Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual_Report_2015

Annual_Report_2015

Published by gooooogels, 2019-06-06 07:56:14

Description: Annual_Report_2015

Search

Read the Text Version

คาใชจายทง้ั หมดทีร่ บั รใู นงบรายไดและคาใชจ าย แตล ะรายการมดี งั น้ี ตนทนุ บริการปจจบุ นั 1 ต.ค. 57 ถงึ หนว ย : ลานบาท ตน ทุนดอกเบี้ย 14 ก.ค. 58 2557 ตน ทนุ บรกิ ารในอดตี รวม 21.70 19.04 11.72 20.60 (16.34) 17.08 - 39.64 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท 14 ก.ค. 58 2557 ผลขาดทนุ จากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตรป ระกนั ภัย 18.42 - ท่รี บั รูในงบรายไดแ ละคา ใชจ ายเบ็ดเสร็จ หนว ย : ลานบาท 19.2 โครงการจา ยเงนิ คา ชดเชยตามกฎหมาย 30 ก.ย. 57 จาํ นวนท่ีรบั รใู นงบแสดงฐานะการเงนิ มีดงั น้ี 19.83 19.83 มลู คา ปจจบุ ันของภาระผกู พนั โครงการผลประโยชน 14 ก.ค. 58 หน้ีสนิ สุทธทิ ร่ี ับรใู นงบแสดงฐานะการเงนิ 22.39 22.39 รายการเคลื่อนไหวของภาระผกู พันผลประโยชนที่กําหนดไวระหวางงวด / ป มีดังน้ี 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท 2557 14 ก.ค. 58 17.87 ยอดยกมาตน งวด / ป 19.83 1.47 0.69 ตนทนุ บริการปจ จบุ ัน 3.17 - ตน ทุนดอกเบย้ี 0.48 (0.20) 19.83 ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตรป ระกนั ภัย 1.52 ผลประโยชนท ี่จาย (2.61) ยอดคงเหลือปลายงวด / ป 22.39 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 97 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คาใชจา ยทัง้ หมดท่รี บั รูใ นงบรายไดแ ละคาใชจาย แตละรายการมีดงั น้ี ตนทุนบริการปจจบุ ัน 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลานบาท ตนทุนดอกเบี้ย 14 ก.ค. 58 2557 รวม 3.17 1.47 0.48 0.69 3.65 2.16 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท 14 ก.ค. 58 2557 ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตรป ระกนั ภัย 1.52 - 19.3 ผลประโยชนเงินตอบแทนวันลาพักผอนหลงั เกษยี ณอายุ จํานวนที่รบั รใู นงบแสดงฐานะการเงนิ มีดังนี้ มูลคาปจจบุ นั ของภาระผูกพนั โครงการผลประโยชน 14 ก.ค. 58 หนวย : ลานบาท หนี้สินสุทธิที่รบั รใู นงบแสดงฐานะการเงิน 30 ก.ย. 57 54.36 62.06 54.36 62.06 รายการเคล่อื นไหวของภาระผกู พันผลประโยชนทก่ี าํ หนดไวร ะหวางงวด / ป มีดงั น้ี หนวย : ลานบาท 2557 ยอดยกมาตน งวด / ป 1 ต.ค. 57 ถงึ ตนทุนบรกิ ารปจ จุบัน 14 ก.ค. 58 63.93 ตน ทนุ ดอกเบี้ย 62.06 1.96 ตน ทนุ บริการในอดตี 2.84 2.24 ผลกําไรจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตรประกนั ภยั 1.20 ผลประโยชนทีจ่ า ย (1.63) - ยอดคงเหลอื ปลายงวด / ป (1.91) - (8.20) (6.07) 54.36 62.06 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 98 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คาใชจายทง้ั หมดท่รี บั รูในงบรายไดแ ละคาใชจา ย แตละรายการมดี งั น้ี ตนทนุ บรกิ ารปจ จุบนั 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท ตนทุนดอกเบ้ีย 14 ก.ค. 58 2557 ตนทุนบรกิ ารในอดตี รวม 2.84 1.96 1.20 2.24 (1.63) 2.41 - 4.20 ผลกําไรจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตรประกันภยั 1 ต.ค. 57 ถงึ 14 ก.ค. 58 หนวย : ลานบาท 2557 1.91 - 19.4 ผลประโยชนเ งินบําเหนจ็ จํานวนท่รี บั รใู นงบแสดงฐานะการเงนิ มดี ังนี้ หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 มูลคาปจจบุ ันของภาระผูกพนั โครงการผลประโยชน 14 ก.ค. 58 110.82 หน้สี นิ สทุ ธทิ ่รี บั รใู นงบแสดงฐานะการเงนิ 110.82 98.80 98.80 หนว ย : ลานบาท 2557 รายการเคลอ่ื นไหวของภาระผกู พนั ผลประโยชนทีก่ ําหนดไวร ะหวางงวด /ป มดี งั น้ี 114.92 ยอดยกมาตน งวด / ป 1 ต.ค. 57 ถงึ - รับเงินสมทบเพ่มิ 14 ก.ค. 58 - ตน ทนุ บริการปจจุบนั 110.82 ตน ทุนดอกเบี้ย 15.09 2.69 ตน ทนุ บริการในอดตี 2.08 - ผลกาํ ไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกนั ภัย 2.20 - ผลประโยชนท จี่ า ย (2.75) ยอดคงเหลอื ปลายงวด / ป (13.45) (6.79) (15.19) 110.82 98.80 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 99 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คา ใชจ า ยทั้งหมดที่รบั รูในงบรายไดและคาใชจ าย แตละรายการมดี งั นี้ ตนทุนบรกิ ารปจ จบุ ัน 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลานบาท ตน ทุนดอกเบยี้ 14 ก.ค. 58 2557 ตน ทนุ บริการในอดตี รวม 2.08 - 2.20 2.69 (2.75) 1.53 - 2.69 ผลกําไรจากการประมาณการตามหลักคณติ ศาสตรป ระกันภยั 1 ต.ค. 57 ถงึ 14 ก.ค. 58 หนวย : ลานบาท 2557 13.45 - ขอ สมมตุ ฐิ านหลักในการประมาณการตามหลักคณติ ศาสตรประกันภัย มีดงั นี้ อัตราคิดลด รอ ยละ 3.9 อตั ราการขนึ้ เงินเดือน รอยละ 6.5 20. หนี้สนิ ไมห‹ มนุ เวยี นอื่น ประกอบดวย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลานบาท 30 ก.ย. 57 รายไดจ ากการรับบรจิ าครอการรบั รู 0.04 รวม 0.04 0.07 0.07 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 100 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

21. เงนิ กองทนุ สะสม ประกอบดวย หนวย : ลา นบาท ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2556 เงนิ ทนุ สงเคราะห เงนิ ทนุ เงนิ ทนุ รวม รายไดส งู (ตํ่า) กวา คาใชจ า ยเบด็ เสร็จรวมสาํ หรบั ป เจา ของสวนยาง บรหิ าร หมนุ เวยี น ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2557 30,679.91 1,762.14 58.11 32,500.16 รายไดส งู (ต่ํา) กวาคา ใชจา ยเบ็ดเสรจ็ รวมสาํ หรบั งวด (1,277.06) 616.46 5.47 (655.13) 29,402.85 63.58 31,845.03 ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 2,378.60 6.07 146.56 110.35 30.14 69.65 31,991.59 29,513.20 2,408.74 เงินทุนสงเคราะหเจาของสวนยาง เปนเงินที่จะตอง 3. ราคายางเกินกิโลกรัมละ 60 บาท แตไมเกิน จายใหกับเกษตรกรชาวสวนยางท่ีไดรับการสงเคราะหตาม กโิ ลกรมั ละ 80 บาท ชาํ ระเงนิ สงเคราะหใ นอตั รา พระราชบัญญตั ิกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง กโิ ลกรมั ละ 2.00 บาท เงินทุนบริหาร มีไวเพ่ือจายคาใชจายในการบริหาร 4. ราคายางเกินกิโลกรัมละ 80 บาท แตไมเกิน งานของสํานักงาน กโิ ลกรมั ละ 100 บาท ชาํ ระเงนิ สงเคราะหใ นอตั รา กโิ ลกรัมละ 3.00 บาท เงินหมุนเวียนประกอบดวยเงินทุนท่ีใชในการ บํารุงรักษาแปลงฝกกรีด สรางแปลงฝกกรีด บํารุงรักษา 5. ราคายางเกินกิโลกรัมละ 100 บาท ชําระเงิน แปลงเก็บเมล็ดและสรางแปลงเก็บเมล็ดตามขอบังคับ สงเคราะหใ นอัตรากิโลกรัมละ 5.00 บาท เงินหมุนเวียนป 2531 เงินหมุนเวียนคาโทรศัพทสาธารณะ และเงินหมุนเวยี นหนังสือขา วกองทนุ ฯ ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ประกาศ ณ วนั ที่ 2 กนั ยายน 2556 ใหงดการเรียกเกบ็ เงินสงเคราะห 22. เงินสงเคราะหร ับจากผŒสู ง‹ ยางออกนอกราชอาณาจักร จากผสู ง ยางออกนอกราชอาณาจกั ร ซงึ่ ตอ งเสยี เงนิ สงเคราะห เงนิ สงเคราะหร บั จากผสู ง ยางออกนอกราชอาณาจกั ร เพ่ือสมทบกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ตามมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เปนเงินท่ีเรียกเก็บตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห พ.ศ. 2503 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม สําหรับยางทุกชนิดที่ผูสง การทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2505 , ยางออกไดซื้อจากเกษตรกร ต้ังแตวันที่ 2 กันยายน 2556 พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2530 ซง่ึ สกย. ไดร บั เงนิ สงเคราะห ถงึ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2556 จากผสู ง ยางออกนอกราชอาณาจักร ตามอัตราการเรียกเกบ็ ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศ เรียกเก็บ ดงั น้ี เงินสงเคราะหที่ไดรับท้ังส้ินสําหรับงวดตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 และสาํ หรับ 1. ราคายางไมเกินกิโลกรัมละ 40 บาท ชําระเงิน ปส น้ิ สดุ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557 จาํ นวน 4,265.04 ลา นบาท สงเคราะหใ นอัตรากิโลกรมั ละ 90 สตางค และ 3,642.93 ลานบาท ตามลําดับ และไดจัดสรรให กรมวิชาการเกษตรเพื่อใชในการคนควาทดลองสําหรับงวด 2. ราคายางเกินกิโลกรัมละ 40 บาท แตไมเกิน ตงั้ แตว ันท่ี 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 กโิ ลกรมั ละ 60 บาท ชาํ ระเงนิ สงเคราะหใ นอตั รา และสาํ หรบั ปส น้ิ สดุ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 จาํ นวน 213.25 กิโลกรมั ละ 1.40 บาท ลานบาท และ 182.15 ลานบาท ตามลําดับ ดังนั้น สกย. รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 101 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

จึงไดรบั เงนิ สงเคราะหสทุ ธสิ ําหรบั งวดตงั้ แตว ันที่ 1 ตุลาคม ไวเพ่ือใชจายในการบริหารและไวเพื่อสงเคราะหเจาของ 2557 ถึงวันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และสําหรับปส้ินสุด สวนยาง การจัดสรรเงินสงเคราะหรับจากผูสงยางออกนอก วันที่ 30 กันยายน 2557 เปน จาํ นวน 4,051.79 ลานบาท ราชอาณาจักร (ตามมาตรา 18) สําหรับงวดตั้งแตวันท่ี และ 3,460.78 ลานบาท ตามลําดับ และรบั รูเ งนิ สงเคราะห 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และสําหรับ รบั สทุ ธเิ ปน รายไดใ นแตล ะป โดย สกย. จะปน สว นรายไดด งั กลา ว ปส้ินสดุ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 มรี ายละเอียดดงั นี้ อตั ราทจี่ ดั สรร จาํ นวนเงนิ ทจ่ี ดั สรร (รอ ยละ) (ลา นบาท) 1 ต.ค. 57 ถงึ 2557 1 ต.ค. 57 ถงึ 14 ก.ค. 58 14 ก.ค. 58 2557 (1) เพ่อื ใชจา ยในการคน ควา ทดลอง (ใหก รมวิชาการเกษตร) 5.00 5.00 213.25 182.15 ไมเ กินรอ ยละ 5 10.00 10.00 426.50 364.29 (2) เพอื่ ใชจา ยในการบรหิ าร (งบเงินทุนบรหิ าร) ไมเกินรอ ยละ 10 85.00 85.00 3,625.29 3,096.49 100.00 100.00 4,265.04 3,642.93 (3) เพอื่ สงเคราะหเ จาของสวนยาง (งบเงินทนุ สงเคราะหเจา ของ สวนยาง) สว นทเี่ หลือจาก (1) และ (2) ไมตํ่ากวา รอ ยละ 85 รวม 23. รายไดอŒ ่ืน ประกอบดวย 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท 14 ก.ค. 58 2557 ดอกเบีย้ เงนิ ฝากธนาคาร กําไรจากการจําหนายสินทรัพย 688.16 915.38 รายไดอ่นื ๆ 0.91 1.53 รวม 34.71 150.40 723.78 1,067.31 ดอกเบ้ยี เงนิ ฝากธนาคาร จาํ นวน 688.16 ลานบาท การรับบริจาค จํานวน 0.64 ลานบาท ดอกเบ้ียเงิน สกย.ไดจ ัดสรรไปใหเงินทนุ บรหิ ารท้งั จํานวน ทนุ หมนุ เวยี นเพอ่ื ชว ยเหลอื เกษตรกร จาํ นวน 0.29 ลา นบาท และอนื่ ๆ จาํ นวน 12.96 ลานบาท รายไดอ่ืน ๆ จาํ นวน 34.71 ลา นบาท เปน รายได จากเงินทนุ หมนุ เวยี นฯ จาํ นวน 20.82 ลา นบาท รายไดจ าก รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 102 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

24. ค‹าใชจŒ ‹ายสงเคราะหเจาŒ ของสวน ประกอบดวย 1 ต.ค. 57 ถงึ หนว ย : ลานบาท 14 ก.ค. 58 2557 จายเงินสงเคราะหเ จา ของสวน จายวสั ดสุ งเคราะหเจา ของสวน 3,341.35 3,772.95 รวม 12.53 460.55 25. คา‹ ใชŒจา‹ ยในการบรหิ าร ประกอบดวย 3,353.88 4,233.50 คา ใชจ า ยสว นบุคคล 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลานบาท ผลประโยชนพนกั งาน 14 ก.ค. 58 2557 คาตอบแทนพิเศษพนื้ ทเี่ สยี่ งภัย เงนิ สวัสดกิ ารพนักงาน 653.35 905.83 คาใชจา ยอน่ื ๆ 12.48 16.15 คาใชจ ายสมทบกองทนุ สํารองเลีย้ งชีพ 276.61 396.18 147.22 186.38 รวมคาใชจา ยสวนบุคคล 75.01 86.97 คา ใชจ ายสํานกั งาน 1,164.67 1,591.51 คา ซอ มแซมบาํ รงุ รักษา คาเชา 5.22 8.35 คา จางเหมาบริการ 8.52 15.10 วสั ดใุ ชไปและคาใชส อยอ่นื ๆ 56.77 68.54 คา สาธารณูปโภค 43.77 65.30 หน้สี งสยั จะสูญ 20.86 39.27 คาเสือ่ มราคา 0.62 0.38 คา ตัดจําหนาย 142.41 192.56 ครภุ ณั ฑต ัดจา ย 8.67 9.84 ครุภัณฑตดั จําหนายบญั ชี 28.34 28.22 วสั ดุสงเคราะหแ ละวสั ดุปลูกเสียหาย 0.02 คาใชจ ายอนื่ ๆ - 0.59 0.53 41.08 รวมคาใชจ า ยสาํ นกั งาน 38.43 469.25 รวม 354.14 2,060.76 1,518.81 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 103 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

