดเร็ว ลดเวลาในการทำ� งาน ท�ำให้การท�ำงานมปี ระสิทธิภาพ มากยิง่ ข้นึ 3. ระบบกองทุนส�ำรองเล้ียงชีพ เป็นระบบที่ให้พนักงานท�ำการเรียกดูข้อมูลกองทุนส�ำรองเล้ียงชีพตัวเอง บันทึกเปล่ียนแปลงผู้รับประโยชน์ บันทึกเปล่ียนแปลงข้อมูลสมาชิก เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะต้องให้ได้รับการอนุมัติจาก ส่วนกลางกอ่ น ซึง่ กระบวนการในการพิจารณาอนุมัตินั้นใชร้ ะยะเวลาไมเ่ กิน 7 วนั รวมถึงสง่ ออกไฟล์ Switching เงนิ สะสม/สมทบ ของสมาชิก(รายเดอื น) ให้กบั ผจู้ ัดการกองทุนฯไดท้ นั ที และสามารถแสดงรายงาน คน้ หาข้อมลู ไดส้ ะดวก รวดเร็ว ลดเวลาในการ ทำ� งาน ทำ� ให้การทำ� งานมีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ 4. ระบบเคหะสงเคราะห์ เป็นระบบท่ีให้พนักงานการเงิน ออกใบรับรองให้กับพนักงานเพื่อท่ีจะน�ำไปใช้กู้เงิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ บันทึกข้อมูลพนักงานท่ีกู้เงิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ พิมพ์รายงานแจ้งยอดช�ำระตามสังกัด ส่งให้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สามารถแสดงรายงาน คน้ หาขอ้ มลู ไดส้ ะดวก รวดเรว็ ลดเวลาในการทำ� งาน ทำ� ใหก้ ารทำ� งานมปี ระสทิ ธภิ าพ มากย่งิ ข้นึ 5. ระบบภาษีเงินได้ เป็นระบบที่ให้พนักงานท�ำการบันทึกข้อมูลค่าลดหย่อนของตนเองแล้วพิมพ์ให้พนักงาน การเงินตรวจสอบ อีกท้ังยังสามารถน�ำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่ายด้วยส่ือ (ภ.ง.ด. 1 ก) ให้กับกรมสรรพากรท้ังแบบรายเดือน และแบบรายปี สามารถแสดงรายงาน คน้ หาขอ้ มลู ไดส้ ะดวก รวดเรว็ ลดเวลาในการทำ� งาน ทำ� ใหก้ ารทำ� งานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ 6. ระบบเงินเดือน เป็นระบบท่ีท�ำการค�ำนวณรายได้เช่น เงินเดือน ค่าครองชีพ ค่าเส่ียงภัย กับรายจ่าย ซ่ึงจะ นำ� เขา้ คา่ ตา่ งๆ เชน่ ฌาปนกจิ สงเคราะห์ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ สหภาพรฐั ฯ รวมถงึ คา่ ตา่ งทมี่ าจากระบบลกู หนี้ เชน่ เงนิ ทนุ สวสั ดกิ าร การเคหะสงเคราะหม์ าโดยอตั โนมตั ิ ลดขนั้ ตอนในการบนั ทกึ คำ� นวณ สามารถแสดงรายงาน คน้ หาขอ้ มลู ไดส้ ะดวก รวดเรว็ ลดเวลา ในการทำ� งาน ท�ำให้การทำ� งานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ 7. ระบบเงินช่วยเหลือบุตร เป็นระบบท่ีให้พนักงานท�ำการบันทึกใบแนบขอรับเงินช่วยเหลือบุตร โดยเม่ือมีการ พิจารณาอนุมัติเรียบร้อยแล้ว เงินช่วยเหลือบุตรก็จะไหลไปให้ระบบเงินเดือนโดยอัตโนมัติทันที ท�ำให้มีความสะดวก รวดเร็ว ลดเวลาในการท�ำงาน ทำ� ใหก้ ารทำ� งานมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ 8. ระบบฌาปนกิจสงเคราะห์ (ฌกยท.) เป็นระบบท่ีท�ำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพหรือให้ สงเคราะห์ครอบครัวของสมาชิกซึ่งถึงแก่กรรมด้วยเงินสงเคราะห์ โดยไม่ประสงค์จะหาก�ำไรมาแบ่งกันโดยสามารถท�ำการ สมคั รสมาชกิ , พิมพใ์ บเสรจ็ , รับชำ� ระเงนิ จากสมาชกิ 9. ระบบตรวจสอบ เป็นระบบท่ีใช้ส�ำหรับ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในโดยเฉพาะ ซ่ึงจะสามารถออกรายงาน ทจี่ ำ� เปน็ เพอ่ื ใชใ้ นการตรวจสอบรายไดแ้ ละรายจา่ ยของพนกั งานทว่ั ทง้ั ประเทศ สามารถแสดงรายงาน คน้ หาขอ้ มลู ไดส้ ะดวก รวดเรว็ ลดเวลาในการทำ� งาน ท�ำให้การทำ� งานมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
• ระบบการเงนิ และบัญชี เป็นระบบทจ่ี ัดเกบ็ และรวบรวมข้อมลู ดา้ นการเงิน บัญชี และครุภัณฑ์ ของกยท.เพอื่ ให้ ผูบ้ ริหารทราบสรปุ เงินฝากธนาคาร สรปุ งบดุล งบรายได-้ คา่ ใชจ้ า่ ย เพื่อจดั สรรงบประมาณ และวางแผนการใชง้ บประมาณแสดงกระบวนการจดั เกบ็ ขอ้ มูล • ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ • ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบสารสนเทศ ทอ่ี ำ� นวยความสะดวก ลดขนั้ ตอนการทำ� งานในการรบั - สง่ หนงั สอื ของหนว่ ยงานใน กยท. โดยมกี ารกำ� หนดสทิ ธกิ์ ารใชง้ านเปน็ ระดบั ผู้บริหารระดบั สูง ฝ่าย เขต กอง จงั หวัด และสาขา • ระบบสารสนเทศในการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ประกอบด้วยโมดลู การท�ำงาน ดังรปู และได้น�ำร่องระบบบริการข้อมูลด้วยตนเอง (Employee Self Service โดยระบบ ESS เชอื่ มโยงขอ้ มูลจากโมดลู อ่นื ๆ ดงั นี้ • PM : ระบบทะเบยี นประวตั ิ สามารถขออนมุ ตั เิ ปลยี่ นแปลงขอ้ มลู ส่วนตัว และขอหนังสอื รบั รอง • TA : ระบบบนั ทึกเวลาเขา้ ออกงานสามารถขออนมุ ตั ลิ า และขอ อนมุ ตั ิรับรองเวลาท�ำงาน • BF : ระบบสวัสดกิ าร สามารถขออนมุ ตั ิเบกิ คา่ รักษาพยาบาล ของตนเองและบุคคลในครอบครวั • ระบบอินทราเน็ต Intranet เป็นระบบสารสนเทศท่จี ัดท�ำข้ึนเพอ่ื ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารใชข้ อ้ มลู รว่ มกัน (Share) ภายในองคก์ ร และเป็นทสี่ ำ� หรบั แลกเปล่ียน ถ่ายทอด และเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ให้กับพนักงานทุกคน โดยน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จัดท�ำ ระบบขนึ้ ในรปู แบบท่ีทันสมยั งา่ ยต่อการเขา้ ใชง้ าน นำ� เสนอข้อมลู โดยแบง่ เป็นกลมุ่ งาน. มรี ะบบรักษาความปลอดภัยที่ดี พนักงาน จะตอ้ งมรี หสั ผา่ นกอ่ นการใชง้ านซงึ่ พนกั งานทกุ คนสามารถเขา้ ใชบ้ รกิ าร คน้ หาขอ้ มลู รบั รขู้ า่ วสารตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตลอด เวลา อีกท้ังระบบยังอ�ำนวยความสะดวกให้กับพนักงานโดยให้สามารถดาวน์โหลดข้อมูลข่าวสารที่ถูกเผยแพร่ รวมท้ังแบบฟอร์ม ต่างๆ ขององคก์ รมาเกบ็ ไว้หรอื น�ำไปใชง้ านตอ่ ได้ ระบบดงั กล่าวสามารถแยกตามลกั ษณะงานท่ตี อ้ งปฏบิ ตั ิ ดังนี้ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
• ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์(ระบบการศึกษาผ่านสื่อ อิเลก็ ทรอนิกส์ E-Learning) เปน็ ระบบทพ่ี ฒั นาขนึ้ มาเพอื่ รองรบั รปู แบบการเรยี นรทู้ เี่ ปลยี่ นไปในสถานการณป์ จั จบุ นั ซ่ึงเหมาะสมกับ กยท. ทม่ี สี ำ� นกั งานสาขากระจัดกระจายอยูท่ ่ัวประเทศ ทำ� ใหบ้ คุ ลากร ทกุ คน สามารถเขา้ มาเรยี นรู้หลกั สูตรต่างๆ ผา่ นระบบ E-Learning ไดโ้ ดยเท่าเทยี มกัน และประหยดั งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการ อบรม ระบบ E-Learning ที่พฒั นาขนึ้ สามารถรองรบั หลกั สตู รตา่ งๆ ท่ีจดั ทำ� ขนึ้ ได้หลายรูปแบบ ทั้งไฟลเ์ อกสารและวดี โี อ รวมท้งั สามารถเพ่ิมบททดสอบก่อนเรียน บททดสอบหลังเรียน ได้ในแต่ละหลักสูตร โดยบุคลากรทุกคนในองค์กรจะมีรหัสผู้ใช้งาน และรหสั ผ่าน ในการเขา้ ระบบ 3. ระบบชว่ ยสนับสนุนส�ำหรับการสือ่ สารกันภายในองค์กร และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง • ระบบ E-mail กยท. มีการใช้ E-mail ส�ำหรับสื่อสารกนั ภายในองค์กรโดย สามารถสง่ เปน็ กลมุ่ E-mail ได้ กยท. ไดม้ กี ารใช้บรกิ าร Mail Server ของ สรอ. ท่ีใหบ้ รกิ าร E-mail ส�ำหรับหน่วยงานของรฐั ในการรับสง่ ขอ้ มลู ทาง E-mail ให้ พนักงานใช้ในการตดิ ต่อส่อื สารรับหรือสง่ เอกสารผ่านระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ในการส่อื สารภายในองคก์ รหรือกบั หนว่ ยงานภายนอกได้ และสามารถส่ง e-mail เปน็ กลมุ่ ทเี่ ปน็ เป้าหมายไดด้ ว้ ยความสะดวก และรวดเร็ว • ระบบ Web streaming กยท. มีระบบ Web Streaming ใชใ้ นการถ่ายทอดสด โดยมีจดุ ประสงค์เพ่ือใช้ในการส่ือสารภายในองค์กร โดยใช้ส่ือแบบ Multimedia มีลักษณะเดียวกันกับการชมรายการทีวี ลดค่าใช้จ่ายในการเช่าสถานีออกรายการเป็นการให้บริการ แกผ่ ู้ชมจ�ำนวนมากในสถานทีต่ า่ ง ๆ กัน สามารถรับรู้ขา่ วสารไดใ้ นเวลาเดียวกัน • ระบบ Web Conferences เป็นการน�ำระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการประชุม การสัมมนา การสนทนา และค�ำปรึกษา เป็นการส่ือสาร ได้ 2 ทาง ซ่ึงระบบสามารถสอ่ื สารกันด้วยภาพ เสียง ตัวอักษร เมือ่ ตอ้ งการประชุม สามารถกำ� หนดวนั เวลาการประชมุ รว่ มกนั โดยไมต่ อ้ งเสยี เวลาในการเดนิ ทางมาประชมุ ใชไ้ ดท้ กุ สถานทแี่ ละทกุ เวลาทม่ี สี ญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ทำ� ใหส้ ามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการ เดินทาง ไม่ต้องก�ำหนดการใช้สถานท่ีก็สามารถประชุมได้ไม่ว่าอยู่ท่ีใด กยท. ได้ด�ำเนินการในการจัดการประชุม การสัมมนา การเรยี นการสอน การอบรม ให้ความรู้ ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจ การคำ� ปรกึ ษาหารือ และการติดตามงาน ไดอ้ ยา่ งสะดวกมากขึ้น • ระบบโทรศพั ท์ VoIP กยท.ได้น�ำระบบโทรศัพท์ VoIP เขา้ มาเป็นช่องทางหนงึ่ ในการ ตดิ ตอ่ สื่อสารภายในกยท. เพอ่ื เพิ่มความสะดวกในการติดตอ่ ประสานงานระหว่าง หนว่ ยงานภายใน กยท. อกี ทั้งยงั เปน็ การลดคา่ โทรศพั ทใ์ ห้กบั กยท.อกี ดว้ ย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
นโยบายการบริหารจัดการ เทคโนโลยดี ิจิทลั และนวัตกรรม
นโยบายการบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีดิจทิ ัลและนวตั กรรม การบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีดิจิทลั 1. แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ิทลั การยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ.2460 -2564 : วิสยั ทศั น์ (Vision) : กยท. เปน็ องค์กรชนั้ นำ� ระดับโลกในการบรหิ ารจัดการและให้บริการดา้ นยางพาราดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล พนั ธกิจ(Mission) ดา้ น ICT : พฒั นาและประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าลและตอบสนองตอ่ ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียและสังคมได้อย่างเหมาะสม ยุทธศาสตรพ์ ัฒนา ICT ของ กยท. ประกอบดว้ ย 5 ด้าน ดงั น้ี 1. การพฒั นาสารสนเทศส�ำหรบั การบรหิ ารจัดการ เพอื่ เปน็ องคก์ รสมรรถนะสงู 2. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการด�ำเนินการและการให้บริการ อยา่ งครบวงจร 3. การพฒั นาสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนและเผยแพรง่ านวจิ ัย นวัตกรรม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. การพัฒนาสารสนเทศสำ� หรับพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ 5. การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศทเี่ หมาะสมเพอ่ื ขบั เคลอื่ นองคก์ รอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ระบบสารสนเทศตามแผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลที่สนับสนุนการดำ� เนนิ งานของ กยท. : ยุทธศาสตรต์ ามแผนวิสาหกิจ กยท. พ.