คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ทแ่ี ตง่ ตัง้ โดยคณะกรรมการ กยท. การประชุมของคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ในปีบัญชี 2561 มีการประชุมคณะกรรมการ กยท. จ�ำนวน 15 ครั้ง โดยรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการเป็นรายบุคคล ดงั น้ี ตารางสรุปเขา้ ประชมุ คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ประจำ� ปงี บประมาณ 2561 / กรรมการมาประชมุ × กรรมการไมม่ าประชมุ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
การเข้าประชุมของกรรมการ ในปีบญั ชี 2561 มีรายละเอยี ด ดังนี้ นโยบายการกำ� หนดค่าตอบแทน และรายละเอียดคา่ ตอบแทนของกรรมการ กยท. ได้ก�ำหนดค่าตอบแทนและเบ้ียประชุมกรรมการและคณะกรรมการ กยท. และอนุกรรมการ ท่ีแต่งต้ังโดย คณะกรรมการ กยท. ในคราวประชมุ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ครงั้ ที่ 4/2558 เม่อื วันท่ี 17 กันยายน 2558 ดงั นี้ 1. คา่ ตอบแทน และเบย้ี ประชมุ คณะกรรมการ กยท. • กรณคี า่ ตอบแทนเปน็ คา่ ตอบแทนกรรมการ และรองประธานกรรมการเหมาจ่ายรายเดือน 8,000.- บาท/คน/เดอื น โดยใหป้ ระธานกรรมการไดร้ บั คา่ ตอบแทนรายเดอื นเปน็ 2 เทา่ ของกรรมการกรณกี ารดำ� รงตำ� แหนง่ ไมเ่ ตม็ เดอื นใหจ้ า่ ยตามสดั สว่ น ระยะเวลาการดำ� รงตำ� แหน่ง • กรณีเบี้ยประชุมให้คณะกรรมการได้รับเบี้ยประชุม 8,000.- บาท/คน/ครั้ง ในกรณีประธานกรรมการ และรองประธานกรรมการ ใหไ้ ดร้ บั เบยี้ ประชมุ สงู กวา่ กรรมการในอตั รารอ้ ยละ 25 และ 12.5 ของเบย้ี ประชมุ ดงั กลา่ ว และจา่ ยเปน็ รายคร้งั เฉพาะกรรมการที่มาประชมุ ไม่เกนิ 1 ครั้ง/เดอื น รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
รายการ ประธาน รองประธาน กรรมการ เงือ่ นไข คา่ ตอบแทนกรรมการ 16,000 8,000 8,000 จา่ ยเป็นรายเดอื น กรณดี ำ� รงตำ� แหนง่ ไม่เตม็ เดือน เบ้ียประชุม 10,000 9,000 8,000 ใหจ้ า่ ยตามสดั สว่ นระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง เฉพาะกรรมการที่มาประชุม ไมเ่ กิน 1 ครงั้ /เดอื น 2. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ/อนุกรรมการ ท่ีแตง่ ต้ังโดยคณะกรรมการ กยท. กรณีคณะกรรมการชุดย่อย/คณะอนุกรรมการ/คณะท�ำงานอ่ืนท่ีแต่งตั้งโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายมติ คณะรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจให้ได้รับเบี้ยประชุมเท่ากับเบี้ยประชุมกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ครั้งละ 8,000 บาท เฉพาะกรรมการท่ีมาประชมุ โดยไดร้ ับเบี้ยประชุมไมเ่ กนิ 2 คณะ คณะละไมเ่ กนิ 1 คร้ัง/เดอื นส�ำหรับคณะกรรมการ ตรวจสอบ กยท. ให้เหมาจา่ ยค่าตอบแทนเปน็ รายเดือน ทง้ั นี้ ประธานกรรมการ กยท. และประธานคณะกรรมการ/อนกุ รรมการ ชุดยอ่ ยตา่ งๆ ได้รบั เบ้ยี ประชมุ สงู กว่า กรรมการ ในอตั ราร้อยละ 25 รองประธานกรรมการ กยท. และรองประธานคณะคณะกรรมการ/อนกุ รรมการชุดย่อยต่างๆ ได้รับ เบ้ียประชุมสูงกวา่ กรรมการ ในอัตรารอ้ ยละ 12.5 ของเบ้ยี ประชุม อนึ่งในการปรบั ปรงุ อตั ราเบยี้ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ ในครง้ั น้ี กระทรวงการคลังมขี อ้ เสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติ หนา้ ที่ของคณะกรรมการรัฐวิสาหกจิ ดงั น้ี • ในการประชมุ คณะกรรมการรัฐวสิ าหกิจ เห็นสมควรให้กรรมการมีระยะเวลาในการเข้ารว่ มประชมุ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของระยะเวลาท่ีดำ� รงต�ำแหนง่ ในรอบปบี ญั ชีนนั้ • คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจควรมีส่วนร่วมในการก�ำหนด/ให้ความเห็นชอบ/ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ นโยบายในการด�ำเนินงานและแผนงานต่างๆรวมถึงแผนเพ่ิมประสิทธิภาพของรัฐวิสาหกิจ นอกเหนือจากอ�ำนาจหน้าท่ีท่ีระบุไว้ตามกฎหมาย หรอื ระเบยี บ ข้อบังคบั ในการจดั ตั้งรัฐวสิ าหกิจแลว้ แต่กรณี รายการ ประธาน รองประธาน กรรมการ เง่ือนไข คา่ ตอบแทนกรรมการ 10,000 ไม่มี 8,000 จ่ายเป็นรายเดือน กรณีดำ� รงตำ� แหนง่ ไมเ่ ต็มเดอื นให้จ่ายตาม ตรวจสอบ สัดส่วนระยะเวลาการดำ� รงตำ� แหน่ง 10,000 9,000 8,000 เบี้ยประชมุ เฉพาะกรรมการทมี่ าประชุม ได้รับเบ้ยี ประชุมไม่เกนิ 2 คณะ คณะละไมเ่ กิน 1 ครั้ง/เดอื น Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
สรุปเบยี้ ประชมุ และคา่ ตอบแทนของกรรมการ ในปีบญั ชี 2561 โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
การกำ� กับดแู ลกจิ การทีด่ ี (CG)
การกำ� กบั ดูแลกจิ การท่ดี ี (CG) การกำ� กบั ดูแลกจิ การทด่ี ี การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการกำ� กบั ดูแลกจิ การทีด่ ีอนั เป็นหลักสำ� คัญสากล และเปน็ เครอื่ งมอื ในการสง่ เสรมิ และพฒั นาองคก์ รใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ งาน และสามารถตอบสนองความ พงึ พอใจและความคาดหวงั ของเกษตรกร ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมยาง รวมทงั้ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทกุ ภาคสว่ น ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมท้ังมีความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจตรวจสอบได้ รวมถึงการมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กร เปน็ ท้ังคนดีและคนเกง่ มีจรยิ ธรรมและธรรมาภิบาล ซ่ึงจะช่วยสร้างความเชอ่ื ม่นั ต่อผู้รับบริการ ผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี และผู้เกย่ี วข้อง ทุกฝ่ายพร้อมท้ังส่งเสริมให้มีการน�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการให้ บคุ ลากรภายในองค์กรทั้งผบู้ รหิ าร พนักงาน ลูกจา้ ง รวมถึงคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย มสี ว่ นร่วมในกระบวนการการ กำ� กับดแู ลกจิ การทีด่ ี และเสริมสรา้ งจิตสำ� นกึ ดา้ นคณุ ธรรมและจริยธรรม เพอ่ื ให้องคก์ รเจรญิ เติบโตอยา่ งยัง่ ยนื ดงั น้ัน เพอื่ ให้การ ด�ำเนนิ การดา้ นการกำ� กบั ดูแลกจิ การทีด่ ีของ กยท.บรรลุวตั ถุประสงคข์ ้างตน้ กยท. จัดกจิ กรรม/แนวทางส่งเสริมการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี ของบคุ ลากรของ กยท. โดยแบ่งออกเปน็ 5 ด้าน ดังน้ี ด้านคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน กยท.มุ่งมั่นน�ำหลักส�ำคัญ 7 ประการ คือความรับผิดชอบต่อการ ปฏิบัติหน้าท่ี ความส�ำนึกในหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยสุจริต และจะต้องพิจารณาให้เกิดความเท่าเทียมกัน การด�ำเนินงานที่โปร่งใส การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการท้ังในระยะส้ันและระยะยาว การสง่ เสริมพฒั นาการก�ำกับดูแล และจรรยาบรรณท่ีดีในการประกอบธุรกิจและการมสี ่วนร่วม เป็นการส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การกระจาย โอกาสแก่ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�ำเนินการใดๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของชมุ ชนหรือท้องถนิ่ มาเป็นแนวทางในการด�ำเนนิ การ • นายประสิทธ์ิ หมีดเส็น และนายสังข์เวิน ทวดห้อย กรรมการ การยางแห่งประเทศไทย ลงพื้นที่เย่ียมชมกิจการของการยางแห่ง ประเทศไทย ในส่วนของ โรงงานผลิต สวนยาง และพบปะเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ชาวสวนยางเพื่อรับฟังประเด็นปัญหา ในด้านการ ด�ำเนินงาน เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์ยางต้นน�้ำ อยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื เกดิ ความยงั่ ยนื ตอ่ เกษตรกร และสถาบนั เกษตรกร รวมทั้งกิจการของการยางแห่งประเทศไทย รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม กยท.เป็นส่วนหน่ึงของสังคมจึงมีพันธกิจรับผิดชอบการ พฒั นาและคนื กำ� ไรสชู่ มุ ชนและสงั คมโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เกษตรกรชาวสวนยางเพอ่ื ให้ กยท. เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่กับการพัฒนาของสังคมกยท.ถือเป็นหน้าท่ีในการให้ความ สำ� คญั กบั กจิ กรรมของชมุ ชนและสงั คมโดยมงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การพฒั นาสงั คมชมุ ชนสง่ิ แวดลอ้ ม ทำ� นบุ ำ� รงุ ศาสนาสรา้ งสรรคแ์ ละอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตริ วมทงั้ สนบั สนนุ กจิ กรรมอนั เปน็ สาธารณประโยชนแ์ ก่ ชมุ ชนเกษตรกร ชาวสวนยางเพ่อื ให้ชุมชนเขม้ แขง็ และพง่ึ พาตนเองได้ • การยางแหง่ ประเทศไทย ตระหนกั และใหค้ วามส�ำคญั ในการด�ำเนนิ งานด้านการแสดง ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม (CSR) ควบคู่ไปกบั การดำ� เนินงานในดา้ นอ่นื ๆ ซึ่งถอื เป็นโอกาส ทดี่ ใี นการเชอ่ื มความสมั พันธ์อันดีในชมุ ชน เพือ่ สรา้ งการมสี ว่ นร่วมระหว่าง คนในชุมชน และ กยท. โดยอนกุ รรมการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมของ กยท.จงึ ไดจ้ ัดกจิ กรรมปพู ้ืนสนามเดก็ เลน่ ยางพารา ซง่ึ เปน็ หนงึ่ ในโครงการนวตั กรรมยางพาราเพอื่ สงั คมของ กยท. โดยน�ำยางพารา มาแปรรูปเปน็ บล็อกยางแล้วปพู น้ื สนามเด็กเลน่ แทนการปูพื้นซเี มนตห์ รอื การท�ำเปน็ พ้ืนสนามหญ้าแบบทัว่ ไป ช่วยเพมิ่ พืน้ ทีก่ จิ กรรมสันทนาการ ส�ำหรบั เด็กๆ เพือ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มีพัฒนาการที่ดี และลดความรนุ แรงอุบตั เิ หตทุ ี่อาจเกิดขน้ึ จากการเล่นของเด็กๆ เปน็ การใชย้ างพารา สร้างประโยชนแ์ กช่ ุมชน ควบคู่กับการสง่ เสริมการใช้ยางในประเทศอกี ทางหนง่ึ ด้านการบริหารจัดการ องค์กร กยท. มุ่งเน้นการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กรด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ รวมถงึ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การองคก์ รในดา้ นตา่ งๆ ทสี่ ำ� คญั อนั ไดแ้ ก่ การบรหิ ารความเสยี่ ง การควบคมุ ภายใน การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ การตรวจสอบภายใน และเพอื่ ใหก้ ารกำ� กบั ติดตามการด�ำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดประสิทธิภาพ สามารถขับเคลื่อนการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม คณะกรรมการ กยท. จึงได้แตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการเพอ่ื ก�ำกบั ติดตาม ให้ข้อเสนอแนะต่อ กยท. เพื่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายในของ กยท. มอี ำ� นาจหน้าท่ีในการวางนโยบายการบรหิ าร ความเสี่ยงและควบคมุ ภายใน ตรวจสอบ ก�ำกับ ดูแล และใหข้ อ้ เสนอแนะการบรหิ ารความเส่ียงและการควบคมุ ภายใน และจัดให้ มีการทบทวนความเพียงพอของระบบการบริหารความเสย่ี งและควบคุมภายใน 2. คณะอนกุ รรมการด้านบริหารทรัพยากรบุคคลของการยางแหง่ ประเทศไทยมีอำ� นาจหน้าทใี่ นการกำ� หนดทศิ ทาง และนโยบายการบรหิ ารงานบคุ คลของการยางแหง่ ประเทศไทย 3. อนุกรรมการคณะอนุกรรมการบริหารจัดการสารสนเทศและการสื่อสารของการยางแห่งประเทศไทย มีอ�ำนาจ หนา้ ทใี่ นการกำ� หนดทศิ ทางและนโยบาย และแผนแมบ่ ทดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และสอดคลอ้ ง กับวิศัยทัศน์ของ กยท. รวมทั้งการจัดให้มีระบบสารสนเทศเพ่ือการสนับสนุนการด�ำเนินงานทางด้านการบริหารความเส่ียง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ อย่างเพียงพอ 4. คณะกรรมการตรวจสอบการยางแหง่ ประเทศไทยโดยมีอ�ำนาจหน้าที่ ในการติดตาม ตรวจสอบ ความเพียงพอ ของระบบบรหิ ารงานของ กยท. รวมทงั้ การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอ้ บงั คบั ทเ่ี ปน็ อำ� นาจหนา้ ทข่ี อง กยท.ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และกอ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
โดยการแตง่ ตง้ั อนกุ รรมการชดุ ตา่ งๆ นเ้ี พอ่ื ใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งกบั กยท. ทงั้ ภาครฐั ผเู้ ปน็ เจา้ ของและเปน็ ผกู้ ำ� กบั การด�ำเนินงานของ กยท. เกษตรกรชาวสวนยาง และผู้ประกอบกิจการยาง และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ในด้านอ่ืนๆ เกิดความมั่นใจได้ว่า กยท.จะปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ ท่ี กยท. มีอย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยคำ� นงึ ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประเทศชาติ เกษตรกรชาวสวนยาง และอตุ สาหกรรมการผลติ ยางธรรมชาติ คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย เข้ารับฟังการบรรยายพิเศษ หัวข้อหลักเกณฑ์การประเมินบทบาท คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย และข้อเสนอแนะในการด�ำเนินงานในฐานะกรรมการการยางแห่งประเทศไทยโดย บรษิ ทั ทรสิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั เพอื่ นำ� องคค์ วามรทู้ ไี่ ดร้ บั มาเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การองคก์ รของการยางแหง่ ประเทศไทย ให้มีประสทิ ธิภาพยงิ่ ขึ้น นายประสทิ ธ์ิ หมีดเส็น และนายสาย อ่ินค�ำ กรรมการการยางแห่งประเทศไทย ในฐานะประธานอนุกรรมการ และอนกุ รรมการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน พรอ้ มทง้ั คณะพนกั งานการยางแหง่ ประเทศไทยเขา้ รบั ฟงั การบรรยายหวั ขอ้ การบรหิ ารความเสย่ี งทว่ั ท้งั องค์กร บรรยายโดยวทิ ยากรจาก บริษัท ฮารว์ าดเอเชีย คอนซลั ติง้ จำ� กดั เพอื่ นำ� องค์ความร้ทู ่ไี ดร้ บั มา พฒั นาระบบการบริหารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายในของ กยท. ให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้นึ • นายเสนยี ์ จติ ตเกษม นายธนวรรธนพ์ ล วิชยั และนางภรู ิวรรณ ทวสี ทิ ธ์ิ ในฐานะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย และกรรมการตรวจ สอบการยางแหง่ ประเทศไทย ลงพน้ื ทศ่ี กึ ษาดงู าน กระบวนการทำ� งานใน พ้นื ที่ ณ การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวัดอดุ รธานี เพอ่ื น�ำผลการศกึ ษาดู งานมาเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการตรวจสอบของการยาง แหง่ ประเทศไทย ให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