26. คา‹ ใชŒจา‹ ยอ่ืน ประกอบดว ย 1 ต.ค. 57 ถงึ หนว ย : ลา นบาท 14 ก.ค. 58 2557 คา ใชจ า ยอนื่ - จา ยคนื เงนิ สงเคราะหรับรบั เกิน รวม 2.86 55.24 2.86 55.24 คา ใชจ า ยอน่ื -จา ยคนื เงนิ สงเคราะหร บั รบั เกนิ เปน เงนิ ของความสมั พนั ธม ากกวา รปู แบบความสมั พนั ธต ามกฎหมาย สงเคราะหร บั รบั เกนิ ทตี่ อ งคนื เงนิ ใหก บั ผสู ง ยางออกนอกราช สกย. ถูกควบคุมโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณภายใต อาณาจักร เนื่องจากมติท่ีประชุม ก.ส.ย. คร้ังท่ี 13/2556 การกํากับดูแลของรฐั บาลไทย ลงวนั ที่ 30 สิงหาคม 2556 ใหงดเกบ็ เงินสงเคราะหร บั เปน เวลา 4 เดือน ต้ังแตวันที่ 2 กันยายน 2556 ถึงวันท่ี ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 16/2554 31 ธันวาคม 2556 เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั กิ ารเปด เผยขอ มลู สาํ หรบั กจิ การทเ่ี กยี่ วขอ ง กับรัฐบาล ซึง่ มีผลบงั คบั ใชสําหรบั รอบระยะเวลาบญั ชที เ่ี ร่มิ 27. รายการกับบุคคลหรือกิจการทเ่ี กย่ี วขอŒ งกัน ตง้ั แตว ันที่ 1 มกราคม 2554 ซึง่ ระบวุ าหนวยงานท่เี กีย่ วของ กิจการและบุคคลท่ีมีความสัมพันธกับ สกย. ไมวา กับรัฐบาลไดรับยกเวนการเปดเผยขอมูลตามมาตรฐานการ บญั ชี ฉบับท่ี 24 (ปรับปรงุ 2552) เรือ่ ง การเปดเผยขอ มลู ทางตรงหรือทางออม โดยผานกิจการอื่นแหงหนึ่งหรือ ของบุคคลหรอื กจิ การท่เี กี่ยวของกนั ยอ หนา ท่ี 17 เก่ยี วกบั มากกวา หนง่ึ แหง โดยทบ่ี คุ คลหรอื กจิ การนน้ั มอี าํ นาจควบคมุ การเปดเผยรายการระหวางกันและยอดคงคางรวมถึงภาระ สกย. หรือถูกควบคุมโดย สกย. หรืออยูภายใตการควบคุม ผูกพันกับรัฐบาลซึ่งมีอํานาจควบคุม ควบคุมรวมกัน หรือมี เดียวกันกับ สกย. รวมถึงบริษัทท่ีดําเนินธุรกิจการลงทุน อิทธิพลอยางมีนัยสําคัญตอหนวยงานที่เสนอรายงาน และ บริษัทยอย และบริษัทยอยในเครือเดียวกันถือเปนกิจการ กิจการอ่ืนซ่ึงเปนกิจการที่เกี่ยวของกัน เน่ืองจากกิจการ ที่เกี่ยวของกับ สกย. บริษัทรวมและบุคคลที่เปนเจาของ ดังกลาวถูกควบคุม ควบคุมรวมกัน หรือมีอิทธิพลอยางมี สวนไดเ สียในสิทธอิ อกเสยี งของ สกย. ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลอยา งเปน นัยสําคัญโดยรัฐบาลเดียวกันท้ังกิจการท่ีเสนอรายงานและ สาระสําคัญเหนือกิจการของสกย. ผูบริหารสําคัญรวมทั้ง กิจการอ่ืน สกย. จึงไดรับการยกเวนในการเปดเผยขอมูล กรรมการและพนักงานของ สกย. ตลอดจนสมาชิกใน ดงั กลา วขา งตน ครอบครัวที่ใกลชิดกับบุคคลเหลานั้น กิจการและบุคคล ทัง้ หมดถือเปน บุคคลหรอื กิจการทเ่ี กี่ยวขอ งกบั สกย. รายการตอไปน้ีเปนรายการกับบุคคลหรือกิจการท่ี เกย่ี วของกันทต่ี องมกี ารเปดเผยขอมลู ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือ กจิ การทเี่ กยี่ วขอ งกนั ซงึ่ อาจมขี น้ึ ไดต อ งคาํ นงึ ถงึ รายละเอยี ด คาตอบแทนผบู รหิ ารสาํ คัญมรี ายละเอียดดงั นี้ ผลประโยชนร ะยะสั้น 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลา นบาท ผลประโยชนห ลังออกจากงาน 14 ก.ค. 58 2557 รวม 5.82 8.35 0.12 0.24 5.94 8.59 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 104 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

28. หน้ีสินทีอ่ าจเกิดขึน้ 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลานบาท สกย. ไดป ระมาณการหนี้สนิ ทอี่ าจเกดิ ขึน้ ไวดงั นี้ 30 ก.ย. 57 23,000.47 เงนิ ผูกพันการสงเคราะหเ จา ของสวนยาง 23,000.47 18,389.63 รวม 18,389.63 ตามมตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวน เงนิ ผกู พนั การสงเคราะหเ จา ของสวนยาง เปน รายการ ยาง (ก.ส.ย.) คร้งั ท่ี 9/2554 เม่ือวนั ที่ 4 ตลุ าคม 2554 ให ทเ่ี กดิ จาก สกย.ไดท าํ สญั ญาผกู พนั กบั เกษตรกรในการใหก าร ปรับเพ่ิมอัตราการจายสงเคราะหปลูกแทนดวยยางพันธุดี สงเคราะหแกเจาของสวนยาง สกย. จะประมาณการเงิน และไมย นื ตน ชนดิ อนื่ จากอตั ราไรล ะ 11,000 บาท เปน อตั รา สงเคราะหเจาของสวนยางที่จะไดรับจากเงินงบประมาณ ไรละ 16,000 บาท ต้ังแตสวนสงเคราะหร นุ ป 2555 ขึ้นไป และเงนิ จากผสู ง ยางออกนอกราชอาณาจกั รเทา กบั เงนิ ผกู พนั สว นสวนรนุ ป 2554 ลงไปปรับอัตราการจายเงนิ สงเคราะห การสงเคราะหที่จะตองจายใหเกษตรกรเจาของสวนยาง สําหรับงวดที่สวนยืนอยู ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2554 และ (ซ่งึ เปน จาํ นวนตามที่ สกย. ไดทําสัญญาผูกพันกับเกษตรกร ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง ในการใหการสงเคราะหแกเจาของสวนยาง) ขอมูลดังกลาว (ก.ส.ย.) คร้ังท่ี 3/2555 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555 จะมีความแนนอนก็ตอเมื่อเกษตรกรไดปฏิบัติตามขอบังคับ เหน็ ชอบใหป รบั ปรงุ เงนิ สงเคราะหใ หก บั สวนยางทป่ี ลกู แทน และเง่ือนไขท่ี สกย. กําหนด และเมอื่ สกย. ไดรับเงนิ จาก ดวยปาลมนํ้ามัน (แบบที่ 4) โดยปรับเพ่ิมอัตราการจาย ผูสงยางออกนอกราชอาณาจักรตามอัตราเรียกเก็บท่ี สงเคราะหป ลูกแทนดว ยปาลม นา้ํ มนั เปนไรล ะ 26,000 บาท กระทรวงเกษตรและสหกรณไ ดป ระกาศไวแ ตล ะปร วมกบั เงนิ ตัง้ แตง วดทีส่ วนยนื อยู ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2554 งบประมาณท่ีจะไดรับจัดสรรจากรัฐบาลเพ่ือจายสงเคราะห ใหก ับเกษตรกร รายละเอยี ดดงั นี้ กรณี กรณี เงนิ สงเคราะห กรณสี วน ปลกู แทนสวนยางเกา ปลกู ยางพาราในที่ เจา ของสวนยาง ประสบ ดว ยยางพนั ธดุ ี แหง ใหม อทุ กภยั / รวม งวดสดุ ทา ย วาตภยั ณ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2556 16,592.06 560.11 คา งจา ย 22.95 17,175.16 บวก อนมุ ัตใิ หการสงเคราะห 5,723.34 (275.25) 0.04 (0.08) 5,447.97 หัก จายเงนิ และวสั ดุสงเคราะห (4,227.42) (0.04) (4.11) (4,233.50) ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557 18,087.98 (1.97) - 18.76 18,389.63 บวก อนมุ ตั ใิ หการสงเคราะห 8,247.63 282.89 - (0.02) 7,964.72 หกั จายเงินและวัสดุสงเคราะห (3,350.40) (282.89) - (3.48) (3,353.88) ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 22,985.21 - 15.26 23,000.47 - - - รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 105 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

เงินสงเคราะหเจาของสวนยางงวดสุดทายคางจาย 30. การเปรยี บเทียบงบการเงิน เปนเงินที่ผูรับการสงเคราะหไมมารับเงินงวดสุดทายเพ่ือ งบการเงินสําหรับงวดต้ังแตวันท่ี 1 ตุลาคม 2557 ปด บญั ชพี นการสงเคราะห สําหรับรายทีไ่ มม ารับเงนิ ภายใน 1 ป นับตั้งแตวันนัดจายเงินงวดสุดทายจะปดบัตรบัญชี ถงึ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 จดั ทาํ ขน้ึ เนอื่ งดว ยพระราชบญั ญตั ิ รายตวั ผรู บั การสงเคราะหแ ละโอนไปไวใ นบญั ชเี งนิ สงเคราะห การยางแหง ประเทศไทยพ.ศ.2558ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เจา ของสวนยางงวดสดุ ทา ยคา งจา ยเพอ่ื รอผรู บั การสงเคราะห ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 โดยใหยกเลิกพระราชบญั ญตั ิ มานัดรับเงินใหมภายใน 10 ป นับแตวันนัดจายเงิน กองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพม่ิ เติม งวดสุดทาย หากพนกําหนดระยะเวลาดังกลาวถือวาผูรับ พ.ศ. 2505 , พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2530 มผี ลทาํ ใหส น้ิ สุด การสงเคราะหหมดสิทธิท่ีจะรับเงินจํานวนนี้และจะนําไป การเปนสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางในวันที่ อนุมัตใิ หผรู บั การสงเคราะหร ายอ่นื ตอไป 14 กรกฎาคม 2558 และมสี ภาพเปน การยางแหง ประเทศไทย ต้งั แตว นั ท่ี 15 กรกฎาคม 2558 ดงั น้นั งบการเงินสําหรบั 29. ภาระผกู พันทเี่ ปนš ขอŒ ผูกมัด งวดตั้งแตว นั ท่ี 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 รายจายฝายทุนเก่ียวกับภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัด จงึ ไมส ามารถเปรยี บเทยี บกบั งบการเงนิ สาํ หรบั ปส น้ิ สดุ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557 ไดเ นื่องจากรอบระยะเวลาบญั ชีตางกนั สําหรับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ 30 กนั ยายน 2557 ทย่ี งั ไมไ ดรับรใู นงบการเงนิ มี จาํ นวน 52.79 ลา นบาท และ 61.62 ลา นบาท ตามลําดับ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 106 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

องคก ารสวนยาง (อ.ส.ย.) Rubber Estate Organization รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 107 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 108 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

องคก ารสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ระหวา‹ งป‚ 2482-2484 หวั หนา กองการยาง (พระยา ต‹อมาในปลายป‚ 2484 ไดเกิดสงครามมหาเอเชีย อนุวัติ วนรกั ษ) ซงึ่ ขณะนั้น กองการยาง ยงั สังกัดกรมปาไม บูรพาข้ึน งบประมาณที่จะใชตามแผนงาน ตองนําไปใช ไดรับเงินจํานวนหนึ่งจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ดานการทหารจึงไมสามารถดําเนินงานตามแผนที่วางไวได เพอ่ื ซอ้ื ทด่ี นิ สวนยางทต่ี าํ บลนาบอน อาํ เภอทงุ สง และตาํ บล กองการยางจึงเพียงแตดูแลรักษาสวนยางดังกลาว ภายใน ชางกลาง อําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปรากฏวา วงเงินทไี่ ดรบั มาแตล ะป จนกระทง่ั สงครามมหาเอเชยี บรู พา ซอ้ื ไดประมาณ 6-7 แหง รวมเนือ้ ทีป่ ระมาณ 450 ไร และ สนิ้ สดุ ลงในเดอื นสงิ หาคม 2488 ในระหวา งสงครามเจา หนา ที่ รับฝากขายอีกหลายแปลง เนื้อท่ีประมาณ 170 ไร ขณะท่ี กองการยางคณะหน่ึง ไดเขา ไปซื้อเครอ่ื งมือทํายางแผน และ ออกหาซื้อท่ีดนิ สวนยาง พระยาอนวุ ัติ วนรักษ ไดสาํ รวจพบ ยางเครป จากมาเลเซีย (ที่รัฐมาลัย) มาเปนจํานวนมาก สวนยางปลูกใหม อายุประมาณ 1-2 ป จาํ นวนหลายพนั ไร เพ่ือตดิ ตงั้ เตรียมไวสาํ หรบั ทาํ ยางแผน และยางเครป เพราะ ปลูกติดตอ กนั อยใู นพ้นื ที่ทบี่ กุ เบิกใหม ปรากฏวาตอมาทด่ี ิน ในระยะนนั้ มตี น ยางขนาดกรดี ไดแ ลว ประมาณ 600-800 ไร ปลกู สรา งสวนยางใหมเ หลา นี้ เปน ทด่ี นิ ทมี่ กี ารบกุ เบกิ โดยไม ในระหวางป 2485-2490 กิจการสวนยางไดมารวมอยูใน ชอบดวยกฎหมาย เพ่ิงจะมาหักลางถางพงบุกเบิกปลูกยาง สังกดั องคการอตุ สาหกรรมปา ไม ทงั้ นี้ เพือ่ ใหดําเนนิ งานใน เมื่อ 1-2 ปมาน้ีเอง อายุของตนยางเปนพยานไดชัดแจง ดา นการเงนิ คลองตัวขึ้น จะไดด าํ เนินการคา ไดส ะดวก พระยาอนวุ ตั ิ วนรกั ษ จงึ ไดร ว มมอื กบั ทด่ี นิ จงั หวดั ดาํ เนนิ การ สอบสวนและขบั ไลผ บู กุ รกุ ทด่ี นิ และเพอ่ื ความเรยี บรอ ยของ ในป‚ 2490 กจิ การของสวนยางแปลงนี้ ไดโ อนไปรวม ที่ดินและปาแหงน้ี ทางราชการจึงไดออกพระราชกฤษฎีกา อยกู บั บรษิ ทั แรแ ละยาง จาํ กดั แตย งั ไมท นั จะไดด าํ เนนิ การ กาํ หนดเขตหวงหา มทดี่ นิ ในทอ งทต่ี าํ บลชา งกลาง อาํ เภอฉวาง ประการใด บรษิ ทั แรแ ละยาง จาํ กดั กต็ อ งยกเลกิ ไป สวนยาง จงั หวดั นครศรธี รรมราช พทุ ธศกั ราช 2484 วนั ที่ 14 เมษายน แหง นจี้ งึ กลบั มารวมอยกู บั องคก ารอตุ สาหกรรมปา ไมเ ชน เดมิ 2484 หวงหา มท่ีดินดงั กลาวไวเ พือ่ การเกษตร รวมเนื้อทีใ่ น เขตพระราชกฤษฎกี า ประมาณ 12,000 ไร ในเนอ้ื ทด่ี งั กลา ว ในเดือนตุลาคมป‚ 2491 กรมสวัสดิการทหารบก ปรากฏวามีตนยางออนปลูกอยูแลว ประมาณ 6,000 ไร กระทรวงกลาโหม มคี าํ สงั่ ให พ.ท.พรอ ม ณ หอ มเพชร และ นอกจากนัน้ ยงั มีสภาพเปนปา สวนยาง 6,000 ไร ดังกลา ว พ.อ.ยง ณ นคร ไปศกึ ษาดงู านการทําสวนยาง ณ สวนยาง ไดต กมาอยใู นความดแู ลของ กองการยาง กรมปา ไม กรมปา ไม แหง นี้ และตกลงใจเขา ดาํ เนนิ การในสวนยางแหง นี้ เมอ่ื วนั ท่ี ไดพิจารณาเห็นวา ที่ดินแหงน้ีเหมาะกับการใชประโยชน 1 ธนั วาคม 2491 โดยกรมสวสั ดกิ ารทหารบก จะตดิ ตอ กับ ในการขยายกิจการดานสวนยางใหกวางขวางย่ิงข้ึน จึงได กระทรวงเกษตรใหโ อนสวนยาง ใหแ กก รมสวสั ดกิ ารทหารบก กําหนดแผนงานที่จะดําเนินการในสวนยางแปลงน้ี ใหเกิด แตป รากฏวา เหตกุ ารณบ า นเมอื งไดเ ปลย่ี นแปลงไป สวนยาง ประโยชนแกราษฎรชาวสวนยางเทาที่จะทําได โดยกําหนด แหง นี้ จงึ ยงั คงอยใู นความดแู ลขององคก ารอตุ สาหกรรมปา ไม แผนงานขึน้ ในระยะแรกไวด งั น้ี ตอไปตามเดิม เนื่องจากตน ยางในเนือ้ ที่ 6,000 ไร เตบิ โตได ขนาดทจ่ี ะทาํ การกรดี เอานา้ํ ยางมาขายได จาํ เปน ตอ งเตรยี ม 1. จะดําเนนิ การขยายยางพนั ธุดไี ปสรู าษฎร การจัดฝกและจัดหาคนงานมาทําการกรีดยาง ทําการสราง 2. จะสงเสริมแนะนําเจาของสวนใหดูแลรักษา โรงงานทํายาง ตลอดจนอาคารบานพักตาง ๆ และจะตอง สวนยาง ทัง้ การกรดี และการทาํ ยางออกจาํ หนา ยใหถ กู ตอง ดําเนินงานดานการผลิตและการขายยาง เม่ือปริมาณงาน ตามหลกั วิชาการ เพมิ่ มากขน้ึ จงึ จาํ เปน ตอ งแยกงานมาดาํ เนนิ การเปน เอกเทศ 3. จะทําการคนควาทดลอง เก่ียวกับกิจการยาง และในทส่ี ดุ คณะรฐั มนตรี ไดม มี ตเิ มอื่ วนั ท่ี 23 มนี าคม 2492 ในดา นตาง ๆ ทํานองเดยี วกับสถาบนั วิจัยยางในมาเลเซยี อนุมัติใหจัดต้ังเปนองคการขึ้น เรียกวา “องคการสวนยาง นาบอน” สงั กัดสาํ นักปลดั กระทรวงเกษตราธกิ าร โดยมมี ติ ดังน้ี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 109 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