ศ. 2560-2564 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การสร้างรายได้จากการบรกิ ารและด�ำเนินธุรกิจ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดหว่ งโซ่อปุ ทานและหว่ งโซค่ ุณคา่ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การวจิ ยั และพฒั นาเพ่อื เปน็ ศนู ย์กลางอตุ สาหกรรมยางพารา ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การหลอมรวมองคก์ รใหเ้ ปน็ หน่งึ เพอ่ื การบริหารมุ่งส่คู วามเป็นเลิศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การสร้างรายไดจ้ ากการบรกิ ารและด�ำเนินธรุ กจิ 1. การประกอบธรุ กิจจากทรพั ยส์ นิ ท่มี อี ยู่เดมิ • ระบบวางแผนและบริหารการผลติ • ระบบบรหิ ารจัดการสวนยาง 2. การสรา้ งรายไดจ้ ากโอกาสในธุรกิจใหม่ • ระบบตลาดยางพารา ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซอ่ ุปทานและหว่ งโซ่คุณค่า 1. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้มีการปลกู แทนและปลกู ใหม่ • ระบบรับค�ำขอและอนุมัตกิ ารปลกู แทน (ระบบ A • ระบบตรวจสวนและตดิ ตามสวนปลกู แทน (ระบบ F) • ระบบบัญชเี จา้ ของสวน (ระบบ R • ระบบส่งเสริมและพฒั นาการท�ำสวนยาง รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2. การสรา้ งความเขม้ แขง็ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั • ระบบจดั เกบ็ ข้อมูลการฝกึ อบรมเกษตรกรและครยู าง • ระบบใหบ้ ริการเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง 3. การสร้างกลไกรกั ษาเสถยี รภาพราคายาง • ระบบตลาดยางพารา 4. การยกระดับรายไดแ้ ละคณุ ภาพชีวิตของผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี • ระบบใหบ้ รกิ ารเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การวจิ ัยและพัฒนาเพอ่ื เป็นศูนยก์ ลางอุตสาหกรรมยางพารา 1. การพฒั นางานวจิ ยั เพื่อเปน็ ศูนยก์ ลางอุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์ยางพารา • ระบบให้บริการดว้ ยอปุ กรณพ์ กพา • ระบบบรหิ ารงานวจิ ยั และงานนวัตกรรม 2. การถ่ายทอดงานวจิ ัยยาง • ระบบสนับสนุนข้อมลู ขา่ วสาร (Website) • ระบบสนับสนนุ การถา่ ยทอดความรู้ (ระบบ KM) 3. การจัดท�ำฐานขอ้ มูลเพ่อื การวิจยั และพฒั นา • ระบบบรหิ ารงานวิจัยและงานนวัตกรรม ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การหลอมรวมองคก์ รให้เปน็ หน่งึ เพื่อการบริหารมงุ่ สู่ความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ท�ี 4 การหลอมรวมองค์กรให้เป็ นหนึ�ง เพอื� การบริหารมุ่งสู่ความเป็ นเลศิ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ Web ระบบ E-Mail Conference GIS E-Cess บริหาร ปลูกแทน Share ความเสี�ยง ข้อมูล (A,F,R,FAS) ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ Web ระบบ Streaming HR ทะเบยี นครุภณั ฑ์ MIS สถาบันเกษตรกร/ EIS/BI E-Learning ตลาดยาง ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ รับรองคุณภาพ KPI บัญชี เงนิ สด ผลิตภณั ฑ์ยางพารา ประชุม วางแผน KM บริหาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บริหารธุรกจิ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ Competency สารบรรณ ควบคุม สถติ อิ งค์กร บริหารผลการ Help Desk บริหารจัดการ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ตดิ ตาม เพอื� การบริหาร ดาํ เนินงาน โครงการ กยท./ ฝทส./กฐส. 11 6 มติ ิส�ำคัญทีแ่ ผนฯ สามารถตอบสนองความตอ้ งการขององคก์ ร 6 มติ สิ ําคญั ทแ�ี ผนฯสามารถตอบสนองความต้องการขององค์กร สนบั สนุนการ สนบั สนุนการ สนบั สนุนการ สนบั สนุนการ สนบั สนุนการดาํ เนินงาน สนบั สนุนความ บริหารจดั การ ดาํ เนินงานดา้ นการ ควบคุมภายใน/ บริหารทรัพยากร ตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ตอ้ งการภายในและ ของรัฐวสิ าหกิจ บริหารความเส�ียง ตรวจสอบภายใน ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ภายนอกองคก์ ร บุคคล บริหารกิจการบา้ นเมืองที�ดี โครงการพัฒนาปรับปรุ ง โครงการระบบบริ หารผล โครงการพฒั นาระบบ ระบบสารสนเทศบริหาร โ ค ร ง ก า ร พัฒ น า แ ล ะ โครงการพฒั นาระบบ โครงการบาํ รุงรักษาระบบ การดาํ เนินงานขององคก์ ร สาํ รองและกคู้ นื ระบบ คว ามเส�ี ย ง และ ก ารค ว บ คุม ปรั บปรุ งระบบประเมิ น สารสนเทศเพอื� การส่งเสริม ชาํ ระเงินสงเคราะห์ทาง ระบบวางแผนบริ หารธุรกิ จ จากอุบตั ิภยั (DR Site) ภายใน ความสามารถของบุคลากร และพฒั นาการทาํ สวนยาง อิ เ ล็ก ท ร อ นิ ก ส์ ผ่า น ร ะ บ บ องคก์ ร โครงก ารพัฒ นาแล ะ แบบ Online โครงการบาํ รุงรักษา NSW ระบบ EIS/BI ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ ก า ร ระบบบริการขอ้ มูลสาํ หรับ โ ค ร ง ก า ร พัฒ น า แ ล ะ ตรวจสอบภายใน เกษตรกรชาวสวนยาง ปรั บปรุ งระบบการจัดการ กยท./ ฝทส./กฐส. (e-Service) ความรู้ 11 Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
2. โครงการการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนอง Thailand 4.0” การยางแห่งประเทศไทยตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการพัฒนาประเทศไปสู่การเป็น ประเทศไทย 4.0 ตามทิศทางและนโยบายของรัฐบาล และเล็งเห็นถึงโอกาสของ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีดิจิทลั ในโลกยคุ ปจั จุบัน ท่ผี ้ปู ฏบิ ตั งิ านของรฐั จะตอ้ งเผชิญในปจั จุบนั และในอนาคตอันใกล้ ดังนนั้ เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรสามารถปรบั ตวั และมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านในบรบิ ทของการเปลยี่ นแปลงไดอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ กบั องคก์ รตอ่ ไป จงึ ไดม้ เี จตนารมณใ์ นการพฒั นา ทักษะด้านดิจิทัลของบุคลากร โดยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital Literacy ซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ทบ่ี คุ ลากรภาครฐั ควรมี และสามารถพฒั นาไดด้ ว้ ยตนเอง ในการนำ� เครอื่ งมอื อปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยี ทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั มาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ มงุ่ เนน้ การปรบั เปลยี่ นองคก์ รไปสกู่ ารบรหิ ารจดั การทที่ นั สมยั โดยใช้ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ ป็นเครอื่ งมอื ส�ำคญั ของการพัฒนา เพือ่ สรา้ งความเชอ่ื มโยงดา้ นธุรกิจ ลดความซ�้ำซอ้ นด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ และสนับสนุนการด�ำเนินงานต่างๆภายในองค์กรเพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย ทันเวลา และรองรับการขยายงาน หรือระบบงานในองคก์ รให้มีความทนั สมยั และมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ โครงการฝึกอบรมพนักงานหลักสูตร “พัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนอง Thailand 4.0” จงึ เปน็ การเพ่มิ พูนความรู้และพฒั นาทกั ษะความเข้าใจการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล การบริหารจัดการด้านนวัตกรรม โครงการนวัตกรรม ตามแผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรบุคคล ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 มีวัตถุประสงค์ในการ คิดค้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการท�ำงานเน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีชีวภาพ สอดคล้อง และสนับสนุนกลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 4 เทคโนโลยีและนวัตกรรม ของส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ นวัตกรรม (Innovation) หมายถึงการใช้ความรู้และการคิดสร้างสรรค์ท่ีน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อก่อให้เกิด คุณค่าต่อประเทศชาติและประชาชน “นวัตกรรม” ถือว่าเป็นกุญแจหลักที่เพ่ิมขีดความสามารถในการขับเคลื่อนและผลักดัน ใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศเจรญิ เตบิ โต กยท. ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากการสรา้ งนวตั กรรม จงึ ไดจ้ ดั โครงการ “นวตั กรรม การยางแห่งประเทศไทย” ประจ�ำปีงบประมาณ 2561ข้ึน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกส่วนงานของ กยท. สร้างนวัตกรรม เพมิ่ มลู คา่ ยางพาราและผลติ ภณั ฑย์ างหรอื ทำ� ใหง้ านบรกิ าร หรอื งานบรหิ ารมปี ระสทิ ธภิ าพเพมิ่ ขน้ึ สามารถนำ� มาแกไ้ ขปญั หาในการ ปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผล เกิดประโยชน์ทั้งในงานของ กยท. เศรษฐกิจยางพาราและสังคมของประเทศพร้อมทั้งจัดกิจกรรม “ประกวดนวัตกรรมการยางแห่งประเทศไทย” ข้ึน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างวัฒนธรรมเพือ่ มุ่งเนน้ นวตั กรรม 2. เพอ่ื ยกระดบั ความรคู้ วามสามารถด้านนวัตกรรม 3. เพือ่ สง่ เสรมิ ให้เกิดนวัตกรรมด้านแนวคิดหรอื สิ่งประดิษฐ์ใหมๆ่ ในการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขึน้ 4. เพ่ือให้พนักงาน เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร น�ำไปใช้เพิ่มผลผลิต ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการทำ� งาน ผลการด�ำเนนิ งาน 1. การจดั กิจกรรม“ประกวดนวัตกรรมการยางแหง่ ประเทศไทย” มีจำ� นวนผู้ส่งนวตั กรรมเข้าร่วมประกวด จ�ำนวน 32 นวัตกรรม โดยมผี ลงานท่ีไดร้ บั รางวลั ดังน้ี 1. ผลงานท่ไี ด้รบั รางวลั สงิ่ ประดษิ ฐ์ รางวัลชนะเลศิ : การขยายพนั ธย์ุ างแนวใหม่ลดต้นทนุ ลดเวลา รางวัลรองชนะเลศิ : การจดั การสวนยางท่ีดแี ละเหมาะสม (GAP) เพื่อผลติ นำ�้ ยางคุณภาพดี รางวลั ชมเชย : การผลติ ยางแผ่นรมควนั เกรดพรีเม่ยี ม มาตรฐาน GMP 2. ผลงานทไ่ี ด้รับรางวัลดา้ นบริการ รางวัลชนะเลิศ : ระบบสารสนเทศและการจัดการสหกรณก์ ารยางแหง่ ประเทศไทย รางวัลรองชนะเลศิ : โปรแกรมประยุกตบ์ นโทรศัพท์เคล่ือนที่ ในการค�ำนวณสูตรปยุ๋ ทเี่ หมาะสมสำ� หรบั สวนยางพารา รางวัลชมเชย : ตลาดนัดไก่พ้นื เมือง 4.0 3. ผลงานทไ่ี ด้รับรางวัลด้านบรหิ าร รางวัลชนะเลิศ : เครอ่ื งผลิตยางเครพขาวจากยางกอ้ นถ้วย รางวลั รองชนะเลศิ : ระบบการจดั การขอ้ มลู เกษตรกรชาวสวนยางพาราเพอ่ื แกป้ ญั หาการตรวจสอบสถานะ ผู้ค้ำ� ประกันและคำ� นวณดอกเบี้ยในการยกระดบั การบรหิ ารงาน มาตรา 49 (5) รางวัลชมเชย : การผลติ เชอ้ื เพลงิ ชวี มวลอดั เมด็ เพอ่ื ธุรกจิ Wood Pellet Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
2. น�ำนวตั กรรมประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์ไปใช้เพิม่ ผลผลติ และเพ่มิ ประสทิ ธิผลในการท�ำงาน 2.1 ระบบสารสนเทศและการจัดการสหกรณก์ ารยางแหง่ ประเทศไทย 2.2 การผลิตยางแผ่นรมควันเกรดพรเี ม่ียม มาตรฐาน GMP 2.3 การจดั การสวนยางที่ดีและเหมาะสม (GAP) เพอ่ื ผลติ น้ำ� ยางคณุ ภาพดี 2.4 บ่อบ�ำบดั น�้ำเสยี มหัศจรรย์ 2.5 แอพพลิเคช่นั บริการตลาดประมลู ยางพารา 2.6 ลูกบอลยางดบั ไฟ 3. สง่ เสรมิ สนับสนุนนวัตกรรม ใหน้ ำ� นวัตกรรมประเภทแนวคิด ไปสรา้ งเป็นสง่ิ ประดิษฐ์ เพอ่ื ใช้เพม่ิ ผลผลิต และเพ่ิมประสิทธิผลในการทำ� งาน 3.1 ระบบประมวลผลภาพสำ� หรับกำ� หนดช้ันคณุ ภาพยาง 3.2 เครอื่ งผลิตยางเครพขาวจากยางก้อนถว้ ย 4. นำ� เสนอนวัตกรรมเข้ารว่ มประกวด รางวัลรฐั วสิ าหกจิ ดีเดน่ ประจ�ำปี 2562 4.1 รางวลั ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม (ด้านความคิดสร้างสรรค์) • ระบบประมวลผลภาพส�ำหรบั กำ� หนดช้นั คุณภาพยาง • เครอื่ งผลติ ยางเครพขาวจากยางก้อนถ้วย 4.2 รางวัลความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม (ด้านนวตั กรรม) • โปรแกรมประยุกตบ์ นโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทใ่ี นการค�ำนวณสูตรปยุ๋ ที่เหมาะสมส�ำหรบั สวนยางพารา • การจดั การสวนยางท่ีดแี ละเหมาะสม(GAP) • ลูกบอลยางดบั ไฟ 4.3 รางวลั ความร่วมมือเพอ่ื การพฒั นา (ยกระดับการบรหิ ารจัดการ)รางวลั • ความร่วมมือตามโครงการพ่ีเล้ียงระหว่างสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กบั การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การยางแหง่ ประเทศไทย ประจ�ำปีงบประมาณ 2561