นายประสทิ ธ์ิ หมีดเส็น กรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ในฐานะอนุกรรมการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. น�ำคณะ พนักงาน กยท. ร่วมศึกษาดูงาน แนวทางในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย เพื่อนำ� รปู แบบการจัดการด้านการ ก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี มาพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น • คณะพนักงานผู้รับผิดชอบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท.และบทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ เขา้ รบั การศกึ ษาดงู าน ณ การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคเพอื่ นำ� รปู แบบและหลกั การทส่ี ำ� คญั ในการดำ� เนนิ การดา้ นการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี และการด�ำเนินการด้านบทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจมาปรับใช้กับ กยท.เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร ให้มปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ขึ้น ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กยท. ให้ความส�ำคัญในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มหรือผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ อย่างเท่าเทียมกัน โดยสนับสนุนให้มีการมีส่วนร่วมกันระหว่าง กยท. กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการสร้างความมั่นคง สร้างงาน และสร้างกิจการให้มีความมั่นคงอย่างย่ังยืนโดยเฉพาะอย่างย่ิง การเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ในการเสนอแนะแนว ทางในการด�ำเนินงาน การเปิดช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียในการแจ้งเบาะแสการกระท�ำความผิด และการร้องทุกข์/ร้องเรียน การดำ� เนนิ งานของ กยท. โดยในปีงบประมาณ 2561 กยท. ได้รบั เรือ่ งร้องเรียน/รอ้ งทุกข์ และข้อเสนอแนะแนวทางในการดำ� เนนิ งานผ่านทางช่องทางต่างๆ ที่ กยท. ได้จดั เตรยี มไว้ ดังนี้ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ช่องทางการร้องเรียน จ�ำนวนเร่อื ง รอ้ ยละ 1. E-mail [email protected] - - 2. ผวู้ ่าการการยางแห่งประเทศไทย 7 3. โทรศพั ท์ 0 2433 2222 ต่อ 141 – 145 - 13.46 4. Website ของ กยท. http://www.raot.co.th - - 5. ต้รู ับเรอ่ื งร้องเรียน ส�ำนักงานใหญ่ - - 6. Social media Line ID : @mdz1762r กยท. รอ้ งทุกข์ ร้องเรียน - - 7. ศูนย์รับเรือ่ งราวรอ้ งทุกข์ รอ้ งเรยี น สำ� นักงานใหญ่ ฝทม./กกจ. - - 8. ศนู ยร์ บั เรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน ส่วนภูมิภาค กยท.จ. - - 9. สำ� นักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 26 - 10. ศนู ย์ด�ำรงธรรมจังหวดั 4 11. สำ� นักงานปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ในภาครัฐ (สำ� นักงาน ป.ป.ท.) 1 50.00 12. อืน่ ๆ จากการตรวจสอบพบของผ้บู งั คับบัญชา และสว่ นงานท่เี กี่ยวข้อง 14 7.69 52 1.92 รวม 26.93 100 กยท. พบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ กยท. ร้องเรียนผ่านช่องทางส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มากทส่ี ุด จ�ำนวน 26 เรือ่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 รองลงมาผ่านชอ่ งทางอ่ืน ๆ จากการตรวจสอบพบของผู้บงั คบั บญั ชาและส่วนงาน ท่ีเก่ยี วขอ้ ง จำ� นวน 14 เรื่อง คิดเป็นรอ้ ยละ 26.93 และผ่านชอ่ งทางผวู้ ่าการการยางแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 7 เร่ือง คดิ เปน็ ร้อยละ 13.46 ของจำ� นวนเรื่องร้องเรยี นท้งั หมดตามลำ� ดับ โดยแยกเป็นประเภทของเร่อื งรอ้ งเรียนที่ กยท.ไดร้ บั การร้องเรียน/ใหข้ อ้ เสนอแนะแนวทางในการดำ� เนินงาน ดังนี้ ประเภทขอ้ รอ้ งเรียน จ�ำนวนเร่ือง ร้อยละ 1. การจัดซ้ือจดั จา้ ง 5 9.61 2. การบรหิ ารจดั การ 6 11.53 3. โครงการนโยบายของรัฐ 2 3.85 4. การทุจรติ 1 1.93 5. วนิ ยั และการลงโทษ 13 25.00 6. ขอความเป็นธรรม 2 3.85 7. ขอความอนเุ คราะห์ 3 5.76 8. คณุ ภาพการให้บรกิ าร 2 3.85 9. ข้อเสนอแนะและข้อคิดเหน็ 18 34.62 52 100 รวม รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
กยท. พบว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับ กยท. มีการร้องเรียนประเภทเรื่องข้อเสนอแนะ และขอ้ คิดเห็น มากทส่ี ุด จำ� นวน 18 เร่อื ง คิดเป็นร้อยละ 34.62 รองลงมา วินัยและการ ลงโทษ จำ� นวน 13 เรอ่ื ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 และการบริหารจดั การ จ�ำนวน 6 เรอ่ื ง คิดเป็นร้อยละ 11.53 ของจำ� นวนเร่ืองรอ้ งเรียนทั้งหมดตามล�ำดบั ส�ำหรับการจัดการข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ที่เกิดข้ึน กยท. ให้คำ� มั่นว่าจะให้ความเป็นธรรมต่อทุกข์ฝ่าย และรับฟัง ทุกข้อเสนอแนะเพ่ือน�ำมาพัฒนาการดำ� เนนิ งานของ กยท.เพอ่ื ให้เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ต่อไป ด้านผู้ปฏิบัติงานขององค์กร กยท. ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างย่ิงโดย กยท. ได้ปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม การป้องกันและต่อต้านการทุจริต ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากรของ กยท. ให้มีสมรรถนะ และทักษะ ทเี่ หมาะสมในการปฏบิ ัติหนา้ ท่เี พื่อให้ กยท.มีบคุ ลากรท่ีเป็นทง้ั คนดี และคนเก่ง • การยางแห่งประเทศไทย จัดอบรมผู้บริหาร ระดับต้น เพ่ือให้มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ในฐานะผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมการท�ำงานของ องคก์ รให้มปี ระสทิ ธภิ าพตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี • การยางแห่งประเทศไทย จัดอบรมพนักงาน ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติ หน้าที่ของพนักงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตามหลกั การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ขี อหวั ขอ้ ความ รับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าท่ีด้วยขีดความ สามารถและประสิทธภิ าพท่เี พยี งพอ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
การยางแห่งประเทศไทย จัดอบรม พนกั งานผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางดา้ นการเงนิ และบญั ชี เพื่อให้เขา้ ใจถึง ระเบียบข้นั ตอน วธิ กี าร ปฏบิ ัติ ทางดา้ นการเงนิ และบญั ชี อนั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ การด�ำเนินการตามแนวทางการก�ำกับดูแล กจิ การทด่ี ขี อง กยท. • การยางแห่งประเทศไทย จัดบรรยายพเิ ศษการบริหารจดั การการขัดกัน ระหวา่ งประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ่วนรวม เพ่ือปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม การป้องกันและต่อต้านการทุจริต ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากรของ กยท. ให้มี สมรรถนะ และทกั ษะทเ่ี หมาะสมในการปฏิบัติหนา้ ที่ เพอื่ ให้ กยท. มีบคุ ลากรทีเ่ ป็น ทง้ั คนดี และคนเกง่ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
โครงสรา้ งการดำ� เนนิ งานดา้ นการกำ� กบั ดแู ลกจิ การท่ีดขี อง กยท. คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย อำ� นาจและหน้าท่ี คณะอนุกรรมการ อำ� นาจและหนา้ ท่ี 1. ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย การก�ำกับดแู ลกจิ การท่ดี ี 1. จดั ทำ� และทบทวนกฎบตั รและคมู่ อื การ และแผนงานการด�ำเนินงานด้านการ กำ� กับดแู ลกิจการท่ดี ขี อง กยท. ก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีประจ�ำปีบัญชีที่ ของ กยท. 2. จัดท�ำและทบทวนแผนงานการก�ำกับ ชดั เจนเปน็ รปู ธรรม และสอดคลอ้ งไปกบั คณะท�ำงาน ดแู ลกจิ การท่ีดีของ กยท. การด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ และน�ำ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี 3. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานด้านการ เสนอต่อคณะกรรมการ กยท. ของ กยท. กำ� กับดูแลกจิ การทีด่ ีของ กยท.ใหเ้ ป็นไป 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะ ตามแผนงาน กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งานเกย่ี วกบั 4. ตดิ ตามรายงานผลการด�ำเนินงานด้าน การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารกำ� กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี การก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีของ กยท. 3. ตดิ ตามและรายงานผลการดำ� เนนิ งาน ต่อคณะอนุกรรมการการก�ำกับดูแล พรอ้ มทง้ั ประเมนิ ผลสำ� เรจ็ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม กจิ การท่ดี ขี อง กยท. เสนอตอ่ คณะกรรมการ กยท.ทราบ 5. ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย นายอนนั ต์ สุวรรณรตั น์ นายนที ขลิบทอง นายประสิทธ์ิ หมีดเสน็ ประธานอนุกรรมการการก�ำกบั อนกุ รรมการการก�ำกบั อนกุ รรมการการกำ� กับ ดูแลกจิ การท่ดี ขี อง กยท. ดแู ลกจิ การท่ีดีของ กยท. ดูแลกจิ การท่ีดีของ กยท. Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
การแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม (CSR)
การแสดงความรบั ผิดชอบต่อสังคม (CSR) การยางแหง่ ประเทศไทย (กยท.) ตระหนักถงึ ความส�ำคญั ของการพฒั นาอย่างย่งั ยืนจงึ ได้แต่งต้งั คณะอนุกรรมการ ด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่างย่ังยืนควบคู่ไปกับการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยคณะอนุกรรมการได้จัดให้มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 คร้ัง เพื่อติดตามผลการด�ำเนินงาน และพจิ ารณาเรอ่ื งตา่ งๆ ตามนโยบายดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และกฎบตั รของคณะอนกุ รรมการดำ� เนนิ งานดา้ นการ แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม กยท. จะค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อันได้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ชุมชนโดยรอบโรงงาน และพนกั งาน - ลกู จา้ งของ กยท. โดยการดำ� เนนิ กจิ กรรม CSR ของ กยท. มงุ่ เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งาน ชุมชน ลูกคา้ และประชาชนทว่ั ไป ต้งั แต่กระบวนการคดิ ค้นและการออกแบบการดำ� เนนิ กจิ กรรมไปจนถงึ การมีส่วนรว่ มในผลลพั ธ์ การด�ำเนนิ งาน รวมถงึ การด�ำเนนิ งานรว่ มกันระหวา่ งหลายหนว่ ยงานและมกี ารจัดสรรการใชท้ รัพยากรร่วมกนั ทงั้ น้ี กยท. ได้น�ำงานวจิ ัยทผี่ า่ นมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมแผ่นยาง มาใชใ้ นการด�ำเนนิ กจิ กรรม CSR ร่วมด้วย นโยบายการด�ำเนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (CSR) การยางแห่งประเทศไทย ตระหนักถึงความส�ำคัญในการด�ำเนินภารกิจขององค์กรควบคู่กับความรับผิดชอบ ต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม และจากยุทธศาสตร์ของการยางแห่งประเทศไทย ก�ำหนดแนวทางส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี (Good Corporate Governance) และการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สงั คม (Corporate Social Responsibility) ในกลยุทธท์ ่ี 3 การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการองคก์ ร ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การหลอมรวมองค์กรใหเ้ ปน็ หนึ่ง เพือ่ การบรหิ ารมงุ่ ส่คู วาม เปน็ เลศิ ปี 2561 การยางแหง่ ประเทศไทยมนี โยบายการดำ� เนินงานด้านการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (CSR) ดังนี้ 1. ส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนยางสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างย่ังยืน โดยน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั โดยการเพม่ิ อาชพี อนื่ แทนการปลกู ยางพาราเพยี งอยา่ งเดยี ว ทำ� ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ แมร้ าคายางพารา จะตกต�่ำ 2. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ โครงการดา้ นการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ใช้นวัตกรรมจากยางพารา สรา้ งประโยชน์และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ให้แกช่ ุมชนและสงั คม โดยยึดหลักเกณฑ์ตามมาตรฐาน ISO 26000 เป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน ตามแผนการด�ำเนินงานด้าน การแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (CSR) ของการยางแหง่ ประเทศไทย ประกอบด้วยยทุ ธศาสตร์และวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ส่งเสรมิ การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมเกษตรกรชาวสวนยางให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในชวี ิตประจ�ำวัน ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 สง่ เสริมการรว่ มพัฒนาชุมชน สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ สร้างประโยชนแ์ ละพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ให้แกช่ ุมชนและสังคม รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