1. ใหกองการยาง ซึ่งไดรับงบประมาณคาใชจาย 1. ประกอบเกษตรกรรม ซง่ึ มกี ารทาํ สวนยางพารา ทาํ สวนยางนาบอนอยแู ลว คงดาํ เนนิ การตอ ไป ภายในจาํ นวน เปนสําคัญ รวมท้งั การสรางแปลงเพาะและแปลงขยายพนั ธุ เนื้อที่ และวงเงินทไ่ี ดร บั ยางพารา 2. อนมุ ตั ใิ หต งั้ องคก ารสวนยาง ขนึ้ ในกระทรวงเกษตร 2. ผลิตยางแผนรมควัน ยางเครปขาว นํ้ายางขน เพ่อื ดาํ เนินการทาํ สวนยาง สวนทเี่ หลือจากกองการยางทํา ยางผง ยางแทง ยางชนดิ อน่ื ๆ และสารประกอบของยางพารา องคการสวนยางนาบอน ไดรับทุนจากกระทรวง 3. ประดษิ ฐ หรอื ผลติ วตั ถจุ ากยางพารา การคลัง มาดําเนินงานในขั้นตน จากเงินงบประมาณ 4. ผลิตและจําหนายพลังงาน เพ่ือประโยชนแก ประจําป 2493 เปนเงิน 3,400,000 บาท ในการจัดตั้ง กสกิ รรมและกจิ การ ซง่ึ เปน วตั ถปุ ระสงคข ององคก ารสวนยาง องคการสวนยางนาบอนนัน้ มวี ัตถุประสงค คือ 5. ประกอบการคาและธุรกิจเกี่ยวกับผลิตผล ผลิตภัณฑ และวัตถุพลอยได ทเี่ กิดจากกิจการตาม ขอ 1, 2, 1. ผลติ ยางแผน รมควนั ออกจาํ หนาย 3 และ 4 และเครือ่ งมือเคร่อื งใช เคร่ืองจักรกล และอุปกรณ 2. จาํ หนา ยนํา้ ยางสด เกษตรกรรม 3. ดําเนินกิจการในการผลิตตามหลักวิชาการ 6. อํานวยบริการแกรัฐและประชาชนเกี่ยวกับ เพ่ือเปนตัวอยางแกประชาชน และทําการคนควาทดลอง ยางพารา สง เสรมิ ไปในขณะเดียวกันดวย 4. อบรมฝก เกษตรกรไทย ใหม คี วามรคู วามชาํ นาญ พนั ธกจิ (MISSION) ในการผลิตยาง 1. พัฒนาสวนยาง แปลงขยายพันธุยาง ใหเปน นับตั้งแต‹ป‚ 2493 เปšนตŒนมา องคการสวนยาง ไดดําเนินการ และขยายงานออกไปหลายประการ เชน ตน แบบของเกษตรกร ทดลองสรางสวนโกโก ในเนือ้ ที่ 300 ไร (แตทําได 4 ป กต็ อง 2. พฒั นาและขยายการผลติ ยางชนดิ ตา ง ๆ เพมิ่ การ เลกิ ไป เพราะพน้ื ทไ่ี มเ หมาะกบั การปลกู โกโก) สรา งสวนยาง พันธุดเี พิ่มเตมิ ในเนอ้ื ท่วี า งเปลา ประมาณ 5,500 ไร สราง ผลิตผลติ ภัณฑยางเพม่ิ มูลคา สวนกาแฟ ในเน้อื ท่ี 700 ไร สรา งโรงงานผลติ กระแสไฟฟา 3. ทาํ ธุรกจิ ยางพารา ปจจัยการผลิต และพลังงาน จากนา้ํ ตก เพอื่ นาํ พลงั งานไฟฟา มาใช ในโรงงานผลติ ยางและ แสงสวาง และไดส รางโรงงานผลติ ยางเครป จากเศษยาง ตาง ๆ ต‹อมาในป‚ 2504 กระทรวงเกษตรและสหกรณ 4. เปนแหลงเรียนรู เปนศูนยกลางถายทอด ไดตราพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังองคการสวนยาง เพื่อให องคการสวนยาง มีฐานะเปนนิติบุคคล และเปลี่ยนชื่อจาก เทคโนโลยีดานยางพาราครบวงจร และพัฒนาเครือขาย “องคการสวนยางนาบอน” เปน “องคการสวนยาง” เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ดานยางพาราครบวงจร ดําเนินกิจการและบริหารงาน ภายในขอบเขตของ วัตถุประสงคท บี่ ญั ญตั ไิ วใ นพระราชกฤษฎีกา จดั ต้ังองคการ 5. ต้งั บริษัทเพื่อประกอบธุรกิจ สวนยาง พ.ศ.2504 เปน รฐั วสิ าหกจิ ในสงั กดั กระทรวงเกษตร และสหกรณ ยุทธศาสตร 1. พฒั นาสวนยางใหมปี ระสทิ ธิภาพ วัตถปุ ระสงค 2. พัฒนาขบวนการแปรรูปยาง ไมยาง ขยายสาย พระราชกฤษฎกี าจัดต้งั องคก ารสวนยาง พ.ศ. 2504 การผลติ และผลติ ผลิตภณั ฑยาง กําหนดวัตถปุ ระสงคข ององคการสวนยาง ไวดงั นี้ 3. พัฒนาการดําเนินธุรกิจดานการตลาดของ องคการสวนยาง 4. พัฒนาการเรียนรูดานยางพารา และพัฒนา เครอื ขา ยเกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ดา นยางพาราครบวงจร 5. เพิม่ ศักยภาพดานการบริหารจัดการองคกร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 110 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

óîČĚ ìĂĊę ÜÙÖŤ ćøÿüî÷ćÜ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 111 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

องคการสวนยางไดŒรับท่ีดินเพ่ือทําประโยชน จํานวน สํานกั งานฝา ยโรงงาน 2 41,800 ไร‹ ดังน้ี ตง้ั อยทู ี่ 65 หมทู ี่ 2 ตาํ บลกรงุ หยนั อาํ เภอทงุ ใหญ จงั หวัดนครศรีธรรมราช • ทดี่ นิ ในหมทู ่ี 16 ตาํ บลชา งกลาง อาํ เภอชา งกลาง โทรศพั ท 0-7547-0727, 0-7547-0896 จงั หวัดนครศรีธรรมราช จาํ นวน 10,200 ไร เปนท่ดี ินตาม โทรสาร 0-7547-0726 พระราชกฤษฎีกา กําหนดเขตหวงหามท่ีดินในทองท่ีตําบล ชา งกลาง อาํ เภอชา งกลาง จงั หวดั นครศรธี รรมราช พ.ศ.2484 สาํ นกั งานฝายสวน 2, 3 ตง้ั อยทู ่ี 57 หมทู ่ี 2 ตาํ บลกรงุ หยนั อาํ เภอทงุ ใหญ • ท่ีดินในตําบลกรุงหยัน อําเภอทุงใหญ จังหวัด จงั หวดั นครศรธี รรมราช นครศรีธรรมราช จํานวน 31,600 ไร เปน ทด่ี นิ ท่ีกรมปาไม โทรศัพท 0-7547-0724 โทรสาร 0-7547-0724 มอบใหทําประโยชน ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี สาํ นกั งานฝา ยโรงงาน 4 สํานักงานและทตี่ ้งั ตง้ั อยู ตาํ บลไพร อาํ เภอขญุ หาญ จงั หวดั ศรสี ะเกษ  สาํ นักงานใหญ โทรศพั ท 0-4582-6015 โทรสาร 0-4528-6016 ตั้งอยหู มูที่ 16 ตาํ บลชา งกลาง อําเภอชา งกลาง จงั หวดั นครศรธี รรมราช สํานักงานฝายโรงงาน 5 โทรศพั ท 0-7549-1570-2 ตง้ั อยู ตาํ บลผาสกุ อําเภอวังสามหมอ โทรสาร 0-7549-1339, 0-7549-1343 จงั หวัดอุดรธานี สาํ นักงานกรงุ เทพมหานคร โทรศพั ท 0-4270-4819-21 ตง้ั อยูท่ี 124/113 ถนนบางกอกนอย-ตล่งิ ชัน กรุงเทพฯ สาํ นักงานฝา ยโรงงาน 6 โทรศพั ท 0-2424-4259, 0-2434-1432-3 ตง้ั อยู ตําบลพนอม อาํ เภอทาอเุ ทน โทรสาร 0-2433-6595 จงั หวดั นครพนม โทรศัพท 0-4253-0608, 0-4255-1154 โทรสาร 0-4253-0608 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 112 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

โครงสราŒ งการแบ‹งส‹วนงาน ขององคก ารสวนยาง คณะกรรมการบริหารกิจการขององคก ารสวนยาง คณะอนุกรรมการ ฯ ผูอŒ าํ นวยการองคการสวนยาง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะที่ปรึกษา ดาŒ นกจิ การสมั พันธ สํานักตรวจสอบภายใน ดาŒ นวชิ าการ รองผŒอู าํ นวยการ รองผูŒอาํ นวยการ สาํ นักยทุ ธศาสตร ดาŒ นแผนงาน สว‹ นบริหาร ส‹วนปฏบิ ตั ิการ และพฒั นาองคกร ดŒานกฎหมาย สาํ นักผตูŒ รวจการ ดาŒ นพฒั นาโครงสราŒ ง ดŒาน CG สํานักบรหิ าร ฝา† ยสวน 1 ฝา† ยโรงงาน 3 ดŒาน CSR สาํ นกั การคลงั ฝา† ยสวน 2 ฝ†ายโรงงานแปรรูปไมŒยางพาราและอบแหงŒ ดŒานบริหารความเส่ียง งานอาชวี อนามัย ฝา† ยสวน 3 ฝ†ายโรงงาน 4 สาํ นกั อาํ นวยการ ฝา† ยโรงงาน 1 ฝ†ายโรงงาน 5 ฝา† ยการตลาด ฝ†ายโรงงาน 2 ฝา† ยโรงงาน 6 ถอื ใชŒต้ังแตว‹ ันท่ี 11 พฤษภาคม 2554 อัตรากําลังพนกั งาน ปง‚ บประมาณ 2558  พนักงาน จาํ นวน 321 คน ลกู จา งประจาํ จํานวน 153 คน ลกู จา งชั่วคราว จํานวน 102 คน ลกู จางกรีดยาง จํานวน 1,067 คน รวม 1,643 คน ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2558 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 113 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

อาํ นาจหนŒาท่ีของคณะกรรมการบริหารกจิ การขององคก ารสวนยาง/คณะกรรมการ/คณะอนกุ รรมการ 1. คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การขององคก ารสวนยาง 5) ปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการบริหาร มีอํานาจและหนาท่ีวางนโยบายและควบคุมดูแลโดยท่ัวไป กจิ การขององคก ารสวนยางมอบหมาย ใหค ณะอนกุ รรมการฯ ซง่ึ กจิ การขององคก ารสวนยาง เชน วางขอ บงั คบั ตา ง ๆ เกยี่ วกบั ไดรบั เบยี้ ประชุมตามหลกั เกณฑท ี่กระทรวงการคลงั กําหนด การบรหิ ารงาน การบรรจุ การแตง ตง้ั การถอดถอน การเลอื่ น ข้ันเงินเดือน การลดขั้นเงินเดือน และระเบียบวินัยของ 3. คณะอนกุ รรมการดา นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ พนักงานและคนงาน กาํ หนดอตั ราตําแหนง อัตราเงินเดอื น ตอสงั คมขององคก ารสวนยาง มหี นา ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ คาจางและเงินอื่น ๆ ของพนักงาน และคนงานกําหนด ดงั นี้ เงนิ เดือนผูอาํ นวยการ รองผอู าํ นวยการ ดวยความเห็นชอบ ของคณะรฐั มนตรีกําหนดอัตราดอกเบ้ยี คา ภาระ คา บรกิ าร 1) พิจารณาจัดทําแผนระยะยาว ดานความ และคาดาํ เนินธรุ กจิ ตา ง ๆ เหลา นี้ เปนตน งานเกีย่ วกบั การ รับผิดชอบตอสังคมประกอบดวย นโยบาย กลยุทธ และ จดั การดาํ เนนิ กจิ การขององคก ารสวนยาง บงั คบั บญั ชา บรรจุ เปาหมายหลักและแผนระยะสน้ั รวมถงึ คูม อื การดําเนนิ งาน แตงตั้ง เจาหนาที่ขององคการฯและงานเก่ียวกับการวาง ทมี่ คี วามชดั เจน มคี ณุ ภาพ สอดคลอ งกบั ภารกจิ ขององคก าร ระเบียบปฏิบัติขององคการสวนยาง โดยไมขัดตอนโยบาย สวนยาง และขอ บงั คบั ขององคก ารสวนยาง ตลอดจนทาํ นติ กิ รรมตา ง ๆ แทนองคการสวนยางเปนหนาที่ของผูอํานวยการ ในกรณีที่ 2) ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานดาน ยังไมมีการแตงตั้งผูอํานวยการหรือเมื่อผูอํานวยการไมอาจ ความรับผดิ ชอบตอสงั คม ปฏบิ ตั หิ นา ทไี่ ดด ว ยเหตใุ ดเหตหุ นงึ่ ใหร องผอู าํ นวยการปฏบิ ตั ิ หนาที่แทน ใหผูปฏิบัติหนาที่แทนผูอํานวยการ มีอํานาจ 3) กาํ กบั ดแู ลและสง เสรมิ ใหผ บู รหิ าร พนกั งาน อยางเดียวกับผูอํานวยการ เวนแตอํานาจและหนาที่ของ องคการสวนยาง และบุคคลภายนอก ไดมีสวนรวมในการ ผูอํานวยการในฐานะกรรมการองคการสวนยางและตอง ดําเนนิ งานดานแสดงความรบั ผิดชอบตอสงั คม ปฏิบัติกิจการใหอยูภายในแผนงานท่ีผูอํานวยการกําหนดไว ในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก ใหผูอํานวยการเปน 4) ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีคณะกรรมการบริหาร ตัวแทนขององคการสวนยางและเพื่อการนี้ผูอํานวยการ กจิ การขององคก ารสวนยางมอบหมาย อาจมอบใหบุคคลใด ๆ ปฏิบัติการบางอยางแทนใน เมอื่ คณะกรรมการกาํ หนดอาํ นาจไวใ นขอ บงั คบั วา ใหป ฏบิ ตั ิ 4. คณะอนกุ รรมการดา นแผนงานขององคก ารสวนยาง แทนกันไดน ั้นก็ได มีอํานาจหนาท่ีสนับสนุนภารกิจของคณะกรรมการบริหาร กิจการ ขององคการสวนยาง ดานแผนงานและติดตาม 2. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลกิจการท่ีดีของ ประเมินผลขององคก ารสวนยาง เพื่อใหเกิดประโยชนส ูงสุด องคก ารสวนยาง มหี นาทแี่ ละรับผิดชอบ ดังนี้ แกอ งคการสวนยาง 1) พจิ ารณากาํ หนดนโยบาย กลยทุ ธ เปา หมาย 5. คณะอนุกรรมการดานบริหารความเส่ียงของ ผลลัพธ และแผนการดําเนินงานดานกํากับดูแลกิจการที่ดี องคการสวนยาง มีอํานาจหนาที่สนับสนุนภารกิจของ สอดคลอ งกับภารกิจขององคก ารสวนยาง คณะกรรมการบริหารกิจการขององคการสวนยาง และ คณะกรรมการตรวจสอบองคการสวนยาง เพ่ือใหเกิด 2) กํากับใหผูบริการพนักงานองคการสวนยาง ประโยชนสงู สดุ แกองคการสวนยาง มีสว นรว มในการสงเสรมิ ใหมีการกาํ กับดูแลกิจการท่ีดี 6. คณะอนกุ รรมการดา นวชิ าการขององคก ารสวนยาง 3) ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานดาน มีอํานาจหนาท่ีสนับสนุนภารกิจของคณะกรรมการบริหาร การกํากบั ดูแลกจิ การที่ดี กิจการขององคการสวนยาง ดานวิชาการเก่ียวกับยางพารา และวชิ าการดา นอน่ื ๆ เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกอ งคก าร 4) กํากับดูแลและติดตามใหมีการปฏิบัติตาม สวนยาง หลักเกณฑของกฎหมาย กฎระเบียบ นโยบาย และ กระบวนการปฏบิ ตั งิ านท่วี างไว (Compliance) 7. คณะอนุกรรมการพัฒนาโครงสรางองคกรและ พฒั นาบคุ คลขององคก ารสวนยาง มอี าํ นาจหนา ที่ ดงั ตอ ไปนี้ 1) พจิ ารณาปรบั ปรงุ โครงสรา งองคก ารสวนยาง ใหเหมาะสมสอดคลองกับภารกิจยุทธศาสตรขององคการ สวนยาง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 114 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2) ปรบั ปรงุ พฒั นาระบบงานขององคก ารสวนยาง 9. คณะกรรมการกจิ การสมั พนั ธข ององคก ารสวนยาง เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการปฏิบัตงิ าน มอี าํ นาจหนา ทแี่ ละดาํ เนนิ การตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั ิ แรงงานรฐั วสิ าหกจิ สมั พนั ธ พ.ศ.2543 ทกุ ประการ โดยใหอ ยู 3) ปรับปรุงและพัฒนาการบริหารทรัพยากร ในวาระการดํารงตาํ แหนง 2 ป บุคคลขององคการสวนยาง ใหม ศี กั ยภาพและประสิทธภิ าพ ในการปฏบิ ัติงาน 10. คณะกรรมการตรวจสอบขององคการสวนยาง มีอํานาจในการดําเนินการ หรือสอบทานเร่ืองตาง ๆ ที่อยู 8. คณะอนกุ รรมการดา นกฎหมายขององคก ารสวนยาง ภายในขอบเขตความรับผิดชอบ และมีอํานาจดําเนินการ มีอํานาจหนาท่ีพิจารณาประเด็นขอกฎหมายที่เก่ียวของ ติดตามผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี เสนอความเห็น การบรหิ ารกจิ การขององคก ารสวนยางและตามทค่ี ณะกรรมการ เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาของ คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การ บรหิ ารกจิ การขององคก ารสวนยาง ไดม อบหมายสง่ั การใหม ี ขององคก ารสวนยาง ความถกู ตอ ง ตามขั้นตอนชอบดว ยกฎหมายในทางปฏิบตั ิ 11. ใหคณะอนุกรรมการฯ ไดรับเบี้ยประชุมตาม หลักเกณฑท ีก่ ระทรวงการคลงั กําหนด การกํากบั ดูแลกจิ การท่ดี ขี ององคการสวนยาง 5. การสรางมูลคาเพ่ิมแกกิจการทั้งในระยะส้ัน และระยะยาวโดยการเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มมูลคาใด ๆ น้ัน องคการสวนยางไดตระหนักถึงความสําคัญของการ จะตองเปนการเพิ่มความสามารถในทุกดานเพื่อการแขงขัน กํากับดูแลกิจการที่ดีซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการนําหลักการ (VALUE CREATION) บริหารกิจการบานเมืองท่ีดีหรือธรรมาภิบาลมาประยุกตใช เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินงานดวยความ 6. การสง เสรมิ พฒั นาการกาํ กบั ดแู ลและจรรยาบรรณ โปรงใสตรวจสอบได รวมท้ังมีความรับผิดชอบตอสังคม ท่ีดี ในการประกอบธุรกิจ (ETHICE) มีการสงเสริมใหบุคลากรในองคกรเปนทั้งคนเกงและคนดี มีจริยธรรมและธรรมาภิบาล ซ่ึงจะชวยสรางความเช่ือมั่น 7. การมสี ว นรว มเปน การสง เสรมิ ใหเ กดิ การกระจาย และความมั่นใจตอผูรับบริการผูมีสวนไดเสียหรือผูเกี่ยวของ โอกาสแกประชาชน ใหมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ทุกฝา ย เกยี่ วกบั การดาํ เนนิ การใด ๆ ทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ ม สขุ ภาพอนามยั คณุ ภาพชวี ติ และความเปน อยขู องชมุ ชนหรอื หลักการการกํากับดูแลกิจการท่ีดี มีหลักสําคัญ ทองถนิ่ (PARTICIPATION) เพื่อใชเปนกลไกที่จะผลักดันใหเกิดความโปรงใสในกิจการ รัฐวิสาหกิจท้งั 7 ประการไดแก นโยบายการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ขี ององคก ารสวนยาง จะครอบคลมุ นโยบายหลกั 4 ดาน ไดแ ก นโยบายดานการ 1. ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาท่ี ปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ (ACCOUNTABILITY) องคการสวนยาง นโยบายดานการบริหารจัดการองคกร นโยบายดา นผมู สี ว นไดเ สยี และนโยบายดา นบคุ ลากรซง่ึ เปน 2. ความสํานึกในหนาที่ดวยขีดความสามารถและ ผูปฏิบัติงาน โดยองคการสวนยางไดสงเสริมใหมีการปฏิบัติ ประสทิ ธิภาพท่เี พียงพอ (RESPONSIBILITY) ตามนโยบายการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี ใหเ กดิ ผลเปน รปู ธรรม ดวยการใหบุคลากรภายในองคกรท้ังผูบริหาร พนักงาน 3. การปฏบิ ตั ติ อ ผมู สี ว นไดเ สยี โดยสจุ รติ และจะตอ ง ลูกจาง รวมถึงคณะกรรมการองคการสวนยาง มีสวนรวม พจิ ารณาใหเ กดิ ความเทา เทยี มกนั (EQUITABLE TREATMENT) ในการกํากับดูแลกิจการที่ดีและเสริมสรางจิตสํานึก ดานคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อใหองคการสวนยาง 4. การดําเนินงานที่โปรงใส (TRANSPARENCY) เจรญิ เตบิ โตอยา งยง่ั ยนื ตอไป ใน 2 ลกั ษณะดงั น้ี 4.1 ความโปรงใสในการดําเนินงานท่ีสามารถ ตรวจสอบได 4.2 มี ก า ร เ ป  ด เ ผ ย ข  อ มู ล อ ย  า ง โ ป ร  ง ใ ส (Transparency of Information Disclosure) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 115 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