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบการยางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปงี บประมาณ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทยประกอบดว้ ย ประธานกรรมการตรวจสอบ 1 คน และกรรมการ ตรวจสอบไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 4 คน และให้หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในเป็นเลขานุการ โดยกรรมการตรวจสอบ อย่างน้อย 1 คนต้องมีความรู้ ความเข้าใจและมีประสบการณ์ด้านการบัญชีหรือการเงิน ซึ่งสามารถสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงินได้ ทั้งน้ี คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทยได้มีค�ำสั่งที่ 7/2559 ส่ัง ณ วันท่ี 22 มกราคม 2559 แต่งต้ัง คณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทย ประกอบด้วย 1) นายเสนีย์ จติ ตเกษม ประธานกรรมการ กรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 2) นางภูรวิ รรณ ทวสี ิทธ ์ิ กรรมการ เลขานกุ ารกรม ส�ำนกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ 3) นายธนวรรธน์ พลวิชัย กรรมการ กรรมการการยางแห่งประเทศไทย 4) ผู้อำ� นวยการสำ� นักตรวจสอบภายใน เลขานุการ การยางแห่งประเทศไทย อำ� นาจหน้าท่ี คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีอำ� นาจหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ ขอบเขตการปฏบิ ัตงิ านตามกฎบตั รของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ตามระเบยี บกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่วยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกจิ พ.ศ. 2555 คู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ ฉบับปรับปรุง ปี 2555 ของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย รฐั วสิ าหกจิ (สคร.) กระทรวงการคลงั และกฎบตั รคณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2559 โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบฯ ต้องรายงานผลการด�ำเนินงานเก่ียวกับการตรวจสอบรายไตรมาสและรายงานประจ�ำปีเสนอต่อคณะกรรมการ การยางแห่งประเทศไทย รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ในปงี บประมาณ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทยมกี ารประชุมร่วมกันรวม 8 ครัง้ โดยมี ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ รว่ มประชมุ ในวาระทเ่ี กย่ี วขอ้ งดว้ ยทกุ ครงั้ ในการปฏบิ ตั งิ านคณะกรรมการตรวจสอบฯ ไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะ จากการสอบทานการตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานทสี่ ำ� คญั ของ กยท. ตลอดจนผลการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบของสำ� นกั ตรวจสอบภายใน อย่างเป็นอิสระและเที่ยงธรรม เพื่อเพ่ิมมูลค่าและปรับปรุงการด�ำเนินงานของการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ให้สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้ด�ำเนินการตามบทบาทความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบฯ สรปุ สาระสำ� คัญดงั นี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน ไดส้ อบทานความน่าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงนิ เพือ่ ให้ม่นั ใจได้ว่าการจัดทำ� รายงานทางการเงนิ ของ กยท. ไดจ้ ดั ทำ� ขนึ้ อยา่ งถกู ตอ้ งตามทค่ี วรในสาระสำ� คญั ตามมาตรฐานการบญั ชที ร่ี บั รองทว่ั ไป มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอ ครบถว้ น และเปน็ ประโยชนต์ ่อผใู้ ชง้ บการเงิน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2. การสอบทานกระบวนการการควบคมุ ภายใน การบรหิ ารความเสี่ยงและการกำ� กบั ดูแลกจิ การที่ดี ดงั นี้ 2.1 การสอบทานกระบวนการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบฯ ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติตาม กฎหมาย มตคิ ณะรัฐมนตรี รวมทงั้ ขอ้ บังคับ ระเบยี บท่เี กย่ี วขอ้ งโดยสอบทานและตดิ ตามผลการดำ� เนินงานจากมาตรการควบคุม ภายในขององค์กรเป็นรายไตรมาสพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงตามมาตรฐานการควบคุมภายในขององค์กรให้เกิด ประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ 2.2 การสอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยงคณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้สอบทานความเสี่ยงและผลการ ด�ำเนินงานขององคก์ รเปน็ รายไตรมาส เพอื่ ลดหรอื ควบคมุ ความเสี่ยงใหอ้ ยู่ในระดบั ทีย่ อมรบั ได้ 2.3 การสอบทานกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยได้ติดตามผลการด�ำเนินงานและการรายงานผลการ ด�ำเนินงานการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีของ กยท. มีการติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานเกี่ยวกับข้อร้องเรียน ร้องทุกข์รวมท้ัง ตดิ ตามรายงานผลการเปิดเผยการขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชนส์ ว่ นรวม 3. การกำ� กับดแู ลและพัฒนางานตรวจสอบภายในประกอบด้วย การก�ำกับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงานให้หน่วยตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ โดยพิจารณาอนุมัติ แผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์และแผนการตรวจสอบประจ�ำปี กฎบัตรของส�ำนักตรวจสอบภายใน คู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายใน รวมทัง้ ตดิ ตามความคบื หนา้ ในการปฏิบตั งิ านตามแผน สอบทานผลการตรวจสอบเป็นประจำ� ทุกไตรมาสโดยให้ข้อแนะนำ� และติดตามการด�ำเนินการแก้ไขตามรายงานผลการตรวจสอบในประเด็นท่ีมีนัยส�ำคัญรวมท้ังจัดให้มีการประเมินคุณภาพของงาน ตรวจสอบภายในโดยการประเมนิ ตนเอง และอนมุ ตั แิ ผนพฒั นาบคุ ลากรของสำ� นกั ตรวจสอบภายในเพอ่ื พฒั นาความรคู้ วามสามารถ ในวชิ าชพี อยา่ งต่อเนอื่ ง 4. การสอบทานงานท่ีส�ำคญั ของ กยท.ประกอบดว้ ย ผลการปฏบิ ัติงานการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ เพื่อการปลูกแทน การเคลอ่ื นไหวราคายาง การจดั เก็บคา่ ธรรมเนียม การส่งยางพาราออกนอกราชอาณาจักรและปริมาณยางส่งออก รายงานสถานะเงินทนุ หมนุ เวียนเพ่ือชว่ ยเหลือผ้รู บั การสงเคราะห์ รายงานผลการบรหิ ารจดั การสารสนเทศผลการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยธรุ กจิ (Business Unit) และผลการดำ� เนนิ งานตามการประเมนิ ผลตวั ชี้วัด 5. การพิจารณารายการที่เก่ียวโยงกันหรือรายการท่ีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการ ทุจรติ ทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของรัฐวสิ าหกิจประกอบด้วย รายงานการจัดการร้องทุกข์/ร้องเรียน รานงานการขัดการระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม และสอบทานนโยบายและแนวทางปฏบิ ตั ิในการเปิดเผยความขดั แย้งทางผลประโยชน ์ 6. การหารอื ผ้สู อบบัญชีและฝ่ายบรหิ าร คณะกรรมการตรวจสอบ กยท. มีการประชุมหารือเพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้แทนส�ำนักงาน การตรวจสอบเงินแผ่นดนิ และผู้บริหารระดับสูง 7. การรกั ษาคณุ ภาพของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ กยท. มีการปฏิบัติตามก�ำบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ มีการสอบทานกฎบัตร ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติงานของ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้ม่ันใจว่าการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ ที่ก�ำหนดไว้ ตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจท่ีกำ� หนดโดยกระทรวงการคลัง สำ� หรับผลการ ประเมนิ ตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบมกี ารดำ� เนนิ การอย่างดี คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า การบริหารและการด�ำเนินงานของการยางแห่งประเทศไทย มีการพัฒนาดา้ นการก�ำกับดแู ลกิจการทด่ี ีอย่างต่อเนอ่ื ง มีการบรหิ ารจัดการ ความเสี่ยง มีการจัดวางระบบการควบคมุ ภายในทด่ี ี มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล รายงานทางการเงินมีการเปิดเผยข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง เพียงพอ มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี กฎหมายที่เก่ียวข้อง รวมท้ังมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของการยางแห่งประเทศไทย และไม่มีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) (นายเสนยี ์ จติ ตเกษม) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
รายงานทางการเงนิ
รายงานทางการเงิน หมายเหตุ : ก่อนการตรวจสอบและรับรองจากสำ� นกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
หมายเหตุ : กอ่ นการตรวจสอบและรับรองจากส�ำนักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ : กอ่ นการตรวจสอบและรับรองจากส�ำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
หมายเหตุ : กอ่ นการตรวจสอบและรับรองจากส�ำนักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ : กอ่ นการตรวจสอบและรับรองจากส�ำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