โครงสรา้ งการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของ กยท. คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดง อำ� นาจและหนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม (CSR) 1. ติดตามการด�ำเนินงานด้านการแสดง คณะท�ำงานด�ำเนนิ งานด้านการ ความรับผิดชอบต่อสังคมของ กยท. อยา่ งสม่ำ� เสมออยา่ งน้อยรายไตรมาส แสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม (CSR) 2. ก�ำกับการด�ำเนินงานด้านการแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคมของ กยท. ใ ห ้ บ ร ร ลุ ผ ล ส� ำ เ ร็ จ ต า ม เ ป ้ า ห ม า ย ของแผนการด�ำเนินงานด้านการแสดง ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม 3. ก�ำกับดูแลให้มีการจัดท�ำรายงาน ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ของ กยท. เสนอต่อคณะกรรมการ การยางแห่งประเทศไทย อ�ำนาจและหนา้ ที่ 1. จัดท�ำและทบทวนแผนการด�ำเนินงานระยะส้ันหรือแผนประจ�ำปี และแผนระยะยาวหรือแผนวิสาหกิจ ด้านการแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม 2. จดั ทำ� และทบทวนคมู่ อื การดำ� เนนิ งานเพอื่ การมอบหมายและถา่ ยโอนดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม อย่างเปน็ รปู ธรรม 3. สนบั สนนุ และส่งเสริมพนกั งานใหม้ ีส่วนร่วมในกจิ กรรมดา้ นการแสดงความรับผดิ ชอบต่อสังคม 4. ติดตามและจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงาน เสนอต่อคณะอนุกรรมการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับ ผดิ ชอบต่อสงั คม 5. ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
คณะอนุกรรมการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผดิ ชอบต่อสังคม (CSR) ของ กยท. นายเสนยี ์ จติ ตเกษม ประธานอนุกรรมการ CSR นายสังข์เวนิ ทวดห้อย นายสาย อิ่นคำ� นายสมเกียรติ วงศเ์ ทพวาณชิ ย์ อนุกรรมการ CSR อนุกรรมการ CSR อนกุ รรมการ CSR รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ขัน้ ตอนการดำ� เนินงานด้านการแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม (CSR) ของ กยท. ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ 1. คณะท�ำงานด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) จัดท�ำแผนการ สผว. ดำ� เนนิ งานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม (CSR) ประจ�ำปี เสนอคณะอนกุ รรมการ ก.ค. – ส.ค. (เลขานกุ าร ดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม (CSR) เพอื่ เสนอตอ่ คณะกรรมการการยาง (ก่อนปบี ญั ช)ี คณะทำ� งาน) แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นชอบกอ่ นเริ่มปีบัญชี 2. เสนอแผนและงบประมาณการดำ� เนนิ งานประจำ� ปี ทค่ี ณะอนกุ รรมการดำ� เนนิ งานดา้ นการ ก.ย. กยท. แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ให้ความเห็นชอบ ต่อคณะกรรมการการยางแห่ง (ก่อนปบี ัญช)ี (เลขานุการ ประเทศไทย เพือ่ อนุมัติ คณอนกุ รรมการ) 3. ด�ำเนินงานตามแผนการด�ำเนินงานประจ�ำปี ท่ีได้รับอนุมัติโดยมีคณะกรรมการ กยท. ต.ค. - ก.ย. สว่ นงานท่ี ผูบ้ รหิ าร พนกั งานและลกู จา้ งเขา้ ร่วมกิจกรรม (ปบี ญั ชี) เกีย่ วข้อง 4. ทบทวนแผนการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ประจ�ำปบี ญั ชี เม.ย. สผว. (ปบี ญั ช)ี (เลขานกุ าร คณะทำ� งาน) 5. คณะอนกุ รรมการด�ำเนินงานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (CSR) ตดิ ตามการ สผว. ด�ำเนินงานดา้ นการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สังคม (CSR) อยา่ งนอ้ ยรายไตรมาส (เลขานกุ าร ทกุ 3 เดอื น คณะทำ� งาน) 6. รายงานผลการดำ� เนนิ งานต่อคณะอนกุ รรมการดำ� เนินงานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ กยท. ตอ่ สงั คม (CSR) และคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ทกุ ไตรมาส ทกุ 3 เดอื น (สผว.) ผลการดำ� เนินงานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม (CSR)ของ กยท. ประจ�ำปงี บประมาณ 2561 ในปีงบประมาณ 2561 การยางแห่งประเทศไทย ได้ด�ำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ภายใต้ขอบข่ายและแนวทางปฏิบตั ิ โดยมีคณะอนุกรรมการดำ� เนินงานด้านการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของ กยท. น�ำโดยนายเสนีย์ จิตตเกษม นายสังข์เวิน ทวดห้อย นายสาย อิ่นค�ำ และนายสมเกียรติวงศ์ เทพวาณิชย์ รวมถึงผู้บริหารระดับ สว่ นงาน มีสว่ นรว่ มในการด�ำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม และติดตามผลการด�ำเนินงาน พรอ้ มทง้ั ใหข้ ้อเสนอแนะ และแนวทางในการ ปรบั ปรุงแก้ไข ใหผ้ ลการด�ำเนินงานมปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ข้นึ ตามโครงการ/กจิ กรรมประกอบดว้ ย 2 ยทุ ธศาสตร์ 6 กจิ กรรม ดังน้ี Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สง่ เสรมิ การพฒั นาท่ียั่งยนื 1. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงปลูกไม้โตเร็วในสวนยางเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 สง่ เสริมการรว่ มพฒั นาชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม 2. กิจกรรมสนามฟตุ ซอลยางพารา 3. กจิ กรรมสนามเดก็ เล่นจากยางพารา 4. กิจกรรมสร้างฝายชะลอนำ�้ จากล้อยาง 5. กจิ กรรมปสู ระน�ำ้ จากยางพารา 6. กิจกรรมสนับสนุนหนุ่ ยางพาราสำ� หรบั ฝกึ ชว่ ยฟื้นคืนชพี ข้นั พืน้ ฐาน แผนงานปี 2561 เป้าหมาย ดา้ นเศรษฐกจิ ผลการดำ� เนนิ งานเชิงคณุ ภาพ ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านสงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สง่ เสรมิ การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน 1. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงปลูกไม้ ปลูกไม้กระถินเทพณรงค์ - ภายในระยะเวลา 5 ปี - ชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มสรา้ งอาชพี - ช ่ ว ย รั ก ษ า ส ม ดุ ล ท า ง โตเรว็ ในสวนยางเพอื่ ผลติ เชอื้ เพลงิ ชวี มวล 2,000 ไร่ เกษตรกรจะมีรายได้จาก - เพม่ิ รายได้ สงั คมสงบสุข ธรรมชาติ ร ่ ว ม กั บ ก า ร ไ ฟ ฟ ้ า ฝ ่ า ย ผ ลิ ต แ ห ่ ง การขายไม้ ประมาณ - เพิ่มพ้นื ทส่ี ีเขียวของชมุ ชน ประเทศไทย 8,000 – 14,000 บาท ยุทธศาสตร์ท่ี 2 สง่ เสริมการร่วมพฒั นาชุมชน สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม 2. กจิ กรรมสนามฟตุ ซอลยางพารา ท�ำสนามฟุตซอลยางพารา - สง่ เสรมิ การใชย้ างภายใน นักเรียน 500 คน มีความปลอดภยั 1 แหง่ ประเทศ ท�ำให้ราคายาง จากการออกก�ำลงั กาย ดขี นึ้ 3. กิจกรรมสนามเดก็ เลน่ จากยางพารา ท� ำ ส น า ม เ ด็ ก เ ล ่ น จ า ก - สง่ เสรมิ การใชย้ างภายใน - ลดความรนุ แรงของอบุ ตั เิ หตทุ อ่ี าจ ยางพารา 6 แหง่ ประเทศ ท�ำให้ราคายาง เกดิ ข้ึนจากการเล่นของเดก็ ดีขึน้ - สร้างความสัมพนั ธอ์ ันดีในชุมชน - เดก็ นักเรียนประมาณ 1,300 คน ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ 4. กิจกรรมสร้างฝายชะลอน้�ำจากล้อยาง สรา้ งฝายชะลอน�้ำ 3 แหง่ - สง่ เสรมิ การใชย้ างภายใน - แกป้ ญั หาการขาดแคลนน้ำ� ในช่วง - กระจายความชุ่มชน้ื สูผ่ นื ปา่ ประเทศ ท�ำให้ราคายาง ฤดแู ล้ง - ป่าไมม้ ีความอดุ มสมบรู ณ์ ดีขน้ึ - ชาวบ้าน 500 ครัวเรือนใช้ ประโยชนจ์ ากฝาย 5. กจิ กรรมปสู ระน�ำ้ จากยางพารา ปูสระน�้ำยางจากยางพารา - สง่ เสรมิ การใชย้ างภายใน - เกษตรกรสามารถประกอบอาชพี - พัฒนาแหล่งผิวดินตั้งแต่ 2 แห่ง ประเทศ ทำ� ให้ราคายางดี การเกษตรในหนา้ แลง้ พ้ืนท่ีต้นน้�ำ กระจายความชุ่ม ขนึ้ - ไม่ต้องอพยพแรงงานเพราะมี ชนื้ สผู่ ืนปา่ - เกษตรกรในพื้นท่ีมีราย อาชพี ทท่ี ำ� ใหเ้ กิดรายได้ - สร้างระบบนิเวศน์ ไดเ้ พม่ิ ขนึ้ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงปลูกไม้โตเร็วในสวนยางเพ่ือผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แหง่ ประเทศไทยจ�ำนวน 2,000 ไร่ ท่จี ังหวัดบงึ กาฬ การด�ำเนินโครงการเศรษฐกิจพอเพียงปลูกไม้โตเร็วในสวนยางเพ่ือผลิตเช้ือเพลิงชีวมวลร่วมกับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่ากลยุทธ์ท่ี 3 การยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้เกษตรกรชาวสวนยางพลังงาน ชีวมวลเป็นหน่ึงในพลังงานทดแทนส�ำคัญท่ีช่วยเสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงาน โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาท่ีท�ำ เกษตรกรรมเปน็ หลกั ทำ� ใหม้ ตี น้ ทนุ ทางวตั ถดุ บิ อยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก แมว้ า่ การสง่ เสรมิ การพฒั นาพลงั งานทดแทนจากพลงั งานชวี มวล ยงั มกี ารใชใ้ นวงจำ� กดั แตส่ ามารถเปน็ ทางเลอื กราคาประหยดั ใหก้ บั ภาคชมุ ชนและเอกชนทม่ี ศี กั ยภาพจะเตบิ โตไปไดอ้ กี มาก ดงั นน้ั พลังงานชีวมวลจึงมีความต้องการไม้รวมทั้งไม้ยางพาราเพ่ือเป็นวัตถุดิบส�ำคัญในโรงไฟฟ้าชีวมวลทดแทนพลังงานจากแหล่งอื่น โดยกยท. มเี ปา้ หมายการโคน่ พนื้ ทป่ี ลกู ยางพาราปลี ะกวา่ 400,000 ไร่ แตย่ งั ไมส่ ามารถรองรบั ความตอ้ งการใชไ้ มเ้ พอื่ ผลติ เชอื้ เพลงิ ชีวมวลได้ จงึ ตอ้ งสง่ เสริมปลูกไม้โตเรว็ เพ่ิมเตมิ เพือ่ รองรับความต้องการใช้พลังงานในอนาคต ผลการดำ� เนนิ งานด้านเศรษฐกจิ ผลตอบแทนดา้ นเน้ือไม้เฉลีย่ 3 - 5 ตัน/ไร่/ปี (พืน้ ท่ีปลูกภาคอสี านมปี รมิ าณความช้ือ และปริมาณฝนตำ่� กวา่ พนื้ ทภี่ าคใต)้ • ตัดฟันคร้ังที่ 1 อายุไม้ 3 ปี ได้เนื้อไม้ 9 – 15 ตัน/ไร่ ราคารับซื้อตันละ 600 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 5,400 – 9,000 บาท/ไร่ • ตัดฟันครั้งที่ 2 อายุไม้ 5 ปี ได้เน้ือไม้ 6 – 10 ตัน/ไร่ ราคารับซ้ือตันละ 600 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 3,600 – 6,000 บาท/ไร่ • ในระยะเวลา 5 ปี จะไดเ้ งินจากการขายไม้ เปน็ จำ� นวนเงนิ 9,000 – 15,000 บาท/ไร่/5 ปี • หักคา่ ดำ� เนนิ การปลูก (คา่ ขดุ หลุม และค่าปุ๋ยคอก) ประมาณ 1,000 บาท/ไร่ ดังน้ัน ในระยะเวลา 5 ปี จะมีรายได้จากการขายไม้โดยหักค่าด�ำเนินการปลูก เป็นเงินประมาณ 8,000 – 14,000 บาท/ไร่/5 ปี ผลการดำ� เนินงานด้านส่ิงแวดล้อม ท�ำให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติและระบบนิเวศน์ยังช่วยในการอนุรักษ์ดินและน�้ำ เมื่อฝนตกน้�ำฝนบางส่วน จะถูกตน้ ไมด้ ดู ซบั ไว้ แล้วค่อยๆ ปลดปล่อยใหไ้ หลลงสผู่ วิ ดิน อีกส่วนหนง่ึ จะซมึ ลงสู่ดินชัน้ ล่าง สามารถลดการพงั ทลายของดินได้ ลดการกดั เซาะหนา้ ดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ปอ้ งกนั การเกดิ นำ�้ ทว่ มฉบั พลนั และสามารถลดความรนุ แรงของการเกดิ ภาวะนำ�้ ทว่ ม เนอ่ื งจาก ต้นไม้ช่วยชะลอการไหลของน้�ำบนผิวหน้าดิน และการมีป่าไม้ปกคลุมดินจะช่วยป้องกันการกัดเซาะได้ดีกว่าปลูกพืชชนิดอ่ืนๆ ชว่ ยปรบั สภาพบรรยากาศ เนอ่ื งจากตน้ ไมช้ ว่ ยเกบ็ รกั ษาความชมุ่ ชน้ื ในดนิ ไว้ รม่ เงาของปา่ ชว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ หค้ วามรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ ตกกระทบผวิ ดินโดยตรง บรเิ วณปา่ ไมจ้ ะมีน้�ำท่ีเกิดจากการระเหยจากใบและล�ำต้น กลายเปน็ ไอนำ�้ ในอากาศจำ� นวนมาก อากาศ เหนือป่าไม้จึงมีความช้ืนมาก เมื่ออุณหภูมิอากาศลดลง ไอน้�ำจะกล่ันตัวเป็นหยดน�้ำเกิดเป็นเมฆจ�ำนวนมาก สุดท้ายก่อให้เกิดฝน ตกลงมาในป่าทม่ี ีต้นไม้หนาแนน่ และส่งผลให้พน้ื ทีใ่ กล้เคียงได้รับน้�ำฝน และท�ำให้สภาพอากาศทชี่ ่มุ ชืน้ แม้กระทั่งในฤดรู อ้ น Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
• วนั ที่ 6 กันยายน 2561 คณะอนุกรรมการ CSR นายเสนีย์ จิตตเกษม นายสังข์ เวนิ ทวดหอ้ ยนายสาย อนิ่ คำ� นายสมเกยี รติ วงศเ์ ทพวาณชิ ย์ ผบู้ รหิ ารและพนกั งาน เขา้ รว่ มกจิ กรรมมอบพนั ธก์ุ ลา้ ไมใ้ หก้ บั เกษตรกร ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั บงึ กาฬ เพอ่ื ไปดำ� เนนิ การปลกู ไม้โตเรว็ ตามโครงการฯ จ�ำนวนรวม 2,000 ไร่ 2. โครงการนวตั กรรมยางพาราเพ่อื สงั คม ดำ� เนนิ การ 5 กจิ กรรม การด�ำเนินโครงการนวัตกรรมยางพาราเพ่ือสังคม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 4 การหลอมรวมองค์กร ใหเ้ ป็นหนึง่ เพ่ือการบรหิ ารม่งุ สคู่ วามเปน็ เลศิ กลยทุ ธ์ที่ 3 การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การองคก์ ร ซ่งึ ยางพาราเป็นวตั ถุดบิ ท่ีเกยี่ วขอ้ งในหลายผลติ ภัณฑ์ เป็นล้อยางในการขนสง่ ของใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน อุปกรณ์การกฬี า อุปกรณ์การแพทย์ และปจั จุบัน พัฒนาไปใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง การใช้ชีวิตของคนต้องเก่ียวข้องกับยางพาราในหลายรูปแบบ ไทยเป็นประเทศผู้ผลิตยาง มากทส่ี ุดในโลก การส่งเสรมิ ให้นำ� ยางพาราไปใช้ในอุตสาหกรรมตา่ งๆ เพอ่ื เพิม่ การใช้ยางในประเทศและเพ่ิมมูลค่ายางแปรรูปเปน็ สิ่งจ�ำเปน็ กยท. ในฐานะเปน็ องคก์ รกลางรบั ผิดชอบดแู ลการบริหารจดั การเกยี่ วกบั ยางพาราของประเทศทั้งระบบอยา่ งครบวงจร ทำ� หนา้ ท่ีสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ การเกยี่ วกบั ยางพาราของประเทศ จงึ จัดทำ� โครงการนวตั กรรมยางพาราเพ่อื สงั คม เป็นการรว่ มแก้ ปญั หาในพน้ื ทหี่ รอื ชมุ ชนและชว่ ยเหลอื สงั คมโดยใชผ้ ลติ ภณั ฑห์ รอื นวตั กรรมจากยางพาราอาทิ กรณปี ญั หาขาดแคลนแหลง่ นำ�้ กยท. ร่วมกับชุมชนสร้างฝายชะลอน้�ำจากล้อยางใช้แล้วและปูสระน�้ำจากยางพารา เพื่อเพิ่มแหล่งน�้ำให้กับชุมชน การขาดแคลนพ้ืนท่ี กจิ กรรมสันทนาการสำ� หรับเดก็ ๆ กยท. ทำ� สนามเด็กเล่นจากยางพารา เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้เด็กมสี ขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง มพี ฒั นาการที่ ดี และลดความรุนแรงอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นจากการเล่นของเด็ก ๆ เป็นการใช้ยางพาราสร้างประโยชน์แก่ชุมชนควบคู่กับการส่ง เสรมิ การใชย้ างในประเทศอีกทางหน่ึง 2.1 กิจกรรมสนามฟุตซอลยางพารา 1 แหง่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ยางพารามีคุณสมบัติท่ีโดดเด่นคือมีความยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกได้เป็นอย่างดี จึงเหมาะ ทจ่ี ะนำ� มาใชผ้ ลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ต่ี อ้ งรบั แรงกระแทกเชน่ พนื้ สนามกฬี า พนื้ สนามเดก็ เลน่ ทางเทา้ เปน็ ตน้ ซงึ่ สามารถลดแรงกระแทก ที่อาจเกิดต่อข้อเท้าในขณะออกก�ำลังกายอีกท้ังยังลดความรุนแรงของอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลาสนามฟุตซอลยางพารา เปน็ ผลติ ภัณฑ์จากยางพาราท่ีสามารถน�ำมาใชท้ ดแทนพื้นปูนซเี มนต์ได้และมขี ้อดีคือ 1. มคี วามยืดหย่นุ และรบั แรงกระแทกได้ดกี วา่ 2. ลดความรนุ แรงของอุบตั เิ หตทุ อี่ าจเกดิ ขึ้นได้ 3. ตดิ ตั้ง – รื้อถอนโดยไม่เกิดความเสยี หายและสามารถน�ำกลับมาติดต้งั ใหม่ได้ 4. มอี ายกุ ารใชง้ านยาวนานกวา่ 5. มีสีสันที่สวยงามและจัดรปู แบบไดห้ ลากหลายมากกวา่ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นสงั คม 1. การด�ำเนินกิจกรรมอันน�ำไปสู่การมีส่วนร่วมท้ังจากคนในชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และผู้เก่ียวข้องท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมอย่างยั่งยืน ถอื เปน็ การสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ ง กยท. และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยกจิ กรรมสรา้ งสนามฟุตซอลปพู ้นื ยาง 2. เป็นการมอบสิ่งท่ีดีๆกับนักเรียน และชุมชนใกล้เคียง เนื่องจากสนามฟุตซอลยางพาราจะช่วยเพิ่มความ ปลอดภัยให้กับนักเรียนและคนในชุมชนที่มาใช้สนามฟุตซอลแห่งน้ี และถือเป็นการสนับสนุนการออกก�ำลังกายให้คนในชุมชน มสี ขุ ภาพแขง็ แรง ผลการดำ� เนินงานด้านงานวจิ ัย การน�ำแผน่ ยางมาปูพน้ื สนามฟตุ ซอลทดแทนพ้ืนซเี มนตจ์ ะทำ� ให้พน้ื สนามมคี วามยดึ หยนุ่ สามารถลดแรงกระแทก บริเวณข้อเท้าในขณะว่ิง และลดความรุนแรงของอุบัติเหตุที่อาจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา การผลิตแผ่นยางปูพื้นมีการใช้ยางธรรมชาติ 9 กโิ ลกรัมต่อ 1 ตารางเมตร การปูพื้นยางสนามฟุตซอลแก่โรงเรยี นองคก์ ารสวนยาง 1 คิดเปน็ พืน้ ที่ 425 ตารางเมตร ซ่งึ มีการใช้ ยางแห้ง จ�ำนวน 3,808 กิโลกรัม มาเป็นวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นแผ่นยาง ส�ำหรับแผ่นยางพาราที่น�ำมาปูพื้นสนามฟุตซอล เป็นงานวิจัยของฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง กยท. ท่ีผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแผ่นยางปูสนามฟุตซอล เลขท่ี มอก. 2739-2559 ถอื เป็นการนำ� งานวจิ ยั ของ กยท. ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อชุมชนและสงั คม สามารถเพ่มิ ปริมาณการใช้ ยางพาราภายในประเทศอย่างเป็นรูปธรรม อีกท้ังยังสามารถยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของนักเรียนและคนในชุมชนให้มีความ ปลอดภัยมากข้นึ ดว้ ย • วนั ที่ 11 มกราคม 2561 คณะอนกุ รรมการ CSR นายเสนีย์ จิตตเกษม นายสังข์เวิน ทวดห้อย นายสาย อิน่ ค�ำ นายสมเกียรติ วงศ์เทพวาณิชย์ ผบู้ รหิ ารและพนกั งาน รว่ มดำ� เนนิ กจิ กรรมสนามฟตุ ซอลยางพารา และส่งมอบสนามใหโ้ รงเรยี นองคก์ ารสวนยาง 1 ต�ำบลช้างกลาง อ�ำเภอชา้ งกลาง จงั หวัดนครศรธี รรมราช Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
2.2 กิจกรรมสนามเด็กเล่นจากยางพารา๖ แหง่ จงั หวดั อุดรธานี พะเยา นครพนม พงั งา และศรสี ะเกษ ยางพารามีคุณสมบัติท่ีโดดเด่นคือมีความยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกได้ เปน็ อยา่ งดี จงึ เหมาะสมท่ีจะน�ำมาใชผ้ ลิตเป็นผลิตภัณฑท์ ต่ี อ้ งรบั แรงกระแทกเช่นพื้นสนามกฬี า พ้ืนสนามเด็กเล่นทางเท้า เป็นต้น ซึ่งสามารถลดแรงกระแทกท่ีอาจเกิดต่อข้อเท้าในขณะออกก�ำลังกายอีกทั้งยังลดความรุนแรง ของอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาบล็อกยางปูพ้ืนเป็นผลิตภัณฑ์จากยางพาราท่ีสามารถน�ำมาใช้ทดแทนบล็อกปูนซีเมนต์ได้ และมขี อ้ ดีคือ • มีความยืดหยุ่นและรับแรงกระแทกได้ดกี วา่ • ลดความรุนแรงของอุบตั ิเหตทุ ี่อาจเกดิ ขนึ้ ได้ • ตดิ ต้งั – รอ้ื ถอนโดยไมเ่ กิดความเสยี หายและสามารถน�ำกลบั มาตดิ ตั้งใหมไ่ ด้ • มอี ายุการใชง้ านยาวนานกวา่ • มีสีสันที่สวยงามและจัดรปู แบบได้หลากหลายมากกว่า ผลการดำ� เนนิ งานด้านสังคม 1. การเชือ่ มความสัมพันธอ์ นั ดใี นชุมชน เพื่อสรา้ งการมีสว่ นร่วมระหว่างคนในชมุ ชน หนว่ ยงานภาครัฐ และผเู้ กยี่ วขอ้ ง กยท. 2. ช่วยเพิ่มพ้ืนท่ีกิจกรรมสันทนาการส�ำหรับเด็ก ๆ เพ่ือส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการ ท่ดี ี และลดความรนุ แรงอบุ ตั ิเหตุทีอ่ าจเกิดขึ้นจากการเลน่ ของเดก็ ๆ เป็นการใช้ยางพาราสร้างประโยชน์แก่ชุมชน ผลการดำ� เนินงานด้านวิจยั บล็อกยางพาราที่น�ำมาปูพื้นสนามเด็กเล่นในโครงการน้ีเป็นงานวิจัยของฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง กยท. ซึ่งผา่ นมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมบลอ็ กยางปพู น้ื เลขที่ มอก. 2378 - 2551 เป็นผลิตภณั ฑ์ทผี่ ลติ จากยางธรรมชาติ ใชเ้ นอื้ ยางแหง้ 10 กโิ ลกรมั ตอ่ พน้ื ท่ี 1 ตารางเมตร โดยแผน่ ยางตวั หนอนปสู นาม 1 แผน่ มขี นาด 24 x 12 x 1.2 เซนตเิ มตร สามารถ ปูพื้นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง มีความยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกได้เป็นอย่างดีจึงช่วยลดความรุนแรงของอุบัติเหตุที่อาจ เกดิ ขนึ้ กบั เดก็ ทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งเลน่ และผทู้ ำ� กจิ กรรมบนลานสนามเดก็ เลน่ โดย กยท. ไดน้ ำ� แผน่ ยางตวั หนอนปพู น้ื สนามเดก็ เลน่ ใหโ้ รงเรยี น • วันท่ี 21 พฤษภาคม 2561 คณะอนุ กรรมการ CSR นายเสนีย์ จิตตเกษม นายสังข์เวินทวดห้อย นายสายอิ่นค�ำ นายสมเกียรติวงศ์เทพวาณิชย์ ผู้บริหาร และพนกั งาน รว่ มด�ำเนนิ กจิ กรรมสนามเด็กเล่น จากยางพารา และได้มอบสนามเด็กเล่นจาก ยางพาราใหโ้ รงเรียนบา้ นแวนโค้ง อ�ำเภอเชียงคำ� และโรงเรียนบา้ นท่งุ กล้วย อ�ำเภอภซู าง จังหวัดพะเยาและวันที่ 5 และ 6 กันยายน 2561 ได้มอบสนามเด็กเล่นจากยางพารา ให้โรงเรียนบ้านนากว้าง ต�ำบลนากว้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี และโรงเรียนบ้าน พนอม ตำ� บลพนอม อำ� เภอทา่ อเุ ทน จงั หวดั นครพนมทำ� ใหเ้ ดก็ ในพนื้ ทโ่ี ครงการมสี นามเดก็ เล่นที่ปลอดภัยเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการและสุขภาพมีพัฒนาการที่ดี ลดความรุนแรงของ การเกดิ อุบตั ิเหตุในการเล่นของเด็ก ๆ รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2.3 กจิ กรรมสรา้ งฝายชะลอนำ�้ จากล้อยาง 3 แหง่ จังหวัดเชียงราย น่าน และตาก การสร้างฝายยางพาราด้วยล้อยางแบบเคลื่อนย้ายได้มีข้อดีกว่าฝายแบบถาวรที่ สร้างจากวัสดุอื่น เช่น การเทปูนซีเมนต์หรือใช้ถุงทราย เพราะยางพารามีความยืดหยุ่น และคงทน สามารถปรบั ใช้ตามความเหมาะสมของแตล่ ะฤดูกาลช่วงฤดูนำ�้ หลาก ลอ้ ยาง แตล่ ะล้อทถ่ี ูกเชอื่ มตดิ กันด้วยลวดสลิงจะหมนุ ตามแรงน้ำ� ช่วยชะลอความแรงของน�ำ้ ได้ ในช่วงฤดแู ลง้ แผ่นยางทีป่ ูทับด้านหน้าผนัง ลอ้ ยางจะปดิ ชอ่ งวา่ งชว่ ยขวางนำ้� ใหไ้ หลผา่ นไดน้ อ้ ย สามารถกกั เกบ็ นำ�้ ไวใ้ ชไ้ ด้ นอกจากนช้ี าวบา้ นยงั สามารถยกฝายออกเพอื่ ชะลา้ ง ตะกอนดินทรายทไี่ หลมาติดทฝี่ ายและติดต้งั ใหมไ่ ดเ้ องซึ่ง กยท. ไดบ้ รู ณาการร่วมกบั บริษทั สยามมชิ ลิน จำ� กดั ท่ีสนับสนนุ ลอ้ ยาง รถยนตเ์ ปน็ วสั ดหุ ลกั ในการสร้างฝาย ผลการด�ำเนินงานด้านสังคม การใช้ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมจากยางพาราเพ่ือสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่ผู้อาศัย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยรอบชุมชนเหล่านั้น ส�ำหรับกิจกรรมสร้างฝายชะลอน้�ำจากล้อยาง มีเป้าหมายเพ่ือแก้ปัญหาขาดแคลนแหล่งน้�ำของชุมชน ชาวลาหู่ (มเู ซอ) ในการอปุ โภคบริโภคและท�ำการเกษตรในฤดแู ล้ง หรอื ในสถานการณ์ฉกุ เฉิน เช่น ระบบประปาภูเขาขัดข้องควบคู่ ไปกับการส่งเสริมใหเ้ กดิ การเพ่มิ ปริมาณการใช้ยางพาราในประเทศด้วย ที่ผ่านมาหมู่บ้านประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำในช่วงฤดูแล้ง และในช่วงน้�ำหลากที่น�้ำจากภูเขาจะพัดทรายเข้าไป อุดตันในท่อน้�ำประปาภูเขา ท�ำให้น้�ำไม่ไหล ชาวบ้านจึงต้องเดินขึ้นไปรองน้�ำจากตาน�้ำไปใช้ การท่ี กยท. ไปท�ำฝายในหมู่บ้าน ชาวบา้ นจงึ ไดร้ ับประโยชน์จากน้ำ� ทก่ี กั เก็บไว้เพอ่ื น�ำไปใชอ้ ปุ โภคบริโภคตอ่ ไป • วันท่ี 22 พฤษภาคม 2561 คณะอนุกรรมการ CSR นายเสนีย์ จิตตเกษม นายสังข์เวินทวดห้อย นายสาย อน่ิ ค�ำ นายสมเกยี รติ วงศเ์ ทพวาณชิ ย์ ผ้บู ริหารและพนกั งาน รว่ มด�ำเนนิ กจิ กรรมสรา้ งฝายชะลอน�้ำจากล้อยางพารา ที่ จังหวัดเชียงราย เพ่ือแก้ปัญหาขาดแคลนแหล่งน้�ำของชุมชนชาวลาหู่ (มูเซอ) ในการอุปโภคบริโภคและท�ำการเกษตรในฤดูแล้ง หรือในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ระบบประปาภูเขาขัดข้อง ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้เกิดการเพ่ิมปริมาณการใช้ยางพารา ในประเทศดว้ ย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
2.4 กจิ กรรมปูสระนำ้� จากยางพารา 2 แห่ง จังหวดั น่าน กยท. ไดบ้ รู ณาการรว่ มกบั มณฑลทหารบกที่ 38 สภาเกษตร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรนา่ น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองจังหวัด ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจังหวัดเชียงใหม่ หน่วยทหารในพนื้ ท่ีจงั หวดั น่าน (ทหารช่าง) และบริษทั ไฟฟา้ หงสา ผลการด�ำเนนิ งานเชงิ คุณภาพทงั้ เศรษฐกิจ สงั คมและสิง่ แวดล้อม กิจกรรมปูสระน้�ำจากยางพารา เป็นการวางระบบเครือข่ายและพัฒนาแหล่งน้�ำผิวดินตั้งแต่พื้นท่ีต้นน�้ำ เพ่ือกระจายความชุ่มช้ืนสู่ผืนป่า ส่งผลให้เกษตรกรในพื้นที่สามารถประกอบอาชีพการเกษตรได้ในช่วงฤดูแล้ง เพราะมีน�้ำใช้ ในภาคการเกษตร ทงั้ การปลูกพชื เลีย้ งสัตว์ หรอื ทำ� ประมงขนาดเล็ก และยงั ท�ำให้คณุ ภาพชีวิตของเกษตรกรในพนื้ ท่ีดขี ึน้ ไมว่ ่าจะ เป็นด้านเศรษฐกิจที่มีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่ว่างงานช่วงหน้าแล้ง ด้านสังคม ไม่ต้องอพยพแรงงาน เพราะมีอาชีพท่ีท�ำให้เกิดรายได้ ในพื้นที่ในช่วงฤดูแล้ง รวมถึงคุณภาพชีวิตด้านส่ิงแวดล้อมที่ดีข้ึนโดยพื้นท่ีสระน�้ำขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ใช้น�้ำยาง คอมปาว 1 ตัน 1 ตารางเมตร ใช้เนื้อยางแห้ง 1 กิโลกรัม ขนาดกว้าง 10 x ยาว 20 เมตร ใช้น้�ำยางคอมปาวด์ 1 ตัน • วันที่ 2 เมษายน 2561 คณะอนุกรรมการ CSR นายสาย อน่ิ คำ� ผบู้ รหิ ารและพนกั งาน รว่ มดำ� เนนิ กจิ กรรม ปูสระน้�ำจากยางพารา ในพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน สระน�้ำ จากยางพาราเป็นแหล่งกักเก็บน�้ำให้แก่เกษตรกร และผู้อาศัยในชุมชนไว้ใช้ในหน้าแล้ง ควบคู่การ สนองนโยบายส่งเสริมการแปรรูปและใช้ยางพารา ในประเทศ 2.5 กิจกรรมสนบั สนนุ หุ่นยางพาราสำ� หรบั ฝกึ ชว่ ยฟื้นคืนชพี ขัน้ พนื้ ฐาน 50 ตวั ผลการดำ� เนินงานด้านสงั คม กิจกรรม RAOT FOR LIFE สนับสนุนหุ่นยางพาราส�ำหรับการฝึกช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน แก่สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย เป็นกิจกรรมหน่ึงภายใต้โครงการนวัตกรรมยางพาราในการแสดงความรับผิดชอบ ตอ่ สังคม (CSR) ของ กยท. เป็นการบรู ณาการความรว่ มมอื ระหวา่ งผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสียเพื่อสรา้ งประโยชนแ์ ละพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ใหแ้ กช่ มุ ชนและสังคม โดยนำ� รอ่ งมอบใหส้ งั คม 50 ตวั รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
สมาคมเวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ แห่งประเทศไทย (ศนู ยก์ ชู้ พี นเรนทร) ได้จัดทำ� โครงการส่งเสริม และปอ้ งกนั คนไทยไมใ่ หเ้ จบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ เพอ่ื มงุ่ หวงั ในการเพม่ิ คณุ ภาพและความปลอดภยั ของประชาชนคนไทยให้มีอายุยืนยาว และลดจ�ำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่เกิดจากสาเหตุ ท่ีป้องกันได้ โดยห่นุ ฝึกปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ (CPR) จากยางพารา 50 ตวั ทีไ่ ดร้ บั มอบ จาก กยท. สมาคมฯ ได้น�ำไปต่อยอดขยายผลใช้เป็นอุปกรณ์และส่ือในการฝึกอบรมถ่ายทอดการปฐมพยาบาลเบื้องต้น CPR อยา่ งถกู วธิ ีใหแ้ กก่ ลุ่มเปา้ หมาย เพื่อให้สามารถช่วยเหลอื ผปู้ ว่ ยที่เกดิ กรณีเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉินได้ ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นงานวิจยั หุ่นจ�ำลองฝกหัดและสอนการช่วยชีวิต Cardio Pulmonary Resuseitation : CPR หุ่นจ�ำลอง Cardio Pulmonary Resuseitation : CPR เป็นการเผยแพรความรูทางด้านการช่วยชีวิต ผลิตจากน้�ำยางพารา ธรรมชาติ 100% ด้วยโครงสร้างของยางธรรมชาติที่มีความยืดหยุน มีความนุ่มของฟองยางจนคล้ายคลึงกับร่างกายมนุษย์ ใชส�ำหรับฝกบุคลากร ในการช่วยเหลือชีวิตอย่างเหมาะสมเพื่อใชรักษาพยาบาลผู้ป่วยในยามวิกฤตอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการประกาศความเป็น มาตรฐานในการใหบ ริการทางสาธารณสุขของประเทศไทยหุน่ CPR 1 ตัวใชย างแหง 3.8 กิโลกรัม • วันที่ 3 พฤษภาคม 2561 นายณกรณ์ตรรกวิรพัท รองผู้ว่าการยางแห่งประเทศไทย ในฐานะประธาน คณะท�ำงานดำ� เนนิ งานดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมของ กยท. และ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวจิ ยั และพัฒนาอตุ สาหกรรม ยาง ได้มอบหุ่นยางพารา จ�ำนวน 50 ตัว ให้สมาคมเวชศาสตรฉ์ กุ เฉินแหง่ ประเทศไทย โดยหุ่นฝึกปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ (CPR) จาก ยางพารา สามารถขยายผลใช้เปน็ อปุ กรณ์และสอ่ื ในการฝกึ อบรมถ่ายทอดการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ CPR อยา่ งถกู วิธี Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
รายงานผลการด�ำเนนิ งานที่สำ� คญั ประจำ� ปี 2561
รายงานผลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั ประจำ� ปี 2561 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การสรา้ งรายไดจ้ ากการบริการและดำ� เนนิ ธรุ กิจ วัตถุประสงค์ : เพ่ือหารายได้เป็นเครื่องมือในการบริหารและเพม่ิ สภาพคลอ่ งใหอ้ งคก์ ร 1. แผนปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งรายได้จากทรพั ยส์ นิ ทมี่ อี ยูเ่ ดมิ เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ร้อยละ แผนงาน/โครงการ (ตัน) (ตัน) 40 70.58 176.46 • กจิ กรรมบ�ำรงุ รกั ษาแปลงปลกู ยางพารา (38.4 ไร)่ 105.83 • กิจกรรมบำ� รุงรักษาแปลงปลูกปาล์มน�ำ้ มนั (516.55 ไร่) 3,700 3,915.80 2. การสรา้ งรายไดจ้ ากโอกาสในธุรกิจใหม่ เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน รอ้ ยละ แผนงาน/โครงการ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 2.26 23.76 • โครงการยางลอ้ ประชารฐั 9.52 20.90 • โครงการสร้างรายได้จากปจั จยั การผลิตและการบริการ 6.33 30.28 3. โครงการเพม่ิ ปรมิ าณผลผลิตด้านโรงงาน (1 - 6) เป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน รอ้ ยละ แผนงาน/โครงการ (ตัน) (ตัน) 250 58.06 23.22 • ผลผลติ ยางเครปขาว 6,000 68.36 • ผลผลติ ยาง STR 5 L 21,000 4,101.56 50.33 • ผลผลติ ยางแทง่ STR 20 11,000 10,569.53 50.27 • ผลผลติ น้�ำยางขน้ 600 5,529.24 63.44 • ผลผลิตยางแทง่ สกมิ 380.61 4. โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั การสวนและผลผลิต (สวนยาง 1 2 และ 3) แผนงาน/โครงการ เปา้ หมาย ผลการดำ� เนินงาน ร้อยละ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) • ผลผลติ เน้ือยางแหง้ 4,073.35 73.75 • ผลผลติ เศษยาง 5,523 144.40 78.15 54.12 รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นายางพาราตลาดหว่ งโซ่อปุ ทานและหว่ งโซ่คุณค่า วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพอ่ื ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ยางพาราสนบั สนนุ การผลติ วตั ถดุ บิ ทม่ี คี ณุ ภาพและพฒั นาระบบตลาด 2. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ใหแ้ กเ่ กษตรกรสถาบนั เกษตรกร ชาวสวนยางด้านวิชาการการเงินการผลิตการแปรรูปการอุตสาหกรรมการตลาดการประกอบธุรกิจและส่งเสริมสนับสนุนการรวม กลมุ่ เพ่อื สรา้ งมูลค่าและความยั่งยืนนาไปสู่ Smart farmer และ Smart group 3. สร้างความเข้มแข็งเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันและยกระดบั มาตรฐานให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาง ในการเพมิ่ มูลคา่ ยางธรรมชาติโดยการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ เพอื่ การส่งออกและการใชย้ างภายในประเทศ 4. สรา้ งโครงสรา้ งพ้นื ฐานและความเชือ่ มน่ั ในตลาดซอ้ื ขายภายในประเทศและตา่ งประเทศ 5. เกษตรกรทีท่ าสวนยางสามารถเลย้ี งตวั เองและมีชีวิตความเป็นอยทู่ ดี่ ีข้ึนและมีระบบสวัสดิการ 5. โครงการส่งเสริมการปลกู ยางพนั ธุด์ ีและไม้ยืนตน้ ทม่ี คี วามสำ� คญั ทางเศรษฐกิจ แผนงาน/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ กิจกรรมใหก้ ารปลกู ยางพันธุด์ ีและไมย้ ืนต้นทม่ี ีความสำ� คัญทางเศรษฐกจิ • จำ� นวนไร่ของยางพาราท่โี คน่ (ไร่) • จ�ำนวนพนื้ ท่ีปลูกยางพันธุด์ แี ละแบบผสมผสาน (ไร่) 400,000 403,185.85 100.80 406,378.95 101.59 • จำ� นวนพืน้ ท่ีปลูกยางพาราเปล่ียนเป็นไมย้ ืนตน้ (ไร่) 200,000 142,541.80 71.27 200,000 6. โครงการพัฒนาตลาดยางพารา การยางแห่งประเทศไทย แผนงาน/กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ 109.44 กิจกรรมพัฒนาตลาดยางพาราเขตภาคใตต้ อนลา่ ง (บรหิ ารจัดการตลาดนำ�้ ยางสดระดับท้องถน่ิ ) 120.24 • ปรมิ าณนำ้� ยางสดทซี่ อ้ื ขายผ่านตลาด (ตนั ) 100.00 40,000 43,776.24 100.00 กจิ กรรมสนบั สนุนการบริหารงานตลาดกลางยางพารา (พฒั นาตลาดกลางกลางยางพาราท้ัง 6 แหง่ ) • ปรมิ าณยางผา่ นตลาด (ตัน) 115,600 143,570.15 กิจกรรมเผยแพร่ประชาสมั พนั ธต์ ลาดยาง กยท. 6 6 • ประชาสมั พนั ธต์ ลาดยาง กยท.ไม่น้อยกว่า 6 ชอ่ งทาง กิจกกรมคดั เลือกตลาดยาง กยท. ดเี ดน่ ประจำ� ปีงบประมาณ 2561 • ตลาดยาง กยท. ดเี ด่นประจ�ำปีงบประมาณ 2561 จำ� นวน 5 ตลาด 5 5 7. โครงการยกระดบั การให้บรกิ ารตลาดกลางยางพาราสรู่ ะบบการบริหารงานคณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 แผนงาน/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ 100.00 กิจกรรมยกระดบั การใหบ้ ริการตลาดกลางยางพาราสรู่ ะบบการบริหารงานคณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 • ได้รบั การรับรองระบบบริหารงานคณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 1 1 Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
8. โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย ผลการดำ� เนินงาน รอ้ ยละ แผนงาน/กจิ กรรม 12 6 50.00 กิจกรรมการพัฒนาสถาบันเกษตรกร (ส่วนกลาง) 390 185 52.86 • ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง 5 5 100.00 กยท. ระดับประเทศ (ครง้ั ) 950 360 37.89 • ประชมุ สัมมนาผูน้ ำ� สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยางประจ�ำปี (คน) 5 5 100.00 • ประชุมสัมมนาผู้น�ำสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางท่ีแปรรูป และพฒั นา (คร้ัง) 42 14 33.33 • ศกึ ษาดงู านของผนู้ ำ� สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง (คน) 750 209 35.20 • ประชุมสมั มนาผนู้ ำ� สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางระยะเริ่มต้น 45 106 235.55 พฒั นา (ครัง้ ) ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ กจิ กรรมการพัฒนาสถาบนั เกษตรกร (สว่ นภมู ิภาค) 5,875 108.80 • ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. ระดบั เขต 7 เขต (ครง้ั ) ผลการด�ำเนนิ งาน รอ้ ยละ • ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง 4,448 106.54 กยท. ระดับจังหวดั /สาขา (ครั้ง) • พัฒนาสถาบันเกษตรกร ประกวดสถาบันและเครือข่ายสถาบัน เกษตรกรชาวสวนยาง กยท. ดีเดน่ ระดบั เขตและระดับจังหวัด (สถาบนั ) 9. โครงการสวัสดิการเกษตรกรชาวสวนยาง เป้าหมาย แผนงาน/กจิ กรรม 5,400 กจิ กรรมการจ่ายเงินกองทนุ พัฒนายางพารา ตามมาตรา 49 (5) • จา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรชาวสวนยาง (ราย) 10. โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพใหเ้ กษตรกรชาวสวนยาง เปา้ หมาย แผนงาน/กจิ กรรม 4,175 กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชพี ให้เกษตรกรชาวสวนยาง • จำ� นวนเกษตรกรที่ได้รบั การฝกึ อบรม (ราย) รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การวิจัยและพฒั นาเพื่อเปน็ ศนู ยก์ ลางการผลติ และอุตสาหกรรมยางพารา วัตถุประสงค์ : 1. สร้างเทคโนโลยีงานวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับสินค้า และบริการ ตอบสนองความตอ้ งการของผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี เพอ่ื น�ำไปสศู่ ักยภาพการแข่งขัน 2. ผลักดนั และสนบั สนนุ ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์พร้อมทัง้ ถา่ ยทอดและผลิตในเชิงพาณชิ ย์ 11. โครงการการถ่ายทอดเทคโนลยี ีเพื่อการผลิตและอุตสาหกรรมยาง แผนงาน/กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการดำ� เนินงาน ร้อยละ (ราย) (ราย) 57,392 115.11 1. กิจกรรมการถา่ ยทอดเทคโนโลยีดา้ นการผลติ ยาง 49,860 4,345 152.46 3,122 115.63 1.1 การกรดี ยางอยา่ งถกู วธิ ี 2,850 4,273 158.26 17,920 109.2 1.2 การใชป้ ยุ๋ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2,700 27,632 109.65 1.3 การปอ้ งกันก�ำจดั โรคและศตั รูยางพารา 2,700 1.4 การปรบั ปรุงคุณภาพผลผลติ 16,410 1.5 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกสร้างสวนยางอย่างยั่งยืน 25,200 ตามมาตรฐาน FSC 2. กจิ กรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านอตุ สาหกรรมยางและเศรษฐกิจยาง 2.1 การถา่ ยทอดเทคโนโลยดี ้านอุตสาหกรรมให้ครยู าง 1,800 1,671 92.83 484 118.05 2.2 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านผลิตยางและเศรษฐกิจยางผ่าน 410 1,314 109 ศูนยเ์ รยี นรู้ยางพารา 2.3 ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตผลิตภณั ฑย์ าง 1,200 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การหลอมรวมองค์กรใหเ้ ป็นหน่ึง เพ่ือการบริหารมุง่ สูค่ วามเปน็ เลศิ วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพอื่ เปน็ องคก์ รทม่ี ีสมรรถนะสูง (High performance organization) 2. เพ่ือให้บคุ ลากรขององคก์ รมีคุณภาพพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงและมวี ฒั นธรรมเดยี วกนั 3. หลอมรวมพฤติกรรมและกระบวนการให้บริการรวมถึงพัฒนาระบบงานให้เป็นหน่ึงเดียว ถกู ตอ้ งสะดวกรวดเร็วทนั ตอ่ การใช้ 4. เพือ่ ใหพ้ นกั งานของกยท.ได้รบั การพัฒนาให้เป็น Smart officer 5. เพื่อให้มีการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการท่ัวทั้งองค์กรและมีการจัดการอย่างเป็นระบบ ในระดับท่อี งคก์ รยอมรบั ได้ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
ผลการดำ� เนินงาน 12. โครงการพฒั นาบคุ ลากรอยา่ งเป็นระบบ แผนงาน/กิจกรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ (ราย) (ราย) 125.65 กิจกรรมพฒั นาบคุ ลากรตามสมรรถนะตามตำ� แหนง่ (Functional Competency) 578 • พัฒนาบคุ ลากรตามสมรรถนะตามต�ำแหนง่ (Functional Competency) 460 160.00 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะหลกั (Core Competency) 500.00 • พฒั นาบคุ ลากรตามสมรรถนะหลกั (Core Competency) 133.33 60 96 125.00 กิจกรรมพัฒนาบคุ ลากรสู่ Smart Officer 40 200 • พฒั นาบุคลากรสู่ SMART RAOT OFFICER • พฒั นาบคุ ลากรเพือ่ การส่งเสริมการแปรรูปยางมาตรฐาน GMP/GAP • พัฒนาบุคลากรเพือ่ สง่ เสริมเกษตรกรให้กรีดยางอย่างถกู วิธี 90 120 160 200 13. โครงการจดั ทำ� องค์ความรูท้ ีจ่ �ำเป็นตอ่ การปฏบิ ตั ิงานและตอบสนองต่อความตอ้ งการของบุคลากรในองค์กร แผนงาน/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำ� เนนิ งาน ร้อยละ กิจกรรม จัดท�ำองคค์ วามรู้ (Knowledge) จากผู้เกษยี ณ ผลู้ าออก ผ้บู ริหาร และผูช้ �ำนาญการ • จดั ทำ� องค์ความรู้ (Knowledge) (ราย) • กิจกรรม Unit School (หลักสูตร) 50 50 100.00 13 39 300.00 14. โครงการส่งเสรมิ ด้านความรบั ผิดชอบต่อสงั คมขององค์กร เปา้ หมาย ผลการดำ� เนนิ งาน รอ้ ยละ แผนงาน/กจิ กรรม 2,000 2,000 100.00 • กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียงปลูกไม้โตเร็วในสวนยางเพ่ือผลิต เชอื้ เพลงิ ชวี มวลรว่ มกบั การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย (ไร่) 1 1 100.00 3 6 200.00 • กจิ กรรม สนามฟตุ ซอลยางพารา (แห่ง) 3 3 100.00 • กจิ กรรม สนามเด็กเลน่ จากยางพารา (แหง่ ) 1 2 200.00 • กจิ กรรม สรา้ งฝายชะลอน�ำ้ จากล้อยาง (แหง่ ) 50 50 100.00 • กิจกรรม ปูสระน�้ำจากยางพารา (แหง่ ) • กิจกรรม สนบั สนุนหุ่นยางพาราส�ำหรบั ฝกึ ชว่ ยฟนื้ คืนชพี ข้ันพ้ืนฐาน (ตวั ) รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ผลการดำ� เนนิ งานด้านการวจิ ยั สถาบันวิจัยยางเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย ค้นคว้า และทดลอง เก่ียวกับยางพารา เพ่ือให้การติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานวิจัยและพัฒนายาง ของนกั วจิ ยั เปน็ ไปตามแผนงานและกรอบงานวจิ ยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน็ การสรา้ ง งานวจิ ยั ตอ่ ยอดในเชงิ พาณชิ ย์ เพอื่ นำ� ไปใชใ้ นการกำ� หนดประเดน็ วจิ ยั รวมทง้ั สามารถพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั ผปู้ ระกอบการนำ� ไปใช้ในเชงิ พาณิชยไ์ ด้ สถาบันวิจัยยางจึงมกี จิ กรรมสนับสนุนนักวิจยั รุน่ ใหม่ ดงั น้ี 1. โครงการสนับสนุนงานวิจัยดีเด่นด้านยางพารา กิจกรรมการประกวดโครงงานวิจัยด้านยางพาราระดับ มัธยมและอาชีวศึกษา ปงี บประมาณ 2561 การจัดประกวดโครงงานวิจัยด้านยางพาราระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ณ ห้องประชุมกันตัง การยาง แห่งประเทศไทย กรงุ เทพฯ ในวนั ท่ี 12 กันยายน 2561 โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือประกวดแนวความคิดใหม่ๆ ท่ีเกดิ จากความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา โดยการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีองค์ความรู้ด้านยางพารา และนวัตกรรม ตลอดจนเข้าใจถึงบริบทของนักเรียนนักศึกษา เพื่อให้ได้มาซ่ึงโครงการวิจัยใหม่ๆ ท่ีสามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอด ให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้านยางพาราของไทย โดยจัดประกวดโครงงานในลักษณะของส่ิงประดิษฐ์ หรือการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ เพอื่ ปรบั ปรงุ ดา้ นการจดั การสวนยาง แปรรปู ยาง หรอื พฒั นาดา้ นอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ยางพารา มผี สู้ ง่ ผลงานเขา้ รว่ มประกวดทง้ั หมด 19 โครงงาน ผลการพิจารณาตดั สินจากคณะกรรมการผ่านการคัดเลอื ก และไดร้ ับรางวัลจ�ำนวน 11 โครงงาน ดังนี้ 1. ด้านต้นน�้ำและกลางน้�ำ 1.1 รางวลั ชนะเลิศ ไดแ้ ก่ โครงงานวจิ ัยเร่อื ง เครอื่ งพันลวดเกอื กมา้ สำ� หรบั รองรับถว้ ยนำ�้ ยางพาราแบบต่อเนอื่ ง ของวิทยาลยั การอาชีพเวยี งสระ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี 1.2 รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 1 ไดแ้ ก่ โครงงานวจิ ัยเร่อื ง เครือ่ งยอดน้�ำกรด “Smart Drip machine 001” ของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกำ� แพงเพชร จงั หวดั กำ� แพงเพชร 1.3 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ โครงงานวิจัยเร่ือง ผลของน้�ำหมักเปลือกพืชท้องถิ่นปักษ์ใต้ต่อการ ลดปรมิ าณเชอื้ ราบนยางแผ่นดิบ” ของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสรุ าษฎรธ์ านี จังหวัดสุราษฏรธ์ านี 1.4 รางวัลชมเชย ได้แก่ โครงงานวิจัยเรื่อง แผ่นยางนวดเท้ากดจุด ของวิทยาลัยเทคโนโลยีนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2. ดา้ นปลายนำ้� 2.1 รางวลั ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ โครงงานวิจัยเร่อื ง การศึกษาสมบัตขิ องวัสดุคอมโพสิตระหว่างยางธรรมชาติกับเศษ ขก้ี บไมต้ ีนเปด็ ของวิทยาลยั เทคนคิ ศรสี ะเกษ จงั หวดั ศรีสะเกษ 2.2 รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั 1 ได้แก่ โครงงานวิจัยเรอ่ื ง การศกึ ษาปรมิ าณทีเ่ หมาะสมของทางปาลม์ ท่ใี ชเ้ ปน็ สาร ตัวเติมต่อการท�ำแผ่นพนื้ ยางพารา ของวทิ ยาลยั เทคนิคตรัง จงั หวัดตรงั 2.3 รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ โครงงานวิจัยเรื่อง กระถางแฟนซีจากน�้ำยางพารา ของวิทยาลัยเทคนิค จะนะ จังหวดั สงขลา 2.4 รางวัลชมเชย จำ� นวน 4 รางวลั ได้แก่ • โครงงานวจิ ยั เรือ่ ง เบาะโฟมยางพาราปลดปลอ่ ยชา้ เพ่อื ประยุกตใ์ ช้ในการบำ� บัด ของโรงเรยี นจุฬาภรณ์ ราชวทิ ยาลยั สตลู จงั หวัดสตูล Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