นโยบายการกํากบั ดูแลกจิ การทด่ี ีขององคการสวนยาง คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การของ อ.ส.ย. เหน็ ชอบให 1. นโยบายดานบทบาทและความรับผิดชอบของ อ.ส.ย. กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการท่ีดี เพ่ือให คณะกรรมการ อ.ส.ย. คณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของ อ.ส.ย. ทุกคน ยดึ ถอื เปน แนวทางปฏบิ ตั ิ และเปน การดาํ เนนิ การบรหิ ารงาน 2. นโยบายดานการบรหิ ารจดั การองคกร อยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได สามารถสราง 3. นโยบายดานบทบาทของผมู ีสวนไดเสยี ความเช่ือม่ัน และความม่ันใจใหกับผูเก่ียวของทุกฝาย และ 4. นโยบายดานบุคลากร เพอื่ ให อ.ส.ย. เจรญิ เตบิ โตอยา งมน่ั คง และมคี ณุ ภาพ โดยได กาํ หนดนโยบายการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี 4 ดา น ประกอบดว ย 1. นโยบายดŒานบทบาทและความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ อ.ส.ย. นโยบาย 2. จดั ใหม ยี ทุ ธศาสตรพ ฒั นาองคก ร ทส่ี อดคลอ งกบั ตามพระราชกฤษฎกี าจดั ตั้ง อ.ส.ย. พ.ศ. 2504 และ แนวนโยบายผถู อื หนุ ภาครฐั ของรฐั วสิ าหกจิ และตดิ ตามใหม ี แกไขเพ่ิมเติมกําหนดให อ.ส.ย. มีคณะกรรมการบริหาร การดาํ เนินงานใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงค กจิ การของ อ.ส.ย. คณะหนงึ่ ประกอบดว ย รฐั มนตรวี าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปน ประธานกรรมการ รฐั มนตรี 3. กาํ หนดมาตรการ ในการควบคมุ ฝา ยจดั การอยา ง ชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน มีประสิทธิผล รวมท้ังทบทวนและใหความเห็นชอบกับ ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร กลยุทธ นโยบาย ท่ีสําคัญ และแผนงาน รวมท้ังติดตาม ผูอาํ นวยการสถาบนั วจิ ัยยาง ผแู ทนกระทรวงการคลงั และ ผลการดําเนินงานของฝายจัดการใหปฏิบัติตามแผนงาน ผูอํานวยการ อ.ส.ย. เปนกรรมการโดยตําแหนง และ ทีก่ าํ หนดไวอยา งสมา่ํ เสมอ กรรมการอ่ืน ซึ่งคณะรฐั มนตรแี ตง ตง้ั อีกไมเกนิ 8 คน มวี าระ การดาํ รงตําแหนงคราวละ 3 ป โดยคณะกรรมการ อ.ส.ย. 4. กาํ หนดใหม กี ารประเมนิ ตนเอง ตามแนวทางการ ประกอบดวยกรรมการที่แตงต้ังจากบัญชีรายช่ือกรรมการ กํากับดูแลกิจการท่ีดีในรัฐวิสาหกิจ และกําหนดหลักเกณฑ รัฐวิสาหกจิ (Director’s Pool) จาํ นวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 การประเมนิ ผลของผูบ ริหารสงู สดุ และกําหนดคาตอบแทน ของจํานวนกรรมการทีไ่ มใ ชก รรมการโดยตําแหนง ใหสอดคลองกับผลงานรัฐวิสาหกิจ และผลการประเมิน คณะกรรมการบริหารกิจการของ อ.ส.ย. ยึดม่ันใน ดงั กลา ว หลักการและปฏิบัติตามแนวทางท่ีกําหนดไวในหลักเกณฑ และแนวทางการกาํ กบั ดแู ลทดี่ ใี นรฐั วสิ าหกจิ 7 ประการ และ 5. แตง ตงั้ คณะกรรมการยอ ยหรอื คณะอนกุ รรมการ มบี ทบาทสาํ คญั ในการกาํ กบั ดแู ลกจิ การเพอ่ื ประโยชนส งู สดุ เพ่ือกาํ กบั ดูแลและกลั่นกรองงานแทนคณะกรรมการ ของ อ.ส.ย. มีความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาที่ ตอ ผเู กี่ยวของและเปน อิสระจากฝา ยจัดการ 6. กํากับดูแลใหมีการบริหารจัดการองคกรอยางมี กลยุทธ/แนวทางปฏิบตั ิ ประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานอยา งตอ เนอ่ื ง 1. กาํ หนดบทบาท หนาทค่ี วามรบั ผิดชอบ และการ ปฏิบตั หิ นาท่รี ะหวา งคณะกรรมการ อ.ส.ย. และฝายจัดการ 7. กําหนดการประชุมไวลวงหนาตลอดปปฏิทิน อยางชัดเจน อยางนอ ยเดือนละ 1 ครงั้ หรือตามความจาํ เปน 8. กาํ กบั งานดา นการบรหิ ารบคุ คล ในเรอื่ งตาํ แหนง หนาท่ีและจํานวนพนักงาน ใหมีความเหมาะสมกับสภาวะ ของรฐั วสิ าหกจิ ในชว งระยะเวลานนั้ ๆ (โครงสรา งอตั รากาํ ลงั ) 9. จัดใหมีกระบวนการเพ่ือใหความม่ันใจวาระบบ บัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี ใหมี ความเชอื่ ถอื ได รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 116 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

แผนการดาํ เนนิ งาน 4. มีการทบทวนเพ่ือปรับปรุงแบบประเมินตนเอง 1. คณะกรรมการมสี ว นรว มในการใหข อ สงั เกต และ ของคณะกรรมการ เกี่ยวกับการถือปฏิบัติตามนโยบาย ขอเสนอแนะเก่ียวกับประเด็นท่ีสําคัญในการจัดทําแผน การกํากับดูแลที่ดี ใหครอบคลุมทุกหมวด ตามหลักเกณฑ วสิ าหกิจแกฝ ายจัดการ และแนวทางการกํากบั ดูแลทด่ี ีในรฐั วิสาหกิจ 2. คณะกรรมการมสี ว นรว มในกจิ กรรมการสง เสรมิ การกาํ กับดแู ลที่ดี รวมกับฝายจัดการและพนกั งาน 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานผูบริหารระดับสูงสุด 3. จดั ใหม กี ารประเมนิ รายบคุ คล (Self Assessment) ท่ีมาจากการสรรหา โดยกําหนดหลักเกณฑ วธิ กี าร ตวั ช้ีวัด และการประเมินรายคณะ (Board Evaluation) ของ ในการประเมนิ ผล เพอื่ นาํ ผลการประเมนิ ไปทบทวนการจา ย คณะกรรมการอยา งนอ ยปล ะ 1 ครง้ั พรอ มทง้ั นาํ ขอ เสนอแนะ คาตอบแทนในแตละป ซ่ึงเปนไปตามหลักเกณฑกระทรวง จากการประเมินผลมาใชปรับปรุงประสิทธิภาพ และ การคลังกําหนด ประสทิ ธผิ ลของการกํากบั ดูแล ของ อ.ส.ย. 2. นโยบายดาŒ นการบรหิ ารจัดการองคก ร 2.1 การจดั ทําแผนวสิ าหกจิ 4. มอบหมายหรอื แตง ตง้ั อนกุ รรมการ เพอ่ื กลนั่ กรอง นโยบาย แผนงานในเบื้องตน กอนที่จะนําเสนอใหคณะกรรมการ คณะกรรมการ สงเสริมใหมีการจัดทําแผนวิสาหกิจ ท้ังคณะพิจารณาในขน้ั สุดทาย ประกอบดว ย ทศิ ทาง นโยบาย กลยทุ ธ แผนงาน ทง้ั ในระยะสนั้ แผนการดาํ เนินงาน และระยะยาว รวมถึงวิสัยทัศนและพันธกิจของ อ.ส.ย. ซึ่ง 1. จดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ เพ่อื จดั ทาํ หรือทบทวน เปน ไปตามแนวนโยบายของผถู อื หนุ ภาครฐั (Statement of แผนวิสาหกิจหรือแผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกับ Director : SOD) โดยแผนดังกลาวมีความชัดเจน ครบถว น นโยบายและภารกิจของ อ.ส.ย. โดยคณะกรรมการเขามา และมีความสอดคลองเชื่อมโยงกัน และใหความสําคัญกับ มสี วนรว มในการจัดทาํ กบั ฝา ยจัดการ บทบาทการมีสวนรวมในการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง 2. ติดตามรายงานการดําเนินการตามแผนปฏิบัติ แผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับสถานการณสภาพ การทกุ ระยะ อยางนอยเปนรายไตรมาส แวดลอมทปี่ รับปรงุ ไป 2.2 การบริหารความเสยี่ ง กลยุทธ/แนวทางปฏบิ ัติ นโยบาย 1. การเขามามีสวนรวมของคณะกรรมการ ในการ คณะกรรมการ อ.ส.ย. มีการกําหนดนโยบายบรหิ าร จัดทําแผนรวมกับฝายจัดการ โดยคํานึงถึงนโยบายของ ผูถอื หนุ ภาครฐั เปน สาํ คัญ จัดการความเส่ียงของ อ.ส.ย. เพื่อใหดําเนินงานบรรลุตาม 2. สง เสรมิ และสนบั สนนุ ใหแ ผนวสิ าหกจิ ดาํ เนนิ การ ยทุ ธศาสตร วตั ถุประสงค เปา หมายการดําเนินงานประจาํ ป ไปไดอยางเปนรูปธรรม โดยการกําหนดแผนปฏิบัติการ และใชเปนแนวทางในการพัฒนาตามเกณฑประเมินผล ประจําป ดว ยการเชอ่ื มโยงและบรู ณาการระบบการบรหิ ารความเสยี่ ง 3. ติดตามการดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงาน ทง้ั องคก ร และพฒั นาระบบการบรหิ ารความเสย่ี ง เขา กบั การ หรอื มีการทบทวนแผน โดยเนน การมีสวนรว มของทุกฝาย บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือในการ ติดตาม ใหผลการดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค และ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 117 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

เปาหมาย รวมท้ังปลูกฝงการบริหารจัดการเปนสวนหนึ่ง 2.3 การควบคุมภายใน ของวฒั นธรรมองคก ร ตลอดจนเปน การสรา งมลู คา เพมิ่ ใหก บั นโยบาย อ.ส.ย. อีกทางหน่งึ ดวย การตรวจสอบภายในของ อ.ส.ย. ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กลยทุ ธ/แนวทางปฏิบตั ิ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน ดนิ วา ดว ยการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ อง 1. กาํ หนดนโยบายบรหิ ารความเสยี่ ง ซง่ึ เปน กลยทุ ธ ผูตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546 และแนวทางท่ีกระทรวง สําคัญในการสรางมูลคาเพิ่มแกองคกร มีการกําหนด การคลังกําหนด ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐาน และกระบวนการปฏิบตั ิงาน เพอื่ ลดและควบคุม วิชาชีพตรวจสอบภายในที่สากลยอมรับ ไดแก ความเส่ียงที่เกดิ ขน้ึ กับองคก รใหอ ยูในระดับทยี่ อมรับได 2. บริหารปจจัยเสี่ยงและควบคุมกิจกรรม รวมท้ัง 1. สภาพแวดลอมของการควบคุม กระบวนการดําเนินงานตาง ๆ โดยลดมูลเหตุแตละโอกาส 2. การประเมนิ ความเสยี่ ง ทอี่ าจเกดิ ความเสยี หายเพอื่ ใหร ะดบั และขนาดของความเสยี หาย 3. กจิ กรรมการควบคมุ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยูในระดับท่ีองคกรยอมรับได 4. สารสนเทศและการสอ่ื สาร ประเมินได มีการควบคุมตรวจสอบไดอยางมีระบบ 5. การติดตามประเมินผล โดยคาํ นงึ ถงึ การบรรลเุ ปา หมายขององคกรเปนสาํ คัญ กลยทุ ธ/แนวทางปฏบิ ตั ิ 3. กําหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง เพื่อให 1. สรา งความรคู วามเขา ใจ รณรงค ปลกู ฝง เรอื่ งการ สอดคลองกับหลักเกณฑการประเมินผลการบริหารจัดการ ควบคมุ ภายในใหก บั พนกั งาน โดยใหถ อื เปน สว นหนง่ึ ของการ องคกรดานบริหารความเสี่ยงของสํานักงานคณะกรรมการ ปฏิบัตงิ าน รัฐวสิ าหกิจ 2. กาํ หนดโครงสรา งองคก ร ใหส อดคลอ งกบั เปา หมาย 4. นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช เพื่อเพิ่ม และลักษณะการดําเนินธุรกิจ หนาท่ีความรับผิดชอบ ประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน สายการบงั คบั บัญชา องคก ร 3. กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการควบคุมภายใน 5. สงเสริมใหพนักงานมีความรูความเขาใจ และ แตละสวนงาน โดยกาํ หนดวัตถปุ ระสงค กลไก การควบคุม ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการบริหารความเส่ียง รวมถึงการตดิ ตามผลการควบคมุ ภายใน แผนการดําเนินงาน แผนการดาํ เนนิ งาน 1. ทกุ สว นงานมกี ารประเมนิ และควบคมุ ความเสย่ี ง 1. จัดใหมีการฝกอบรมผูรับผิดชอบดานควบคุม ดวยตนเอง โดยมีคณะอนุกรรมการดานความเสี่ยง เปนผู ภายใน กํากับดแู ล 2. จดั ตง้ั คณะทาํ งานดา นควบคมุ ภายใน เพอ่ื ตดิ ตาม 2. มีการทบทวนความเสี่ยงใหสอดคลองกับ ผลการควบคุมภายในขององคกร สถานการณท เ่ี ปลย่ี นแปลงไป 3. ทบทวนพัฒนาระบบการควบคุมภายใน และ 3. มีการฝกอบรมบุคลากรของ อ.ส.ย. ในเรื่อง ทบทวนคมู ือควบคุมภายในประจาํ ป บรหิ ารความเสย่ี งอยา งตอ เน่ือง 4. ช้ีแจงทําความเขาใจในเรื่องบริหารความเสี่ยง 2.4 การตรวจสอบภายใน แกพ นักงานในองคกรทกุ ระดบั นโยบาย 5. ทบทวน นโยบาย คําขวัญ และกฎบัตรของ การตรวจสอบภายในของ อ.ส.ย. ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ คณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ ง 6. รณรงคใหพนักงานของ อ.ส.ย. ตระหนักและ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน ดนิ วา ดว ยการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ อง ใหค วามสําคัญกบั การบรหิ ารความเสี่ยง ผูตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546 และแนวทางท่ีกระทรวง การคลังกําหนด ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน วชิ าชพี ตรวจสอบภายในที่สากลยอมรับ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 118 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