หมายเหตุ : กอ่ นการตรวจสอบและรับรองจากส�ำนักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ การยางแหง่ ประเทศไทย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรบั ปีส้นิ สดุ วนั ที่ 30 กันยายน 2561 ........................................... 1. ข้อมลู ทว่ั ไป การยางแหง่ ประเทศไทย (กยท.) เปน็ องคก์ รทจี่ ดั ตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง่ ประเทศไทย พ.ศ.2558 ซ่ึงได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2558 และมีผลบังคับใช้ในวันท่ี 15 กรกฎาคม พ.ศ.2558 โดยก�ำหนดให้มีการรวมหน่วยงานท่ีมีภารกิจเกี่ยวกับยางพาราของประเทศไทย 3 หน่วยงาน คือ ส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์ การท�ำสวนยาง (สกย.) องค์การสวนยาง (อ.ส.ย.) และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (สวย.) เมื่อวันท่ี 14 กรกฎาคม พ.ศ.2558 ทุนประเดิมณวันจัดตั้งการยางแห่งประเทศไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558 (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20) วตั ถปุ ระสงค์ขององค์กร ดังนี้ ก) เป็นองค์กรกลางรับผิดชอบดูแลการบริหารจัดการยางพาราของประเทศทั้งระบบอย่างครบวงจร บรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั การเงนิ ของกองทนุ ตลอดจนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหป้ ระเทศเปน็ ศนู ยก์ ลางอตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย์ างพารา ข) ส่งเสรมิ สนับสนุน และจดั ใหม้ กี ารศึกษา วิเคราะห์ วิจยั พัฒนา และเผยแพรข่ อ้ มูลและสารสนเทศเก่ยี วกบั ยางพารา ค) ส่งเสริม สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง สถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง และผู้ประกอบกิจการยาง ด้านวิชาการ การเงิน การผลิต การแปรรูป การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบธุรกิจ และการด�ำเนินการอืน่ ที่เก่ียวข้อง เพือ่ ยกระดับรายได้และคุณภาพชวี ิตให้ดีข้นึ ง) ดำ� เนนิ การใหร้ ะดับราคายางพารามีเสถียรภาพ จ) ดำ� เนินการส่งเสริมและสนบั สนุนให้มกี ารปลกู แทนและการปลกู ใหม่ ส�ำนักงานใหญ่ของ กยท. ต้ังอยู่เลขท่ี 67/25 ถนนบางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร 10700 2. นโยบายการบัญชี นโยบายการบญั ชีทส่ี �ำคัญท่ีใช้ในการจัดท�ำงบการเงิน มดี ังต่อไปนี้ 2.1 เกณฑก์ ารจดั ท�ำงบการเงนิ งบการเงินได้จัดท�ำข้ึนตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ซง่ึ หมายถงึ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทอี่ อกภายใตพ้ ระราชบญั ญตั วิ ชิ าชพี บญั ชี พ.ศ.2547 รวมถงึ การตคี วามและแนวปฏบิ ตั ิ ทางการบัญชีทีป่ ระกาศใชโ้ ดยสภาวชิ าชีพบญั ชใี นพระบรมราชปู ถัมภ์ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
การจัดรายการในงบการเงินเป็นไปตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง “ก�ำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554” ออกตามความใน มาตรา 11 วรรคสามแห่งพระราชบัญญตั ิการบัญชี พ.ศ.2543 งบการเงนิ ไดจ้ ดั ทำ� ขน้ึ โดยใชเ้ กณฑร์ าคาทนุ เดมิ ในการวดั มลู คา่ ขององคป์ ระกอบของงบการเงนิ การจัดท�ำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไปในประเทศไทย ก�ำหนดให้ใช้ประมาณ การทางบัญชีท่ีส�ำคัญและการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหารซึ่งจัดท�ำข้ึนตามกระบวนการในการน�ำนโยบายการบัญชีขององค์กรไปถือ ปฏิบัติ และต้องเปิดเผยเร่ืองการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร หรือความซับซ้อน หรือเก่ียวกับข้อสมมติฐานและประมาณการที่มี นัยสำ� คัญต่องบการเงนิ ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินขอ้ 3 2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ใหมแ่ ละมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ที่มีการปรับปรุง ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง มีผล บังคับใช้สำ� หรับงบการเงินท่มี ีรอบระยะเวลาบญั ชที ่ีเริ่มในหรอื หลงั วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2560 ซึง่ เกยี่ วข้องกับองค์กร มดี ังตอ่ ไปน้ี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรบั ปรุง 2559) เรื่อง การนำ� เสนองบการเงิน มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 2 (ปรบั ปรุง 2559) เร่อื ง สนิ คา้ คงเหลอื มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 7 (ปรบั ปรงุ 2559) เรื่อง งบกระแสเงนิ สด มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 8 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบญั ชแี ละข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี 10 (ปรับปรุง 2559) เร่อื ง เหตกุ ารณภ์ ายหลงั รอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 11 (ปรับปรุง 2559) เรอ่ื ง สญั ญาก่อสรา้ ง มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) เรอ่ื ง ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ที่ 17 (ปรบั ปรุง 2559) เรื่อง สญั ญาเช่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรบั ปรงุ 2559) เรื่อง รายได้ มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 19 (ปรบั ปรุง 2559) เรอ่ื ง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 20 (ปรบั ปรงุ 2559) เรื่อง การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการ เปดิ เผยขอ้ มูลเกยี่ วกับความช่วยเหลอื จากรัฐบาล มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 21 (ปรับปรงุ 2559) เรื่อง ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงนิ ตราระหวา่ งประเทศ มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 23 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ที่ 26 (ปรับปรงุ 2559) เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 29 (ปรับปรงุ 2559) เรอ่ื ง การรายงานทางการเงนิ ในสภาพเศรษฐกจิ ทเี่ งนิ เฟอ้ รนุ แรง มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 34 (ปรบั ปรงุ 2559) เร่ือง รายงานทางการเงินระหวา่ งกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 36 (ปรบั ปรงุ 2559) เรอ่ื ง การด้อยคา่ ของทรพั ยส์ นิ มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 37 (ปรบั ปรงุ 2559) เรื่อง ประมาณการหนสี้ ิน หนี้สินทอ่ี าจเกิดขน้ึ และสนิ ทรพั ย์ ที่อาจเกดิ ข้ึน มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 38 (ปรบั ปรุง 2559) เรอ่ื ง สนิ ทรพั ย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 40 (ปรับปรงุ 2559) เรอ่ื ง อสังหารมิ ทรพั ยเ์ พ่อื การลงทุน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรงุ 2559) เร่ือง เกษตรกรรม Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับที่ 4 (ปรับปรงุ 2559) เรือ่ ง สญั ญาประกนั ภยั มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ที่ 5 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้ เพ่ือขาย และการด�ำเนินงานทย่ี กเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับที่ 6 (ปรบั ปรุง 2559) เรอื่ ง การสำ� รวจและการประเมนิ คา่ แหลง่ ทรพั ยากรแร่ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ที่ 8 (ปรับปรุง 2559) เร่อื ง ส่วนงานด�ำเนนิ งาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 10 (ปรบั ปรงุ 2559) เร่ือง งบการเงนิ รวม มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ที่ 11 (ปรบั ปรงุ 2559) เรื่อง การรว่ มการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 12 (ปรับปรงุ 2559) เรอ่ื ง การเปดิ เผยขอ้ มลู เกยี่ วกบั สว่ นไดเ้ สยี ในกจิ การอน่ื มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรบั ปรงุ 2559) เรอื่ ง การวัดมูลค่ายตุ ิธรรม การตคี วามมาตรฐานการบญั ชี การตคี วามมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ท่ี 15 (ปรับปรุง 2559) เรอ่ื ง สญั ญาเชา่ ด�ำเนนิ งาน – สงิ่ จูงใจทใ่ี หแ้ ก่ผเู้ ช่า การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 32 (ปรบั ปรุง 2559) เรอ่ื ง สินทรัพย์ไม่มตี ัวตน – ต้นทนุ เว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการายงานทางการเงนิ การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ที่ 4 (ปรับปรุง 2559) เรอ่ื ง การประเมนิ วา่ ขอ้ ตกลงประกอบดว้ ย สญั ญาเช่าหรือไม่ การตคี วามมาตรฐานการายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 10 (ปรับปรุง 2559) เรอื่ ง การรายงานทางการเงนิ ระหวา่ งกาล การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 14 (ปรบั ปรงุ 2559) เร่ือง ข้อจำ� กัดสินทรัพย์ตามโครงการ ผลประโยชน์ ข้อกำ� หนดเงินทุนขน้ั ต่ำ� และปฏสิ ัมพนั ธ์ของรายการเหลา่ นี้ สำ� หรบั มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 19 (ปรบั ปรงุ 2559) เรอื่ งผลประโยชน์ของพนกั งาน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ท่ี 21 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินที่น�ำส่งรัฐ 2.3 การแปลงคา่ เงินตราต่างประเทศ รายการต่างๆ ในงบการเงนิ ขององคก์ รวัดมูลคา่ โดยใชส้ กุลเงนิ บาท งบการเงินนำ� เสนอในสกุลเงนิ บาท องค์กรแปลงคา่ รายการทเี่ ป็นเงนิ ตราตา่ งประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปล่ียน ณ วนั ท่ีท่เี กิดรายการ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน องค์กรแปลงค่ารายการที่เป็นตัวเงินท่ีเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราปิด โดยแปลงสินทรัพย์ท่ีเป็นตัวเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ธนาคาร รับซ้ือ และแปลงหนี้สินที่เป็นตัวเงินท่ีเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ธนาคารขาย ส�ำหรับรายการท่ีไม่เป็น ตัวเงินท่ีอยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกไว้ด้วยราคาทุนเดิม องค์กรแปลงค่ารายการนี้โดยใช้อัตราแลกเปล่ียน ณ วันท่ี เกดิ รายการ รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายช�ำระท่ีเป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจาก การแปลงคา่ สนิ ทรพั ย์และหน้ีสนิ ท่ีเปน็ ตวั เงนิ ดังกล่าว ได้บันทึกไว้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2.4 เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภท จ่ายคืน เม่ือทวงถามเงินลงทุนระยะส้ันอ่ืนท่ีมีสภาพคล่องสูงซ่ึงมีอายุไม่เกิน สามเดอื นนบั จากวันทไี่ ดม้ า และเงินเบิกเกินบญั ชจี ะแสดงไวใ้ นสว่ นของหนี้สินหมุนเวยี นในงบแสดงฐานะการเงิน 2.5 เงนิ ลงทุนชวั่ คราว หมายถึง เงินฝากธนาคาร ต๋ัวแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินลงทุนตราสารหน้ีประเภทฝากประจ�ำ ซ่ึงมีอายุ เกินสามเดือนนับจากวันท่ีได้มาแต่ไม่เกินสิบสองเดือน และเงินลงทุนในตราสารหน้ีและตราสารทุนท่ีฝ่ายบริหารมีความตั้งใจ ทจี่ ะถอื ไวใ้ นช่วงนอ้ ยกว่าสบิ สองเดือน 2.6 ลกู หนกี้ ารค้า ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหน้ี และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจ�ำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วย ค่าเผื่อหน้สี งสยั จะสูญซึง่ ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลอื ณ วนั สิ้นงวด คา่ เผอื่ หนีส้ งสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหวา่ งราคา ตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน โดยถอื เป็นส่วนหนง่ึ ของคา่ ใชจ้ ่ายในการขาย คา่ เผอ่ื หน้สี งสยั จะสูญต้งั ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการบัญชี และการเงิน ของรฐั วิสาหกจิ พ.