• โครงงานวิจัยเร่ือง การศึกษาปริมาณซิลิกาที่เหมาะสมต่อการท�ำดอกไม้จากเย่ือกระดาษ เคลอื บน้�ำยางพารา ของวิทยาลัยเทคนิคตรัง จังหวัดตรัง • โครงงานวิจัยเรื่องการศึกษาแคลเซียมคาร์บอเนตที่เหมาะสมต่อการท�ำกรวยอัจฉริยะ จากยางพารา ของวทิ ยาลยั เทคนคิ ตรัง จังหวัดตรงั • โครงงานวิจัยเรื่องการศึกษาข้ีเลื่อยไม้ยางพาราที่เหมาะสมต่อการท�ำอิฐบล็อกตัวหนอนจากน�้ำยาง พาราธรรมชาติ ของวิทยาลัยเทคนคิ ตรัง จังหวัดตรัง 2. โครงการสนับสนุนทุนวิจัยดา้ นยางพาราระดับอดุ มศึกษา ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม โ ค ร ง ก า ร ค ่ า ย ฝ ึ ก อ บ ร ม ส นั บ ส นุ น นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใ ห ม ่ ด ้ า น ย า ง พ า ร า ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ปงี บประมาณ 2561 หวั ขอ้ การประกวดโครงรา่ งงานวจิ ยั นวตั กรรมเครอ่ื งมอื เกบ็ เกย่ี วผลผลติ นำ้� ยาง ระหวา่ งวนั ท่ี 23 - 27 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมมารวยการ์เดน มีผเู้ ขา้ ร่วมฝึกอบรมท้ังหมด 49 คน จากการน�ำเสนอข้อเสนอโครงการวิจัยใน หัวข้อการประกวดโครงร่างงานวิจัยนวัตกรรมเคร่ืองมือเก็บเก่ียว ผลผลิตน้�ำยาง ในวนั ท่ี 16 กันยายน 2561 ณ โรงแรมทเี คพาเลซ & คอนเวนช่นั กรงุ เทพมหานคร จำ� นวน 14 ทีมโดยผ่านการ พจิ ารณาการขอรับทนุ จ�ำนวนทง้ั หมด 4 ทีม โดยเตรยี มเอกสารในการลงนามสญั ญาของโครงการวิจยั ส�ำหรบั ผผู้ า่ นการพจิ ารณา ขอรับทุน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เงนิ รางวัล 20,000 บาท จำ� นวน 1 รางวัล โครงการเครอ่ื งกัดยางพาราสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั วทิ ยาเขตชมุ พรเขตอดุ มศกั ดิ์ 2. รางวัลชมเชย เงนิ รางวัล 10,000 บาทจ�ำนวน 3 รางวลั ไดแ้ ก่ • โครงการเคร่ืองกรีดยางพาราไฟฟ้าแบบหัวตัดหมุนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง วทิ ยาเขตรชมุ พรเขตอุดมศกั ดิ์ • โครงการการพัฒนาใบมดี ยางพาราหัวเขียวคณุ ภาพสูง ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน • โครงการการออกแบบเครื่องมือกรีดยางปากกบส�ำหรับเกษตรกรชาวสวนยางพารา ม.เกษตรศาสตรว์ ิทยาเขตก�ำแพงแสน รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ผลการด�ำเนนิ งานวจิ ัยของสถาบนั วิจยั ยาง ประจำ� ปี 2561 ประกอบดว้ ยงานวิจยั ดังตอ่ ไปน้ี 1. ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับแป้งและน้�ำตาลในต้นเพื่อพัฒนาการวางแผนระบบกรีด และเพ่ิมผลผลติ ยาง ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับแป้งและน�้ำตาลในต้นเพื่อพัฒนาการวางแผนระบบกรีด และเพมิ่ ผลผลติ ยาง เพอื่ ศกึ ษาการเก็บอาหารสะสมในช่วงฤดูกาลต่างๆ ท่สี มั พันธ์กับกระบวนการเมแทบอลิซมึ ในการเปลี่ยนแป้ง เปน็ นำ�้ ตาล และชนดิ ของโปรตนี และยนี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการใชแ้ ละการสรา้ งแปง้ ทดลองทศี่ นู ยว์ จิ ยั พชื สวนเชยี งราย จ.เชยี งราย ศนู ย์วิจัยยางฉะเชงิ เทรา และมหาวทิ ยาลัยมหิดล ผลการทดลอง พบวา่ พันธ์ุ RRIT 251 มปี ริมาณแป้ง (starch) น้ำ� ตาล (soluble sugar, SS) และ NSC (non soluble carbohydrate) มากที่สุด 122.09, 13.53 และ 137.06 mg Gluequi./g Struct DMและให้ผลผลิตมากท่ีสุด 326.17 กก./ไร่/ปี รองลงมา ได้แก่ พันธุ์ BPM24 และ PB260 และพันธุ์ RRIM 600 RRIC110 และ RRIT 402 มีปรมิ าณแป้งน้อยทส่ี ดุ ผลของพนั ธยุ์ างกบั ระบบกรีด พบว่า พนั ธุ์ RRIT 251 กับระบบกรดี A. S/2 d2 และพันธุ์ RRIT226 กับระบบกรีด A. S/2 d2 ใหผ้ ลผลติ มากทสี่ ุด 364.89 และ 313.58 กก./ไร/่ ปี มปี รมิ าณแป้ง 125.18 และ 117.56 mg Gluequi./g Struct DMตามลำ� ดับ การเกบ็ อาหารสะสมในสว่ นต่างๆ ของล�ำตน้ ยาง พบวา่ ทร่ี ะดับความสูงใตร้ อยกรีด 60 ซม. จากพนื้ ดนิ มปี รมิ าณนำ�้ ตาล SS และ NSC มากทสี่ ุด 12.47 และ 100.66 mg Gluequi./gStruct DM รองลงมา คอื ระดับความ สูง 130 และ 170 ซม. ปริมาณแป้งและนำ�้ ตาลในเนอื้ ไม้และเปลอื กท่รี ะดับความสูง 60-170 ซม. ของยางแต่พนั ธ์ตุ ่างๆ มปี ริมาณ ไม่แตกต่างกัน พันธุ์ RRIT 251 มีปริมาณแป้งทั้งในเน้ือไม้และเปลือกมากที่สุด 120.52และ 24.75mg Gluequi./gStruct DMตามล�ำดับ ส�ำหรับการการออกแบบ primer เพื่อศึกษาการแสดงออกของยีน invertaseเม่ือต้นยางพาราถูกกระตุ้นด้วย เอธิลีน การแสดงออกของยีนHbINVมีการแสดงออกเพ่ิมสูงข้ึนในต้นยางพาราท่ีถูกพักกรีด และมีแนวโน้มของการแสดงออกที่ เพิ่มขึ้นในต้นยางพาราที่อยู่ในช่วงกรีดการแสดงออกของยีน HbINV มีการแสดงออกท่ีสูงขึ้นในต้นยางพาราที่ถูกพักกรีด เมือ่ ตน้ ยางพาราถูกกระตุ้นด้วยเอธิลนี การแสดงออกทีเ่ พ่ิมขน้ึ ในต้นยางพาราที่อยูใ่ นชว่ งกรดี ทงั้ จากการกรีดครั้งท่ี 1 และครงั้ ท่ี 2 2. การจัดท�ำคา่ มาตรฐานเพอ่ื การวินิจฉยั สถานะธาตอุ าหารในดนิ และใบสำ� หรับยางพาราก่อนเปดิ กรดี พนั ธุ์ RRIT 251 ค่ามาตรฐานเพื่อการประเมินธาตุอาหาร มีความจ�ำเป็นต่อการจัดการธาตุอาหารโดยองค์รวม เพ่ือท�ำให้พืช เตบิ โตและใหผ้ ลผลติ สงู สดุ โดยคณุ ภาพดนิ ไมเ่ สอ่ื มถอย งานวจิ ยั นไ้ี ดจ้ ดั ทำ� คา่ มาตรฐานสำ� หรบั ยางพาราพนั ธ์ุ RRIT 251 ระยะกอ่ น เปิดกรดี โดยวิธีการสำ� รวจธาตุอาหารจากแปลงเกษตรกร 110 แปลง ในพืน้ ท่ี 8 จงั หวดั ได้แก่ ประจวบครี ขี ันธ์ ชมุ พร ระนอง พงั งา กระบ่ี ตรงั สุราษฎรธ์ านี และนครศรีธรรมราช ในสวนยางอายุ 4 ปี ± 4 เดือน การส�ำรวจทำ� ในระหว่างเดอื นมถิ นุ ายน ถึงเดือน กรกฎาคม ปีพ.ศ. 2558 และ 2559 หาคา่ ดัชนีการเจริญเตบิ โตโดยการวัดความยาวเส้นรอบวงล�ำต้นที่ความสูง 150 เซนติเมตร จากพนื้ ดนิ จำ� นวน 100 ตน้ ตอ่ สวน จากบรเิ วณแปลงทตี่ น้ ยางเจรญิ เตบิ โตอยา่ งสมำ�่ เสมอ ผลการสำ� รวจนำ� มาวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ ระหว่างดัชนีการเติบโตกับความเข้มข้นของธาตุอาหารในดินหรือใบ โดยใช้สมการพหุนามก�ำลังสองเป็นแบบจ�ำลองคณิตศาสตร์ (Y = aX2 + bX + c) ผลการศึกษาพบว่า เมื่อน�ำข้อมูลความยาวเส้นรอบวงล�ำต้นเฉล่ียของต้นยางพันธุ์ RRIT 251 อายุ 4 ปี ± 4 เดือน มาจดั ระดบั การเติบโต ไดช้ ่วงระดบั การเติบโตดงั น้ี ต่�ำมาก (very low) น้อยกวา่ 19.4 เซนตเิ มตร ต่ำ� (low) 19.4 – 26.3 เซนตเิ มตร ค่อนข้างต่�ำ (moderately low) 26.4 – 33.1 เซนติเมตร คอ่ นขา้ งดี (moderately high) 33.2 – 40.0 เซนตเิ มตร ดี (high) 40.1 – 46.9 เซนตเิ มตร และดมี าก very (high) มากกวา่ 46.9 เซนตเิ มตรผลการสรา้ งคา่ ความเขม้ ขน้ มาตรฐาน ธาตุอาหารพืชส�ำหรับใช้แปลผลวิเคราะห์ดินและใบในยางพาราพันธุ์ RRIT 251 พบว่า สมบัติดินทางเคมี และความเข้มข้นของ ปรมิ าณธาตอุ าหารพืชในดินมชี ่วงคา่ ท่เี หมาะสมดงั น้ี pH 4.60 – 5.70, OM ร้อยละ 0.88 – 2.68, BS รอ้ ยละ 31.4 – 78.1 CEC ไม่สามารถประเมินได้เนื่องจากข้อมูลทั้งหมดมีค่าอยู่ในระดับต�่ำ P, K, Ca, Mg, S, Fe, Cu และ B ในช่วง 13.6 – 46.3, 30.0 – 79.5, 90 – 300, 24.0 – 56.0, < 46.5, 37.5 – 103.5, 0.33 – 1.13 และ < 0.95 มลิ ลิกรมั /กโิ ลกรมั ตามลำ� ดับ ส�ำหรับ Mnและ Zn ไม่สามารถประเมนิ ได้เน่อื งจากไม่พบความสมั พันธก์ ับการเจรญิ เติบโต สดั ส่วนของ K/Mg และ Mg/Ca ทีเ่ หมาะสม Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
ในดนิ เทา่ กบั 0.64 – 4.45 และ 0.152 – 0.522 ตามลำ� ดบั สัดส่วนระหวา่ ง K/Ca ไม่สามารถ ประเมนิ ได้คา่ ความเขม้ ข้นของปริมาณธาตอุ าหารในใบมคี ่าทเ่ี หมาะสมของ N, P, K, Ca, Mg และ S ในชว่ งรอ้ ยละ 2.13 – 2.70, 0.20 – 0.35, 0.79 – 1.10, 0.51 – 1.25, 0.19 – 0.43 และ 0.2 – 0.3 ตามล�ำดับFe, Mn, Cu, Zn และ B ในช่วง 51.5 – 128.5, < 595, 7.27 – 10.06, 18.5 - 35.3 และ 3.4 – 8.8 มิลลกิ รมั /กิโลกรมั ตามลำ� ดบั สำ� หรับ Mo ไม่สามารถประเมินไดส้ ัดส่วนทเี่ หมาะสม ส�ำหรบั K/Ca ในใบเท่ากับ 0.423 – 1.712 ส่วนสดั สว่ นระหวา่ ง K/Mg และ Mg/Ca ไม่สามารถประเมินได้ 3. การพฒั นาระบบการย้ายปลูกตน้ กล้ายางจากการเพาะเลย้ี งต้นอ่อน สามารถผลิตต้นกล้ายางพันธุ์ RRIM600 โดยการเพาะเล้ียงต้นอ่อนจากเปลือกหุ้มชั้นในเมล็ดอ่อน และน�ำ ต้นกล้าที่ได้ปรับสภาพก่อนย้ายปลูกโดยการวางเลี้ยงในขวดใช้วัสดุปลูกเวอมิคูไลท์ท�ำการควบคุมปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ทเ่ี หมาะสมทส่ี ุด คอื ปรมิ าณ CO2 350 ± 50 µmol CO2mol-1 ทำ� ให้ตน้ กลา้ มอี ัตราการรอดชวี ิตสูงสดุ 90 % จากนน้ั นำ� ต้นกล้า ที่รอดตายปลกู ในถงุ ด�ำวางเล้ยี งในสภาพโรงเรือนจนต้นยางมกี ารปรบั ตวั ไดด้ ีจึงย้ายไปปลูกในแปลงทดสอบ นอกจากนี้ยังมีผลการด�ำเนนิ งานดา้ นการวจิ ัยที่เกีย่ วข้องกบั กองโลจิสตกิ ส์ การยางแห่งประเทศไทย ไดแ้ ก่ 1. แนวทางในการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไม้ยางพาราในเขตพื้นท่ีภาคใต้ หน้า 19 ตีพิมพ์วารสาร ยางพารา ฉบับท่ี 1 ฉบับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 32 มกราคม – มนี าคม 2561 ปีที่ 39 2. ความต้องการแรงงานของผปู้ ระกอบการในอตุ สาหกรรมแปรรูปไมย้ างพารา หน้า 22 ตีพมิ พว์ ารสารยางพารา ฉบับท่ี 3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 34 กรกฎาคม – กนั ยายน 2561 ปีท่ี 39 การวจิ ัยในเชิงพาณิชย์ : 1. ผลงานวิจัยและการต่อยอดงานวิจัยในเชิงพาณิชย์ปี 2561 ของฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง เพอื่ เพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั ผลผลติ ยางจำ� หนา่ ย เพอ่ื เปน็ รายไดใ้ หก้ บั การยางแหง่ ประเทศไทย และนำ� ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ สงั คมสว่ นรวม ไดแ้ ก่ • แบบจ�ำลองหุ่นฝึกตัดชิ้นเน้ืองอกมะเร็ง เพื่อใช้ฝึกตัดช้ินเน้ืองอกมะเร็งแก่นักศึกษาแพทย์ จ�ำนวน 10 หนว่ ยๆ ละ 9,000 บาท รวมเงิน 90,000 บาทให้กบั ราชวทิ ยาลยั แพทยอ์ อร์โธปิดกิ สแ์ ห่งประเทศไทย และไดร้ บั ความพึงพอใจ จากผ้ใู จเนอ่ื งจากมีลกั ษณะเหมือนจริงและราคาถูกเมือ่ เทยี บกับห่นุ จ�ำลองเดิมทต่ี ้องน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศและมรี าคาแพง • มดี ยาง ส�ำหรบั ฝกึ ยทุ ธวธิ ที างการทหาร จ�ำหน่ายใหก้ บั ให้แก่กองทพั เรือและทหารอากาศ จ�ำนวน 115 อนั รวมเปน็ เงนิ 28,000 บาท • ปืนยางส�ำหรับฝึกยุทธวิธีทางการทหาร ได้ผลิตและจ�ำหน่ายให้กับทหารอากาศ ทหารบก ต�ำรวจ และบคุ คลทว่ั ไป เพอื่ ใชใ้ นการฝึกต่อสู้ จ�ำนวน 100 กระบอก รวมเป็นเงนิ 35,000 บาท ใหแ้ กก่ องทัพเรอื • แผน่ ฝกึ เยบ็ เพอื่ ใชใ้ นการฝกึ ทำ� หตั ถการเยบ็ แผลของนสิ ติ แพทย์ มลี กั ษณะเปน็ แผน่ ใกลเ้ คยี งกบั ผวิ หนงั มนษุ ย์ โดยไดจ้ ำ� หนา่ ยใหก้ บั ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ จำ� นวน 200 แผน่ เปน็ เงนิ 40,000 บาท • น�้ำยางพาราชนิดน�้ำยางข้นผสมสารเคมีเพ่ือผลิตเป็นยางพาราชนิด Pre-blend เพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน ทัง้ ทเี่ ปน็ พ้นื ทาง และผวิ ทางแบบ Para Soil Cement โดยได้ประเมินว่าหากการก่อสร้างถนน โดยใชว้ ธิ กี าร Para Soil Cement มีการใชใ้ นประเทศเป็นจำ� นวนรอ้ ยละ 20 ของพ้นื ถนนท่มี กี ารลาดดว้ ยยางมะตอยแล้ว จะทำ� ใหม้ ีการใช้ยางธรรมชาติในถนนแบบ Para Soil Cement ประมาณ 30,000 ตนั ยางแห้ง หรือเท่ากบั Pre-blend 100,000 ตันตอ่ ปี 2. การถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละการบรกิ ารวชิ าการ นอกจากฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยางได้น�ำผลงานวิจัยมาใช้ในการต่อยอดแล้ว ยังน�ำ องคค์ วามรถู้ า่ ยทอดใหก้ บั เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร เพอ่ื สามารถนำ� ไปตอ่ ยอดและเพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั ผลผลติ ตอ่ ไปได้ หลกั สตู รตา่ งๆ รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ทไ่ี ดอ้ บรมใหก้ ับเกษตรในปี 2561 ไดแ้ ก่ • หลกั สูตรการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ยางเบอ้ื งต้น • หลกั สูตรการแปรรูปผลติ ภัณฑ์ยางจากยางแห้ง • หลกั สตู รการแปรรปู ผลติ ภณั ฑย์ างจากน้ำ� ยาง • หลักสูตรการแปรรปู น�ำ้ ยางขน้ ครีมและทำ� ผลติ ภณั ฑย์ าง • หลกั สตู รการผลิตหมอนยาง 3. ผลการด�ำเนินงานดา้ นตลาด โครงการพฒั นาตลาดยางพารา การยางแห่งประเทศไทย แผนงาน/กิจกรรม เป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน ร้อยละ 120.24 1. กจิ กรรมสนบั สนนุ การบรหิ ารงาน ปริมาณยางผ่านตลาด ปรมิ าณยางผ่านตลาด ตลาดกลางยางพารา กยท. 119,400 ตัน 143,570.15 ตนั 154.54 ท้ัง 6 แห่ง 11.52 100 2. กิจกรรม ขยายเครือข่าย มตี ลาดเครือข่าย มตี ลาดเครอื ข่าย ตลาดกลางยางพารา ตลาดกลางยางพารา ตลาดกลางยางพารา 100 109.44 จ�ำนวน 11 แหง่ จ�ำนวน 17 แห่ง 45.71 3. กิจกรรม เพิม่ ประสิทธภิ าพตลาด มผี ูใ้ ชบ้ รกิ าร มผี ู้ใช้บริการ กลางยางพารา ไมน่ ้อยกว่า 951 ราย จ�ำนวน 1,051 ราย 4. กิจกรรม การส�ำรวจความพึง ระดับความพงึ พอใจ คะแนนความพงึ พอใจ พอใจในการใช้บริการตลาดกลาง ไมน่ อ้ ยกวา่ 4.20 เทา่ กับ 4.36 ยางพารา 5 . กิ จ ก ร ร ม จั ด ท� ำ ร ะ บ บ ไดร้ บั การรบั รองระบบบริหารงาน ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 ของ สตก.จ.สงขลา คณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 ISO 9001 : 2015 จากบริษทั ผู้ตรวจรบั รองแลว้ 6. กิจกรรม การจัดต้ังตลาด ปรมิ าณการซื้อขายยางพารา ปรมิ าณการซอ้ื ขายยางพารา นำ้� ยางสดระดับทอ้ งถ่นิ ผ่านตลาด ไมน่ อ้ ยกว่า 40,000 ตนั ผ่านตลาด รวม 43,776.24 ตัน 7. กจิ กรรม การจดั ตงั้ ตลาดยาง กยท. สามารถจดั ต้ังตลาดยาง กยท. ได้ จัดตง้ั ตลาดยาง กยท. จำ� นวน 35 ตลาด ได้ จำ� นวน 16 ตลาด 4. ผลการดำ� เนินงานโครงการตามนโยบายของรฐั บาลและโครงการไทยนยิ มย่ังยนื ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. โครงการควบคุมปริมาณผลผลติ 1.1 กิจกรรม : การส่งเสริมและสนับสนนุ ให้มกี ารปลูกแทนและปลูกใหม่ วัตถุประสงค์ : เพ่ือลดพื้นที่ปลูกยางพาราและปริมาณผลผลิตและเพื่อส่งเสริมการปลูกแทน ด้วยพืชเศรษฐกจิ ชนิดอืน่ ๆ Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
เป้าหมาย : 1. เป้าหมายปลูกแทน 400,000 ไร่ โดยแบ่งเปน็ • โค่นยางเก่าปลกู แทนดว้ ยยางพนั ธดุ์ ี 200,000 ไร่ • ปรับเปล่ียนพื้นทีป่ ลกู ยางเป็นไมย้ นื ต้นชนดิ อ่ืน 200,000 ไร่ 2. เปา้ หมายดแู ลสวนทอี่ ย่รู ะหวา่ งการสง่ เสริมตอ่ เน่ือง 2.4625 ลา้ นไร่ ระยะเวลา : ตุลาคม 2560 – กันยายน 2561 งบประมาณ : กองทุนพฒั นายางมาตรา 49 (2) (งบประมาณ 6,342.75 ลา้ นบาท) ผลการด�ำเนินงาน : ผลการปลูกแทนเนื้อท่ีรวมท้ังหมด 406,378.95 ไร่คิดเป็นร้อยละ 101.95 ของเป้าหมาย 400,000 ไร่ โค่นยางเก่าปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี 263,872.20 ไร่ และปรับเปล่ียนพื้นท่ีปลูกยางเป็นไม้ยืนต้น ชนิดอนื่ 142,541.80 ไรส่ วนที่อยูร่ ะหวา่ งการส่งเสรมิ ตอ่ เน่อื ง จ�ำนวน 2.285 ลา้ นไร่ ปัญหาและข้อเสนอแนะการด�ำเนินโครงการ : กรอบวงเงินงบประมาณการจ่ายเงินส่งเสริม และสนบั สนุนให้มีการปลูกแทนปีงบประมาณ 2561 มีจำ� กัด คอื 6,342.75 ล้านบาท จงึ ไมส่ ามารถจ่ายเงินสง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้มีการปลูกแทนในเดือนกันยายน 2561 ได้ ดังน้ันการจ่ายเงินสวนปลูกแทนที่เหลือในเดือนกันยายน 2561 จึงเลื่อนไปจ่าย ในเดือนตุลาคม 2561 (ปงี บประมาณ 2562) 1.2 กจิ กรรม : กิจกรรม สนับสนนุ ปัจจยั การผลิตรายละ 4,000 บาท วัตถุประสงค์ : เพื่อลดปริมาณผลผลิตยางออกสู่ตลาด เพื่อเร่งรัดการลดพื้นที่ปลูกยางพาราแบบถาวร และสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้เกษตรกรชาวสวนยางทำ� การเกษตรแบบแนวคิดศาสตรพ์ ระราชา และเป็นส่วนหนง่ึ ในการสนับสนุน กิจกรรม : การส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้มีการปลูกแทน เปา้ หมาย : เกษตรกรชาวสวนยางท่ขี ึ้นทะเบยี นกบั กยท.จำ� นวน 20,000 ราย ระยะเวลา : มกราคม 2561 – 20 เม.ย. 61 (สนิ้ สุดโครงการแลว้ ) งบประมาณ : กองทุนพัฒนายางมาตรา 49 (2) (งบประมาณ 3,284.278ล้านบาท) ผลการด�ำเนนิ งาน : เกษตรกรสมคั รเขา้ ร่วมโครงการฯจ�ำนวน 4,352 ราย เน้อื ที่ 36,874 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.76 ของเป้าหมาย ซง่ึ ตำ�่ กว่าเป้าหมายท�ำใหม้ ีงบประมาณคงเหลือคืน กยท. จ�ำนวน 62.592 ลา้ นบาท โดยทำ� ใหป้ รมิ าณ ยางลดลงถาวรจ�ำนวน 8,481 ตนั /ปี ปัญหาและอุปสรรคการด�ำเนินโครงการ : เกษตรกรท�ำสัญญาซ้ือขายไม้ยางกับพ่อค้าไม้ไว้ดังน้ัน การโค่นยางจึงขึ้นกับพ่อค้าไม้ซ่ึงถ้าพ่อค้าไม้ยาง ไม่โค่นยางในช่วงระยะเวลาด�ำเนินโครงการฯเกษตรกรก็ไม่สามารถเข้าร่วม โครงการฯ ได้ 1.3 กิจกรรม : กิจกรรม ลดปริมาณผลผลติ ของหนว่ ยงานภาครัฐทีม่ สี วนยาง วัตถุประสงค์ : เพื่อลดปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดและก�ำกับติดตามพนักงานและลูกจ้างในสังกัดให้มี การหยุดกรดี ยาง เป้าหมาย : พนื้ ท่ีสวนยางของกยท. ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ จ�ำนวน 28,850.45 ไร่ ระยะเวลา : มกราคม 2561 – มีนาคม 2561 (สนิ้ สุดโครงการแล้ว) งบประมาณ : กองทนุ พฒั นายางมาตรา 49 (1) (งบประมาณ 30.966 ล้านบาท) ผลการดำ� เนนิ งาน : ดำ� เนนิ การหยดุ กรดี ยาง จำ� นวน 28,850.45 ไรค่ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 ของเปา้ หมาย โดยชดเชยรายได้ให้กับลูกจ้างกรีดยางและลูกจ้างส�ำรองกรีดยางของ กยท. จ�ำนวน 1,075 ราย เป็นเงิน 30.070 ล้านบาท ปริมาณยางทล่ี ดลงคิดเป็นเนือ้ ยางแห้ง 1,162 ตันปรมิ าณผลผลติ ยางเฉลย่ี 248 กก./ไร/่ ปี รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
2. โครงการพัฒนาอาชีพชาวสวนยางรายย่อยเพอื่ ความยัง่ ยืน วัตถุประสงค์ : เพื่อลดพื้นท่ีปลูกยางพาราและปริมาณผลผลิตที่จะเข้าสู่ระบบ ลดความเสยี่ งผลกระทบจากราคายางตกตำ่� และเปน็ การเพม่ิ รายไดใ้ หเ้ กษตรกรชาวสวนยาง และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมใหม่ทดแทนการทำ� อาชพี สวนยาง เป้าหมาย : เกษตรกรชาวสวนยาง จ�ำนวน 30,000 รายเนื้อที่ 150,000 ไร่ ให้เงินอุดหนุนเพื่อการ พัฒนาอาชีพการเกษตร ไร่ละ 10,000 โดยแบ่งจ่ายเป็น 2 งวด งวดท่ี 1 : จ่ายเงิน จ�ำนวน 4,000 บาท งวดที่ 2 : จ่ายเงิน จำ� นวน 6,000 บาท ระยะเวลา : มกราคม 2561 – กันยายน 61 งบประมาณ : วงเงิน : 1,500 ล้านบาท ค่าบรหิ ารโครงการ : 8.2864 ล้านบาท (งบประมาณแผน่ ดิน) ผลการด�ำเนนิ งาน : เกษตรกรทผี่ า่ นการอนมุ ตั ิเขา้ ร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 14,623 ราย เนื้อที่ 93,062.00 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.84 ของเปา้ หมาย เกษตรกรท่ีไดร้ ับเงนิ งวดที่ 1 จำ� นวน 12,995 ราย เนอ้ื ท่ี 68,962.55 ไร่ เป็นเงนิ 275.85 ลา้ นบาท เกษตรกรทีไ่ ดร้ ับเงิน งวดท่ี 2 จำ� นวน 11,335 ราย เน้ือที่ 60,665.55 ไร่ เปน็ เงิน 363.99 ล้านบาท ปญั หาและอปุ สรรคการด�ำเนนิ โครงการ : 1. เกษตรกรชาวสวนยางภาคใต้เข้ารว่ มโครงการฯ น้อย เน่อื งจากพื้นท่ีเหมาะสมตอ่ การปลกู ยาง 2. ได้รับอนุมัติงบประมาณเพ่ิมเติมในช่วงเดือนพฤษภาคม 2561 และก�ำหนดเสร็จสิ้นโครงการฯ เดือนกันยายน 2561 ส่งผลให้มีระยะเวลาในการรบั สมัครเกษตรกรเข้ารว่ มโครงการน้อย 3. โครงการการส่งเสรมิ การใชย้ างพาราในหนว่ ยงานภาครฐั มติคณะรัฐมนตรี/นโยบาย กษ. : จากการประชุม คณะรัฐมนตรีสัญจร ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้แทนเกษตรกรภาคใต้ ในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2560 รวมท้ัง นายกรฐั มนตรไี ดม้ ขี อ้ สง่ั การใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ใชย้ างพาราภายในประเทศเพม่ิ ขนึ้ ซง่ึ เปน็ มาตรการเพอื่ แกไ้ ขปญั หาราคายางพารา ให้มีเสถียรภาพ เป็นการดูดซับปริมาณยางออกจากตลาด และเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางให้มีคุณภาพชีวิตท่ี ม่ันคง และย่ังยืน จึงเห็นสมควรด�ำเนินการรวบรวมผลผลิตยางพารา เพ่ือใช้ในโครงการส่งเสริมการใช้ยางภาครัฐ ตามนโยบายของ นายกรัฐมนตรแี ละรฐั บาล ตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์ : เพือ่ เพม่ิ ปรมิ าณการใชย้ างพาราในประเทศ โดยส่งมอบให้หน่วยงานภาครัฐนำ� ไปใช้ประโยชน์ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรชาวสวนยาง และเพื่อลดผลกระทบท่ีส่งผลต่อราคายางพาราในประเทศ เป็นการรักษาเสถียรภาพ ราคายาง กลุ่มเป้าหมาย : หน่วยงานภาครฐั สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร ระยะเวลา : เดอื นมกราคม – ธันวาคม 2561 ผลการดำ� เนนิ งาน : หนว่ ยงานภาครฐั จำ� นวน 8 กระทรวง ทแ่ี จง้ ความประสงคก์ ารใชย้ าง (คมนาคม, เกษตรฯ กลาโหม, ทรัพยากรฯ, มหาดไทย, ท่องเที่ยวฯ, ศึกษาการ และ ยุติธรรม)ปริมาณยางท่ีด�ำเนินการไปแล้ว ปริมาณน�้ำยางข้น จ�ำนวน 12,455.39 ตัน ปริมาณยางแห้ง จ�ำนวน 785.85 ตัน คิดเป็นน�้ำยางสด จ�ำนวน 27,459.14 ตัน ร้อยละ 18.87 ของเปา้ หมาย ปัญหาและขอ้ เสนอแนะการด�ำเนนิ โครงการ : 1. หน่วยงานท่ีเข้าร่วมโครงการใช้ยางของหน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่ ไม่มีงบประมาณรองรับให้ด�ำเนินการ ตามโครงการฯ ได้ ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐจึงต้องของบประมาณจากส�ำนักงบประมาณเพ่ิมเติม และงบกลางรายการเงิน ส�ำรองจ่ายฯ ปี 2561 และได้รับอนุมัติงบประมาณเมื่อประมาณกลางและปลายปีงบประมาณ 2561 จึงท�ำให้การด�ำเนินการ ตามโครงการล่าช้า Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
2. การใช้ยางของหน่วยงานภาครัฐส่วนหน่ึงน�ำไปใช้ท�ำถนนยางพาราดินซีเมนท์ (Para Rubber Soil Cement) ซึ่งถนนยางพาราดินซีเมนท์ยังไม่มีราคากลาง จึงไม่สามารถ ประกาศจัดซ้อื จดั จ้างได้ส่งผลใหใ้ ชย้ างไม่ไดต้ ามเป้าหมาย 3. ในการด�ำเนินการเพื่อให้โครงการประสบความส�ำเร็จ ท้ังหน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วม โครงการฯ และ กยท. ยงั ขาดความเข้าใจในการด�ำเนินการ แนวทางแก้ไข : 1. หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการควรมีการวางแผนในการของบประมาณรองรับไว้ล่วงหน้า 1 ปงี บประมาณ 2. เนื่องจากถนนยางพาราดินซีเมนท์ยังไม่มีราคากลาง จึงต้องให้กรมบัญชีกลาง เร่งด�ำเนินการ ในการประกาศราคากลางของถนนพาราซอยดซ์ ีเมนท์ใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ 3. หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการฯ และ กยท. ควรท�ำความเข้าใจในการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมกัน ก่อนด�ำเนินโครงการ 4. โครงการสนับสนุนสนิ เชือ่ ผู้ประกอบการผลติ ผลติ ภณั ฑย์ าง มติคณะรัฐมนตรี/นโยบายกษ. : คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ และคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ เห็นชอบในหลักการโครงการสนับสนุนสินเช่ือผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยางเพ่ือขยายก�ำลังการผลิต/ปรับเปลี่ยน เครอื่ งจกั รการผลติ ใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยการยางแหง่ ประเทศไทย ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องผลติ ภณั ฑ์ และใหธ้ นาคาร พานิชย์ จัดท�ำบญั ชีแยกประเภทธุรกรรมทีข่ อกู้จากโครงการ และใหส้ ำ� นักงบประมาณชดเชยดิกเบ้ยี ของกิจการทไี่ ดร้ บั อนุมตั ิ วัตถุประสงค์ : เพ่ือสนับสนุนสินเชื่อให้กับผู้ประกอบการเพ่ือใช้ในการขยายก�ำลัง การผลิต/ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรการผลิตณ ที่ตั้งเดิมหรือที่ต้ังใหม่ให้แก่ผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางข้ันปลายน�้ำ วงเงนิ 15,000 ล้านบาท โดยรฐั บาลชดเชยดอกเบ้ียใหแ้ กผ่ ูป้ ระกอบการร้อยละ 3 ตลอดอายุโครงการ เป้าหมาย : ผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางขั้นปลายน�้ำ ทั้งผลิตภัณฑ์ยางจากน้�ำยางข้น และผลิตภัณฑย์ างจากยางแห้ง ทใ่ี ชย้ างพาราในประเทศ โดยเน้นการแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์ทม่ี มี ลู คา่ สงู ระยะเวลา : นับจากวันท่ีคณะรัฐมนตรี/คสช. มีมติอนุมัติ หรือภายในกรอบวงเงินตามท่ีก�ำหนด 15,000 ลา้ นบาท งบประมาณ : วงเงนิ 15,000 ลา้ นบาท ผลการด�ำเนินงาน : ผู้ประกอบการที่ผ่านการอนุมัติเข้าร่วมโครงการในปี 2559 และ ปี 2561 จ�ำนวน 16 รายเปน็ จ�ำนวนเงนิ 13,759.20 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.72 ของเปา้ หมาย ปัญหาและข้อเสนอแนะการดาเนินโครงการ : ข้อมูลเอกสารประกอบการชดเชยดอกเบี้ยของ ผู้เขา้ ร่วมโครงการยังไมค่ รบถ้วน แนวทางแก้ไข : ประสานและช้ีแจงท�ำความเข้าใจแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ที่ยื่นขอรับชดเชยดอกเบี้ย ตามโครงการ จัดทำ� ข้อมลู เอกสารเพมิ่ เติม และลงพ้ืนท่ตี รวจสอบสถานประกอบการท่ยี ื่นค�ำขอชดเชยดอกเบ้ยี 5. โครงการสนบั สนุนสินเชอื่ เพ่ือเป็นเงินทุนหมุนเวยี นแก่สถาบันเกษตรกรเพ่ือรวบรวม มติคณะรัฐมนตรี/นโยบายกษ. : ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 13 มิถุนายน 2560 เร่ืองโครงการ สนบั สนนุ สนิ เชอ่ื เปน็ เงินทนุ หมนุ เวียนแกส่ ถาบนั เกษตรกรเพ่อื ใชร้ วบรวมยาง วัตถุประสงค์ : เพ่ือสนับสนุนสินเช่ือให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนาไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ในการรวบรวมหรือรบั ซอ้ื ยางพาราหรือรับซ้ือยางพาราจากเกษตรกรชาวสวนยาง เปา้ หมาย : สนบั สนนุ สนิ เช่อื ให้กบั สหกรณท์ กุ ประเภทกล่มุ เกษตรกรและวิสาหกจิ ชุมชนท่มี กี ารประกอบการธุรกจิ เกย่ี วกบั ยางพารา* เพือ่ กูเ้ งนิ จากธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตรไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการรวบรวมหรือรับซื้อยางพารา จากเกษตรกรชาวสวนยางในวงเงนิ 10,000 ลา้ นบาท (หน่งึ หมน่ื ลา้ นบาท) ระยะเวลา : 1 เมษายน 2560 - 31 มนี าคม 2563 งบประมาณ : รัฐบาลสนับสนุนชดเชยดอกเบ้ียในอัตราตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี และค่าประกันภัยดอกเบย้ี รอ้ ยละ 0.36 ในวงเงินสนิ เช่อื เดิม 10,000 ลา้ นบาท ผลการด�ำเนินงาน : สหกรณ์ทุกประเภทกลุ่มเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนที่เบิกเงินกู้จริง 372 แห่ง จำ� นวนเงิน 9,200.967 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 92.00 ของเป้าหมาย สง่ ช�ำระคนื เงนิ กู้ 168 แห่งจ�ำนวนเงนิ 7,798.191 ล้านบาท ทยี่ งั ไมช่ ำ� ระคนื เงินกู้ 204 แห่ง จำ� นวนเงนิ 1,402.776 ลา้ นบาท วงเงนิ กคู้ งเหลือจ�ำนวนเงนิ 8,597.224 ลา้ นบาท ปญั หาและขอ้ เสนอแนะการด�ำเนนิ โครงการ : 1. การสมคั รเขา้ ร่วมโครงการฯ ขนึ้ อยูก่ ับความสมัครใจของสหกรณ์/สถาบันเกษตรกร/วสิ าหกิจชมุ ชน 2. หน่วยงานภาครัฐมีโครงการเกี่ยวกับการสนับสนุนสินเชื่อหลายโครงการ ซ่ึงบางโครงการมีหลักเกณฑ์ หรือเงือ่ นไขของโครงการท่ปี ฏบิ ัติตามไดง้ ่ายกว่า 3. ราคายางพาราปจั จบุ นั ตกตำ�่ สหกรณ/์ สถาบนั เกษตรกร/วิสาหกิจชมุ ชนจงึ ไม่สนใจท่จี ะขอสนับสนนุ สนิ เชือ่ แนวทางแก้ไข : ทกุ กยท.จ. ต้องประชาสมั พนั ธ์โครงการอยา่ งสมำ่� เสมอเพอื่ ใหส้ หกรณ์/สถาบนั เกษตรกร/ วสิ าหกจิ ชุมชนรบั ทราบ 6. โครงการสนับสนุนสนิ เชอ่ื เป็นเงินทุนหมุนเวยี นแกผ่ ู้ประกอบกิจการยาง (น�้ำยางข้น) มตคิ ณะรัฐมนตร/ี นโยบายกษ. : ตามมตคิ ณะรฐั มนตรีวันท่ี 13 มิถุนายน 2559 เรอ่ื งโครงการสนบั สนนุ สนิ เชอื่ เปน็ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นแก่ผปู้ ระกอบกจิ การยาง วัตถุประสงค์ : เพื่อผลักดันราคายางให้สูงข้ึนโดยใกล้เคียงหรือสูงกว่าต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ชาวสวนยางรักษาเสถียรภาพราคายางไม่ไห้เกิดความผันผวนมากเกินจุดวิกฤตและให้เกิดความร่วมมือระหว่างเกษตรกร สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยางผปู้ ระกอบกิจการยางและรฐั บาลในการรว่ มกนั แกไ้ ขปัญหาราคายาง เปา้ หมาย : ดูดซับยางพาราออกจากระบบประมาณร้อยละ 20ของผลผลิตนำ้� ยางขน้ ระยะเวลา : พฤษภาคม 2560 – เมษายน 2562 โดยระยะเวลาในการลงทะเบยี นเขา้ รว่ มโครงการฯ 2 ปี งบประมาณ : รัฐบาลสนับสนุนสินเชื่อ วงเงิน 10,000 ล้านบาท รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยตามท่ีจ่ายจริง แตไ่ ม่เกนิ ร้อยละ 3 ต่อปี ผลการดำ� เนนิ งาน : มผี ูป้ ระกอบการสมคั รเขา้ รว่ มโครงการ 33 บรษิ ัท 53 โรงงาน ครบกรอบวงเงิน 10,000 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 100 ของเป้าหมาย และอยู่ระหว่างตรวจสอบเอกสารของผู้ประกอบกิจการในแต่ละเดือนต้ังแต่ ส.ค. 60 - ก.ค. 61 เพื่อส่งกรอบวงเงินชดเชยดอกเบ้ียในเดือน ก.ย. 61 ประสานและติดตามกับธนาคารออมสินให้ก�ำหนดวันท่ี จะส่งกรอบวงเงินการชดเชยดอกเบ้ีย เพ่ือให้ธนาคารออมสินด�ำเนินการขออนุมัติงบประมาณเพื่อชดเชยดอกเบ้ียให้กับ ผปู้ ระกอบการ ปัญหาและขอ้ เสนอแนะการด�ำเนินโครงการ : วธิ กี ารคำ� นวณพจิ ารณาชดเชยดอกเบยี้ ยงั ไมช่ ัดเจน จึงยังไม่ สามารถค�ำนวณดอกเบ้ยี ให้ผูป้ ระกอบการแตล่ ะรายได้ แนวทางแก้ไข : นำ� เสนอทปี่ ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารโครงการฯ (ในวนั ที่ 31 ตลุ าคม 2561) เพื่อพจิ ารณา วธิ กี ารคำ� นวณชดเชยดอกเบ้ียอีกครั้ง Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแห่งประเทศไทย
7. โครงการสนับสนุนสนิ เช่อื เปน็ เงินทุนหมุนเวียนแกผ่ ู้ประกอบกจิ การยาง (ยางแหง้ ) มติคณะรัฐมนตรี/นโยบายกษ. : ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 13 มิถุนายน 2559 เร่อื งโครงการสนับสนนุ สนิ เชอ่ื เปน็ เงินทุนหมนุ เวียนแกผ่ ูป้ ระกอบกจิ การยาง วัตถุประสงค์ : เพ่ือผลักดันราคายางให้สูงข้ึนโดยใกล้เคียงหรือสูงกว่าต้นทุนการผลิตของ เกษตรกรชาวสวนยางรักษาเสถียรภาพราคายางไม่ไห้เกิดความผันผวนมากเกินจุดวิกฤตและให้เกิดความร่วมมือระหว่างเกษตรกร สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางผู้ประกอบกจิ การยางและรัฐบาลในการรว่ มกันแก้ไขปัญหาราคายาง เปา้ หมาย : ดดู ซับยางพาราออกจากระบบประมาณรอ้ ยละ 11 ของผลผลิตยางแหง้ 350,000 ตัน ระยะเวลา : มกราคมคม 2561 – ธันวาคม 2562 โดยระยะเวลาในการลงทะเบยี นเขา้ รว่ มโครงการฯ 2 ปี งบประมาณ : รัฐบาลสนบั สนุนสนิ เชือ่ วงเงิน 20,000 ลา้ นบาท รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยตามทีจ่ า่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ ร้อยละ 3 ตอ่ ปี ผลการดำ� เนินงาน : 1. มีผู้ประกอบการสมัครเข้าร่วมโครงการ 10 บริษัท มีความประสงค์จะจัดเก็บยาง จ�ำนวน 127,879 ตัน คิดเป็นร้อยละ 36.53 ของเป้าหมาย อยู่ระหว่างตรวจสอบเอกสาร (ส่งเอกสารไม่ครบถ้วน) จ�ำนวน 3 ราย และอย่รู ะหว่างตรวจสอบความสามารถในการจัดเกบ็ จำ� นวน 7 ราย และเสนอคณะกรรมการบริหารโครงการฯ วงเงนิ รวมท้งั ส้นิ 6,261.17ลา้ นบาท 2. ผู้ประกอบการจ�ำนวน 3 ราย ได้รับอนุมัติกรอบวงเงินสินเชื่อจ�ำนวน 4,291 ล้านบาทแล้ว แต่เนื่องจากไมม่ ีผปู้ ระกอบการรายใดขอสนิ เชอ่ื จากธนาคารพาณิชย์ตามระยะเวลาท่โี ครงการกำ� หนดได้ ทำ� ใหต้ อ้ งถูกยกเลกิ ค�ำขอ เขา้ รว่ มโครงการ แตไ่ มต่ ดั สิทธ์ที่จะขอเข้ารว่ มโครงการใหม่ ซ่งึ จะต้องด�ำเนนิ การตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำหนด ตอ่ ไป ปญั หาและขอ้ เสนอแนะการด�ำเนินโครงการ : 1. ผู้ประกอบการย่นื คำ� ขอเขา้ ร่วมโครงการไมเ่ ปน็ ตามเป้าหมายทต่ี ั้งไว้ 2. ผูป้ ระกอบการไม่ผา่ นการพจิ ารณาขอรบั สินเชอ่ื จากธนาคารพาณชิ ย์ แนวทางแก้ไข : 1. ประชาสมั พันธ์ใหก้ บั ผู้ประกอบการ และกลมุ่ เปา้ หมายท่ีมคี วามสนใจมาเขา้ ร่วมโครงการ (เพม่ิ เติม) 2. ประสานความร่วมมือ และช้ีแจงกับธนาคารพาณิชย์ เพ่ือให้ทราบการให้สินเช่ือกับผู้ประกอบการ ท่ีเข้ารว่ มโครงการ 8. โครงการบรหิ ารจัดการสต๊อคยางภาครฐั มตคิ ณะรฐั มนตร/ี นโยบายกษ. : ตามมตคิ ณะรฐั มนตรวี นั ท่ี 13 มิถุนายน 2560 เหน็ ชอบให้ชะลอ การจ�ำหน่ายยางออกสู่ตลาดโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง และโครงการ สร้างมูลภณั ฑ์กันชนเพือ่ รกั ษาเสถียรภาพราคายาง วตั ถปุ ระสงค์ : เพือ่ รกั ษาเสถยี รภาพราคายางโดยชะลอการจำ� หน่ายยางออกสูต่ ลาดและเปน็ เงินทนุ ใหก้ บั สถาบนั เกษตรกรเพ่อื รวบรวมรบั ซอื้ และรอจ�ำหน่ายยางพาราเม่ือเหน็ ว่าราคายางเหมาะสม เป้าหมาย : ยางในสต๊อค โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง จำ� นวน 53,097.90 ตัน และโครงการสรา้ งมลู ภัณฑ์กันชนเพอ่ื รกั ษาเสถียรภาพราคายาง จ�ำนวน 51,452.50 ตัน ระยะเวลา : สามารถระบายยางได้หมดปิดบัญชีโครงการและช�ำระหนี้เงินธ.ก.ส. ภายใน เดือนพฤษภาคม 2563 รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
งบประมาณ : 1.โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพ่ือรักษาเสถียรภาพราคายางวงเงิน 22,000 ลา้ นบาท 2. โครงการสรา้ งมูลภณั ฑก์ นั ชนเพอ่ื รักษาเสถยี รภาพราคายางวงเงนิ 9,600 ลา้ นบาท ผลการดำ� เนินงาน : โครงการพฒั นาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพอ่ื รักษาเสถยี รภาพราคายาง ในปีงบประมาณ 2561 รอการระบายปริมาณยางพาราคงเหลือจ�ำนวน 53,097.90 ตัน (มติครม. วันท่ี 13 มิ.ย. 60 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาช�ำระคืนเงินกู้โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง เพื่อ กยท. สามารถระบายยางในสต็อคไดห้ มดและปิดบัญชีโครงการรวมทง้ั สามารถชำ� ระจ่ายเงินให้ ธ.ก.ส. ไดค้ รบตามจำ� นวน) โครงการสร้างมลู ภณั ฑก์ นั ชนเพ่อื รกั ษาเสถยี รภาพราคายาง ในปีงบประมาณ 2561 รอการระบายปริมาณยางพาราคงเหลือจ�ำนวน 51,352.48 ตัน (มติครม. วันที่ 13 มิ.ย. 60 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาช�ำระคืนเงินกู้โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง เพ่ือ กยท. สามารถระบายยางในสตอ็ กไดห้ มดและปิดบัญชีโครงการรวมทั้งสามารถช�ำระจา่ ยเงนิ ให้ ธ.ก.ส. ไดค้ รบตามจำ� นวน) ปัญหาและอุปสรรคของการด�ำเนินโครงการ : 1. ผู้ซื้อยางยังไม่รับมอบยางเนื่องจากปัจจุบันราคายางต่�ำกว่าราคาที่ซ้ือไว้ จึงขอขยายระยะเวลารับมอบยาง สง่ ผลให้ กยท. ไม่ไดร้ ับช�ำระค่ายางจ�ำนวนดงั กลา่ ว ซง่ึ เป็นเงินทตี่ อ้ งนำ� สง่ คืนรฐั บาล (ธ.ก.ส.) 2. สต็อคยางที่ไมม่ สี ัญญาซื้อขาย 104,550.40 ตัน มีภาระค่าโกดงั ปลี ะ 99 ลา้ นบาท ค่าประกนั ภัยประมาณ 42 ล้านบาท คา่ บริหารโครงการ (ค่าจ้างลูกจ้าง ค่า รปภ. ค่าพาหนะเบี้ยเล้ยี ง ท่ีพัก คา่ ใชจ้ า่ ย สนง.) ประมาณปลี ะ 15 ล้านบาท 9. โครงการพัฒนาศักยภาพสถาบนั เกษตรกร เพ่ือรกั ษาเสถียรภาพราคายาง (เริ่มดำ� เนินงาน พฤษภาคม 2555) วตั ถปุ ระสงค์ : เพอ่ื รกั ษาเสถียรภาพราคายาง โดยชะลอการจ�ำหน่ายยางออกสู่ตลาด ในช่วงทีร่ าคาผนั ผวน ผลการด�ำเนินงานปีงบประมาณ 2561 (1 ต.ค. 60 – 30 ก.ย. 61) • ส่งมอบยางที่ทำ� สญั ญา 9,832.34 ตนั • สต็อคยางที่ทำ� สัญญารอสง่ มอบคงเหลอื 20,882.31 ตัน • สต็อคยางยงั ไมท่ ำ� สัญญาคงเหลอื 53,190.14 ตนั • ชำ� ระหน้ี ธ.ก.ส. 2,868.248 ลา้ นบาท • คงเหลอื หนี้ 9,479.318 ล้านบาท 10. โครงการสร้างมูลภัณฑก์ นั ชนรักษาเสถยี รภาพราคายาง (เร่มิ ด�ำเนินงาน พฤศจิกายน 2557) วัตถุประสงค์ : เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยซ้ือและขายยางทั้งตลาด ซ้ือขายจริง และตลาดข้อตกลงส่งมอบจริงผ่านกลไกตลาดกลางยางพารา เม่ือราคาซ้ือขายยางในตลาดต่�ำกว่าราคาที่เกษตรกร มีรายได้ท่ีเหมาะสมต่อการยังชีพ และเพื่อรวบรวมยางสร้างมาตรการเสริมจัดการตลาดยางให้กับสถาบันเกษตรกร และเพ่ือ พัฒนากรรมวธิ กี ารซอ้ื ขายยางในตลาดยางพาราของไทย ผลการดำ� เนินงานปงี บประมาณ 2561 (1 ต.ค. 60 – 30 ก.ย. 61) • ส่งมอบยางทที่ �ำสัญญา 1,499.99 ตนั • สต็อคยางที่ท�ำสัญญารอสง่ มอบคงเหลอื 34,334.62 ตัน • สตอ็ คยางยังไมท่ ำ� สัญญาคงเหลือ 51,452.48 ตนั Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
• ช�ำระหน้ี ธ.ก.ส. 381.879 ลา้ นบาท • คงเหลือหน้ี 5,570.041 ล้านบาท 5. การดำ� เนนิ งานด้านการจดั เกบ็ คา่ ธรรมเนยี มการสง่ ออกยางพารานอกราชอาณาจกั ร การจัดเก็บค่าธรรมเนยี มการสง่ ยางพาราออกนอกราชอาณาจกั ร แยกตามอตั ราการจดั เก็บ ดงั นี้ 1. การจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมการสง่ ออกยาง ต้งั แต่ 1 ตลุ าคม 2560– 30 กนั ยายน 2561 ปรมิ าณยาง สทุ ธิ 4,570,678,646.54 กิโลกรัม จัดเก็บค่าธรรมเนียมได้เป็นเงนิ 9,157,053,379.65 บาท 2. แยกตามอตั ราการจัดเกบ็ ดงั นี้ อัตราการจัดเก็บ (บาท) ปริมาณยางสุทธิ (บาท) จ�ำนวนเงิน (บาท) 3.00 97,914.00 293,742.00 2.00 4,570,363,944.40 9,143,588,996.80 1.60 6,306.00 10,089.60 1.40 187,082.14 261,915.00 0.06 23,400.00 14,040.00 อืน่ ๆ - 12,884,596.25 รวม 4,570,678,646.54 9,157,053,379.65 หมายเหตุ : 1. ต้งั แต่ 1 สงิ หาคม 2560 จัดเก็บค่าธรรมเนียมกิโลกรมั ละ 2 บาทเพยี งอัตราเดยี ว 2. การจัดเก็บค่าธรรมเนียมนอกเหนือจากข้อ 1 เนื่องจากมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเพ่ิมกรณี น�ำ้ หนกั สง่ ยางออกเกินกว่าค่าธรรมเนียมท่ชี ำ� ระไว้ ระบบรับชำ� ระคา่ ธรรมเนยี มทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-CESS) 1. ในปี 2561 มบี ริษัทสง่ ออกยางช�ำระคา่ ธรรมเนียมทัง้ ส้ิน 233 บรษิ ทั เปน็ เงนิ ท้ังสนิ้ 9,157,083,379.65 บาท 2. ณ 30 กันยายน 2561 มีบริษัทลงทะเบียนใช้ระบบรับช�ำระค่าธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ National Single Window (NSW) รวมทัง้ สิ้น 412 บรษิ ทั สภาพทางธรุ กิจและแผนงานทางธุรกิจของการยางแห่งประเทศไทย ในการประชุมของคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย ในคราวประชมุ ที่ 13/2559 เมื่อวนั ที่ 20 กนั ยายน 2559 เห็นชอบการจดั ตงั้ หนว่ ยธุรกจิ (Business Unit) ของการยางแห่งประเทศไทย เพอ่ื ให้เป็นหน่วยงานทีด่ ำ� เนนิ งานดา้ นธุรกจิ เกี่ยวกับ ยางพาราท้ังระบบ โดยหน่วยธุรกิจ (Business Unit)ได้ด�ำเนินงานด้านธุรกิจการซื้อ - ขายยางพาราประเภทต่างๆ โดยมีการ เชื่อมโยงการผลิตกับกองจัดการโรงงาน 1- 6 ในการผลิตสินค้า เพ่ือขายกับภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนและเกิดความ ตอ่ เนอ่ื ง รวมท้งั ยังมกี ารดำ� เนินการวางแผนและศกึ ษาทรพั ยส์ ินที่มอี ยู่ เพ่ือใหเ้ กิดรายได้ในอนาคต ดา้ นภาคการผลติ ในปีงบประมาณ 2561 ในส่วนของภาคการผลิต การยางแห่งประเทศไทยมีส่วนของกองจัดการสวนท้ังหมด 3 ฝ่าย สวนมีพื้นที่สวนยางพารารวมทั้งหมด 41,800 ไร่ แยกเป็น 3 ส่วนงาน โดยมีสวนยางพาราที่สามารถเปิดกรีดได้ จำ� นวน 13,024ไร่ รวมปรมิ าณผลการผลิต 3,147.35ตัน รายงานประจำ� ปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand
ตารางท่ี 1 แสดงปริมาณผลผลติ ของกองจัดการสวน การยางแห่งประเทศไทย กองจดั การสวน พื้นที่สวนท้งั หมด (ไร่) สวนท่ีกรดี ได้ (ไร)่ ปรมิ าณผลผลติ (ตัน) 1,237.07 1 10,200 5,155 1,157.89 752.39 2 16,600 4,822 3,147.35 3 15,000 3,047 รวม 41,800 13,024 หมายเหตุ : สวนทก่ี รดี ได้ ขอ้ มลู ปรับตามหลกั วิชาการ 70 ต้น/ไร่ สภาพภาคการผลิตของการยางแหง่ ประเทศไทย ด้านคณุ ภาพของตน้ ยางพารา ในส่วนกองจดั การสวน และแปลงกรดี ยางนัน้ ต้นยางพาราสว่ นใหญ่มีอายมุ ากเกนิ อายุเกบ็ เกยี่ วส่งผลใหผ้ ลผลติ ท่ีได้รับต่อไร่น้อยกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตและแปรรูปของส่วนกองจัดการโรงงานท่ีเก่ียวข้อง ซงึ่ ใชว้ ตั ถดุ บิ ท่ไี ดจ้ ากกองจดั การสวนมาผลิตและแปรรปู เป็นวัตถุดิบยางพาราขนั้ ตน้ ด้านโรงงานแปรรูปการยางแห่งประเทศไทย มีโรงงานท้ังหมด 6 โรงงาน ได้แก่ โรงงาน 1-6 โดยมีการ แปรรูปผลผลิตตามก�ำลังการผลิต แต่ยังไม่สามารถผลิตได้เต็มก�ำลังการผลิต อันเน่ืองมาจากสถานการณ์ราคายางที่ยังตกต่�ำ ไม่เป็นท่จี งู ใจสำ� หรับเกษตรกรและผู้คา้ รายยอ่ ย โรงงานบางแห่งมกี ารใช้งานมานาน เครื่องจกั รทรุดโทรม ขาดงบประมาณในการ ดูแลรักษาและซ่อมแซม รวมทั้งขาดนวัตกรรมในการผลิต ส่งผลให้ต้นทุนผลิตต่อหน่วยสูงกว่าโรงงานภาคเอกชนซ่ึงผลการด�ำเนิน งานของกองจดั การโรงงานทั้ง 6 แห่ง มีดงั น้ี ตารางที่ 2 แสดงปรมิ าณผลผลติ ของกองจัดการโรงงาน 1 - 6 การยางแหง่ ประเทศไทย ลำ� ดบั ประเภท จ�ำนวนการผลิต (ตัน) 1 STR 5L 2 STR 20 3,867.34 3 RSS 3 9,405.64 4 Latex 5 Crepe 906.32 6 Skim block 10,683.46 รวมทง้ั ส้ิน 58.06 780.39 25,701.21 Annual Report 2018 • Rubber Authority of Thailand รายงานประจ�ำปี 2561 • การยางแหง่ ประเทศไทย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176