กลยุทธ/ แนวทางปฏบิ ัติ 2.6 การขัดแยงของผลประโยชน เพ่ือใหคําแนะนําปรึกษาการตรวจสอบอยางอิสระ นโยบาย และเทยี่ งธรรม ทชี่ ว ยใหอ งคก รบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ ละมกี าร อ.ส.ย. ไดใหความสําคัญกับการพิจารณาเรื่องท่ีเกิด ปรับปรุงพัฒนาอยางตอเน่ือง เพื่อเพ่ิมมูลคาและปรับปรุง การดําเนินงานใหดีขึ้น ท้ังนี้ เพ่ือการบริหารความเสี่ยง หรืออาจเกิดความขัดแยงผลประโยชน โดยจัดใหมีการ การควบคุมและกระบวนการกาํ กับดแู ลทด่ี ี ควบคมุ ดแู ลและปอ งกนั เกยี่ วกบั กรณที มี่ คี วามขดั แยง ทางผล แผนการดําเนินงาน ประโยชนอยา งรอบคอบ ดว ยความซอ่ื สัตยสุจริต 1. ดาํ เนนิ งานตามขอบเขตทกี่ าํ หนดในกฎบตั ร สาํ นกั ตรวจสอบภายใน อ.ส.ย. รวมทง้ั คมู อื การปฏบิ ตั งิ านการตรวจ กลยุทธ/แนวทางปฏบิ ตั ิ สอบภายในของรัฐวสิ าหกิจ 1. จดั ทาํ ระเบยี บ อ.ส.ย. วา ดวยการขัดกนั ระหวาง 2. รณรงคใหพนักงานของ อ.ส.ย. ตระหนักและให ประโยชนสว นบุคคลและประโยชนส ว นรวม พ.ศ. 2553 ความสําคัญกับการตรวจสอบภายใน 2. กําหนดใหมีการรายงานทันทีที่เกิดความขัดแยง ทางผลประโยชน และในกรณีท่ีไมมีความขัดแยงทาง 2.5 ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผลประโยชนใ หมีการรายงานทกุ เดือนตลุ าคมของทกุ ป นโยบาย 3. สาํ หรบั คณะกรรมการ อ.ส.ย. ใหม กี ารแสดงบญั ชี อ.ส.ย. เปนองคกรท่ีมีศักยภาพในการประยุกตใช ทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ ตามแบบพมิ พของสาํ นกั งานคณะกรรมการ ปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ปปช.) เทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร(Informationandcommunication 4. รณรงคเผยแพรใหพนักงานไดรูและปฏิบัติตาม Technology : ICT) เพือ่ การบรหิ ารจดั การ ระเบยี บวา ดว ยการขดั แยงของผลประโยชน แผนการดาํ เนินงาน กลยทุ ธ/แนวทางปฏิบัติ 1. สอบทานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับการขัดกันของ 1. พฒั นาโครงสรา งพนื้ ฐานดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผลประโยชนของพนักงานทุกระดับตามขอกําหนดไวใน และการสื่อสาร ในดานฮารดแวร ซอฟแวร บุคลากร และ ระเบียบ อ.ส.ย. วาดวยการขัดกันระหวางผลประโยชน ระบบเครอื ขาย เพอื่ นํามาพฒั นาการบริหารจัดการและการ สว นบคุ คลและประโยชนส วนรวม พ.ศ. 2553 ประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยใี หเ หมาะสมกบั สภาวการณใ นปจ จบุ นั 2. ทบทวนระเบยี บ อ.ส.ย. วา ดว ยการขดั กนั ระหวา ง 2. สง เสรมิ พฒั นา ระบบการทาํ งานดา นตา ง ๆ ของ ผลประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม พ.ศ. 2554 หนวยงาน ใหนําระบบอิเล็กทรอนิกสมาประยุกตใชเพื่อ โดยมกี ารปรับแกไ ขใหถกู ตอ งสมบรู ณม ากยิง่ ข้ึน ความสะดวก รวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ 3. เผยแพรร ะเบยี บ อ.ส.ย. วา ดว ยการขดั กนั ระหวา ง 3. พฒั นาระบบฐานขอ มลู ใหส ามารถใชง านรว มกนั ได ผลประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวมใหพนักงาน และเปน ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ลกู จา ง ทราบและถือปฏบิ ตั โิ ดยท่ัวไป 4. สง เสริมระบบ IT ภายในหนวยงานเพื่อเปนฐาน ในการประชาสมั พันธด า นตา ง ๆ 2.7 จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ แผนการดําเนนิ งาน นโยบาย 1. จัดหาระบบคอมพิวเตอรแ ละเครือขา ย อ.ส.ย. สงเสริมใหพนักงานทุกระดับในองคกร 2. พฒั นาบคุ ลากรดาน ICT 3. ประยุกตใ ช ICT เพ่ือพฒั นาการบริหารจดั การ รวมถงึ คณะกรรมการ ยดึ มนั่ ในระบบคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4. ประยุกตใช ICT เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู และการ เพอ่ื สอดคลองตามหลักธรรมาภบิ าล เผยแพรผา นระบบ IT 5. ทบทวนแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ กลยทุ ธ/ แนวทางปฏิบตั ิ การส่อื สารประจําปง บประมาณ 2555 - 2559 1. ทบทวนระเบยี บ อ.ส.ย. วา ดว ยจรรยาบรรณของ ผูบ ริหารและพนกั งาน อ.ส.ย. พ.ศ. 2553 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 119 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2. สง เสริม ปลูกฝง ใหทุกคนในองคก รตระหนกั ถึง 2.9 การเปด เผยขอ มลู และความโปรง ใสในการดาํ เนนิ งาน จรรยาบรรณ เพอ่ื ยดึ ถอื เปน แนวทางในการประพฤตติ นและ นโยบาย ปฏบิ ตั งิ านใหป ระสบความสาํ เรจ็ และตระหนกั ถงึ ความเสย่ี ง คณะกรรมการ อ.ส.ย. สง เสรมิ ใหม กี ารเปด เผยขอ มลู หากไมมีจรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ าน สารสนเทศท่ีเกี่ยวของกับ อ.ส.ย. ท้ังขอมูลสารสนเทศทาง 3. สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหม กี ารปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ การเงิน และไมใ ชท างการเงินอยา งถูกตอ ง ครบถวน เชอ่ื ถอื ของ อ.ส.ย. ไดเ พยี งพอ สมา่ํ เสมอ ทนั เวลา และเขา ถงึ ไดง า ย ผา นชอ งทาง ที่เขาถึงขอมูลสารสนเทศไดงาย เพื่อใหผูมีสวนไดเสียหรือ แผนการดาํ เนินงาน ผูเก่ียวของไดรับทราบขอมูลอยางเทาเทียมและเปนธรรม เผยแพรจ รรยาบรรณของ อ.ส.ย. ใหค ณะกรรมการ และดําเนินการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทาง ผบู รหิ าร และพนักงานทราบและถอื ปฏิบตั โิ ดยท่ัวกนั ราชการ พ.ศ. 2540 และกฎหมายอน่ื ท่ีเกีย่ วของ 2.8 รายงานทางดานการเงินและการบริหาร กลยทุ ธ/ แนวทางปฏบิ ัติ นโยบาย 1. มีระบบชองทางการเปดเผยขอมูลสารสนเทศ อ.ส.ย. ไดจัดทํารายงานทางการเงินและการบริหาร ทั้งดานการเงินและไมใชการเงินอยางครบถวนเพียงพอ ตรงตามความเปนจริง เช่ือถือได สมํ่าเสมอ ทันเวลาและ เพ่ือใหผูเกี่ยวของสามารถตรวจสอบได โดยรายงานทาง ทดั เทยี มกัน การเงิน ของ อ.ส.ย. ไดผานการตรวจสอบจากสํานักงาน 2. มีการเปดเผยขอมูลสารสนเทศท่ีมีสาระสําคัญ ตรวจเงินแผนดิน ซ่ึงสามารถสรางความมั่นใจ นาเช่ือถือวา อยางสมํ่าเสมอท้ังดานบวกและดานลบ และใหความสําคัญ ขอมูลท่ีแสดงในรายงานทางการเงิน มีความถูกตองเปนท่ี กับเนอ้ื หามากกวารปู แบบ ผา นทางชอ งทางทก่ี าํ หนด ยอมรับท่วั ไป 3. มกี ารเปด เผยขอ มลู ตาม พรบ. ขอ มลู ขา วสารของ ทางราชการ พ.ศ. 2540 กลยทุ ธ/ แนวทางปฏบิ ตั ิ แผนการดาํ เนินงาน 1. คณะกรรมการ อ.ส.ย. เปน ผกู าํ กบั ดแู ลการจดั ทาํ 1. เผยแพรขอมูลผานทาง Website ของ อ.ส.ย. รายงานทางการเงิน และรายงานทางการบริหารท่ีมี โดยแสดงขอ มลู ทสี่ าํ คญั รวมทง้ั รายงานผลการดาํ เนนิ งานของ ประสิทธิภาพ คณะกรรมการ อ.ส.ย. และหรอื คณะอนุกรรมการ 2. คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาท่ีรับผิดชอบ 2. จดั ทาํ ระบบฐานขอ มลู ทง้ั ดา นผลผลติ จากสวนยาง รายงานทางการเงนิ ของ อ.ส.ย. จากโรงงานแปรรปู ยาง ดา นบญั ชี รวมถงึ ขอ มลู ดา นบคุ ลากร 3. สาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ ทาํ หนา ทต่ี รวจสอบ และดา นอน่ื ๆ เพื่อเปนขอมลู ในการตดั สินใจของผบู รหิ าร และรบั รองงบการเงินของ อ.ส.ย. 3. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการตาม พรบ. แผนดาํ เนินงาน ขอมลู ขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 1. จัดใหถอยแถลงของคณะกรรมการไวในรายงาน 4. ปรับปรุงระเบียบ อ.ส.ย. วาดวย พรบ. ขอมูล ประจาํ ป โดยอธบิ ายถงึ นโยบายและขอบเขตทค่ี ณะกรรมการ ขา วสารของราชการ พ.ศ. 2555 ใหส อดคลอ งและปฏบิ ตั ติ าม เลือกใชปฏิบัติและพัฒนาการตาง ๆ ที่เกิดข้ึนโดยแสดงไว พรบ. ขอ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ถัดจากรายงานของผสู อบบญั ชี 2. ในรายงานประจําปมีการเปดเผยขอมูลท้ังดาน การเงนิ และไมใ ชก ารเงนิ อยา งครบถว น ถกู ตอ ง และนา เชอื่ ถอื รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 120 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. นโยบายดาŒ นบทบาทของผŒมู ีสว‹ นไดŒเสยี 4. มุงดําเนินงานโดยคํานึงถึงความรับผิดชอบตอ ผลกระทบตอชมุ ชน สงั คม โดยใหความสาํ คัญกับการปฏบิ ตั ิ นโยบาย ตามมาตรฐานเก่ียวกับความปลอดภัย สุขอนามัยและ คณะกรรมการ อ.ส.ย. ใหความสําคัญในการปฏิบัติ สิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม ตอ ผมู สี ว นไดเ สยี ทกุ กลมุ หรอื ผเู กย่ี วขอ งอน่ื ๆ อยา งเทา เทยี มกนั โดยสนับสนุนใหมีการมีสวนรวมกันระหวาง อ.ส.ย. กับผูมี 5. มงุ เนน การผลติ สนิ คา ทม่ี คี ณุ ภาพ และดาํ เนนิ ธรุ กจิ สว นไดเ สยี ในการสรา งความมน่ั คง สรา งงาน และสรา งกจิ การ ดวยความสุจริต โปรงใส เปนธรรมและเทาเทียมกนั ทกุ ฝา ย ใหมีความม่ันคงอยา งย่ังยืน กลยุทธ/แนวทางปฏิบตั ิ 6. สง เสรมิ การแขง ขนั ดา นราคาทเี่ ปน ธรรมระหวา ง 1. อ.ส.ย. อยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวง ลูกคาของ อ.ส.ย. การคลัง ตองดําเนินการใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล โดย อ.ส.ย. เปนกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล แผนการดําเนินงาน ในการสรางความเขมแข็งใหเกษตรกรชาวสวนยางพารา ชุมชน โดยใหค วามชว ยเหลอื ในดา นการผลติ การแปรรปู และการตลาด 1. ดําเนินการและบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ยางพารา เพ่ือสรางมูลคาเพิ่มและเพิ่มรายไดของเกษตรกร โดยไมใหก ระทบตอชุมชนโดยรวม ชาวสวนยางพารา 2. ดาํ เนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ โดยใหช มุ ชนเขา มามสี ว นรว ม 2. อ.ส.ย. ตอบสนองความตองการของลูกคา 3. จดั ทาํ บอ บาํ บดั นาํ้ เสยี ของโรงงานผลติ นาํ้ ยางขน โดยการนําเสนอสินคาที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล และมี ฝายโรงงาน 2 ใหไดม าตรฐาน ความหลากหลาย เพื่อสรางความพึงพอใจใหแกลูกคา ลูกคา มากทสี่ ดุ ตลอดจนจดั ใหม กี ารบรกิ ารหลงั การขาย การรบั ขอ 1. สํารวจความพึงพอใจของสินคาโดยนําขอ รองเรียน และการเจรจาเม่ือสินคา มีปญหาดานคุณภาพ เสนอแนะตา ง ๆ มาปรบั ปรงุ แกไ ข เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการ โดยหาวธิ กี ารแกไ ขปญ หาทเ่ี หมาะสมและยอมรบั ไดท ง้ั สองฝา ย ของลกู คา ใหมากทสี่ ุด 3. ใหความเทาเทียมกับลูกคาทุกราย เพ่ือใหเกิด 2. สรางพันธมิตรทางธุรกิจ โดยใหความชวยเหลือ ความโปรงใส เปนธรรมและตรวจสอบได เพื่อใหลูกคาเกิด หรือแลกเปลี่ยนขอมูลดานการตลาด เพื่อใหการดําเนินงาน ความมน่ั ใจในการทําธุรกิจกบั อ.ส.ย. เปนไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ใหมีการแขงขันดานราคาอยางเสรี โดยการ ประมูลซ้ือสินคาผานสํานักตลาดกลางยางพาราหาดใหญ ซึง่ เปนคนกลางที่ดําเนนิ การ หรือเสนอซอื้ โดยตรง 4. นโยบายดŒานบุคลากร กลยุทธ/ แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. พฒั นาระบบการสรรหาและการจดั การอตั รากาํ ลงั นโยบาย ใหส อดคลองกับภารกจิ คณะกรรมการ อ.ส.ย. ใหค วามสําคัญกบั การพฒั นา 2. พัฒนาระบบการบริหารผลตอบแทนและสิทธิ ดานบริหารทรัพยากรบุคคล โดยสงเสริมใหมีการยกระดับ ประโยชน ความรูความสามารถของบุคลากรทุกระดับ ใหโอกาส 3. พฒั นาระบบการวดั และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ความกาวหนาแกพนักงานดวยความยุติธรรมและเสมอภาพ เพ่อื ใหเปนธรรมและโปรงใส ของบุคลากรทุกระดับ ตลอดจนสรางจิตสํานึกเก่ียวกับ 4. พฒั นาระบบการพัฒนาทรพั ยากรบุคคล เพอื่ ให คุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนาองคกรใหมี บคุ ลากรของ อ.ส.ย. มคี วามสามารถสอดคลอ งกบั ความตอ งการ ประสิทธภิ าพสงู สุด ขององคก ร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 121 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