ศ.2548 ขอ้ 7 และหลกั เกณฑท์ ่ีกระทรวงการคลังกำ� หนดโดยลกู หนที้ ี่ไม่ใชส่ ว่ นราชการหรอื รฐั วิสาหกจิ ซึ่งค้าง ชำ� ระเกินกว่าหนึง่ ปขี ึน้ ไปนับจากวันท่หี นี้ถงึ กำ� หนดชำ� ระจะตงั้ ค่าเผอ่ื หน้สี งสัยจะสญู ท้งั จำ� นวน แตถ่ ้าไมเ่ กนิ หนงึ่ ปีจะต้งั ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการก�ำหนด ส่วนลูกหนี้ท่ีเป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจให้เป็นไปตาม หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีกระทรวงการคลังกำ� หนด 2.7 สินค้าคงเหลือ สนิ คา้ คงเหลือแสดงตามราคาทนุ หรือมูลคา่ สทุ ธทิ ี่จะไดร้ ับ แล้วแต่ราคาใดจะตำ่� กวา่ ราคาทนุ ของสินค้าคงเหลือ ค�ำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักพัสดุคงเหลือค�ำนวณโดยวิธีเข้าก่อนออกก่อน ต้นทุนของการซ้ือประกอบด้วย ราคาซอ้ื และคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั การซอ้ื สนิ คา้ นน้ั เชน่ คา่ ขนสง่ ตน้ ทนุ ของสนิ คา้ สำ� เรจ็ รปู ประกอบดว้ ยคา่ วตั ถดุ บิ คา่ แรง ทางตรง คา่ ใชจ้ า่ ยทางตรงอนื่ และคา่ โสหยุ้ ในการผลติ ซง่ึ ปนั สว่ นตามเกณฑก์ ารดำ� เนนิ งานตามปกติ มลู คา่ สทุ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ประมาณ จากราคาปกติท่ีคาดว่าจะขายได้ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็นเพ่ือให้สินค้านั้นส�ำเร็จรูปรวมถึงค่าใช้จ่ายในการขาย องค์กรบันทกึ บัญชคี า่ เผื่อการลดมลู ค่าสนิ ค้าเก่า ล้าสมัยเคลอื่ นไหวช้า และเสื่อมคุณภาพเทา่ ทจ่ี �ำเป็น 2.8 ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ ทดี่ นิ แสดงดว้ ยราคาทนุ อาคารและอปุ กรณว์ ดั มลู คา่ ดว้ ยราคาทนุ หกั คา่ เสอื่ มราคาสะสม ตน้ ทนุ เรม่ิ แรกจะรวม ต้นทุนทางตรงอน่ื ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การซอ้ื สนิ ทรพั ย์น้ัน ตน้ ทนุ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายหลงั จะรวมอยใู่ นมลู คา่ ตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ยห์ รอื รบั รแู้ ยกเปน็ อกี สนิ ทรพั ยห์ นง่ึ ตามความ เหมาะสม เม่ือต้นทุนน้ันเกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่องค์กรและต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่า ได้อย่างน่าเช่ือถือ และจะตัดมูลค่าตามบัญชีของชิ้นส่วนที่ถูกเปล่ียนแทนออก ส�ำหรับค่าซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษาอื่นๆ องค์กร จะรับรู้ตน้ ทนุ ดังกล่าวเป็นคา่ ใชจ้ ่ายในงบกำ� ไรขาดทนุ เมอ่ื เกิดข้นึ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ท่ีดนิ ไมม่ กี ารคิดคา่ เส่อื มราคา คา่ เสอ่ื มราคาของสินทรพั ย์อนื่ ค�ำนวณโดยใชว้ ิธีเส้นตรง เพือ่ ลดราคาทนุ แต่ละชนิด ตลอดอายกุ ารใหป้ ระโยชนท์ ี่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ ดังตอ่ ไปนี้ อาคาร โรงเรอื นและสง่ิ ปลูกสรา้ ง 10 - 40 ปี เคร่อื งจกั รและอุปกรณ์ 5 - 15 ปี ยานพาหนะ 5 - 8 ปี เครอ่ื งใช้และอปุ กรณส์ ำ� นักงาน 5 - 10 ปี สำ� หรบั อุปกรณท์ ่มี รี าคาซ้ือหรือไดม้ าราคาหนว่ ยละไมเ่ กนิ 30,000บาท จะรับรเู้ ป็นคา่ ใช้จา่ ยในปที ี่ซ้อื หรือไดม้ า ทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานได้มีการทบทวนและปรับปรุงมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ใหเ้ หมาะสม สวนยางพาราแสดงตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนส่วนใหญ่ประกอบด้วย การล้มต้นยางพารา และการปรับสภาพพ้ืนที่ การปรับหน้าดิน การปลูกยางพารา การปราบวัชพืชและการใส่ปุ๋ย ซ่ึงเป็นต้นทุนท่ีเก่ียวข้องกับการ ปลูกยางพาราองค์กรจะมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของต้นยางพาราอย่างน้อยทุกสิ้นรอบปีบัญชี โดยองคก์ รจะประเมินมลู คา่ คงเหลือของตน้ ยางพารา ดังนี้ - หากราคามูลค่าคงเหลือสูงกว่าราคาตามบัญชีสุทธิองค์กรจะไม่คิดค่าเสื่อมราคาและแสดงราคาต้นยางพารา ดว้ ยราคาตามบัญชีสทุ ธิ - หากราคาตามบัญชีสุทธิสูงกว่ามูลค่าคงเหลือ องค์กรจะค�ำนวณค่าเสื่อมราคา โดยคิดค่าเสื่อมราคา จากจ�ำนวนสุทธขิ องมูลคา่ คงเหลอื โดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 25ปี สวนปาลม์ แสดงตามราคาทนุ หกั ค่าเส่อื มราคาสะสม ตน้ ทนุ สว่ นใหญ่ประกอบดว้ ย การลม้ ตน้ ปาลม์ และการปรบั สภาพพนื้ ท่ี การปรบั หนา้ ดนิ และทำ� รอ่ งนำ�้ การปลกู ปาลม์ การปราบวชั พชื และการใสป่ ยุ๋ ซงึ่ เปน็ ตน้ ทนุ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การปลกู ปาลม์ ต้ังแต่ยังไม่ให้ผลผลิตจนกระทั่งต้นปาล์มให้ผลผลิต (ซึ่งจะใช้ระยะเวลาโดยประมาณ 2 - 3 ปี) ถือเป็นต้นทุนสวนปาล์ม องค์กร คดิ ค่าเส่อื มราคาของตน้ ทุนสวนปาล์มเปน็ ต้นทนุ การผลติ ผลปาลม์ หลงั จากทตี่ ้นปาลม์ ให้ผลผลิต โดยใชว้ ธิ ีเสน้ ตรงภายในระยะเวลา 24 ปี ในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าท่ีคาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าท่ีคาดว่า จะไดร้ ับคนื ทนั ที ผลรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่เกดิ จากการจำ� หน่ายทดี่ ิน อาคารและอปุ กรณ์ คำ� นวณโดยเปรยี บเทียบจากสิ่งตอบแทน สุทธิท่ีได้รับจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู้บัญชีรายได้หรือค่าใช้จ่ายอ่ืนสุทธิในรายได้ หรือคา่ ใช้จา่ ย 2.9 สินทรัพยไ์ มม่ ีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีซ้ือมาจะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยค�ำนวณจากต้นทุนในการได้มา และการด�ำเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถน�ำมาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจ�ำหน่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุ การใหป้ ระโยชน์โดยประมาณภายในระยะเวลา 5 ปี รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2.10 การดอ้ ยคา่ ของสินทรพั ย์ สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชัด ซ่ึงไม่มีการตัดจ�ำหน่ายจะถูก ทดสอบการดอ้ ยคา่ เปน็ ประจำ� ทกุ ปี สนิ ทรพั ยอ์ น่ื ทมี่ กี ารตดั จำ� หนา่ ยจะมกี ารทบทวนการ ด้อยคา่ เมอื่ มีเหตกุ ารณห์ รือสถานการณบ์ ง่ ชี้วา่ ราคาตามบัญชีอาจสงู กวา่ มลู คา่ ที่คาดวา่ จะไดร้ บั คนื รายการขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ จะรบั รเู้ มอื่ ราคาตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ยส์ งู กวา่ มลู คา่ ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั คนื ซง่ึ หมายถงึ จำ� นวนทส่ี งู กวา่ ระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กท่ีสุดท่ีสามารถ แยกออกมาได้ เพ่อื วัตถุประสงคข์ องการประเมินการด้อยค่า สินทรพั ยท์ ่ไี ม่ใช่สนิ ทรพั ย์ทางการเงินซึ่งรบั รู้รายการขาดทุนจากการ ด้อยคา่ ไปแล้วจะถกู ประเมนิ ความเป็นไปไดท้ ่ีจะกลับรายการขาดทนุ จากการด้อยคา่ ณ วันส้นิ รอบระยะเวลารายงาน 2.11 สญั ญาเช่าระยะยาว กรณีทอ่ี งคก์ รเป็นผู้เชา่ สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ซ่ึงผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ เปน็ สว่ นใหญ่ สญั ญาเชา่ นนั้ ถอื เปน็ สญั ญาเชา่ ดำ� เนนิ งาน เงนิ ทตี่ อ้ งจา่ ยภายใตส้ ญั ญาเชา่ ดงั กลา่ ว (สทุ ธจิ ากสงิ่ ตอบแทนจงู ใจทไ่ี ดร้ บั จากผู้ให้เชา่ ) จะบนั ทึกในก�ำไรหรือขาดทนุ โดยใชว้ ิธีเสน้ ตรงตลอดอายุของสญั ญาเชา่ นน้ั สัญญาเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเส่ียงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบท้ังหมด ถือเป็น สัญญาเช่าการเงิน ซ่ึงจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ท่ีเช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจ�ำนวนเงินที่ ตอ้ งจา่ ยตามสญั ญาเช่า แลว้ แต่มูลค่าใดจะต่�ำกว่า จ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหน้ีสินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบ้ีย คงที่ต่อหน้ีสินคงค้างอยู่ โดยจะพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึก เป็นหนส้ี นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบย้ี จา่ ยจะบนั ทกึ ในกำ� ไรหรอื ขาดทุนตลอดอายขุ องสัญญาเชา่ เพือ่ ทำ� ให้อัตราดอกเบีย้ แตล่ ะงวดเป็น อตั ราคงทสี่ ำ� หรบั ยอดคงเหลอื ของหนส้ี นิ ทเ่ี หลอื อยู่ สนิ ทรพั ยท์ ไี่ ดม้ าตามสญั ญาเชา่ การเงนิ จะคดิ คา่ เสอื่ มราคาตลอดอายกุ ารใชง้ าน ของสนิ ทรัพย์ท่เี ชา่ หรืออายุของสัญญาเช่าแลว้ แต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า กรณที ี่องค์กรเป็นผ้ใู หเ้ ช่า สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าทางการเงินบันทึกเป็นลูกหนี้สัญญาเช่าทางการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของ จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้เบ้ืองต้นกับมูลค่าปัจจุบันของลูกหน้ีบันทึกเป็น รายได้ทางการเงินค้างรับ รายได้จากสัญญาเช่าระยะยาวรับรู้ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะท้อนอัตราผล ตอบแทนคงท่ีทุกงวด ต้นทุนทางตรงเริ่มแรกท่ีรวมอยู่ในการวัดมูลค่าลูกหน้ีสัญญาเช่าทางการเงินเริ่มแรกและจะทยอยรับรู้โดย ลดจากรายไดต้ ลอดอายุของสญั ญาเช่า กรณีทอ่ี งคก์ รเป็นผใู้ ห้เชา่ สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรวมแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินในส่วนของที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ และตัดค่าเส่ือมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ด้วยเกณฑ์เดียวกันกับรายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณข์ องกลุม่ องคก์ รซึ่งมีลักษณะคล้ายคลงึ กนั รายไดค้ า่ เช่า (สุทธิจากสง่ิ ตอบแทนจูงใจทไ่ี ด้จ่ายใหแ้ กผ่ ูใ้ หเ้ ช่า) รับรดู้ ้วยวธิ ี เส้นตรงตลอดชว่ งเวลาการให้เช่า 2.12 ผลประโยชน์พนกั งาน ผลประโยชน์พนักงานขององค์กร ประกอบด้วยผลประโยชน์หลังออกจากงานทั้งที่เป็นโครงการสมทบเงิน และโครงการผลประโยชน์ โครงการสมทบเงินเป็นโครงการที่องค์กรจ่ายเงินสมทบให้กับกองทุนท่ีแยกต่างหาก Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ในจ�ำนวนเงินคงท่ี องค์กรไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมาน ทจี่ ะตอ้ งจา่ ยเงนิ เพมิ่ ถงึ แมก้ องทนุ ไมม่ สี นิ ทรพั ยเ์ พยี งพอทจี่ ะจา่ ยชำ� ระใหพ้ นกั งานทงั้ หมดสำ� หรบั การให้บริการของพนักงานท้ังในอดีตและปัจจุบัน โครงการผลประโยชน์เป็นโครงการที่ไม่ใช่ โครงการสมทบเงินซ่ึงจะก�ำหนดจ�ำนวนเงินผลประโยชน์ท่ีพนักงานจะได้รับเมื่อเกษียณอายุ ซึ่งจะข้ึนอยู่กับหลายปัจจยั เชน่ อายุ จ�ำนวนปีทใ่ี ห้บริการ และคา่ ตอบแทน เปน็ ตน้ • โครงการสมทบเงิน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ กองค์กรได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเล้ียงชีพโดยใช้แผนการก�ำหนดอัตราการจ่ายสมทบโดยท่ีสินทรัพย์ของกองทุน ได้แยกออกจากสินทรัพย์ขององค์กร และบริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินเข้าสมทบกองทุน จากพนกั งาน องคก์ รไมม่ ภี าระผกู พนั ทจ่ี ะจา่ ยเงนิ เพม่ิ อกี เมอื่ ไดจ้ า่ ยเงนิ สมทบไปแลว้ เงนิ สมทบจะถกู รบั รเู้ ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยผลประโยชน์ พนกั งานเมอ่ื ถงึ กำ� หนดชำ� ระ สำ� หรบั เงนิ สมทบจา่ ยลว่ งหนา้ จะถกู รบั รเู้ ปน็ สนิ ทรพั ยจ์ นกวา่ จะมกี ารไดร้ บั เงนิ คนื หรอื หกั ออกเมอ่ื ครบ กำ� หนดจา่ ย องคก์ รจะจา่ ยสมทบให้กองทนุ สำ� รองเล้ียงชีพตามอายุงานของพนักงานในอัตราร้อยละ 9 รอ้ ยละ 10 และร้อยละ 11 ของเงินเดือนพนกั งาน • โครงการผลประโยชน์ ผลประโยชน์เมอื่ เกษียณอายุ องค์กรจัดให้มีโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานเพื่อจ่ายเงินให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมาย แรงงานไทย จำ� นวนเงนิ ดังกลา่ วขนึ้ อยกู่ บั ฐานเงนิ เดือนและจำ� นวนปีทพี่ นักงานทำ� งานให้องค์กร นับถงึ วนั ทส่ี นิ้ สดุ การทำ� งาน ท่จี ะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต หนส้ี นิ สำ� หรบั โครงการผลประโยชนจ์ ะรบั รใู้ นงบแสดงฐานะการเงนิ ดว้ ยมลู คา่ ปจั จบุ นั ของภาระผกู พนั ณ วนั ทสี่ นิ้ รอบระยะเวลารายงาน ภาระผูกพันน้ีค�ำนวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ซง่ึ มลู คา่ ปจั จบุ นั ของโครงการผลประโยชนจ์ ะประมาณโดยการคดิ ลดกระแสเงนิ สดทตี่ อ้ งจา่ ยในอนาคตโดยใชอ้ ตั ราดอกเบย้ี พนั ธบตั ร รัฐบาลซึ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจ่ายภาระผูกพันให้แก่พนักงานและวันครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องช�ำระ ภาระผูกพนั นอกจากนี้ องค์กรยังจัดให้มีกองทุนบ�ำเหน็จและสมทบเป็นเงินส�ำรองบ�ำเหน็จพนักงานในกรณีพนักงานเลือก ไมอ่ ยใู่ นกองทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี โดยปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการสงเคราะหก์ ารทำ� สวนยาง วา่ ดว้ ยการจา่ ยเงนิ บำ� เหนจ็ พนกั งาน พ.ศ.2516 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2522 ข้อ 15 โดยองค์กรจะจ่ายเงินสมทบเข้าบัญชีเงินส�ำรองบ�ำเหน็จพนักงาน จากงบของกองทุน เพอ่ื การบริหารในอตั ราร้อยละ 12 ของเงินเดือนหรือคา่ จ้างที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน ผลประโยชน์เมือ่ เกษียณอายุ องค์กรมีนโยบายให้สิทธิพนักงานในการลาพักผ่อนประจ�ำปีโดยได้รับค่าตอบแทนท่ีสะสมได้แต่ไม่เป็นสิทธิขาด และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายและหน้ีสินเม่ือพนักงานใช้บริการส�ำหรับสิทธิท่ีพนักงานยังไม่ได้ใช้สะสมอยู่และคาดว่าจะได้ใช้ในอนาคต หรือได้รับเปน็ เงินเมือ่ เกษียณอายุ รายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตร์ประกนั ภัยสำ� หรับโครงการผลประโยชน์พนกั งาน เกิดขึน้ จากการปรับปรุงหรอื เปลย่ี นแปลงขอ้ สมมติฐานจะรบั รใู้ นก�ำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อ่นื ต้นทุนบริการในอดตี จะรบั รู้ทนั ทใี นก�ำไรหรอื ขาดทนุ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2.13 ประมาณการหนส้ี ิน องค์กรจะบันทึกประมาณการหน้ีสินอันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมาย หรอื ตามขอ้ ตกลงทจ่ี ดั ทำ� ไว้ อนั เปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากเหตกุ ารณใ์ นอดตี ซง่ึ การชำ� ระภาระ ผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้องค์กรต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการจำ� นวนทต่ี อ้ งจา่ ยได้อยา่ งนา่ เชือ่ ถอื 2.14 เงนิ กยู้ ืม เงินกู้ยืม รับรู้เร่ิมแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของส่ิงตอบแทนท่ีได้รับ หักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการท่ีเกิดขึ้น เงินกู้ยืมวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่าย ผลต่างระหว่างเงินท่ีได้รับ (หักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดข้ึน) เมอื่ เทยี บกับมูลคา่ ทีจ่ า่ ยคืนเพ่อื ช�ำระหนี้นัน้ จะรบั รู้ในงบกำ� ไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม เงินกู้ยมื จดั ประเภทเปน็ หนสี้ นิ หมุนเวยี นเมอื่ องค์กรไม่มสี ิทธิอนั ปราศจากเง่ือนไขให้เลือ่ นช�ำระหนีอ้ อกไปอกี เป็นเวลาไมน่ อ้ ยกว่า 12 เดือน นบั จากวนั ส้นิ รอบระยะเวลารายงาน 2.15 ต้นทนุ การกยู้ ืม ต้นทุนการกู้ยืมท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเง่ือนไข ต้องน�ำมารวมเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์นั้น โดยสินทรัพย์ที่เข้าเง่ือนไขคือสินทรัพย์ท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ระยะเวลานาน ในการเตรียมสนิ ทรพั ยน์ ั้นใหอ้ ยูใ่ นสภาพพรอ้ มทีจ่ ะใชไ้ ดต้ ามประสงคห์ รอื พร้อมทจี่ ะขาย การรวมตน้ ทนุ การกูย้ มื เป็นราคาทนุ ของ สินทรัพย์ต้องสิ้นสุดลงเมื่อการด�ำเนินการส่วนใหญ่ ที่จ�ำเป็นในการเตรียมสินทรัพย์ ท่ีเข้าเง่ือนไขให้อยู่ในสภาพพร้อมท่ีจะใช้ได้ ตามประสงค์หรอื พร้อมที่จะขายได้เสรจ็ สน้ิ ลง รายได้จากการลงทุนที่เกิดจากการน�ำเงินกู้ยืมท่ีกู้มาโดยเฉพาะ ที่ยังไม่ได้น�ำไปเป็นรายจ่ายของสินทรัพย์ ทเี่ ขา้ เงอ่ื นไขไปลงทนุ เปน็ การชวั่ คราวก่อน ตอ้ งนำ� มาหกั จากตน้ ทนุ การกู้ยมื ที่สามารถต้ังขึ้นเป็นตน้ ทุนของสนิ ทรพั ย์ ต้นทุนการกยู้ มื อื่นๆ ถือเปน็ คา่ ใช้จ่ายในงวดทีเ่ กิดขนึ้ 2.16 การอดุ หนุนจากรัฐบาล การอุดหนุนจากรัฐบาลรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรมหากมีเหตุผลชัดเจนว่าจะได้รับการอุดหนุนนั้นและองค์กร จะปฏิบัตใิ ห้เปน็ ไปตามเง่ือนไขทีก่ �ำหนดมาพร้อมกับการอุดหนุนน้นั การอุดหนุนจากรัฐบาลเพ่ือชดเชยต้นทุนจะรับรู้เป็นรายการรายได้รอตัดบัญชีและจะทยอยรับรู้เป็นรายได้ ในก�ำไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์และตามระยะเวลาที่ก�ำหนดโดยเปรียบเทียบการอุดหนุนกับต้นทุนท่ีเก่ียวข้องซ่ึงรัฐบาลต้ังใจให้การ อุดหนนุ ชดเชยคนื ใหแ้ กอ่ งคก์ ร การอุดหนุนจากรัฐบาลเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จะรับรู้เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาลรอการรับรู้ และจะบนั ทึกเขา้ ไปยังกำ� ไรหรอื ขาดทุนโดยใชว้ ิธเี สน้ ตรงตลอดอายุท่ีคาดการณ์ไวข้ องสนิ ทรัพยเ์ หล่านั้น 2.17 การรับร้รู ายได้ นโยบายในการรบั รูร้ ายไดแ้ ตล่ ะประเภทขององค์กร มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 2.17.1 รายได้ค่าธรรมเนียมจากการส่งออกรับรู้เป็นรายได้เมื่อมีสิทธิ์ในการได้รับเงินค่าธรรมเนียมจากผู้ส่ง ยางพาราออกนอกราชอาณาจกั ร 2.17.2 รายไดจ้ ากการขายสนิ ค้าแสดงด้วยจำ� นวนเงนิ สุทธิจากส่วนลด รายไดจ้ ากการขายสินคา้ รบั ร้เู มื่อผู้ซอ้ื รบั โอนความเส่ยี งและผลตอบแทนทเ่ี ปน็ สาระส�ำคญั ของความเปน็ เจ้าของสนิ ค้า Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
2.17.3 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารจะบนั ทึกเม่ือไดใ้ ห้บรกิ ารแกล่ ูกคา้ แล้ว 2.17.4 รายได้จากการรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลจะรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้รับเงินอุดหนุน จากรัฐบาลท่ีไม่ระบุวัตถุประสงค์ในการให้หรือไม่มีเง่ือนไขในการใช้จ่าย ส�ำหรับกรณีรับเงิน อุดหนุนจากรัฐบาลที่มีข้อจ�ำกัดในการใช้ เช่น เงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยระบุวัตถุประสงค์ใน การให้หรืออุดหนุนเป็นสินทรัพย์ที่จะให้ประโยชน์เกินหน่ึงรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน องค์กรจะรับรู้การรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เป็นหน้ีสินประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาลรอการรับรู้ และจะทยอยรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์ท่ีเป็นระบบและสมเหตุสมผลตลอด ระยะเวลาท่จี ำ� เป็นตอ่ การจับครู่ ายไดจ้ ากการรบั เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาลกบั คา่ ใชจ้ ่ายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.17.5 รายได้ดอกเบ้ียรับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของเวลาโดยพิจารณาจากอัตราดอกเบี้ยตลอดช่วงระยะ เวลาจนถึงวันครบอายุและพิจารณาจากจ�ำนวนเงินต้นท่ีเป็นยอดคงเหลือในบัญชีส�ำหรับการบันทึกค้างรับขององค์กร เว้นแต่จะมี ความไมแ่ น่นอนในการรบั ช�ำระ 2.17.6 รายไดอ้ นื่ รับร้ตู ามเกณฑค์ งค้างซ่ึงเปน็ ไปตามเนอ้ื หาของข้อตกลงทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2.18 ค่าใช้จา่ ยสนบั สนุนการปลกู แทน ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการปลูกแทนจะรับรู้เมื่อผู้รับการปลูกแทนปฏิบัติตามระเบียบการยางแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้มกี ารปลูกแทน พ.ศ.2558 3. ประมาณการทางบญั ชที ี่ส�ำคัญ ขอ้ สมมติฐาน และการใชด้ ลุ ยพินจิ การประมาณการข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื่องและอยู่บนพื้นฐาน ของประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยอ่ืนๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตท่ีเช่ือว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั้น การประมาณการทางบัญชที ส่ี �ำคญั ขององคก์ รมีดงั นี้ ก) ภาระผูกพนั โครงการผลประโยชน์พนักงาน มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์พนักงานขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยที่ใช้ในการค�ำนวณ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยมีข้อสมมติฐานหลายตัวรวมถึงข้อสมมติฐานเก่ียวกับอัตราคิดลดการเปลี่ยนแปลง ของขอ้ สมมตฐิ านเหลา่ นจี้ ะสง่ ผลกระทบตอ่ มลู ค่าของภาระผูกพัน องค์กรได้พิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสมในแต่ละปี ซึ่งได้แก่ อัตราดอกเบ้ียที่ควรจะใช้ในการก�ำหนด มูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดท่ีคาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์พนักงานในการพิจารณาอัตรา คดิ ลดทเ่ี หมาะสม องคก์ รพจิ ารณาใชอ้ ตั ราผลตอบแทนในตลาดของพนั ธบตั รรฐั บาล ซง่ึ เปน็ สกลุ เงนิ เดยี วกบั สกลุ เงนิ ทตี่ อ้ งจา่ ยชำ� ระ ผลประโยชนเ์ มอื่ เกษยี ณอายุ และมอี ายคุ รบกำ� หนดใกลเ้ คยี งกบั ระยะเวลาทต่ี อ้ งจา่ ยชำ� ระภาระผกู พนั โครงการผลประโยชนพ์ นกั งาน ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ข้อสมมติฐานหลักอ่ืนๆ ส�ำหรับภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์พนักงานอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบัน ในตลาด ข้อมลู เพ่ิมเตมิ เปดิ เผยในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินขอ้ 18 ข) ประมาณการอายกุ ารใช้ประโยชนแ์ ละมลู คา่ คงเหลือสินทรพั ย์ ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ และค่าตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ฝ่ายบริหารต้องประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของสินทรัพย์ และต้องท�ำการทบทวนอายุการใช้งาน และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนหรืออย่างน้อยปีละครั้งทุกสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี โดยส่วนใหญ่อ้างอิงจาก ข้อมูลเชิงเทคนิคของสินทรัพย์นั้น และรวมถึงการพิจารณาการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ท่ีเสื่อมสภาพหรือไม่ได้ใช้งานโดยการขาย หรือเลิกใช้ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ค) ประมาณการการดอ้ ยคา่ ของอาคารและอุปกรณ์ การด้อยค่าของอาคารและอปุ กรณ์กำ� หนดโดยใชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการประมาณการ ของผบู้ รหิ าร การดอ้ ยคา่ ดงั กลา่ วเกดิ จากอาคารและอปุ กรณท์ ไ่ี มไ่ ดใ้ ชง้ าน ซงึ่ คาดวา่ มลู คา่ ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับคนื น้อยกว่าราคา ตามบัญชสี ุทธิ ฝ่ายบรหิ ารจะมกี ารทบทวนประมาณ การด้อยค่าทุกสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีและประเมินความเป็นไปได้ ท่ีจะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าหากสินทรัพย์ดังกล่าว ไดม้ ีการนำ� กลับมาใช้งาน ง) คา่ เผ่ือหนีส้ งสัยจะสญู องค์กรก�ำหนดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยใช้สมมติฐานและดุลยพินิจหลายประการในการประมาณการ โดยผบู้ รหิ าร ซงึ่ รวมถงึ การใชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการประมาณจำ� นวนหนที้ ค่ี าดวา่ จะเกบ็ เงนิ ไมไ่ ด้ การประมาณดงั กลา่ วอาศยั ประสบการณ์ ขององค์กรในการเก็บเงินจากลูกหนี้ประกอบกับการพิจารณาฐานะการเงินของลูกหน้ีด้วยฝ่ายบริหารมีการทบทวนประมาณการ และขอ้ สมมติฐานตา่ ง ๆ อยา่ งสม่�ำเสมอ 4. การจดั การความเส่ยี งทางการเงนิ ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงนิ กิจกรรมขององค์กรยอ่ มมีความเส่ยี งทางการเงินทห่ี ลากหลายซ่ึงได้แก่ ความเสยี่ งจากตลาด (รวมถึงความเสยี่ ง ดา้ นราคา ความเสย่ี งจากอตั ราแลกเปลยี่ น และความเสยี่ งดา้ นกระแสเงนิ สดอนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงอตั ราดอกเบยี้ ) ความเสย่ี ง ดา้ นการให้สนิ เชอื่ และความเสีย่ งดา้ นสภาพคล่อง แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมขององคก์ รจงึ มุ่งเนน้ ความผันผวนของตลาด การเงินและแสวงหาวธิ ีการลดผลกระทบทที่ ำ� ให้เสยี หายต่อผลการดำ� เนินงานทางการเงนิ ขององคก์ รใหเ้ หลือนอ้ ยทส่ี ุดเท่าทเี่ ปน็ ไปได้ การจัดการความเส่ียงด�ำเนินงานโดยฝ่ายบริหารเงินส่วนกลาง (ส่วนงานบริหารเงินขององค์กร) เป็นไปตาม นโยบายทอ่ี นมุ ัตโิ ดยคณะกรรมการองค์กร สว่ นงานบริหารเงินขององคก์ รจะชี้ประเดน็ ประเมนิ และปอ้ งกนั ความเสย่ี งทางการเงนิ ด้วยการรว่ มมือกันท�ำงานอย่างใกล้ชดิ กับหน่วยปฏิบตั งิ านต่างๆ ภายในองคก์ ร ก) ความเสย่ี งจากอัตราแลกเปล่ียน องค์กรมีความเส่ียงจากอัตราแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากรายได้จากการขายมีบางส่วนที่ เป็นเงินตราต่างประเทศ ผู้บริหารพิจารณาว่าองค์กรจะไม่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนอย่างมีนัยส�ำคัญ เนื่องจากรายการซอ้ื ขายทท่ี ำ� ในสกุลเงินตราตา่ งประเทศมจี ำ� นวนนอ้ ย ข) ความเสี่ยงจากอตั ราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานขององค์กรส่วนใหญ่ไม่ขึ้นกับการเปล่ียนแปลงอัตราดอกเบี้ย ในตลาด องค์กรมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยจากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ซึ่งเป็นตามอัตราดอกเบี้ย ของธนาคารพาณิชย์ ในประเทศไทย สว่ นอตั ราดอกเบย้ี จากเงนิ ใหก้ ยู้ มื เปน็ อตั ราดอกเบย้ี คงที่ ผบู้ รหิ ารพจิ ารณาวา่ องคก์ รจะไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากการ เปลย่ี นแปลงอตั ราดอกเบ้ียอยา่ งมีนัยส�ำคัญเนือ่ งจากรายการดอกเบ้ียรบั เปน็ รายการสว่ นนอ้ ยของรายได้รวมขององคก์ ร ค) ความเสยี่ งด้านการให้สินเชอ่ื ความเสี่ยงขององค์กรที่เป็นความเส่ียงจากสินเชื่อ ประกอบด้วย เงินฝากสถาบันการเงิน และลูกหน้ีการค้า เงินทดรองจ่าย และเงินให้กู้ยืมแก่บุคคลหรือกิจการอื่น องค์กรมีความเสี่ยงจากการให้สินเช่ือแก่ลูกหนี้ท่ีไม่สามารถช�ำระหน้ี ให้แก่องค์กรท้ังจ�ำนวนอย่างไรก็ตามองค์กรมีการก�ำหนดนโยบายการให้สินเชื่อเพ่ือท�ำให้เช่ือม่ันว่าองค์กรขายสินค้าแก่ลูกค้า หรอื ให้กยู้ ืมเงินแกเ่ กษตรกรหรือพนักงานที่มปี ระวัตสิ นิ เชอื่ อยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสม องคก์ รไม่มีความเสย่ี งท่ีมนี ัยส�ำคัญกบั สถาบนั การเงินเนื่องจากองคก์ รฝากเงนิ สดไว้กบั สถาบนั การเงินท่ีนา่ เชอื่ ถื Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ง) ความเสยี่ งดา้ นสภาพคลอ่ ง จ�ำนวนเงินสดท่ีมีอย่างเพียงพอและเงินลงทุนชั่วคราวท่ีฝากไว้กับสถาบันการเงิน ท่ีน่าเชื่อถือ ย่อมแสดงถึงการจัดการความเส่ียงของสภาพคล่องอย่างรอบคอบและเพียงพอ ในการดำ� เนนิ งาน 5. การจัดการความเส่ียงในส่วนของทนุ วัตถุประสงค์ขององค์กรในการบริหารทุนขององค์กรนั้นเพ่ือด�ำรงไว้ซ่ึงความสามารถในการด�ำเนินงาน อย่างต่อเน่ืองตามวัตถุประสงค์ขององค์กรที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1 และเพ่ือด�ำรงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุน ท่ีเหมาะสม 6. เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย หนว่ ย : บาท 30 ก.ย. 61 30 ก.ย. 60 เงินสด 10.00 - เงินระหว่างทาง - 24,750.00 เงนิ ฝากธนาคาร - ประเภทกระแสรายวนั 190,944.36 166,000.00 - ประเภทออมทรัพย์ 6,326,276,300.66 3,680,060,913.50 - ประเภทประจ�ำ 3 เดอื น 16,495,596,046.11 18,297,408,977.65 รวม 22,822,063,301.13 21,977,660,641.15 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรพั ย์ มอี ัตราดอกเบย้ี ถวั เฉลยี่ อยทู่ ่รี ้อยละ 0.13 ถงึ รอ้ ยละ 0.40 ต่อปี เงนิ ฝาก ธนาคารประเภทประจำ� ทีถ่ งึ ก�ำหนดชำ� ระภายใน 3 เดือน มอี ตั ราดอกเบยี้ ร้อยละ 0.90 ถงึ รอ้ ยละ 1.33 ต่อปโี ดยมีระยะเวลาครบ กำ� หนดโดยเฉลยี่ อยูท่ ี่ 3 เดอื น 7. เงนิ ลงทุนชั่วคราว เงนิ ลงทุนชั่วคราวณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2561 จ�ำนวน 7,987,781,042.93 บาท (ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2560 จำ� นวน 8,030,405,831.43 บาท) เป็นเงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำ 3 เดอื นขน้ึ ไปแต่ไมเ่ กิน 1 ปี โดยมอี ตั ราดอกเบี้ยรอ้ ยละ 1.30 ถึงร้อยละ 1.36 ตอ่ ปี 8. ลกู หนีก้ ารคา้ และลกู หนี้อ่นื - สุทธิ ประกอบดว้ ย ลูกหนี้การค้า 30 ก.ย. 61 หนว่ ย : บาท หกั ค่าเผอ่ื หน้สี งสยั จะสูญ 208,814,218.83 30 ก.ย. 60 (67,972,168.86) 112,592,432.44 ลกู หนี้การค้า - สทุ ธิ 140,842,049.97 ลกู หน้ีเงนิ ปลูกแทนเรียกคืน (60,495,533.34) 375,917.75 52,096,899.10 443,968.91 รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ลกู หนก้ี ารค้าและลกู หนอ้ี ืน่ - สุทธิ (ตอ่ ) (375,917.75) (443,968.91) - - หัก คา่ เผอื่ หน้สี งสยั จะสูญ ลกู หนีเ้ งินปลูกแทนเรยี กคืน - สทุ ธิ 35,627,129.47 35,512,057.75 ลกู หน้ีอืน่ (14,428,691.33) (14,428,691.33) 21,198,438.14 21,083,366.42 หกั คา่ เผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ 47,494,203.71 52,939,790.40 ลกู หนี้อืน่ - สุทธิ ดอกเบ้ียค้างรับ 233,408.45 347,162.94 เงนิ ยืมทดรองทัว่ ไป 25,964,120.61 758,217.00 คา่ ใชจ้ ่ายจ่ายลว่ งหนา้ ลูกหนโ้ี ครงการ 14,702.20 - 235,746,923.08 127,225,435.86 รวม หน่วย : บาท 9. เงินใหก้ ยู้ มื ระยะยาว ประกอบดว้ ย 30 ก.ย. 60 เงนิ ให้กู้ยืมระยะยาวแกเ่ กษตรกร 30 ก.ย. 61 66,016,042.11 (หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ขอ้ 9.1) เงินใหก้ ูย้ ืมระยะยาวแก่สถาบนั เกษตรกร 193,874,545.47 4,000,000.00 และผู้ประกอบกจิ การยาง (หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ขอ้ 9.2) 247,538,638.24 31,362,258.00 เงินใหก้ ู้ยมื ระยะยาวแก่พนักงาน 101,378,300.11 (หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ขอ้ 9.3) 17,899,440.00 (17,499,189.30) รวมเงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะยาว 459,312,623.71 83,879,110.81 (22,271,768.28) หกั คา่ เผ่อื หน้สี งสัยจะสูญ 437,040,855.43 (34,296,766.67) รวม 49,582,344.14 (228,634,923.15) หัก เงินให้กู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำ� หนดรับ 208,405,932.28 ชำ� ระภายในหนง่ึ ปี เงนิ ให้กู้ยืมระยะยาว - สทุ ธิ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
เงินให้กู้ยืมระยะยาว ประกอบด้วย 9.1 เงนิ ใหก้ ้ยู มื ระยะยาวแกเ่ กษตรกร เงินให้ก้ยู มื ระยะยาวแกเ่ กษตร ประกอบดว้ ย 9.1.1 เงินให้กยู้ มื เพ่อื บรรเทาความเดอื ดร้อน มีวตั ถุประสงค์เพอ่ื เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในกรณี ได้รบั ความเดอื ดรอ้ น ดงั ตอ่ ไปนี้ • ประสบภยั พบิ ัติ ได้แก่ อคั คีภัย อทุ กภยั วาตภยั และภยั แลง้ • เพื่อการรักษาพยาบาลของตนเอง • เพือ่ ปรับปรุงท่ีอยู่อาศัย ยานพาหนะ และเครอื่ งมือ เคร่ืองใช้ในการประกอบอาชีพ • เพ่อื เป็นทุนในการประกอบอาชพี เสริม • กรณอี ่นื ตามทผ่ี วู้ า่ การกำ� หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 9.1.2 เงินให้กู้ยืมเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายส�ำหรับประกอบอาชีพการท�ำสวนยางในด้านการปรับปรุง คณุ ภาพผลผลติ การผลิต การแปรรูป 9.1.3 เงนิ ใหก้ ู้ยืมเพอ่ื ปลกู ยาง ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการกยู้ มื เงนิ ของโครงการสรา้ งสวนยางพนั ธ์ดุ ี ภาคตะวันออกซึ่งกู้จากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เงินให้กู้ยืมดังกล่าวปลอดการช�ำระหนี้ 6 ปีนับจากปีท่ีปลูกยาง และก�ำหนด ชำ� ระหนเี้ งนิ กภู้ ายใน 18 ปี โดยองคก์ รสามารถหกั เงนิ คา่ นำ�้ ยางทเ่ี กษตรกรขายใหต้ ามขอ้ ตกลง เพอ่ื รบั ชำ� ระหนี้ เงนิ ใหก้ ยู้ มื ดงั กลา่ ว มอี ัตราดอกเบย้ี รอ้ ยละ 7.00 ต่อปี การเปล่ียนแปลงของเงินใหก้ ูย้ ืมระยะยาวแกเ่ กษตรกรสามารถวเิ คราะหไ์ ด้ ดังน้ี ยอดยกมาต้นปี 30 ก.ย. 61 หนว่ ย : บาท ให้ก้เู พม่ิ ระหว่างปี 66,016,042.11 30 ก.ย. 60 รบั ชำ� ระระหว่างปี 159,122,547.03 77,706,930.65 ยอดคงเหลอื ปลายปี (31,264,043.67) 22,912,500.00 193,874,545.47 (34,603,388.54) หัก คา่ เผอ่ื หนีส้ งสัยจะสญู (22,271,768.28) 66,016,042.11 รวม 171,602,777.19 (17,499,189.30) 48,516,852.81 หกั เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่เกษตรกร (99,817,653.41) ถงึ กำ� หนดรับชำ� ระภายในหน่งึ ปี 71,785,123.78 (32,807,556.04) เงินให้กู้ยมื ระยะยาวแก่เกษตรกร - สุทธิ 15,709,296.77 9.2 เงินใหก้ ยู้ มื ระยะยาวแก่สถาบันเกษตรกรและผปู้ ระกอบกจิ การยาง เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบกิจการยางเป็นเงินให้กู้ยืมเพื่อเป็น ค่าใชจ้ ่ายส�ำหรบั การปรับปรุงคุณภาพผลผลติ การผลิต การแปรรูป การตลาด และอตุ สาหกรรมแปรรูปยางขั้นต้น อตุ สาหกรรม การผลติ ผลติ ภณั ฑย์ าง อุตสาหกรรมไม้ยาง และการดำ� เนินการอื่นท่เี กยี่ วขอ้ งกับยางพารารวมถงึ การรวบรวมผลผลติ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
การเปล่ียนแปลงของเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่สถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบ กจิ การยางสามารถวเิ คราะห์ได้ ดังน้ี ยอดยกมาตน้ ปี 30 ก.ย. 61 หน่วย : บาท ให้ก้เู พม่ิ ระหว่างปี 4,000,000.00 30 ก.ย. 60 รบั ชำ� ระระหว่างปี 275,709,980.00 (32,171,341.76) - รวม 247,538,638.24 4,000,000.00 หกั เงินให้กู้ยมื ระยะยาวแกส่ ถาบนั เกษตรกรและผปู้ ระกอบกจิ การยางทีถ่ งึ (128,817,269.74) - ก�ำหนดรับช�ำระภายในหน่งึ ปี 118,721,368.50 4,000,000.00 ยอดคงเหลอื ปลายปี (1,489,210.63) 2,510,789.37 9.3 เงินใหก้ ้ยู มื ระยะยาวแกพ่ นักงาน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่พนักงานเป็นเงินให้ยืมซื้อรถจักรยานยนต์และรถยนต์ส�ำหรับพนักงานท่ีปฏิบัติหน้าที่ ของหนว่ ยงานในสว่ นภูมภิ าคตามเงอื่ นไขทก่ี ำ� หนดโดยไมค่ ดิ ดอกเบย้ี ระยะเวลาการรบั ชำ� ระคืนไมเ่ กนิ 84 เดอื น การเปลย่ี นแปลงของเงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่พนักงานสามารถวิเคราะหไ์ ด้ ดงั นี้ ยอดยกมาตน้ ปี 30 ก.ย. 61 หนว่ ย : บาท ใหก้ เู้ พ่ิมระหว่างปี 31,362,258.00 30 ก.ย. 60 รบั ช�ำระระหวา่ งปี 50,318,207.16 ยอดคงเหลอื ปลายปี - (13,462,818.00) - 17,899,440.00 (18,955,949.16) 31,362,258.00 10. สนิ คา้ คงเหลอื - สุทธิ ประกอบดว้ ย 30 ก.ย. 61 หน่วย : บาท 78,045,591.08 30 ก.ย. 60 วัตถดุ ิบ 6,715,879.68 39,022,625.18 วัสดกุ ารเกษตร 131,930,431.01 วสั ดุปลกู 438,793.58 1,319,394.86 สินค้าส�ำเร็จรูป 416,519,021.97 433,227,909.82 501,719,286.31 605,500,360.87 Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
สนิ ค้าคงเหลอื - สุทธิ (ตอ่ ) (101,484,493.26) (115,607,538.25) หกั คา่ เผือ่ สำ� หรับมูลค่าสนิ คา้ ทค่ี าดว่า 400,234,793.05 489,892,822.62 จะไดร้ บั ต�ำ่ กว่าราคา 14,542,532.00 ทุน - สินคา้ สำ� เร็จรปู 414,777,325.05 4,297,822.89 494,190,645.51 งานระหว่างทำ� รวม 11. เงินฝากธนาคารมีข้อจ�ำกดั การใช้ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ.2561 องค์กรได้น�ำเงินฝากธนาคาร ประเภทฝากประจ�ำ 3 เดอื นถงึ 1 ปี กับสถาบนั การเงนิ จ�ำนวน 38,196,354.20 บาท (ณ วันท่ี 30 กันยายน 2560 จ�ำนวน 69,107,955.00 บาท) เพื่อใช้เป็นเงินสำ� หรบั จ่ายให้แก่ ผู้เกษยี ณอายุในโครงการเงนิ สำ� รองบำ� เหนจ็ เงนิ ฝากธนาคารดังกล่าวมีอตั ราดอกเบีย้ รอ้ ยละ 0.90 ตอ่ ปี 12. เงนิ ลงทุนระยะยาวอ่ืน ตามมตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ครง้ั ท่ี 7/2560 เมอ่ื วันท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ.2560 เห็นชอบให้องค์กรเข้าร่วมหุ้นในนิติบุคคลของกองทุนเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ภายใตช้ อื่ “บรษิ ทั รว่ มทนุ ยางพาราไทย จำ� กดั ” จำ� นวน 200.00 ลา้ นบาท โดยบรษิ ทั ดงั กลา่ ว ทนุ จดทะเบยี น จ�ำนวน 1,200.00 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4/2561 เม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ.2561 เหน็ ชอบใหย้ กเลกิ การจดั ตง้ั บรษิ ัท รว่ มทุนยางพาราไทย จำ� กดั ปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนินการยกเลิกบริษทั ฯ 13. ทด่ี นิ อาคาร และอปุ กรณ์ - สทุ ธิ ที่ดนิ อาคาร สวนยางพารา เครื่องจกั ร ยานพาหนะ เคร่อื งใช้ สนิ ทรพั ย์ รวม และส่ิงปลกู สรา้ ง และสวนปาล์ม และอุปกรณ์ และอุปกรณ์ ระหว่างกอ่ สร้าง สำ� นักงาน 7,736,507,161.04 (5,335,602,042.93) ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2559 (195,435,450.41) ราคาทุน 168,709,460.63 4,969,585,298.76 265,352,413.81 1,179,410,522.19 440,115,493.88 599,313,861.90 114,020,109.87 2,205,469,667.70 (45,976,337.58) (1,072,975,745.15) (303,887,399.76) (438,130,361.74) - หัก คา่ เสื่อมราคาสะสม - (3,474,632,198.70) - 2,205,469,667.70 - (153,501.77) - - - หัก คา่ เผอ่ื การดอ้ ยคา่ สะสม - (195,281,948.64) 219,376,076.23 106,281,275.27 136,228,094.12 161,183,500.16 114,020,109.87 270.01 ราคาตามบญั ชี - สุทธิ 168,709,460.63 1,299,671,151.42 219,376,076.23 106,281,275.27 136,228,094.12 - 201,401,946.79 297,713.51 ส�ำหรับปสี ้ินสุดวันที่ 30 กนั ยายน พ.ศ.2560 - 2.00 154.24 ณ วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ.2559 168,709,460.63 1,299,671,151.42 161,183,500.16 114,020,109.87 2,032,764.82 - จัดประเภทรายการใหม่ - (203,732,425.12) 111.76 - ปรับปรงุ - 2.01 รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สทุ ธิ (ตอ่ ) ที่ดิน อาคาร สวนยางพารา เครอ่ื งจักร ยานพาหนะ เครื่องใช้ สินทรพั ย์ รวม และสิ่งปลูกสร้าง และสวนปาล์ม และอุปกรณ์ และอุปกรณ์ ระหว่างก่อสร้าง สำ� นักงาน 192,346,193.63 - ซอ้ื สินทรพั ย์ 10,000,000.00 12,967,463.90 - 80,761,395.99 18,842,083.48 13,899,239.68 55,876,010.58 (471,033.39) การโอนเข้า (ออก) - 38,075,045.60 - 1,448,991.56 - (986,531.49) 36,871,466.54 (76,395,503.70) (231,034,647.64) ตดั จำ� หนา่ ยสินทรัพย์ -สุทธิ - (5.00) - (1.00) - (27,516.22) (443,511.17) 2,165,323,918.82 (899,448.79) (13.00) (4.00) (213.20) - จ�ำหน่ายสนิ ทรัพย์ -สุทธิ - (86,852.50) (97,251.57) (118,037,830.38) - 7,903,268,678.59 218,379,375.87 271,855,919.47 (28,258,455.26) (55,441,426.48) (5,542,963,206.53) คา่ เสอ่ื มราคา - (29,199,683.95) 127,109,433.85 158,517,927.06 93,057,105.58 264,452,965.02 1,449,949,012.19 (194,981,553.24) ราคาตามบญั ชีปลายปี - สุทธิ 178,709,460.63 1,117,694,696.36 (46,073,589.15) (1,177,941,282.95) 457,273,476.45 2,165,323,918.82 (330,164,042.60) ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน พ.ศ.2560 - (151,809.77) 7,903,268,678.59 218,379,375.87 271,855,919.47 - (5,542,963,206.53) ราคาทุน 178,709,460.63 4,813,459,848.05 127,109,433.85 646,366,810.67 93,057,105.58 264,452,965.02 1,449,949,012.19 (487,848,883.61) - (194,981,553.24) หัก คา่ เส่ือมราคาสะสม - (3,500,935,408.22) (46,073,589.15) (1,177,941,282.95) 457,273,476.45 - 2,165,323,918.82 (330,164,042.60) - หกั คา่ เผอ่ื การด้อยคา่ สะสม - (194,829,743.47) - (151,809.77) 158,517,927.06 93,057,105.58 2,165,323,918.82 218,379,375.87 271,855,919.47 - 221,352,482.87 ราคาตามบัญชี – สทุ ธิ 178,709,460.63 1,117,694,696.36 127,109,433.85 - 218,379,375.87 271,855,919.47 (534,552.16) ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ.2560 - 102,883,621.89 127,109,433.85 (119,921.30) - 20,026,249.20 19,260,826.25 (220,804.00) ราคาทนุ 178,709,460.63 4,813,459,848.05 - 646,366,810.67 93,057,105.58 (252,670,542.39) - - 50,145.00 (487,848,883.61) - หกั คา่ เสอื่ มราคาสะสม - (3,500,935,408.22) - (27.00) - - 2,133,130,581.84 - หัก ค่าเผ่ือการด้อยค่าสะสม - (194,829,743.47) (82,395.24) (220,804.00) (13.00) 158,517,927.06 93,057,105.58 7,836,678,968.02 218,296,980.63 (77,688,266.50) - (5,508,731,693.06) ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ 178,709,460.63 1,117,694,696.36 316,856,693.06 (29,013,431.30) 264,452,965.02 117,406,960.80 (194,816,693.12) ส�ำหรับปีส้นิ สุดวันท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ.2561 (46,155,984.39) 1,297,671,785.88 2,133,130,581.84 (980,558,778.12) 470,113,147.70 ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2560 178,709,460.63 1,117,694,696.36 - (352,706,186.90) 158,517,927.06 93,057,105.58 218,296,980.63 (256,314.70) 11,077,210.36 73,587,946.32 ซอ้ื สินทรัพย์ - 14,542,878.05 316,856,693.06 - 9,768,758.18 (66,470,514.84) 117,406,960.80 การโอนเข้า (ออก) - 36,625,362.46 (51,267.88) (483,283.28) (14,843.96) - ตดั จำ� หน่ายสินทรัพย์ -สทุ ธิ - (1.00) - - (56,463,609.73) - จำ� หน่ายสนิ ทรพั ย์ -สทุ ธิ - (105,037.34) 122,834,174.03 99,691,253.78 ค่าเผื่อการดอ้ ยค่า -- ค่าเสอื่ มราคา - (89,422,839.62) ราคาตามบญั ชปี ลายปี - สุทธิ 178,709,460.63 1,079,335,058.91 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2561 ราคาทุน 178,709,460.63 4,863,163,701.86 662,876,653.15 99,691,253.78 (540,042,479.12) - หกั ค่าเส่อื มราคาสะสม - (3,589,268,264.53) - - หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าสะสม - (194,560,378.42) 122,834,174.03 99,691,253.78 ราคาตามบัญชี – สทุ ธิ 178,709,460.63 1,079,335,058.91 Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
14. สินทรัพยไ์ ม่มตี ัวตน – สทุ ธิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ รวม ระหวา่ งตดิ ตงั้ ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ.2559 115,700,242.31 - (74,625,897.19) ราคาทุน 115,700,242.31 - 41,074,345.12 - หกั คา่ ตัดจ�ำหนา่ ยสะสม (74,625,897.19) 41,074,345.12 - 29,672,303.00 ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ 41,074,345.12 - (18,399,641.30) - 52,347,006.82 ส�ำหรับปีสิ้นสดุ วันท่ี 30 กันยายน พ.ศ.2560 - 145,372,545.31 ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ - (93,025,538.49) - 52,347,006.82 ณ วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ.2559 41,074,345.12 - 52,347,006.82 ซ้อื สินทรัพย์ 29,672,303.00 - 1,300,000.00 - (18,335,254.25) ค่าตดั จำ� หน่าย (18,399,641.30) - 35,311,752.57 - ราคาตามบัญชปี ลายปี - สทุ ธิ 52,347,006.82 146,672,545.31 - (111,360,792.74) ณ วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ.2560 - - 35,311,752.57 ราคาทนุ 145,372,545.31 หัก ค่าตัดจำ� หน่ายสะสม (93,025,538.49) ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ 52,347,006.82 ส�ำหรับปสี ้นิ สดุ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2561 ราคาตามบญั ชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2560 52,347,006.82 ซอ้ื สินทรัพย์ 1,300,000.00 คา่ ตัดจ�ำหน่าย (18,335,254.25) ราคาตามบัญชปี ลายปี - สุทธิ 35,311,752.57 ณ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2561 ราคาทนุ 146,672,545.31 หัก คา่ ตดั จำ� หน่ายสะสม (111,360,792.74) ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ 35,311,752.57 รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176