5. พฒั นาระบบแรงงานสมั พนั ธ ระบบความปลอดภยั กลยุทธท่ี 4 สขุ อนามยั สภาพแวดลอ มและกระบวนการสอื่ สารกบั พนกั งาน 4.1 พัฒนากระบวนการจัดทําแผนการพัฒนา บคุ ลากรใหส อดคลอ งกับ Competency 6. พฒั นาหลกั ธรรมาภบิ าล และระบบการใหบ รกิ าร 4.2 ดําเนินการจดั ทํา Career management คาํ ปรกึ ษาแนะนาํ จากฝา ยบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 4.3 ดาํ เนนิ การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทร่ี บั ผดิ ชอบ ดา นทรพั ยากรบุคคลอยา งเปน ระบบ 7. พัฒนาระบบสารสนเทศดานการบริหาร กลยทุ ธท่ี 5 ทรพั ยากรบคุ คลใหส ามารถรองรบั การปรบั ปรงุ ระบบบรหิ าร 5.1 พัฒนากระบวนการแรงงานสมั พันธ ทรพั ยากรบุคคล 5.2 กาํ หนดมาตรฐาน/มาตรการดา นความปลอดภยั และสุขอนามัย และจัดทําแผนงานดานความปลอดภัย 8. สงเสริมกระบวนการเรียนรู และพัฒนาองคกร ท้งั ระยะสน้ั และระยะยาว เปน องคก รแหงการเรียนรู (Knowledge Management) กลยุทธท ่ี 6 6.1 สง เสรมิ มาตรฐานจรรยาบรรณและทบทวนความ แผนการดาํ เนนิ งาน จาํ เปน ในการปรบั ปรงุ กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ใหส อดคลอ งกบั กลยุทธท ่ี 1 มาตรฐานจรรยาบรรณ และการเชอ่ื มโยงกบั ระบบการใหค ณุ 1.1 ปรบั ปรงุ กระบวนการวางแผนอตั รากาํ ลงั เพอ่ื ให ใหโทษ ตอบสนองภารกจิ ของ อ.ส.ย. 6.2 จัดวางระบบการใหบริการคําปรึกษาแนะนํา 1.2 ปรบั ปรงุ โครงสรา งของตาํ แหนง งานและกลมุ งาน ดา นการจัดการทรัพยากรบุคคลทมี่ ีประสิทธผิ ล (Job Analysis Review & Competency Identification) กลยทุ ธท ่ี 7 กลยุทธท ่ี 2 7.1 พฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื ใชใ นการบรหิ ารและ 2.1 ปรบั ปรุงโครงสรา งคาตอบแทน พัฒนาทรัพยากรบุคคลท่มี ีประสทิ ธิภาพ (HRIS) 2.2 ปรับปรุงมาตรฐานสิทธิประโยชนใหจูงใจและ กลยทุ ธท ่ี 8 สอดคลองกับฐานะการเงนิ 8.1 ถายทอดความรฝู งแนน เปน ความรูสสู าธารณะ กลยทุ ธท ่ี 3 3.1 พฒั นาเครือ่ งมอื ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน แนวทางส‹งเสริมและผลกั ดันการปฏบิ ัตติ ามนโยบายการกาํ กับดแู ลกจิ การทด่ี ี 1. สงเสริมการมีสวนรวมของคณะกรรมการ 3. รณรงคและปลูกฝงใหพนักงานทุกระดับมี ผูบริหาร และผูบังคับบัญชาในทุกระดับเพื่อดําเนินการ คุณธรรม และจริยธรรม โดยใหปฏิบัติตามเจตนารมณของ ตามนโยบายกาํ กบั ดูแลกจิ การทดี่ ี อ.ส.ย. เสริมสรางจิตสํานึกใหพนักงานเห็นคุณคาของการ มจี รยิ ธรรมในการปฏบิ ตั ิงาน 2. สื่อสารและประชาสัมพันธสงเสริมใหบุคลากร ในองคกรมสี วนรว มใหมกี ารกาํ กบั ดูแลกิจการท่ดี ี โดยมกี าร 4. จัดฝกอบรมหลักสูตรการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดําเนินการใหเ กิดผลเปน รูปธรรม ใหกับพนักงาน ลกู จาง เพอื่ ใหเขาใจและปฏบิ ัตงิ านตามหลัก การกาํ กบั ดูแลกิจการทด่ี ี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 122 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลการดาํ เนินงานทสี่ าํ คญั ในรอบป‚ 2558 ผลการดาํ เนินงานดŒานสวนยาง ฝ†ายสวน 1 • พื้นทส่ี ว นที่เหลือเปน สํานกั งาน อาคาร บา นพกั ตั้งอยูหมูที่ 16 ตําบลชางกลาง อําเภอชางกลาง หวย ทลี่ มุ และพนื้ ทว่ี า งเปลา จาํ นวน 2,001 ไร จังหวัดนครศรีธรรมราช ทําการเปดกรีดยางไดต้ังแต ผลผลิตฝายสวน 2 พ.ศ.2508 จนถึงปจจุบัน มีพ้ืนท่ี 10,200 ไร โดยมีพ้ืนท่ี ในป 2558 ปริมาณผลผลิตเน้ือยางแหง จํานวน สวนยางเพื่อทําประโยชน แยกเปน 2,174.42 ตัน จากวนั กรดี 94.25 วนั /แปลงกรดี เฉลย่ี ผลผลติ 2.35 • สวนยางกรีดได จาํ นวน 6,610 ไร กิโลกรัม/ไร/คร้งั กรีด • สวนยางปลกู แทน จาํ นวน 1,822 ไร (ปง บประมาณ ผลการดําเนินงานดŒานสวนยาง ฝ†ายสวน 3 2558) ตั้งอยูห มูท ี่ 2 ตําบลกรงุ หยัน อําเภอทุง ใหญ จังหวัด • พืน้ ทโี่ คน 912 ไร • สวนปาลม นา้ํ มนั จาํ นวน 241 ไร นครศรีธรรมราช มีพ้ืนท่ี 15,000 ไร ดําเนินการปลูกสราง • แปลงขยายพันธยุ าง จาํ นวน 165 ไร สวนยางแลว ในป พ.ศ.2523 จาํ นวน 8,000 ไรแ ละปลกู สรา ง • สว นทเี่ หลอื เปน อาคารสาํ นกั งาน โรงงาน บา นพกั ในป 2524 แลว เสรจ็ จาํ นวน 7,000 ไร จนถงึ ปจ จบุ นั มพี น้ื ที่ สวนยางทาํ ประโยชน แยกเปน หวย ที่ลุม สวนกาแฟหมดสภาพและพ้ืนท่ี วางเปลา 450 ไร • พ้ืนท่สี วนยางกรีดได จํานวน 9,019 ไร ผลผลติ ฝา ยสวน 1 • พืน้ ที่สวนยางกรีดไดเ ตรยี มโคน 2,310 ไร ในป 2558 ปริมาณผลผลิตเนื้อยางแหง จํานวน • พ้ืนทีป่ ลูกปาลม นาํ้ มนั จาํ นวน 84 ไร 1,591.55 ตนั • พน้ื ทส่ี วนท่เี หลือเปน สาํ นกั งาน อาคาร บานพัก จากวนั กรดี 99.76 วนั /แปลงกรดี เฉลย่ี ผลผลติ 2.53 กโิ ลกรมั /ไร/ครัง้ กรดี หวย ทีล่ มุ และพนื้ ที่วา งเปลา จํานวน 3,587 ไร แปลงขยายพันธุยาง ผลผลิตฝา ยสวน 3 ในป 2558 แปลงขยายพันธุยาง ผลิตพันธุยาง ในป 2558 ปริมาณผลผลิตเนื้อยางแหง จํานวน ชนิดตา ง ๆ ดงั น้ี 1,512.35 ตนั ผลติ กง่ิ ตายาง จาํ นวน 101,782 กิ่ง จากวนั กรดี 84.22 วนั /แปลงกรดี เฉลยี่ ผลผลติ 1.99 ผลติ ตน ยางตาเขียว จาํ นวน 161,067 ตน กโิ ลกรัม/ไร/ ครงั้ กรดี ผลติ ตน ยางชาํ ถงุ จํานวน 137,473 ตน ปริมาณผลผลิตเน้อื ยางแหง (ตนั ) ผลการดาํ เนินงานดŒานสวนยาง ฝ†ายสวน 2 ฝายสวน 1 ปรมิ าณผลผลิต 1,591.54 ตัน ตงั้ อยหู มทู ่ี 2, 7 ตาํ บลกรงุ หยนั อาํ เภอทงุ ใหญ จงั หวดั ฝายสวน 2 ปริมาณผลผลติ 2,372.07 ตนั ฝา ยสวน 3 ปริมาณผลผลิต 1,512.35 ตนั นครศรีธรรมราช มีพ้ืนที่ 16,600 ไร ดําเนินการปลูกสราง สวนยาง ในป พ.ศ.2519 จนถึงปจจุบัน มีพ้ืนที่สวนยาง ทําประโยชน แยกเปน • สวนยางกรดี ได จาํ นวน 10,743 ไร • สวนยางปลูกแทน จํานวน 3,647 ไร • พ้นื ทปี่ ลกู ปาลม น้ํามัน จาํ นวน 209 ไร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 123 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลการดาํ เนินงานดาŒ นโรงงาน ฝา† ยโรงงาน 1 ผลการดําเนนิ งานดŒานโรงงาน ฝ†ายโรงงาน 2 ตั้งอยูหมูที่ 16 ตําบลชางกลาง อําเภอชางกลาง ตั้งอยูหมูท ี่ 2 ตําบลกรุงหยัน อาํ เภอทุงใหญ จังหวดั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ดาํ เนนิ การกอ สรา งเมอ่ื ป พ.ศ. 2496 นครศรีธรรมราช กอสรางเม่ือป 2515-2516 ทําการผลิต ทาํ การผลติ ยางแผน รมควันในป พ.ศ.2505 ทาํ การผลิตยาง ยางแทง ในป พ.ศ.2523 ไดสรา งโรงงานผลติ น้ํายางขน และ เครปนํา้ ตาล ในป พ.ศ.2508 ทําการผลิตยางเครปขาว ในป ขยายการผลติ นา้ํ ยางขน โดยการเพม่ิ เครอ่ื งจกั รและอปุ กรณ พ.ศ.2511 ทําการผลิตยางแทง ในป พ.ศ.2525 ทาํ การผลิต ในป พ.ศ.2530 และ พ.ศ.2539 ปจ จบุ นั ทาํ การผลติ นา้ํ ยางขน ยางแผนอบแหง ในป พ.ศ.2531 ไดปรับปรุงกระบวนการ และยางแทงสกิม ซึ่งมผี ลการดําเนนิ งานสรุปได ดังน้ี ผลิตยางแทง STR5L ในป พ.ศ.2536 ไดกอสรางโรงงาน ผลิตยางแทง STR20 ใหม โดยดําเนินการผลิตไดในป นํ้ายางขน พ.ศ.2538 ปจ จบุ ันฝายโรงงาน 1 ทาํ การผลติ ยางเครปขาว เปา หมายการผลติ ป 2558 จํานวน 10,000 ตนั ยางแทง STR5L และยางแทง STR20 ซง่ึ มผี ลการดาํ เนนิ งาน ผลการดาํ เนินงาน ป 2558 จํานวน 7,859.60 ตัน สรปุ ได ดังนี้ ยางแทงสกมิ ยางเครปขาว เปา หมายการผลติ ป 2558 จํานวน 900 ตัน เปา หมายการผลติ ป 2558 จํานวน 300 ตนั ผลการดาํ เนนิ งาน ป 2558 จาํ นวน 614.35 ตัน ผลการดําเนินงาน ป 2558 จาํ นวน 75.53 ตนั ยางแทง STR5L เปาหมายการผลิต ป 2558 จาํ นวน 3,770 ตนั ผลการดาํ เนนิ งาน ป 2558 จาํ นวน 3,220.93 ตนั ยางแทง STR20 เปาหมายการผลิต ป 2558 จาํ นวน 2,535 ตัน ผลการดาํ เนนิ งาน ป 2558 จาํ นวน 89.25 ตนั รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 124 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลการดาํ เนินงานดาŒ นโรงงาน ฝ†ายโรงงาน 3 ผลการดาํ เนนิ งานดŒานโรงงาน ฝา† ยโรงงาน 4 ตง้ั อยหู มทู ี่ 9 ตาํ บลชา งกลาง อาํ เภอชา งกลาง จงั หวดั ทต่ี ง้ั ฝา ยโรงงาน 4 ตาํ บลไพร อาํ เภอขนุ หาญ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ขนาดกําลงั ผลิต 30,000 ตนั /ป ผลิตยาง ศรีสะเกษ ทําการผลติ ยางแทง STR20 แผนรมควันจากยางแผนดิบท่ีซื้อจากเกษตรกรชาวสวนยาง มีไลนก ารผลติ ยางแทง STR20 ปทต่ี ดิ ตงั้ พ.ศ.2552 กลมุ เกษตรกรชาวสวนยาง และสถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง เปนการสนองนโยบายของรัฐ ในการแกไขปญหาราคา จัดเปนเครื่องจักรใหมท้ังสิ้น กําลังการผลิต 20,000 ตัน/ป ยางพาราตกตา่ํ ในระยะสนั้ และระยะยาวเปด ดาํ เนนิ การผลติ คุณภาพผลผลิตตามมาตรฐาน 90% การสูญเสียใน เมื่อวนั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ 2542 ซึ่งมผี ลการดาํ เนินงานสรปุ ได กระบวนการผลติ 1.00% ซงึ่ มผี ลการดาํ เนนิ งานสรปุ ได ดงั นี้ ดังนี้ ยางแทง STR20 ยางแผนรมควัน เปาหมายการผลติ ป 2558 จาํ นวน 6,000 ตนั เปาหมายการผลติ ป 2558 จํานวน 3,250 ตนั ผลการดาํ เนนิ งาน ป 2558 จํานวน 1,118.075 ตนั ผลการดาํ เนนิ งาน ป 2558 จํานวน 324.98 ตนั ผลการดาํ เนินงานดŒานโรงงาน ฝ†ายโรงงาน 5 ท่ีตั้งฝายโรงงาน 5 ตําบลผาสุก อําเภอวังสามหมอ จังหวดั อดุ รธานี ทาํ การผลิตยางแทง STR20 มีไลนก ารผลิตยางแทง STR20 ปท่ตี ิดตั้ง พ.ศ.2552 จัดเปนเคร่ืองจักรใหมทั้งสิ้น กําลังการผลิต 20,000 ตัน/ป คุณภาพผลผลิตตามมาตรฐาน 90% การสูญเสียใน กระบวนการผลติ 1.00% ซง่ึ มผี ลการดาํ เนนิ งานสรปุ ได ดงั นี้ ยางแทง STR20 เปา หมายการผลิต ป 2558 จาํ นวน 6,000 ตัน ผลการดาํ เนินงาน ป 2558 จาํ นวน 2,413.005 ตัน ผลการดําเนนิ งานดŒานโรงงาน ฝ†ายโรงงาน 6 ท่ีตั้งฝายโรงงาน 6 ตําบลพนอม อําเภอทาอุเทน จังหวดั นครพนม ทําการผลิตยางแทง STR20 มไี ลนก ารผลิตยางแทง STR20 ปท่ตี ดิ ต้ัง พ.ศ.2552 จัดเปนเคร่ืองจักรใหมทั้งส้ิน กําลังการผลิต 20,000 ตัน/ป คุณภาพผลผลิตตามมาตรฐาน 90% การสูญเสียใน กระบวนการผลติ 1.00% ซงึ่ มผี ลการดาํ เนนิ งานสรปุ ได ดงั นี้ ยางแทง STR20 เปาหมายการผลติ ป 2558 จํานวน 6,000 ตนั ผลการดําเนนิ งาน ป 2558 จํานวน 2,448.040 ตัน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 125 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลการดาํ เนินงานดาŒ นการเงิน องคการสวนยาง งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558 สนิ ทรพั ย หมายเหตุ หนวย : ลานบาท สนิ ทรัพยหมุนเวยี น 6 30 กนั ยายน 2558 เงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด 7 เงนิ ลงทนุ ชวั่ คราว 8 136,876,891.72 ลกู หนกี้ ารคา และลกู หนอ้ี น่ื 9 18,706,737.64 สนิ คา และวสั ดคุ งเหลอื - สทุ ธิ 52,885,651.15 งานระหวา งทาํ 10 251,349,841.22 พสั ดคุ งเหลอื 11 เงนิ คา งรบั - สนิ ทรพั ยห มนุ เวยี นอนื่ 12 1,916,557.02 13 13,597,672.47 รวมสินทรัพยห มุนเวียน 14 1,053,546.44 สินทรัพยไม‹หมนุ เวียน 15 476,386,897.66 16 เงนิ ใหย มื โครงการ คสอ.ปร. 11,889,219.27 ดอกเบย้ี เงนิ ใหย มื โครงการ คสอ.ปร.คา งรบั 7,341,959.43 ทดี่ นิ อาคารและอปุ กรณ 951,101,117.37 สนิ ทรพั ยไ มม ตี วั ตน สนิ ทรพั ยไ มห มนุ เวยี นอนื่ 300,619.78 3,448,183.01 รวมสนิ ทรพั ยไม‹หมุนเวียน 974,081,098.86 รวมสนิ ทรพั ย 1,450,467,996.52 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 126 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

องคก ารสวนยาง งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558 หนสี้ ินและส‹วนของทนุ หมายเหตุ หนวย : ลานบาท หนี้สนิ หมุนเวยี น 30 กนั ยายน 2558 17 เจา หนีก้ ารคาและเจา หน้อี น่ื 18 7,125,615.78 คา ใชจ า ยคา งจา ย 19 59,607,131.85 หนีส้ นิ หมุนเวียนอนื่ 29,607,613.96 20 96,340,361.59 รวมหน้ีสินหมุนเวียน หนี้สนิ ไมห‹ มุนเวียน 21 5,809,743.11 22 250,000,000.00 เงินกรู ะยะยาว 23 47,691,580.38 เงนิ กโู ครงการ 300 ลานบาท รายไดรอการรับรู 1,304,006.94 ประมาณหนส้ี ินระยะยาว- คาบริหารโครงการฯ 93,900,838.00 ประมาณหนสี้ ินระยะยาว -เงนิ กองทนุ ฯ หน้ีสินไมห มุนเวยี นอน่ื - 398,706,168.43 รวมหน้สี ินไมห‹ มุนเวยี น 495,046,530.02 รวมหน้สี ิน ส‹วนของทนุ 94,250,485.92 583,178,740.88 ทนุ เงนิ งบประมาณ 36,297,686.45 กาํ ไรสะสม 9,270,874.31 จัดสรรแลว 232,423,678.94 สาํ รองขยายงาน 955,421,466.50 สาํ รองธรรมดา 1,450,467,996.52 ยังไมไ ดจ ัดสรร สว‹ นรวมของทนุ รวมหน้ีสินและสว‹ นของทุน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 127 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลการดาํ เนินงานดาŒ นการเงนิ องคการสวนยาง งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ จําแนกค‹าใชจŒ ‹ายตามหนาŒ ที่ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2558 รายไดŒ หมายเหตุ หนว ย : ลา นบาท รายไดจ ากการขายยาง (รายละเอยี ด 1) 30 กนั ยายน 2558 รายไดจ ากการขายยางโครงการเงนิ กู 300 ลา นบาท รายไดจ ากการขายวสั ดปุ ลกู (รายละเอยี ด 1) 503,956,007.75 รายไดจ ากการแปรรปู ไมย างพารา (รายละเอยี ด 3) 119,274,519.49 รายไดร บั จา งผลติ ยาง STR20/ยางคอมปาวด รายไดร บั จา งผลติ ยางแผน รมควนั (รายละเอยี ด 2) 4,266,325.56 รายไดจ ากเงนิ งบประมาณโครงการจดั ตง้ั ศนู ยเ ครอื ขา ยฯ 4,838,633.95 รายไดจ ากโครงการจาํ หนา ยปจ จยั การผลติ 46,685,240.00 รายไดอ นื่ กาํ ไรจากการขายทรพั ยส นิ 28,552,927.10 รายไดอ นื่ 3,233,543.78 รวมรายไดŒ 378,180.00 คา‹ ใชจŒ า‹ ย ตน ทนุ ขายยาง 2,199,898.36 ตน ทนุ จากการขายยางโครงการเงนิ กู 300 ลา นบาท 29,508,349.51 ตน ทนุ ขายวสั ดปุ ลกู 742,893,625.50 ตน ทนุ ขายแปรรปู ไมย างพารา คา ใชจ า ยรบั จา งผลติ ยาง STR20 504,202,725.50 คา ใชจ า ยรบั จา งผลติ ยางแผน รมควนั 186,549,531.45 คา ใชจ า ยโครงการจดั ตง้ั ศนู ยเ ครอื ขา ยฯ ตน ทนุ ขายโครงการปจ จยั การผลติ 5,802,996.95 คา ใชจ า ยในการขายและบรหิ าร 10,061,847.99 คา เสอ่ื มราคาทรพั ยส นิ 71,430,498.63 คา ใชจ า ยอนื่ 31,895,606.19 รวมคา‹ ใชŒจ‹าย 3,233,543.78 371,362.26 77,639,292.18 10,031,893.55 4,614,697.13 905,833,995.61 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 128 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

องคก ารสวนยาง หนว ย : ลานบาท งบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสร็จ จาํ แนกค‹าใชจŒ ‹ายตามหนŒาที่ 30 กนั ยายน 2558 (162,940,370.11) ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 13,519.84 กาํ ไร (ขาดทนุ ) กอ นหกั ตน ทนุ ทางการเงนิ (162,953,889.95) ตน ทนุ ทางการเงนิ - กําไรสาํ หรบั งวด กาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อน่ื (162,953,889.95) ผลกาํ ไร (ขาดทนุ ) จากการประมาณตามหลกั คณติ ศาสตร ประกนั ภยั สาํ หรบั โครงการผลประโยชนพ นกั งาน กําไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ รวมสําหรับงวด รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 129 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 130 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand องคก ารสวนยาง งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสว‹ นของทุน สาํ หรบั งวด สิ้นสุดวันท่ี 30 กนั ยายน 2558 ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 ทุน กําไรสะสมจดั สรรแลŒว สํารองธรรมดา กําไรสะสม หนว ย : ลา นบาท 677,429,226.80 สํารองขยายงาน 9,270,874.31 ยังไม‹จดั สรร รวม 36,297,686.45 303,447,783.31 1,026,445,570.87 บวก กาํ ไร (ขาดทุน) สทุ ธิ - (162,953,889.95) (162,953,889.95) ปรบั ปรงุ รายทางการบญั ชีป 2557 - - - - หัก ปรับปรุงรายทางการบัญชปี  2557 ยอดคงเหลือ ณ วนั ที่ กันยายน 2558 677,429,226.80 36,297,686.45 9,270,874.31 140,493,893.36 863,491,680.92

สถาบนั วิจัยยาง (สวย.) Rubber Research Institute of Thailand รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 131 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลงานวจิ ยั จากตŒนนํ้าถงึ ปลายนํา้ ของสถาบันวจิ ัยยาง ยางพารา (Hevea brasiliensis) เปน พชื อตุ สาหกรรม บริการทดสอบยางแทงเพื่อการสงออก การบริการตาม ท่ีสําคัญของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทย พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ ยาง พ.ศ. 2542 งานตลาดกลางยางพารา เปนประเทศผูสงออกยางมากเปนอันดับหน่ึงของโลก และงานถายทอดเทคโนโลยี โดยประสานงานกับหนวยงาน สถาบันวิจัยยาง เปนหนวยงานหลักในการคนควาวิจัยและ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั ยางพาราทง้ั ในประเทศและองคก รยางระหวา ง พฒั นายางพาราทกุ สาขาอยา งครบวงจร ตงั้ แตง านวจิ ยั ดา น ประเทศ การคนควาวิจัยและพัฒนายางไดดําเนินการเพื่อ การผลิตยาง งานวิจัยดานเศรษฐกิจและการตลาดยาง สนบั สนนุ เกษตรกรและผเู กยี่ วขอ งกบั ภาคยางอยา งครบวงจร งานวจิ ยั อตุ สาหกรรมเพอ่ื เพมิ่ มลู คา ยางซงึ่ รวมถงึ การแปรรปู ยาง ท้งั ตนน้ํา กลางนํ้า และปลายนํา้ การพฒั นาผลิตภัณฑย าง และไมยางพารา ตลอดจนการให ผลงานวิจยั ตŒนนาํ้ โดยงานวิจัยพันธุยางมีเปาหมายเพ่ือไดพันธุยาง แนะนําท่ีใหผลผลิตนํ้ายางสูงกวาพันธุที่เกษตรกรนิยมปลูก ในสวนของงานวิจัยที่เกี่ยวกับตนนํ้า มุงการเพ่ิม ในปจจุบัน อยางนอยรอยละ 20 และเหมาะสมสําหรับ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ท่ีเหมาะกับสวนยาง ต้ังแตการพฒั นา ปลกู ในพน้ื ทป่ี ลกู ยางอยา งนอ ย 2 พนั ธุ พนั ธยุ างทไี่ ดจ ะนาํ มา วัสดุปลูกยาง การปรับปรุงพันธุยาง การใชปุยในสวนยาง ใชป รบั ปรงุ คาํ แนะนาํ พนั ธยุ างของสถาบนั วจิ ยั ยางทจี่ ะมกี าร การกรดี ยาง การใชเ ทคโนโลยชี วี ภาพชว ยในการวจิ ยั ปรบั ปรงุ ปรับปรงุ ทกุ ๆ 4 ปต อ ไป พนั ธยุ าง การปอ งกนั และกาํ จดั โรคยาง และการผลติ ตอ หนว ย พ้ืนที่ การปรบั ปรงุ พันธุยาง เปนงานวิจัยในสวนของตนน้าํ ในสวนของตนนํ้า ผลงานวิจัยของสถาบันวิจัยยาง ท่ีสําคัญและเกิดประโยชนแกเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต ท่ีดําเนินงานในป 2558 และสามารถนําไปแนะนําใหกับ และลดตนทุนการผลิตตอหนวยพื้นท่ี และใชเวลาในการ เกษตรกรและผเู กย่ี วขอ งตอ ไปได เปน ผลงานวจิ ยั ในโครงการ ดําเนินการยาวนานมากกวา 25 ปต้ังแตการสรางลูกผสม การวิจัยพันธุยางที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมในพ้ืนท่ี ยางพันธุใหมโดยการผสมพันธุ และการคัดเลือกพันธุยาง ก่ึงแหง แลง ที่สามารถคดั เลือกพนั ธยุ างท่ีมผี ลผลติ นํา้ ยางสงู โดยมวี ัตถุประสงคเ พอื่ สามารถปรับตัวไดดีในพ้ืนท่ีก่ึงแหงแลง จํานวน 2 พันธุคือ พันธุสถาบันวิจัยยาง 3604 (RRIT 3604) และพันธุยาง 1. สรา งพนั ธยุ างใหมท ใี่ หผ ลผลติ สงู การเจรญิ เตบิ โตดี สถาบนั วิจยั ยาง 3906 (RRIT 3906) โดยมรี ายละเอยี ดการ ตา นทานโรค เชน ไฟทอปโทรา เสน ดาํ และเหมาะสมสาํ หรบั วิจัยพันธุยางตั้งแตการผสมพันธุยาง การคัดเลือกพันธุยาง แนะนําใหปลูกในพื้นท่ีชุมชื้นที่มีปริมาณฝนมากกวา 1,600 จนไดพนั ธุยางท่ีใหผลผลิตน้ํายางสงู ตามรายละเอยี ดดังน้ี มิลลิเมตรตอป รวมทั้งมีลักษณะอื่นๆท่ีดี คุณสมบัติของนํ้า ยางทเี่ หมาะสมกบั อตุ สาหกรรมยาง และมีลักษณะของพนั ธุ ยางตรงตามความตองการของเกษตรกร 2. สรา งพนั ธยุ างใหมท ใ่ี หผ ลผลติ สงู การเจรญิ เตบิ โตดี ตานทานโรค เชน ราแปงและใบจุดนูน เหมาะสมสําหรับ แนะนําใหปลูกในพ้ืนท่ีกึ่งแหงแลงที่มีปริมาณฝนต่ํากวา 1,600 มลิ ลิเมตรตอป รวมท้ังมีลักษณะอืน่ ๆท่ีดี คุณสมบตั ิ ของนํ้ายางที่เหมาะสมกับอุตสาหกรรมยาง และมีลักษณะ ของพันธยุ างตรงตามความตอ งการของเกษตรกร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 132 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ยางพนั ธุ สถาบนั วิจยั ยาง 3604 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 133 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สถาบันวิจยั ยาง 3604 (RRIT 3604) แม x พอ PB 235 x RRIM 600 ประวตั ิ - ป พ.ศ.2536 ผสมพันธยุ างท่ศี นู ยวิจยั ยางฉะเชงิ เทรา ไดต น กลาลูกผสมจาํ นวน 1,673 ตน - เดือนตุลาคม 2536 ปลูกตนกลาลูกผสมรวมกับพันธุเปรียบเทียบในแปลงคัดเลือกพันธุยางเบ้ืองตน เปดกรดี เม่ือตน ยางอายุ 3 ป - กรดี ทดสอบผลผลติ และคดั เลอื กไดต น กลา ลกู ผสมระหวา งพนั ธุ PB 235 กบั RRIM 600 ทปี่ ลกู ในลาํ ดบั ที่ 1035 (RRI-CH-36-1035) เปลีย่ นช่อื เปน สถาบันวิจัยยาง 3604 ในป พ.ศ. 2554 ผลผลติ ยาง - ใหผ ลผลิตเน้ือยางแหง สงู ตัง้ แตเริ่มเปด กรีดปแ รกและใหผลผลิตสงู ในปต อมา โดยมีผลผลิตเฉล่ยี ตอตน ในแตละครงั้ กรีดเฉลยี่ 9 ปกรีด เทา กบั 52.4 กรมั /ตน/ครั้งกรดี สงู กวา พันธุ RRIM 600 ซ่งึ เปน พนั ธุ เปรียบเทยี บ ท่ีปลูกในแปลงทดลองเดียวกนั รอยละ 132 - ใหผ ลผลติ เปน กโิ ลกรมั ตอ ไร เฉลย่ี 9 ปก รดี เทา กบั 392 กโิ ลกรมั /ไร/ ป สงู กวา พนั ธุ RRIM 600 ซงึ่ เปรยี บเทยี บ ที่ปลกู ในแปลงทดลองเดยี วกนั รอยละ 119 ผลผลิตยางเฉลย่ี ตอ ตนยางในแตล ะครั้งกรดี (กรมั /ตน/ครั้งกรดี ) พนั ธุ ปท‚ ี่ 1 ปท‚ ี่ 2 ปท‚ ่ี 3 ป‚ท่ี 4 ป‚ที่ 5 ป‚ที่ 6 ป‚ท่ี 7 ปท‚ ี่ 8 ป‚ท่ี 9 เฉลยี่ เทียบกับพนั ธุ RRIM 600 (%) RRIT 3604 28.6 43.4 34.6 34.8 61.2 66.6 59.8 65.7 76.7 52.4 232 RRIM 600 11.8 13.2 20.3 18.2 23.7 28.3 32.0 29.5 25.9 22.6 100 ผลผลติ ยาง ตอไร (กิโลกรัม/ไร/ป) พนั ธุ ปท‚ ่ี 1 ป‚ที่ 2 ปท‚ ี่ 3 ปท‚ ่ี 4 ป‚ท่ี 5 ป‚ที่ 6 ป‚ท่ี 7 ปท‚ ี่ 8 ปท‚ ี่ 9 เฉลี่ย เทียบกับพนั ธุ RRIM 600 (%) RRIT 3604 189.4 331.3 227.5 292.1 421.2 464.3 457.6 534.6 610.3 392.0 RRIM 600 84.3 110.7 149.2 150.8 180.3 215.1 276.9 240.2 205.7 179.2 232 100 การเจรญิ เตบิ โต - มกี ารเจรญิ เตบิ โตในระดบั ดี โดยมขี นาดรอบลาํ ตน เมอ่ื อายุ 15 ปเ ฉลยี่ 70.4 ซม. โตกวา พนั ธุ RRIM 600 ซงึ่ เปน พนั ธเุ ปรยี บเทยี บ รอ ยละ 16 และมขี นาดลาํ ตน สมาํ่ เสมอกนั ภายในแปลงดี ทาํ ใหม ตี น เปด กรดี ไดในปแ รกสูง ขนาดรอบลาํ ตน (ซม.) เม่ือตนยางอายุ 2-15 ป พันธุ 2 ป‚ 3 ป‚ 4 ป‚ 5 ป‚ 6 ป‚ 7 ป‚ 8 ป‚ 9 ป‚ 10 ป‚ 11 ป‚ 12 ป‚ 13 ป‚ 14 ป‚ 15 ป‚ เทยี บกบั พนั ธุ RRIM 600 (%) RRIT 3604 10.4 18.4 26.6 35.2 40.1 48.3 54.6 58.0 64.1 66.7 67.4 68.6 69.2 70.4 232 RRIM 600 10.4 16.9 23.5 30.7 34.5 40.7 45.5 49.1 52.6 54.8 56.5 58.1 58.5 60.0 100 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 134 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ยางพันธุ สถาบันวิจัยยาง 3604 ผลผลติ ยางของพันธสุ ถาบนั วิจยั ยาง 3906 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 135 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สถาบนั วจิ ัยยาง 3906 (RRIT 3906) แม x พอ RRIC 121 x RRIC 7 ประวัติ - ป พ.ศ. 2539 ผสมพันธยุ างที่ศูนยวิจัยยางฉะเชงิ เทรา ไดต นกลาลูกผสมจาํ นวน 1,466 ตน - เดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 นาํ ลงปลกู ในแปลงคดั เลือกพันธยุ างเบือ้ งตนรวมกบั พนั ธุ RRIM 600 ซึ่งเปน พนั ธุเปรียบเทยี บ เปด กรีดเม่ือตน ยางอายุ 3 ป 3 เดือน - กรดี ทดสอบผลผลติ คดั เลอื กไดต น กลา ลกู ผสมระหวา งพนั ธุ RRIC 121 กบั RRIC 7 ทปี่ ลกู ในลาํ ดบั ท่ี 2085 (RRI-CH-39-2085) เปลีย่ นช่ือเปน สถาบันวจิ ัยยาง 3906 ในป พ.ศ. 2554 ผลผลิตยาง - ใหผลผลิตเน้ือยางแหงสูงมากต้ังแตเร่ิมเปดกรีดปแรกและใหผลผลิตสูงในปตอมา โดยมีผลผลิตตอตน ในแตล ะคร้งั กรดี เฉล่ีย 7 ปก รีด เทากบั 66.4 กรัม/ตน/ครงั้ กรดี สงู กวา พนั ธุเปรยี บเทยี บ RRIM 600 ทป่ี ลูกในแปลงทดลองเดยี วกันรอ ยละ 394 - ใหผ ลผลิตยางเปน กิโลกรัมตอ ไร เฉลีย่ 7 ปก รดี เทา กับ 458 กิโลกรัม/ไร/ป สูงกวาพนั ธุ RRIM 600 ซง่ึ เปน เปรยี บเทียบ ที่ปลกู ในแปลงทดลองเดยี วกนั รอ ยละ 386 ผลผลิตยางเฉล่ยี ตอตนยางในแตล ะครั้งกรีด (กรัม/ตน /คร้งั กรีด) พันธุ ปท‚ ี่ 1 ปท‚ ี่ 2 ป‚ท่ี 3 ป‚ท่ี 4 ป‚ท่ี 5 ปท‚ ี่ 6 ป‚ท่ี 7 เฉลยี่ เทียบกบั พันธุ RRIM 600 (%) RRIT 3906 RRIM 600 49.6 55.5 55.1 76.1 65.3 87.0 55.8 66.4 494 8.8 10.0 13.9 15.2 14.7 11.0 16.6 13.5 100 ผลผลิตยาง ตอ ไร (กโิ ลกรัม/ไร/ป) พนั ธุ ป‚ที่ 1 ปท‚ ่ี 2 ป‚ท่ี 3 ป‚ท่ี 4 ปท‚ ่ี 5 ป‚ที่ 6 ปท‚ ี่ 7 เฉลีย่ เทยี บกบั พนั ธุ RRIM 600 (%) RRIT 3906 350.4 371.4 419.1 549.2 466.6 595.2 453.8 458.0 RRIM 600 62.3 67.1 105.7 110.0 105.1 75.1 134.6 94.3 486 100 การเจรญิ เตบิ โต - มกี ารเจรญิ เตบิ โตในระดบั ดี โดยมขี นาดรอบลาํ ตน เมอื่ อายุ 12 ป เฉลยี่ 51.5 ซม. โตกวา พนั ธุ RRIM 600 ซ่งึ เปน พันธเุ ปรียบเทียบ รอ ยละ 4 ขนาดรอบลาํ ตน (ซม.) เมอ่ื ตนยางอายุ 2-15 ป พันธุ 2 ป‚ 3 ป‚ 4 ป‚ 5 ป‚ 6 ป‚ 7 ป‚ 8 ป‚ 9 ป‚ 10 ป‚ 11 ป‚ 12 ป‚ เทียบกับพนั ธุ RRIM 600 (%) RRIT 3906 14.0 22.4 27.2 32.3 37.3 41.7 44.5 47.4 49.0 50.6 51.5 104 RRIM 600 12.4 20.6 23.8 28.9 33.1 37.4 39.1 41.3 43.5 46.5 48.3 100 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 136 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลงานวจิ ัยกลางนํา้ 6. โรงอัดกอนยางกลมุ เกษตรกรธารนํ้าทิพย 7. โรงอดั กอ นยางสหกรณก องทนุ สวนยางบา นคลอง 1. การยกระดบั มาตรฐานการผลติ ยางแผน รมควนั อดั กอ นดว ยระบบมาตรฐาน GMP โรงอดั กอŒ นทีผ่ า‹ นการรับรอง GMP 2. การพัฒนามาตรฐานและความสามารถหอง สถาบันวิจัยยางไดผลักดันใหเกิดการพัฒนา ปฏบิ ตั กิ ารยาง โรงรมควันของสถาบันเกษตรกรเขาสูระบบมาตรฐาน GMP โดยสถาบันวิจัยยางไดจัดทําหลักสูตรการผลิตยางแผน สถาบันวิจัยยางไดรับการรับรองตามมาตรฐาน รมควันอัดกอนมาตรฐาน และใหโรงงานตนแบบท่ีผานการ ISO/IEC 17025 จากสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม อบรมเปนศูนยกลางถายทอดเทคโนโลยีใหกับสถาบัน ตง้ั แตป 2543 ดังน้ี เกษตรกร จากผลการดาํ เนนิ งาน พบวา โรงอดั กอ นทไี่ ดร บั รอง มาตรฐาน GMP สามารถผลิตยางอัดกอนท่ีไดคุณภาพและ • หองปฏิบตั กิ ารทดสอบยางแหงของกลมุ ไดม าตรฐานเปน ทเี่ ชอื่ ถอื และยอมรบั จากผซู อื้ และผใู ชย างทว่ั โลก อตุ สาหกรรมยาง สถาบนั วิจยั ยาง (2543) เปนการผลักดันใหสามารถสงออกและดําเนินธุรกิจไดดวย ตนเอง เปนการสรา งมูลคา เพ่ิม ทําใหโ รงงานอัดกอนยางได • หองปฏิบัติการทดสอบน้ํายางของกลุม รับคําสั่งซื้อจากลูกคาท้ังภายในและตางประเทศเพิ่มขึ้นเกิน อุตสาหกรรมยาง สถาบันวิจัยยาง (2556) กวา ปรมิ าณการผลติ ถงึ 3-5 เทา ซง่ึ นอกจากคณุ ภาพทลี่ กู คา มนั่ ใจแลว การบรรจแุ ละขนสง ในตบู รรจสุ นิ คา สามารถบรรจุ • หองปฏิบตั ิการทดสอบถุงมอื ยางของกลมุ ไดมากขึ้น ประหยัดเวลาและลดคาใชจายในการขึ้นยาง อตุ สาหกรรมยาง สถาบนั วจิ ยั ยาง (2556) หนาโรงงานลงไดรอยละ 6.25 และยังมีหองปฏิบัติการทดสอบกายภาพ นอกจากนี้ สถาบันวิจัยยางไดวางมาตรการในการ หองปฏิบัติการทดสอบเคมี ซึ่งอยูระหวางการดําเนินการ รักษามาตรฐานโรงอัดกอนที่ผานการรับรอง GMP ไปแลว ขอการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 อยางเครงครัดดวยการตรวจประเมินการปฏิบัติงานตาม มาตรฐาน GMP เปนระยะๆ ปล ะไมน อ ยกวา 3 ครงั้ และมี หอŒ งปฏบิ ัตกิ ารยาง มาตรการยกเลิกการรับรองหากไมมีการรักษามาตรฐานไว ในป 2558-2559 คาดวาจะมีโรงอัดกอนยางท่ีไดรับรอง มาตรฐาน GMP เพม่ิ ขน้ึ ทาํ ใหประเทศไทยสามารถผลติ ยาง แผนรมควันอัดกอนท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เปนที่ ยอมรบั ในตลาดโลกเพมิ่ มากขน้ึ และหลกั เกณฑท ดี่ จี ะชว ยให โรงผลิตยางแผนรมควันท่ีไดรับการรับรองมาตรฐาน GMP ของสถาบนั วจิ ยั ยาง ถกู ผลกั ดนั ใหเ ปน มาตรฐานสนิ คา เกษตร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณต อไป ปจจุบัน โรงอัดกอนที่สถาบันวิจัยยางไดใหการ รบั รองแลว มที ง้ั หมด 7 แหง ไดแ ก 1. โรงอดั กอ นยางสหกรณก องทนุ สวนยางจนั ดี จาํ กดั 2. โรงอัดกอ นยางชุมนุมสหกรณจ งั หวดั ตรัง จาํ กดั 3. โรงอดั กอ นยางชมุ นมุ สหกรณก ารยางกระบ่ี จาํ กดั 4. โรงอดั กอ นยางบรษิ ัทศุภาคย จํากัด 5. โรงอดั กอ นยางกลมุ เกษตรกรทําสวนควนเมา รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 137 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ผลงานวจิ ัยปลายน้าํ สังเคราะหและตองนําเขาจากตางประเทศซ่ึงมีราคาสูงมาก ทําใหการฝกปฏิบัติของเจาหนาท่ีมีขอจํากัด วิทยาลัย การวจิ ยั และพฒั นายางดา นอตุ สาหกรรมแปรรปู ยาง พยาบาลกองทพั บกรว มกบั สถาบนั วจิ ยั ยาง ดาํ เนนิ งานวจิ ยั และผลติ ภณั ฑยาง สถาบันวิจัยยางใหค วามสาํ คัญตอการนาํ ผลิตส่ือการสอนทางดานการแพทยและการพยาบาลโดยใช ยางธรรมชาติมาผลิตเปนผลิตภัณฑยางแทนการสงออก ยางธรรมชาติ ซงึ่ เปน วตั ถดุ บิ ทผี่ ลติ ไดใ นประเทศและมรี าคาถกู ผลผลิตยางท่ีเปนวัตถุดิบเพื่อเพ่ิมมูลคายางที่เปนวัตถุดิบ จากผลการใชสื่อการเรียนการสอนที่ทําจากยางธรรมชาติน้ี กาํ กบั ดแู ลการผลติ วตั ถดุ บิ แปรรปู ใหไ ดผ ลติ ภณั ฑท ม่ี คี ณุ ภาพ ทาํ ใหน ักเรียนพยาบาล มีความชาํ นาญ มน่ั ใจ และสามารถ เพื่อเพมิ่ การใชแ ละการสงออกผลติ ภัณฑยาง นําไปปฏิบัติกับผูปวยจริงได และเห็นวาสามารถประหยัด คาใชจ ายในการเรียนการสอนไดม าก ไดแ ก แขนยางสําหรบั ผลงานวิจัยดานการอุตสาหกรรมแปรรูปและ ฝก การแทงเข็มนา้ํ เกลอื หนุ ทารกจาํ ลองเพื่อใชฝก อาบนา้ํ ผลติ ภณั ฑ ในป 2558 ไดผลงานทสี่ ามารถนาํ ไปใชและเกดิ ประโยชนใ นดา นตา งๆ ดงั นี้ 1. การผลิตส่ือการเรียนการสอนดานการแพทย จากยางธรรมชาติ ปจ จบุ นั สอื่ การเรยี นการสอนทางดา นการแพทย ท่ีนํามาใชในการฝกปฏิบัติของบุคลากรน้ันผลิตจากยาง ฝกƒ การแทงเขม็ นา้ํ เกลอื หน‹ุ ทารกจําลองเพื่อใชŒฝƒกอาบน้าํ นักศึกษาแพทยฝ ƒกหดั สอดและส‹องกลอŒ ง ผลิตภัณฑกระเพาะอาหารสําหรับนักศึกษาฝก สองกลอง ผลิตดวยยางฟองนํ้าจะไดชิ้นงานใกลเคียงวัสดุ ในระบบทางเดินอาหาร ตนแบบมาก แตมีความนุมมากกวา โดยเม่ือลงสีแลวจะ เหมอื นของจรงิ มาก พรอ มทง้ั ฝง เซนเซอรส าํ หรบั ตรวจรบั การ สมั ผสั จากกลองสอง ไดน าํ แบบจําลองท่ไี ดไ ปฝง ติดตั้งในหนุ เพื่อใหนักศึกษาแพทยฝกหัดสอดและสองกลองในระบบ ทางเดินอาหาร พบวาเมื่อสอดกลองเขาไปแลวดูผานกลอง ไดภาพทีเ่ หมอื นจริง ผลิตภณั ฑกระเพาะอาหาร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 138 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2. ยางบล็อกปูพน้ื สนามเดก็ เลน ทอนํ้าซึมเปนทอสายยางที่ประกอบดวยผงยาง ยางพารามคี ณุ สมบตั ทิ โ่ี ดดเดน คอื มคี วามยดื หยนุ รถยนตเ ปน องคป ระกอบหลกั มยี างธรรมชาตแิ ละยางเอทลิ นี พรอพลิ นี ทาํ หนา ทเ่ี ปน สารเชอ่ื ม โดยใชส ารใหฟ อง ทอ มคี วาม และสามารถรับแรงกระแทกไดเปนอยางดี จึงเหมาะที่จะ ยืดหยุนและสามารถโคงงอได มีโครงสรางเปนรูพรุนเล็กๆ นํามาใชผลิตเปนผลิตภัณฑท่ีตองรับแรงกระแทก เชน เชื่อมตอกันจํานวนมาก ซึ่งน้ําสามารถซึมผานออกมาไดใน พนื้ สนามกฬี า พน้ื สนามเดก็ เลน ทางเทา เปน ตน ซงึ่ สามารถ อตั ราคงทท่ี คี่ วามดนั ตา่ํ และปรมิ าณนา้ํ ตา่ํ ทาํ ใหส ามารถใหน าํ้ ลดแรงกระแทกที่กระทําตอขอเทา ในขณะออกกําลังกาย แกพ ชื ไดโ ดยตรงโดยไมร บกวนรากและไมเ กดิ การเซาะของดนิ อกี ทงั้ ยงั ลดความรนุ แรงของอบุ ตั เิ หตทุ อี่ าจเกดิ ขน้ึ ไดต ลอดเวลา โดยไมจํากัดพื้นที่นอกจากน้ียังสามารถประหยัดทรัพยากร ยางบล็อกปูพ้ืนเปนผลิตภัณฑจากยางพาราที่สามารถนํามา นา้ํ และเพมิ่ ปรมิ าณการใชย างภายในประเทศอีกดวย ใชทดแทนบลอ็ กปูนซีเมนตไดแ ละมีขอ ดีคือ ท‹อนํ้าซึมจากยางพารา 1. มคี วามยดื หยนุ และรบั แรงกระแทกไดดกี วา 4. ถาดปลกู ขาว 2. ลดความรุนแรงของอบุ ัตเิ หตุท่ีอาจเกดิ ข้นึ ได 3. ติดตั้ง – รื้อถอนโดยไมเกิดความเสียหายและ การทดลองผลิตถาดปลูกขาว เปนความรวมมือ สามารถนาํ กลับมาตดิ ต้ังใหมได ของสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรและกรมการขาว 4. มีอายุการใชงานยาวนานกวา ในการพัฒนาถาดปลูกขาวโดยการประยุกตใชยางธรรมชาติ 5. มีสีสันที่สวยงามและจัดรูปแบบไดหลากหลาย ทดแทนผลติ ภณั ฑพลาสติก ลักษณะทตี่ อ งการ ไดแ ก ใชงาน มากกวา ไมตํ่ากวา 5 คร้ัง และมีราคาถูก ดงั นั้นจงึ ควรพฒั นาวสั ดทุ ี่มี ศักยภาพ เชน ยางพารา โดยทดลองผลติ ใชใ นหนว ยงานรัฐ ยางบลอ็ กปพู ืน้ สนามเด็กเล‹น กอนขยายสูเกษตรกร การออกสูตรยางผสมสารเคมีน้ัน ตองคํานึงถึงตนทุนการผลิต จึงใชยางรีเครมเขามาเปน 3. ทอนํ้าซมึ จากยางพารา สว นผสม ทง้ั น้ี ตอ งพจิ ารณารว มกบั ขนาดของถาด ซง่ึ ตอ งการ การผลิตทอนํ้าซึมจากยางพาราเปนแนวทาง ใหม คี วามหนาแนน ไมม ากและทรงตวั ไดด ี และเมอื่ นาํ ผลงาน ไปใชจริงพบวามีขอดีกวาถาดปลูกขาวแบบพลาสติกคือ ในการแกปญหาขยะพอลิเมอร และสงเสริมการอนุรักษนํ้า ไมต อ งนาํ ถาดทเ่ี พาะขา วไปแชน าํ้ กอ นนาํ ไปโยน และใชซ าํ้ ได โดยการพัฒนาทอ นา้ํ ซึม (Porous pipe) ซึ่งเตรยี มจากยาง มากกวา ถาดพลาสตกิ อกี ทง้ั การจดั การขนสง ลงไปในแปลงนา ธรรมชาติ (Natural rubber, NR) ยางเอทิลีนพรอพิลีน มีความสะดวกมากกวา (Ethylene propylene rubber, EPDM) และผงยางรถยนต (Ground rubber tire, GRT) เพื่อใชเปนอุปกรณใหน้ํา ถาดปลูกขŒาว ทางการเกษตรทดแทนระบบน้ําหยด ซึ่งใหนํ้าเฉพาะบริเวณ และระบบน้ําดัน (Sprinkler) ที่ตองใชความดันสูงและน้ํา ปรมิ าณมาก เปน ผลใหเกดิ การกัดเซาะของดิน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 139 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

5. กลองยางชลประทาน แตเมื่อนําไปใชงานจริงยังพบปญหาเร่ือง ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ก ร ม ช ล ป ร ะ ท า น ความทรงตวั ของรูปรา ง สถาบนั วจิ ัยยางจงึ ปรบั รปู แบบใหม ใหเ ปน บลอ็ กยางทสี่ ามารถลอ็ กกนั ไดด ว ย โดยอยใู นระหวา ง ไดรวมกันวิจัยพัฒนาสูตรและเทคนิคการผลิตกลองยาง นาํ ไปขยายผลทดลองในสภาพจรงิ รวมกบั กรมชลประทาน สําหรับบรรจุดินหรือทรายแทนกระสอบทราย ที่ใชเปน ผนังกั้นน้ําบริเวณริมแมนํ้าหรือบริเวณที่ตองการปองกัน นํ้าทว ม โดยออกแบบเปน รปู ทรงเรขาคณติ เพ่ือใหส ะดวก ในการจดั วางทงั้ แนวนอนและแนวตง้ั ตามลกั ษณะทตี่ อ งการ ซึง่ สามารถปรบั ไดท้งั ความกวา ง ความสูงและความยาว กลอ‹ งยางชลประทาน ดŒานการใหบŒ ริการ สถาบนั วจิ ยั ยางมกี ารซอื้ ขายยางแผน ดบิ และยางแผน ตลาดกลางยางพารา รมควันผานตลาดกลางยางพารา 6 แหง ไดแก สํานักงาน ตลาดกลางยางพาราสงขลา นครศรธี รรมราช สรุ าษฎรธ านี ยะลา หนองคาย และบุรีรัมย ในป 2558 (ตลุ าคม 2557 - กนั ยายน 2558) มปี รมิ าณทง้ั สนิ้ 209,404 ตนั มลู คา 11,812 ลา นบาท แบง เปน ปริมาณการซื้อขายยางแผนดบิ จาํ นวน 62,231 ตัน มลู คา 3,423 ลานบาท และปรมิ าณการซ้ือขาย ยางแผน รวมควนั จาํ นวน 147,172 ตนั มลู คา 8,388 ลา นบาท สาํ หรบั ราคายางแผนดิบตลาดกลางเฉล่ียกโิ ลกรมั ละ 52.04 บาท/กโิ ลกรมั ขณะทรี่ าคายางแผน ดบิ ทอ งถนิ่ เฉลย่ี กโิ ลกรมั ละ 46.91 บาท คิดเปนมูลคาเพ่ิมที่เกษตรกรไดรับจากการ ขายยางแผนดิบท่ีตลาดกลาง 537 ลานบาท สําหรับราคา ยางแผนรมควัน ตลาดกลางเฉล่ียกิโลกรัมละ 52.70 บาท (ดังตาราง) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 140 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 141 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand การใหŒบรกิ ารซอื้ ขายยาง ผ‹านตลาดกลางยางพารา 6 แห‹ง (ตุลาคม 2557 - กันยายน 2558) พนั ธุ หนว‹ ยวดั สงขลา นครศรฯี ตลุ าคม 2557 - กันยายน 2558 บรุ ีรมั ย รวม/เฉล่ยี สรุ าษฎรฯ ยะลา หนองคาย 1. ยางแผน ดิบ 1.1 ปรมิ าณ กิโลกรัม 12,662,500 14,215,537 19,884,044 599,833 2,678,723 12,190,677 62,231,314 54.34 52.04 1.2 ราคาเฉลี่ย (ประมลู ) บาท/กิโลกรมั 51.39 51.43 50.98 50.26 53.81 46.45 46.91 1.3 ราคาทองถน่ิ (เฉลีย่ ) บาท/กิโลกรมั 47.81 48.16 47.63 44.17 47.26 688,470,497.21 3,423,743,458 7.89 5.121666667 1.4 มูลคารวม บาท 666,044,870.00 783,642,687.00 1,103,876,915.96 28,600,435.84 153,108,051.96 537,673,439 116,336,956.06 1.5 มูลคาเพมิ่ บาท/กโิ ลกรมั 3.58 3.27 3.35 6.09 6.55 รวมมลู คา บาท 60,098,320.90 129,562,916.90 202,511,453.97 2,407,824.24 26,755,967.36 2. ยางแผน รมควัน 2.1 ปรมิ าณ กิโลกรัม 56,706,942.00 66,552,021.00 18,623,059.00 1,725,629.00 648,238.00 2,916,463.00 147,172,352 59.39 52.70 2.2 ราคาเฉลย่ี (ประมลู ) บาท/กิโลกรมั 53.81 54.12 47.56 59.23 42.08 180,656,586.61 8,388,430,567 2.3 มูลคา บาท 3,282,285,705.00 3,666,885,911.89 1,114,623,334.48 103,119,280.26 40,859,749.00 15,107,140 209,403,666 รวมปริมาณ กโิ ลกรมั 69,369,442 80,767,558 38,507,103 2,325,462 3,326,961 296,993,542.67 11,812,174,025.21 รวมมูลคา บาท 3,342,384,025.90 3,796,448,828.79 1,317,134,788.45 105,527,104.50 67,615,716.36

รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 142 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คานิยมองคกร REST = (ความสงบรม เย็น/รม ยาง) เปน ที่พง่ึ ของเกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกร ชาวสวนยาง และผปู ระกอบกจิ การยางพารา R = Responsibility รับผิดชอบ E = Ethical มจี ริยธรรม S = Service นำบรกิ าร T = Trust ดำเนนิ งานดว ยความนา เชื่อถือ

การยางแหง ประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand) เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท เขตบางกอกนอ ย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 แฟกซ 0-2433-6490


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook