Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual_Report_2015

Annual_Report_2015

Published by gooooogels, 2019-06-06 07:56:14

Description: Annual_Report_2015

Search

Read the Text Version

นายธีรพงศ วัน/เดอื น/ป‚เกดิ ตันติเพชราภรณ 21 ตุลาคม 2512 อายุ 46 ป กรรมการ ประวตั กิ ารศึกษา นายสมชาย - ปรญิ ญาตรี สาขาสง เสริมการเกษตรและสหกรณ ณ ประดิษฐ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช กรรมการ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สูง สาขา เกษตรกรรมทว่ั ไป สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ประวตั ิการทํางานที่สาํ คญั - รองประธานสหกรณป าลม นา้ํ มัน จังหวดั พงั งา - รองประธานเครือขา ยชาวสวนยางแหง ประเทศไทย - ประธานชมรมผลไมจ งั หวัดพงั งา - อนุกรรมการกองทนุ ฟน ฟูและพฒั นาเกษตรกรจังหวัดพงั งา ตําแหน‹งหนŒาทป่ี จ˜ จุบนั - เกษตรกรชาวสวนยาง วนั /เดอื น/ป‚ ทเี่ ขŒาดํารงตําแหนง‹ คณะกรรมการ - วันสิ้นสดุ 24 กรกฎาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 วัน/เดือน/ปเ‚ กิด 4 สงิ หาคม 2502 อายุ 56 ป ประวตั ิการศึกษา - ประโยควิชาชพี จังหวัดนครศรีธรรมราช ประวัตกิ ารทาํ งานทีส่ ําคญั - ประธานชมุ นมุ สหกรณการยางกระบ่ี จาํ กดั ตําแหนง‹ หนาŒ ท่ปี ˜จจบุ ัน - ผจู ัดการชมุ นมุ สหกรณการยางกระบ่ี จํากดั วัน/เดือน/ป‚ ท่เี ขŒาดาํ รงตาํ แหนง‹ คณะกรรมการ – วันส้นิ สุด 24 กรกฎาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 47 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายธนพล ทองหวาน วนั /เดือน/ป‚เกดิ กรรมการ 30 พฤษภาคม 2499 อายุ 59 ป ประวตั ิการศกึ ษา - ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตําแหนง‹ หนŒาทป่ี จ˜ จุบัน - รองนายกองคก ารบริหารสว นตําบลทุงหมอ วนั /เดือน/ป‚ ทเ่ี ขาŒ ดาํ รงตําแหนง‹ คณะกรรมการ – วันสิน้ สดุ 24 กรกฎาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 48 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) - รายงานการเขาŒ ประชมุ คณะกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ประจาํ ปง‚ บประมาณ 2558 รายชอ่ื คณะกรรมการ 4/57 5/57 1/58 2/58 3/58 4/58 5/58 6/58 จาํ นวนคร้งั สงเคราะหก ารทําสวนยาง 17 ต.ค. 17 ธ.ค. 23 ม.ค. 23 ก.พ. 19 ม.ี ค. 30 เม.ย. 28 พ.ค. 26 มิ.ย. เขŒาประชมุ / ประชุมท้งั หมด 1. นายปติพงศ พง่ึ บุญ ณ อยุธยา  ออกจากตาํ แหนง 24 พฤศจิกายน 2557 1/1 (ประธานกรรมการ) 4/4 2. นายสมปอง อินทรท อง     ออกจากตาํ แหนง 2 มนี าคม 2558 8/8 8/8 3. นายโอฬาร พิทักษ  8/8 7/8 4. นายอนันต สุวรรณรัตน         7/8 6/8 5. นายพิเชฏฐ พรอ มมลู  8/8 8/8 6. นายยุทธนา หยิมการณุ  6/8 8/8 7. นางเยาวลกั ษณ มานะตระกูล         8/8 6/7 8. นางสาวลดาวลั ย คําภา  2/3 9. นายณกรณต รรกวริ พัท  10. นายกฤชนนท หอ ทองคํา         11. นายธีรพงศ ตันติเพชราภรณ         12. นายสมชาย ณ ประดษิ ฐ         13. นายธนพล ทองหวาน  14. นายอํานวย ปะตเิ ส ไดรบั แตง ต้ัง        ประธานกรรมการ 25 พ.ย. 2557 15. นายอภยั สุทธิสังข    ออกจาก ไดรับแตงตั้ง 3 มี.ค.2558 ตาํ แหนง 28 พ.ค. 2558 16. นายสมชาย ชาญณรงคกลุ ไดรบั แตงตง้ั เมือ่ วนั ที่ 29 พ.ค.2558  1/1 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 49 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

- สรปุ เบีย้ ประชมุ คณะกรรมการสงเคราะหการทาํ สวนยาง ประจาํ ป‚งบประมาณ 2558 ชื่อ – นามสกุล คา‹ เบ้ยี ประชมุ คา‹ ตอบแทนรายเดือน โบนสั ประจําป‚ 2557 (บาท) (บาท) ทีจ่ ‹ายในป‚ 2558 (บาท) 1. นายปต พิ งศ พง่ึ บญุ ณ อยธุ ยา 10,000 - ไมไดร บั เนอื่ งจากเขา มาดํารงตําแหนง 8,516.13 ในปงบประมาณ 2558 (ประธานกรรมการ) ไมไ ดรับเนื่องจากเขา มาดํารงตาํ แหนง 2. นายสมปอง อินทรท อง 56,000 ในปงบประมาณ 2558 10,000 3. นายโอฬาร พทิ ักษ 88,000 43,612.90 4. นายอนันต สุวรรณรัตน 110,000 43,612.90 ไมไดร บั เนื่องจากเขามาดาํ รงตําแหนง ในปง บประมาณ 2558 5. นายพิเชฏฐ พรอมมลู 96,000 43,612.90 ไมไดรับเนือ่ งจากเขามาดาํ รงตาํ แหนง 6. นายยทุ ธนา หยิมการณุ 96,000 43,612.90 ในปง บประมาณ 2558 7. นางเยาวลกั ษณ มานะตระกลู 80,000 119,346.2 ไมไดร บั เนอื่ งจากเขามาดาํ รงตําแหนง 138,279.60 ในปง บประมาณ 2558 8. นางสาวลดาวัลย คาํ ภา 72,000 43,612.90 8,472.22 43,612.90 10,000 9. นายณกรณ ตรรกวิรพทั 134,000 119,346.2 10,000 43,612.90 1,881.72 10. นายกฤชนนท หอ ทองคํา 150,000 43,612.90 1,881.72 87,225.81 1,881.72 11. นายธรี พงศ ตันติเพชราภรณ 64,000 1,881.72 22,709.68 12. นายสมชาย ณ ประดิษฐ 104,000 ไมไดรบั เน่อื งจากเขามาดาํ รงตําแหนง ในปง บประมาณ 2558 13. นายธนพล ทองหวาน 96,000 ไมไ ดรับเนื่องจากเขา มาดํารงตําแหนง 14. นายอาํ นวย ปะติเส 60,000 ในปง บประมาณ 2558 (ประธานกรรมการ) ไมไดรบั เนื่องจากเขามาดํารงตําแหนง ในปงบประมาณ 2558 15. นายอภยั สุทธสิ งั ข 68,000 16. นายสมชาย ชาญณรงคก ุล 10,000 12,387.09 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 50 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

การแตง‹ ตง้ั คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการชดุ ตา‹ งๆ ต.ค. 2557 – ก.ย. 2558 ของสาํ นกั งานกองทุนสงเคราะหการทาํ สวนยาง (สกย.) 1. คณะกรรมการตรวจสอบภายในของสํานกั งานกองทุนสงเคราะหก ารทําสวนยาง รายชอ่ื คณะกรรมการ ตาํ แหนง‹ ร‹วมประชุม/การประชมุ จาํ นวนเงินเบี้ยประชมุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ทั้งหมด ท่ีไดŒรับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นางสาวลดาวลั ย คําภา กรรมการ 9/9 94,666.67 2. นางเยาวลักษณ มานะตระกลู กรรมการ 9/9 75,733.33 3. นายธรี พงศ ตนั ตเิ พชราภรณ 9/9 75,733.33 2. คณะกรรมการกิจการสัมพนั ธ ตําแหนง‹ ร‹วมประชุม/การประชมุ จาํ นวนเงนิ เบ้ียประชมุ ทง้ั หมด ท่ีไดŒรับ (บาท) รายชอื่ คณะกรรมการ ประธานกรรมการ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ประธานกรรมการ 1/1 10,000 1. นายสมปอง อนิ ทรท อง 1/1 10,000 2. นายอภัย สทุ ธสิ งั ข 3. คณะกรรมการพิจารณากลัน่ กรองการแต‹งตงั้ และโยกยŒายบุคลากรดาํ รงตาํ แหนง‹ นกั บริหาร ระดับ 8 และระดบั 9 ของสาํ นกั งานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง รายชอื่ คณะกรรมการ ตําแหน‹ง ร‹วมประชมุ /การประชมุ จาํ นวนเงนิ เบี้ยประชมุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง ทั้งหมด ที่ไดŒรับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายอนนั ต สวุ รรณรตั น กรรมการ 6/6 30,000 2. นายณกรณ ตรรกวิรพัท กรรมการ 7/7 24,000 3. ดร.กฤชนนท หอทองคาํ 7/7 32,000 มีอํานาจหนา ทีด่ งั น้ี 1) พจิ ารณากรอบ หลกั เกณฑ วธิ กี ารในการพจิ ารณา และกําหนดคณุ สมบตั ิของผทู ่จี ะไดร ับการแตง ต้งั 2) ดําเนนิ การกล่ันกรองและคดั เลอื ก เพือ่ การแตง ตง้ั และโยกยายตามหลกั เกณฑท ่คี ณะกรรมการกาํ หนดในขอ (1) 3) นาํ ผลการพิจารณาเสนอคณะกรรมการสงเคราะหการทาํ สวนยาง เพื่อใหความเหน็ ชอบ 4) มีอํานาจในการแตงต้ังหรือมอบหมายเจาหนาที่ของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพ่ือสนับสนุนการ ดําเนนิ งานของคณะกรรมการ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 51 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

4. คณะกรรมการสรรหาผูŒอาํ นวยการสํานกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง รายชื่อคณะกรรมการ ตําแหนง‹ ร‹วมประชมุ /การประชมุ จํานวนเงินเบี้ยประชุม สงเคราะหการทําสวนยาง ทัง้ หมด ท่ีไดรŒ ับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายอนนั ต สุวรรณรัตน กรรมการ 1/1 - 2. นางเยาวลกั ษณ มานะตระกลู กรรมการ 1/1 8,000 3. นายณกรณ ตรรกวิรพทั กรรมการ 0/1 - 4. นายธนพล ทองหวาน กรรมการ 1/1 8,000 5. นางสาวลดาวลั ย คาํ ภา 1/1 8,000 มีอํานาจหนา ทด่ี งั นี้ ใหคณะกรรมการชุดน้ี มีอํานาจหนาที่พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม เพื่อดํารงตําแหนงผูอํานวยการ สํานักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง เสนอคณะกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง 5. คณะกรรมการกํากบั ดูแลกจิ การทีด่ ีของสํานักงานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง รายชอื่ คณะกรรมการ ตาํ แหน‹ง รว‹ มประชุม/การประชุม จํานวนเงนิ เบีย้ ประชมุ สงเคราะหการทําสวนยาง ทัง้ หมด ท่ีไดรŒ ับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายสมปอง อินทรท อง กรรมการ 1/1 10,000 2. นายอนนั ต สวุ รรณรตั น กรรมการ 1/2 8,000 3. นายธีรพงศ ตนั ติเพชราภรณ 2/2 16,000 4. นายอภัย สุทธสิ งั ข ประธานกรรมการ 1/1 10,000 หมายเหตุ ลําดับที่ 1 หมดวาระจากกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง เม่ือวันที่ 2 มีนาคม 2558 ลาํ ดบั ท่ี 2 ไดร บั การแตงตั้ง เมื่อวนั ท่ี 3 มีนาคม 2558 มอี ํานาจหนา ทีด่ ังน้ี 1. กาํ หนดนโยบาย กลยทุ ธ เปา หมาย และแผนการดําเนินงานดานการกํากับดแู ล ประจําปบ ัญชที ช่ี ัดเจนเปนรปู ธรรม และสอดคลองไปกับการดําเนนิ งานของรัฐวิสาหกิจ และนาํ เสนอตอ คณะกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง 2. สง เสรมิ การมีสวนรว มของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน เก่ยี วกับการสง เสรมิ ใหม ีการกํากบั ดูแลกิจการท่ีดี 3. ติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน พรอมท้ังประเมินผลสําเร็จที่เปนรูปธรรม และรายงานใหคณะกรรมการ สงเคราะหก ารทําสวนยางทราบ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 52 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

6. คณะกรรมการดŒานทรพั ยากรบคุ คลของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทาํ สวนยาง รายชื่อคณะกรรมการ ตําแหนง‹ รว‹ มประชมุ /การประชมุ จาํ นวนเงนิ เบ้ียประชุม สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ทัง้ หมด ที่ไดŒรบั (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายยทุ ธนา หยิมการุณ กรรมการ 3/3 30,000 2. นายกฤชนนท หอทองคํา กรรมการ 3/3 16,000 3. นายสมชาย ณ ประดษิ ฐ 3/3 24,000 มอี าํ นาจหนาที่ดังนี้ ใหคณะกรรมการชุดนี้ มีหนาท่ีกล่ันกรองการกําหนดกลยุทธ และแผนงานดานทรัพยากรบุคคล รวมทั้งติดตามและ รายงานผลการดาํ เนนิ งานดา นทรพั ยากรบคุ คลของสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง เสนอคณะกรรมการสงเคราะห การทําสวนยาง 7. คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายในของสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง รายชอ่ื คณะกรรมการ ตาํ แหน‹ง รว‹ มประชุม/การประชุม จํานวนเงินเบย้ี ประชุม สงเคราะหการทาํ สวนยาง ทง้ั หมด ท่ีไดรŒ ับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายยุทธนา หยมิ การุณ กรรมการ 1/1 10,000 2. นายอนนั ต สวุ รรณรตั น กรรมการ 1/1 8,000 3. นายกฤชนนท หอทองคาํ 1/1 8,000 มอี าํ นาจหนาทีด่ งั นี้ 1) ศึกษา ทบทวน และประเมนิ ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมถงึ แนวโนม ของผลกระทบทอ่ี าจมตี อองคก รทั้งความเส่ียง จากภายนอกและภายในองคก ร โดยครอบคลมุ ไมต ่าํ กวา 4 ประการดงั นี้ 1.1 ความเส่ียงดา นกลยทุ ธ (Strategy Risk) 1.2 ความเส่ยี งดานการปฏบิ ัตงิ าน (OperationRisk) 1.3 ความเสี่ยงดานการเงิน (FinancialRisk) 1.4 ความเสยี่ งดา นการตลาด (MarketingRisk) 1.5 ความเสย่ี งดานกฎ ระเบยี บ ขอ บงั คับฯ (Compliance Risk) 2) กําหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง เสนอตอคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง เพ่ือพิจารณาในเรื่องการ บรหิ ารความเสย่ี งโดยรวม 3) กาํ หนดกลยทุ ธ โครงสรา งขององคก ร และทรพั ยากรทใี่ ชใ นการบรหิ ารความเสยี่ งใหส อดคลอ งกบั นโยบายการบรหิ าร ความเสีย่ ง ตลอดจนกลยทุ ธและทิศทางภารกิจของสาํ นักงานกองทุนสงเคราะหการทาํ สวนยาง 4) กําหนดวงเงินหรือประเภทของกิจกรรมตามความเส่ียง เสนอตอคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง เพ่ือขอ อนุมตั ิเปนเกณฑในการปฏิบตั งิ าน ในสถานการณค วามเส่ยี งแตล ะประเภท 5) กาํ กบั ดแู ล ตลอดจนทบทวนนโยบาย กลยทุ ธ และวธิ ปี ฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหม นั่ ใจไดว า กลยทุ ธก ารบรหิ ารความเสยี่ งไดน าํ ไป ปฏิบตั อิ ยางเหมาะสม 6) รบั ผดิ ชอบการตดิ ตามการควบคมุ ภายในองคก ร และตดิ ตามความกา วหนา ของแผนการดาํ เนนิ งาน การจดั วางระบบ ควบคมุ ภายในของสาํ นักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง 7) แตง ตง้ั คณะทาํ งานเพือ่ สนับสนุนการปฏบิ ัติหนา ทไ่ี ดตามความจําเปนและเหมาะสม 8) ปฏิบตั ิหนา ที่อนื่ ตามทไี่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 53 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

8. คณะกรรมการบรหิ ารจัดการสารสนเทศและการสื่อสารของ สกย. รายชอื่ คณะกรรมการ ตาํ แหน‹ง รว‹ มประชุม/การประชมุ จาํ นวนเงินเบย้ี ประชมุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ทงั้ หมด ที่ไดŒรับ (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายกฤชนนท หอ ทองคํา กรรมการ 3/3 30,000 2. นายโอฬาร พิทกั ษ กรรมการ 3/3 24,000 3. นายพเิ ชฏฐ พรอมมลู 2/3 16,000 มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั นี้ 1. กําหนดทิศทางกลยุทธและนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของสํานักงานกองทุนสงเคราะห การทําสวนยาง 2. พิจารณากลั่นกรองแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร(IT Master Plan) และแผนปฏิบัติการระบบ สารสนเทศและการส่ือสาร ใหตอบสนองตอความตองการขององคกร และนโยบายของผูมาสวนไดเสียท้ังภายใน และภายนอกองคก ร 3. ตดิ ตามและทบทวนความเพยี งพอของระบบสารสนเทศและการสอื่ สาร ทสี่ นบั สนนุ การบรหิ ารจดั การของสาํ นกั งาน กองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง สนบั สนนุ การบรหิ ารความเสย่ี ง สนบั สนนุ การควบคมุ ภายในและตรวจสอบภายใน สนับสนุนการบริหารทรพั ยากรบุคคล และที่สนองตอบตอความตองการของผมู ีสว นไดเ สีย ทั้งภายในและภายนอก องคกร 4. ติดตามและทบทวนใหมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองคกรดานทักษะ และความสามารถดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร 5. ติดตามและทบทวนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือรองรับการใชงาน ระบบสารสนเทศและการสอื่ สารขององคกรใหมปี ระสิทธิภาพ 9. คณะกรรมการดาํ เนนิ งานดาŒ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ‹ สงั คมของสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะห การทําสวนยาง รายชอื่ คณะกรรมการ ตําแหน‹ง รว‹ มประชมุ /การประชมุ จาํ นวนเงินเบ้ยี ประชุม สงเคราะหก ารทําสวนยาง ทงั้ หมด ท่ีไดรŒ บั (บาท) 1. นายณกรณ ตรรกวริ พัท ประธานกรรมการ 3/3 30,000 2. นายธนพล ทองหวาน กรรมการ 3/3 24,000 3. นายสมชาย ณ ประดษิ ฐ กรรมการ 2/3 16,000 มอี าํ นาจหนา ทดี่ ังนี้ 1. ติดตามการดําเนินงานดานการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมของรัฐวิสาหกิจ (CSR) อยางสมํ่าเสมออยางนอย รายไตรมาส 2. กาํ กบั การดาํ เนนิ งานดา นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมของรฐั วสิ าหกจิ (CSR) ใหบ รรลผุ ลสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย ของแผนการดาํ เนินงานดา นการแสดงความรับผดิ ชอบตอ สงั คม 3. กํากับดูแลใหมีการจัดทํารายงานดานการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมของรัฐวิสาหกิจ (CSR) ตอคณะกรรมการ สงเคราะหการทาํ สวนยาง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 54 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

10. คณะกรรมการพจิ ารณาปรบั ปรุงแผนวิสาหกจิ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2555-2559) ฉบบั ปรับปรงุ ครงั้ ท่ี 3 ในชว‹ งปง‚ บประมาณ 2559 ของ สกย. รายช่ือคณะกรรมการ ตําแหน‹ง ร‹วมประชุม/การประชมุ จาํ นวนเงินเบย้ี ประชมุ สงเคราะหการทําสวนยาง ท้ังหมด ที่ไดรŒ บั (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายอภัย สทุ ธสิ งั ข กรรมการ 3/3 30,000 2. นางสาวลดาวัลย คําภา กรรมการ 3/3 16,000 3. นางเยาวลักษณ มานะตระกูล กรรมการ 2/3 16,000 4. นายพเิ ชฏฐ พรอ มมลู กรรมการ 2/3 16,000 5. นายณกรณ ตรรกวิรพทั 3/3 16,000 มอี าํ นาจหนา ท่ีดังนี้ 1. กําหนดใหมีทิศทาง นโยบาย กลยุทธ แผนงาน ท้ังระยะส้ัน และระยะยาว ทบทวนแผนเปนประจําทุกป หรือ เมอ่ื จาํ เปนเพอ่ื ใหส อดคลอ งกับสถานการณท เ่ี ปลย่ี นแปลงไป 2. วิเคราะหป จจัยภายนอก และปจจยั ภายใน ท่มี ผี ลกระทบกบั องคกร 3. ติดตามรายงานผลการดาํ เนนิ งาน รายงานใหคณะกรรมการสงเคราะหส วนยางทราบ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 55 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

นโยบายการกําหนดค‹าตอบแทน อัตราคาตอบแทน และเบี้ยประชุมคณะกรรมการ - กรณีคณะกรรมการชุดยอย/คณะอนุกรรมการ/ รัฐวิสาหกิจ (ขนาดปานกลาง) ตามมติคณะรัฐมนตรี คณะทํางานอ่ืนที่แตงตั้งโดยบทบัญญัติแหง เม่ือวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 เห็นชอบเรื่องอัตราและ กฎหมายมติคณะรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการ คาเบ้ียประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจ และหนังสือกระทรวง รฐั วสิ าหกจิ ใหไ ดร บั คา ตอบแทน กรณเี ปน กรรมการ การคลงั ดวนทสี่ ดุ กค 0805/1654 ลงวนั ท่ี 24 พฤษภาคม ก.ส.ย. ใหไดรับเบ้ียประชุมเทากับเบ้ียประชุม 2557 เร่ืองการปรับปรุงอัตราเบี้ยกรรมการรัฐวิสาหกิจ กรรมการ ก.ส.ย. โดยไดรับเบ้ียประชุมไมเกิน ใหความเห็นชอบกําหนดอัตราเบี้ยกรรมการรัฐวิสาหกิจใหม 2 คณะ คณะละไมเ กิน 1 ครัง้ ตอเดอื น โดยนําเสนอคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี 1/2558 เม่อื วันท่ี 22 มกราคม 2558 อนง่ึ ในการปรบั ปรงุ อตั ราเบย้ี กรรมการรฐั วสิ าหกจิ ใน มีมติดังนี้ คร้ังน้ี กระทรวงการคลังมีขอเสนอแนะเก่ียวกับการปฏิบัติ หนาทขี่ องคณะกรรมการรฐั วิสาหกิจดงั นี้ - อตั ราคา ตอบแทนและเบยี้ ประชมุ กรรมการ ก.ส.ย. คา ตอบแทนรายเดือนไมเกนิ 8,000.- บาท/คน/ 1. ในการประชุมคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ เดอื น โดยใหป ระธานกรรมการไดร บั คา ตอบแทน เหน็ สมควรใหก รรมการมรี ะยะเวลาในการเขา รว ม รายเดือนเปน 2 เทาของกรรมการ เบ้ียประชุม ประชุม ไมนอยกวารอยละ 60 ของระยะเวลา ไมเกิน 8,000.- บาท/คน/คร้ัง ในกรณีประธาน ทด่ี ํารงตําแหนงในรอบปบ ัญชีนั้น กรรมการ และรองประธานกรรมการ ใหไดรับ เบี้ยประชุมสูงกวากรรมการในอัตรารอยละ 25 2. คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจควรมีสวนรวมในการ และ 12.5 ของเบีย้ ประชุมดงั กลา ว และจา ยเปน กําหนด/ใหความเห็นชอบ/ทบทวน วิสัยทัศน รายคร้ังเฉพาะกรรมการท่ีมาประชุมไมเกิน พันธกิจ เปาหมายหรือวัตถุประสงค กลยุทธ 1 คร้งั /เดอื น นโยบายในการดําเนินงานและแผนงานตางๆ รวมถึงแผนเพ่ิมประสิทธิภาพของรัฐวิสาหกิจ นอกเหนือจากอํานาจหนาท่ีท่ีระบุไวตามกฎหมาย หรือ ระเบียบ ขอ บังคับในการจดั ตง้ั รฐั วิสาหกจิ แลวแตก รณี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 56 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายกาํ กับดูแลกจิ การทด่ี ี (CG) นโยบายการกาํ กับดูแลกิจการท่ดี ี (CG) ผลประโยชนของพนักงานผูมีสวนไดสวนเสียตามแนวทาง สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยางตระหนกั การกาํ กบั ดแู ลกจิ การท่ดี ี ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการท่ีดี จึงไดจัดวาง หลักสําคัญและแนวทางในการกํากับดูแลกิจการท่ีดี ระบบการจัดการและควบคุมการดําเนินงานโดยพิจารณา ของสาํ นักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ปรบั ปรงุ กรอบนโยบายและแนวทางการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี ของสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยางใหส อดคลอ ง 1. องคประกอบและบทบาทความรับผิดชอบของ ตามหลักเกณฑและแนวทางการกํากับดูแลกิจการท่ีดี คณะกรรมการฯ ในรฐั วสิ าหกจิ ป 2552 ของสาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบาย รฐั วิสาหกจิ (สคร.) ซ่ึงเนื้อหาของหลักการน้ีไดแ บง ออกเปน 1.1 องคป ระกอบและการแตง ตง้ั คณะกรรมการ 4 หมวด คือ สํานักงานกองทุนสงเคราะหก ารทําสวนยาง 1. องคประกอบและบทบาทความรับผิดชอบของ 1.1.1 การแตงต้ังคณะกรรมการสํานักงาน คณะกรรมการฯ กองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีความโปรงใสเปนไปตาม หลกั เกณฑ โดยกรรมการสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ 2. การบรหิ ารจดั การองคก ร สวนยางตองมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติ 3. ความรับผดิ ชอบตอผมู สี วนไดส ว นเสีย มาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 4. การพฒั นาบุคลากร พ.ศ. 2518 และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ และพระราชบญั ญตั สิ าํ นกั งาน ในป 2558 ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะห กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 และที่แกไข การทําสวนยางไดกําหนดนโยบายท่ีเก่ียวเนื่องกับการกํากับ เพิ่มเติมและจะตองไมมีผลประโยชนหรือสวนไดสวนเสีย ดแู ลกจิ การทดี่ ี กลา วคอื นโยบายดา นการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี (Conflict of Interest) กับสํานักงานกองทุนสงเคราะห รวมทงั้ นโยบายตอ ตา นการทจุ รติ คอรร ปั ชน่ั โดยกาํ หนดเปน การทําสวนยาง แผนงาน สง เสรมิ ธรรมาภิบาลและความรบั ผิดชอบตอสังคม ของกรรมการฯ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางเปาหมาย 1.1.2 คณะกรรมการสํานักงานกองทุน เพื่อสงเสริมใหบุคลากรของหนวยงานปฏิบัติงานดวย สงเคราะหการทําสวนยาง ประกอบดวย ประธานกรรมการ จติ สาํ นกึ สาธารณะและความตระหนกั ในหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรี ตอผูรับบริการเพื่อสงเสริมใหองคกรเปนองคกรที่มีการ ชวยวาการเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง บริหารจัดการท่ีดีโดยมีโครงการ/กิจกรรมภายใตแผนงาน เกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ สง เสรมิ การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บและการกาํ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปน รองประธานกรรมการ แผนปฏบิ ตั กิ ารกาํ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี แี ละปอ งปรามการทจุ รติ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม คอรรัปชั่นของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง แหง ชาติ ผอู ํานวยการสาํ นกั งบประมาณ อธบิ ดกี รมวชิ าการ เปน ตน นอกจากนสี้ าํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง เกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรมศุลกากร ไดจัดทําคูมือการกํากับดูแลกิจการท่ีดีมาตรฐานทาง ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร จริยธรรมและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงานโดยกําหนด เปนกรรมการ และกรรมการอ่ืนอีกไมเกิน 6 คน ซึ่งคณะ หลักการและแนวทางปฏิบัติที่ดีของสํานักงานกองทุน รัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยาง 4 คน และบุคคลอ่ืน สงเคราะหการทําสวนยาง ขึ้นโดยเทียบเคียงจากหลักการ ซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยาง 2 คน และตองมีคุณสมบัติ และแนวทางของ สคร. ดังกลาวขางตนเพื่อดูแลปกปอง ตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และทีแ่ กไขเพม่ิ เติม รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 57 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

1.2 บทบาทความรบั ผดิ ชอบและอาํ นาจหนา ที่ 2. การบรหิ ารจัดการองคก ร ของคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง 2.1 รายงานทางการเงินและไมใชทางการเงิน 1.2.1 มกี ารแยกหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของ และตรวจสอบ คณะกรรมการกับฝายบริหารชัดเจนเพื่อสงเสริมการปฏิบัติ คณะกรรมการและฝายบริหารมีความ งานที่ดียิ่งข้ึน คณะกรรมการมีบทบาทในการควบคุมและ ตัดสินใจเชิงนโยบายรวมถึงการแตงต้ังผูบริหารระดับสูง รับผิดชอบหลักในการจัดใหมีการควบคุมและตรวจสอบ และมีบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบตามที่กําหนดไวใน ภายในทด่ี ี โปรง ใส และมีมาตรฐานชัดเจน เพอ่ื รกั ษาเงินทนุ พระราชบัญญัติสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และสินทรัพยขององคกร อีกทั้งเปนเคร่ืองมือวัดผล ตลอดจนขอบังคับของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา การดําเนินงานของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา สวนยาง สวนยาง เพื่อใหสามารถปรับปรุงการดําเนินงานใหเกิด ประสทิ ธภิ าพท่ดี ียง่ิ ขึ้น โดยอาศัยการจดั ทาํ รายงานทางการ 1.2.2 หนาท่ีความรับผิดชอบที่สําคัญของ บริหารในระดับตางๆ รวมถึงการจัดสงรายงานประจําป คณะกรรมการคอื การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น กลยทุ ธ และนโยบาย และรายงานวิเคราะหการเงิน งบการเงิน งบดุล งบกําไร ทส่ี าํ คญั และแผนตา งๆรวมถงึ การทบทวนการดาํ เนนิ งานตาม ขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของทุน และ แผนที่กําหนดไวการตรวจสอบระบบบัญชีการรายงาน งบกระแสเงนิ สด ใหแ กส าํ นกั งานตรวจเงนิ แผน ดนิ กระทรวง ทางการเงินและการสอบบัญชใี หม คี วามเชื่อถอื ได การคลงั และกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในฐานะกระทรวง เจาสังกัด รวมทั้งเผยแพรในเว็บไซตของสํานักงานกองทุน 1.2.3 มีบทบาทในเชิงกลยุทธในการเพ่ิม สงเคราะหการทําสวนยางใหแกประชาชนที่สนใจ สามารถ มูลคาใหแกสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เขาถึงขอมูลไดอยางท่ัวถึง รายงานประจําปและงบการเงิน โดยการชว ยดาํ รงรกั ษาและสรา งประโยชนส งู สดุ ในระยะยาว ถือเปนเอกสารในการส่ือสารระหวางสํานักงานกองทุน ใหแกเกษตรกรชาวสวนยางโดยสามารถแตงต้ังคณะ สงเคราะหการทําสวนยางกับเจาของกิจการ (รัฐบาล) อนกุ รรมการเฉพาะเรอ่ื งขนึ้ ตามความเหมาะสม เพอื่ รบั ผดิ ชอบ พนักงานลูกคา (เกษตรกรชาวสวนยางและผูสงออก ติดตามควบคุมการตรวจสอบงานเฉพาะดานเพ่ือรายงานให ยางพารา) และสังคมสวนรวมสํานักงานกองทุนสงเคราะห คณะกรรมการรบั ทราบ รวมทง้ั เสนอแนะ ประเดน็ ขอ คดิ เหน็ การทําสวนยาง ไดจัดทําอยางโปรงใสเช่ือถือไดเปนไปตาม เพื่อประกอบการตดั สนิ ใจของคณะกรรมการในเร่ืองนน้ั ๆ มาตรฐานและสมาํ่ เสมอ รวมถงึ มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพของ ระบบการจัดทํารายงานตางๆ อีกทั้ง สํานักงานกองทุน 1.2.4 มีการจัดประชุมคณะกรรมการ สงเคราะหการทําสวนยาง ไดจัดทําขอมูลสําคัญที่เกี่ยวกับ อยางสม่ําเสมออยางนอยเดือนละ 1 ครั้งและจัดเวลาให การดําเนินกิจการในดานตางๆ เชน การจายเงินสงเคราะห เพยี งพอสาํ หรบั การอภปิ รายในวาระการประชมุ ทสี่ าํ คญั ตา งๆ ใหแกผูรับการสงเคราะห การอนุมัติสวนสงเคราะหการ โดยฝายบริหารตองจัดเตรียมขอมูลท่ีเหมาะสมทันเวลาและ รับเงิน Cess ผานระบบ NSW เปนตน โดยจัดทําเปน ตรงประเด็นใหแกคณะกรรมการกอนการประชุมอยางนอย รายไตรมาสเผยแพรใหหนวยงานภายในสํานักงานกองทุน 7 วนั สงเคราะหการทําสวนยาง ไดรับทราบสถานะขอมูลการ ดําเนินงานอยางถูกตอง เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการ 1.2.5 จัดใหมีแนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับ ปฏิบัติงานนอกจากนี้ในการควบคุมและตรวจสอบการ จรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั งิ านหรอื จรรยาบรรณของฝา ยบรหิ าร ดําเนินงานสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และพนักงานสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ไดใ หค วามสาํ คญั กบั การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน เพอ่ื ใหท ราบมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านและควรปรบั ใหท นั สมยั ในการดําเนินงานในดานตางๆ ของทุกสายงาน เชน เสมอรวมถึงคณะกรรมการจําเปนตองปฏิบัติตนใหเปน แบบอยางในการประพฤติตน ในฐานะผรู ักษาประโยชนของ ประเทศชาติ และเกษตรกรชาวสวนยาง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 58 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ค ว า ม เ ส่ี ย ง ใ น ก า ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น อ ง ค  ก ร ไ ป สู  ก า ร ย า ง 7. นาํ เสนอ เพมิ่ เตมิ กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั แหง ประเทศไทย ความเสี่ยงในเรือ่ งการเพิม่ ปริมาณผลผลิต หนังสือสัง่ การใหมๆ เพอ่ื จะนํามาบงั คับใชใ น สกย. ยางตอไรของเกษตรกรในความดูแลของ สกย. ความเส่ียง ในเรื่องคาใชจายในการบริหารตอไรสูงกวาคาเกณฑวัด 8. ทบทวน ปญหา อุปสรรค ประเด็น ในบันทึกขอตกลง เปนตน เพ่ือใชในการวางแผนปองกัน ตีความ ในการปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ขอบังคับ หนังสือ ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการดําเนินการ โดยมีการ สัง่ การตางๆ ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานเพอื่ ขบั เคลอ่ื นใหส าํ นกั งาน กองทุนสงเคราะหการทําสวนยางบรรลุผลตามวัตถุประสงค 9. เสนอแนะแนวทางการกํากับดูแล กฎ และเปาหมายทก่ี าํ หนดไวต ามยุทธศาสตรขององคก ร ระเบยี บ ขอบังคับ หนังสอื สงั่ การ เพิ่มเติมตามความจาํ เปน 2.2 การกํากับดูแลการดําเนินงานของ 10. ตั้งคณะทํางานยอยไดตามความจําเปน สํานกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยางใหเ ปนไปตาม ใหค ณะทาํ งานฯ รายงานผลการดาํ เนนิ งานและขอ เสนอแนะ กฎระเบยี บ รวมทงั้ จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการเสนอตอผอู าํ นวยการฯ ตลอดระยะเวลาทีผ่ านมา สํานกั งานกองทนุ 2.3 จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ สงเคราะหการทําสวนยางดําเนินงานอยูบนพ้ืนฐานของ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ความถูกตองและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับ ท้ังของ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และของทาง จัดใหมีแนวทางปฏิบัติงานที่เก่ียวกับจริยธรรมและ ราชการ จงึ ไดแ ตงตง้ั คณะทํางานกํากบั ดูแลดานกฎระเบยี บ จรรยาบรรณ เพ่ือใหคณะกรรมการผูบริหารและพนักงาน Compliance ใหเปนหนวยงาน Compliance Unit ไดทราบถึงมาตรฐานและเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อกํากับดูแลการดําเนินงานของสํานักงานกองทุน ซ่ึงฝายบริหารไดใหการสนับสนุนและแจงใหพนักงานทราบ สงเคราะหการทําสวนยาง ใหเปนไปตามระเบียบและ อยางทั่วถึง โดยประกาศเรื่องประมวลจริยธรรมสํานักงาน ปองปรามการทุจริตคอรรัปช่ัน โดยมีอํานาจหนาท่ีและ กองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ประกอบดว ยคา นยิ มหลกั ความรบั ผดิ ชอบดังน้ี ของมาตรฐานจริยธรรม (Core Value) คานิยมหลักของ จริยธรรมในการดําเนินกิจการ จรรยาบรรณของผูบริหาร 1. ศกึ ษารวบรวม จดั หมวดหมู กฎ ระเบยี บ จรรยาบรรณของพนักงาน ขอปฏิบัติเก่ียวกับความขัดแยง ขอบังคับ หนังสือส่ังการตางๆภายในสํานักงานฯ และจาก ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม หนวยงานภายนอก ระบบบังคับใชประมวลจริยธรรมและข้ันตอนการพิจารณา ลงโทษ 2. วิเคราะหและจัดลําดับความสําคัญ ของกลุม กฎ ระเบียบ ขอบังคับ หนังสือส่ังการตางๆ 2.4 ความขดั แยง ทางผลประโยชน ท่รี วบรวมได สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง 3. เชอ่ื มโยง กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั หนงั สอื มนี โยบายและมาตรการทชี่ ดั เจนในการกาํ กบั ดแู ลฝา ยบรหิ าร สั่งการ กบั ตาํ แหนงงาน ฝา ยงาน และพนกั งาน ดังนี้ 4. กําหนดจุดออนของการกํากับการ 2.4.1 คณะกรรมการสํานักงานกองทุน ปฏบิ ัติงานตาม กฎ ระเบียบ ขอบังคบั หนังสอื สงั่ การตางๆ สงเคราะหการทําสวนยาง ผูบริหาร และพนักงานของ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางตองพิจารณา 5. เสนอแนะ ยกรา งนโยบายการกาํ กบั การ ความขัดแยงของผลประโยชนรายการท่ีเก่ียวโยงกัน ปฏิบัตติ าม กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คับ หนังสอื สงั่ การตางๆ อยา งรอบคอบ ดว ยความซอ่ื สตั ยส จุ รติ อยา งมเี หตผุ ลและเปน อสิ ระภายใตก รอบจรยิ ธรรมทดี่ ี โดยคาํ นงึ ถงึ ประโยชนส งู สดุ 6. จัดทํากรอบแนวทางการปฏิบัติตาม ของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางในรายการ นโยบายการกํากับการปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ดงั ตอ ไปน้ี หนังสอื สั่งการตางๆ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 59 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2.4.2 การทาํ ธรุ กจิ ทเ่ี ปน การหาผลประโยชน 2.5.1 การเผยแพรขอมูลการกํากับดูแล ใหแกตนเอง ครอบครัว หรือพวกพอง โดยอาศัยตําแหนง กิจการที่ดีของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หนา ทขี่ องตนเปน เหตใุ หเ กดิ ความขดั แยง ระหวา งผลประโยชน บน Intranet อยางสม่ําเสมอพรอมเนื้อหาท่ีครบถวนไวที่ สวนตน และผลประโยชนของสํานักงานกองทุนสงเคราะห หนา แรกของ Intranet สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทํา การทําสวนยาง สวนยาง (www.rubber.co.th/) 2.4.3 การแสวงหาประโยชนจ ากการทาํ งาน 2.5.2 การจดั ทาํ และเผยแพรค มู อื การกาํ กบั พิเศษ ไดแก การเปนท่ีปรึกษา การจางงานใหแกตนเอง ดูแลกิจการท่ีดี มาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณ การใชตําแหนงหนาที่ของตนเขาไปเปนนายจางภาคเอกชน ในการดําเนินธุรกิจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา หรือเปนเจาของ ตลอดจนการนําเครื่องมือเครื่องใชของ สวนยาง เพ่ือใหม แี นวปฏิบัตทิ ดี่ ี มีมาตรฐานสาํ หรบั องคกร สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยางไปทํางานพเิ ศษ 2.5.3 การบรรจุหลักสูตรหลักธรรมาภิบาล 2.4.4 การนาํ ขอ มลู ลบั ของสาํ นกั งานกองทนุ ไวในหลักสูตรผูบริหารและการปฐมนิเทศผูปฏิบัติงานใหม สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ไปแสวงหาผลประโยชนโ ดยมชิ อบ รวมท้งั การอบรมเลอ่ื นระดับช้นั ของพนกั งาน ดังเชน กรณีเจาหนาท่ีของรัฐรูเห็นในขอมูลลับของทางการ และนําไปเปดเผยเพ่ือรับสิ่งตอบแทนเปนเงินหรือประโยชน 2.6 การเปดเผยสารสนเทศและความโปรง ใส อ่ืนใดและ/หรือนําขอมูลไปเปดเผยแกญาติ พวกพอง สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพ่ือแสวงหาผลประโยชน มีนโยบายดานการเปดเผยขอมูลขององคกรตามพระราช 2.4.5 การกาํ หนดนโยบายหรอื การอนมุ ตั ใิ ดๆ บัญญตั ขิ อมลู ขา วสารของราชการ พ.ศ. 2540 และกําหนด ทจี่ ะกอ ใหเ กิดประโยชนแ กตนเอง ครอบครัว หรอื พวกพอ ง วัฒนธรรมองคกรในการบริการประชาชนดวยหลักโปรงใส ซึ่งเปนการเอาเปรียบหรือกอใหเกิดความเสียหายตอ มีคุณธรรม โดยสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทาํ สวนยาง ดําเนินการตามนโยบายดานการเปดเผยขอมูล และ หลักธรรมมาภิบาล โดยกําหนดใหมีศูนยพ.ร.บ. ขอมูล 2.4.6 คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาท่ี ขาวสาร เพื่อเปดโอกาสใหประชาชนมีโอกาสรับรูขอมูล พิจารณาทบทวนรายการท่ีอาจกอใหเกิดความขัดแยง ขา วสาร และการดาํ เนนิ การตา งๆ ขององคก ร สามารถตดิ ตอ ทางผลประโยชน รายการทเี่ กยี่ วโยงกนั และรายงานประเดน็ ขอใชบริการเขาใจระบบงานและรับรูถึงสิทธิหนาที่ของตน เกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนท่ีพบ ซ่ึงมีผลกระทบ ซ่ึงนโยบายดานการเปดเผยขอมูลของสํานักงานกองทุน ท่ีมีนัยสําคัญตอรายงานทางการเงินหรือการดําเนินงานตอ สงเคราะหการทําสวนยาง สอดคลองกับนโยบายองคกรที่มี คณะกรรมการสํานักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง การกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลโปรงใส ปราศจากการทจุ รติ ในป 2558 สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะห 2.4.7 พนักงานทุกระดับจะตองจัดทํา การทาํ สวนยาง มกี จิ กรรมทสี่ ง เสรมิ การกาํ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี รายงานการขัดกันระหวางผลประโยชนท่ีสวนตนและ ของผูบริหารและหนวยงานที่เก่ียวของในการตรวจประเมิน ผลประโยชนข องสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง และติดตามการดําเนินงานเก่ียวกับการเปดเผยขอมูลของ โดยแจง ตอ ผูบงั คับบญั ชาตามลาํ ดบั ชั้น สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง รวมถึง ความรวมมือของพนักงานในองคกรที่ปฏิบัติหนาท่ีดวย 2.5 การสงเสริมและเผยแพรการกํากับดูแล ความสุจริต ยึดหลักธรรมาภิบาล บริการดี มีคุณธรรม กิจการทด่ี ีขององคก ร เปด เผยขอ มลู ดว ยความโปรง ใสตรวจสอบได เปน ปจ จยั สาํ เรจ็ ทสี่ นบั สนนุ ใหก ารดาํ เนนิ งานบรรลตุ ามเปา หมายและเปน ไป สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยางไดจ ดั ตามเจตนารมณท ีก่ ฎหมายกาํ หนด กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการมีสวนรวมในการ กํากับดูแลกิจการที่ดีใหเปนสวนหน่ึงของวัฒนธรรมองคกร อาทิ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 60 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. ความรบั ผิดชอบตอ ผมู ีสวนไดสวนเสีย 3.1.4 คูคา : สํานักงานกองทุนสงเคราะห 3.1 สิทธิความเทาเทียมกันและบทบาทของ การทําสวนยาง มีนโยบายท่ีชัดเจนในการบริหารจัดการ ดานการจัดซ้ือจัดจางอยางโปรงใสเปนธรรม โดยมีการ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางตอผูมีสวนได ดําเนินการตามขอบังคับและหลักเกณฑที่เก่ียวของกับการ สว นเสีย จัดหาพัสดุของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีการเผยแพรขอมูลการประกวดราคาทางเว็บไซตของ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเพ่ือให มีผูมีสวนไดสวนเสียจากการดําเนินงานหลายกลุม สาธารณชนเสนอแนะวิจารณหรือมคี วามเหน็ ซึ่งสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางไดให ความสําคัญกับการปฏิบัติตอแตละกลุมอยางเทาเทียมกัน 3.1.5 สังคมและส่ิงแวดลอม : สํานักงาน และเสมอภาค กองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ตระหนกั ถงึ ภาระหนา ทต่ี อ เกษตรกรชาวสวนยาง โดยเนน การใหบ รกิ ารดงั่ คาํ ทวี่ า “ดแู ล 3.1.1 รัฐบาล (ในฐานะเจาของกิจการ) : ดุจญาติมิตร...ดวยดวงจิตบริการ” รับฟงความคิดเห็น สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ไดจัดทําแผน และสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนกับสังคมชุมชน ยุทธศาสตรและแผนธุรกิจเปนกรอบการดําเนินงานให ชาวสวนยาง ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของเกษตรกรชาวสวนยาง สอดคลองกับนโยบายของภาครัฐใหความรวมมือกับภาครัฐ และสรา งจติ สาํ นกึ ใหแ กผ บู รหิ ารและพนกั งานในการรบั ผดิ ชอบ ในการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบคําสั่งของราชการ ตอสังคมและส่ิงแวดลอมโดยการใชทรัพยากรธรรมชาติ และมุงเนนการบริหารกิจการอยางมีประสิทธิภาพและ ในการดําเนินการตามภารกิจขององคกรอยางรูคุณคาและ ประสิทธิผลเพ่ือยกระดับความเปนอยูของประชาชนและ ประหยดั เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ เกษตรกรชาวสวนยาง ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยคณะกรรมการ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยางเปน ผคู วบคมุ ดแู ล 4. การพฒั นาบคุ ลากร และตดั สนิ ใจในเรอื่ งนโยบายและปฏบิ ตั งิ านดว ยความรบั ผดิ ชอบ การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานกองทุน ตามแนวปฏิบัตขิ องการกํากบั ดแู ลกจิ การท่ีดี สงเคราะหการทาํ สวนยาง ในรอบป 2558 สาํ นกั งานฯ ไดส ง 3.1.2 ลูกคาและประชาชน : สํานักงาน พนักงานเขารวมการอบรมท้ังกับหนวยงานภายในและ กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีหนาท่ีดําเนินกิจการ ภายนอกในหลายหลายหลกั สตู ร ซงึ่ เนน ในเรอ่ื งของคณุ ธรรม ใหก ารสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง และการสงเคราะหป ลกู แทน จริยธรรม และความซ่ือสัตยในการปฏิบัติหนาที่ รวมทั้ง ดวยไมยืนตนชนิดอ่ืนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เพ่ือให การอบรมพนักงานบรรจุใหม ใหม ีความเขา ใจตอ การปฏบิ ัติ ยกระดับคณุ ภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนยาง หนา ทใ่ี นฐานะเจา หนา ทข่ี องรฐั และผรู กั ษาผลประโยชนข อง เกษตรกรชาวสวนยาง รวมทงั้ การรว มกบั หนว ยงานภายนอก 3.1.3 พนักงาน : สํานักงานกองทุน เชน สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ สงเคราะหการทําสวนยาง คํานึงถึงการใหคาตอบแทน ทจุ รติ แหง ชาตเิ พอ่ื อบรมพนกั งานในหลกั สตู ร “ขา ราชการไทย ทเี่ หมาะสมกบั สภาพเศรษฐกจิ การสรา งวฒั นธรรมการทาํ งาน ไรทจุ ริต” เปนตน ที่เหมาะสมกับบริบทขององคกร การสงเสริมใหพนักงาน ทํางานในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมและมีความสมดุล ระหวางเวลาทํางานและคุณภาพชีวิตของพนักงาน (Work life balance) รวมทั้งฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน และผูปฏิบัติงานใหมีความรูความสามารถเหมาะสมกับ ตําแหนงหนาท่ีและศักยภาพโดยมีหลักการทํางานตามหลัก ธรรมาภบิ าลและจรรยาบรรณรวมทงั้ ความเสมอภาคโปรง ใส และยุติธรรมตลอดจนใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพ ของพนกั งาน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 61 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานผลการกํากบั ดแู ลกิจการทดี่ ี ประจําป‚ 2558 สํานกั งานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง 1. การอบรมโครงการใหคŒ วามรŒู ปลกุ จิตสานกึ ในการป‡องกันและปราบปรามการทุจรติ ใหŒกับเครือขา‹ ย ภาครฐั ตอ‹ ตาŒ นการทุจรติ ภายใตŒโครงการ “ขาŒ ราชการไทยไรทŒ ุจรติ ” วันที่ 24 กุมภาพันธ 2558 บรรยากาศการลงทะเบียน บรรยากาศพธิ เี ปด บรรยากาศวิทยากรบรรยาย รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 62 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

บรรยากาศผูŒเขŒารว‹ มโครงการ บรรยากาศพิธมี อบวุฒบิ ตั ร 2. โครงการพี่เลย้ี งเชงิ รกุ ดŒานการบรหิ ารจดั การองคกร “หัวขอŒ บทบาทคณะกรรมการรัฐวสิ าหกิจ” วันที่ 8 เมษายน 2558 นายณกรณ ตรรกวริ พทั กรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง สาํ นักงานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง เขŒารบั ฟง˜ การบรรยายโครงการพเี่ ล้ียงเชิงรกุ หัวขŒอบทบาทกรรมการรัฐวสิ าหกิจ โดยบริษทั ทริส คอรป อเรชนั่ จํากดั ณ สํานกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 63 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. กรรมการตรวจสอบ สกย. ศึกษาดงู าน ณ จังหวัดพงั งา ระหว‹างวนั ที่ 20 - 21 มีนาคม 2558 นางเยาวลกั ษณ มานะตระกลู รองผูŒอาํ นวยการสํานักงบประมาณ ในฐานะกรรมการตรวจสอบ สกย. และกรรมการสงเคราะหการทาํ สวนยาง ลงพื้นท่ีศึกษาดงู าน การใหกŒ ารสงเคราะหสวนยาง และสวนปาลม รวมทั้งการสง‹ เสรมิ อาชพี เสริมใหŒกบั เกษตรกรชาวสวนยาง ณ จงั หวดั พังงา 4. สํานกั งานกองทุนสงเคราะหก ารทําสวนยาง เชิญ บริษทั ทริส คอรป อเรชั่น จาํ กดั บรรยายใหŒความรกูŒ ับ คณะกรรมการสงเคราะหก ารทาํ สวนยางในหวั ขอŒ “บทบาทหนาŒ ทก่ี รรมการรฐั วสิ าหกจิ ” วนั ที่ 19 มนี าคม 2558 5. โครงการ สราŒ งสาํ นกึ คณุ คา‹ CSR สกย. กจิ กรรมการบรจิ าคโลหติ ณ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง วนั ที่ 13 กรกฎาคม 2558 กรรมการสงเคราะหการทาํ สวนยาง นายณกรณ ตรรกวพิ ัทร ผบูŒ ริหาร, พนกั งาน, ลกู จาŒ ง สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง ร‹วมกันบรจิ าคโลหติ ณ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง เม่ือวนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 64 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

6. โครงการ สรŒางสํานึกคณุ ค‹า CSR สกย. กิจกรรม ORRAF CSR DAY ณ วดั เจาŒ อาม กรงุ เทพฯ วนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2558 กรรมการสงเคราะหก ารทําสวนยาง,ผูŒบริหาร,พนกั งาน ร‹วมทาํ กิจกรรม CSR ณ วัดเจŒาอาม กรงุ เทพฯ 7. โครงการมอบทุนการศกึ ษา สกย. สานฝ˜นคนพนั ธเ กษตร ณ การยางแหง‹ ประเทศไทย วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2558 8. การบรรยายพิเศษในหวั ขŒอ การจัดการความเสี่ยง 9. โครงการศีกษาดงู านผลติ ภณั ฑย างพาราเพื่อเพ่ิม ในรัฐวิสาหกิจและในหนว‹ ยงานภาครฐั ใหกŒ ับ มูลคา‹ ยางพาราทง้ั ระบบอยา‹ งย่งั ยืน คณะกรรมการสงเคราะหก ารทาสวนยาง ณ บริษทั ซมู ิโตโม‹ รบั เบอร (ไทยแลนด) จํากดั และผูŒบริหาร พนกั งาน วนั ที่ 24 กมุ ภาพันธ 2558 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย คณะกรรมการสงเคราะหสวนยาง ประกอบดวŒ ย ดร.กฤชนนท ห‹อทองคาํ , นายณกรณ ตรรกวิรพทั , นายธนพล ทองหวาน,นายสมชาย ณ ประดิษฐ, นายธรี พงศ ตนั ตเิ พชราภรณ ศกึ ษาดงู านผลติ ภณั ฑย างพาราเพอื่ เพม่ิ มลู คา‹ ยางพาราทงั้ ระบบอยา‹ งยง่ั ยนื ณ บรษิ ทั ซมู โิ ตโม‹ รบั เบอร (ไทยแลนด ) จาํ กดั เพือ่ นาํ มาปรบั ใชŒกบั การบริหารจดั การองคกร ของสํานกั งานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง 65 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

การดาํ เนนิ งานตามโครงการ CSR รายละเอยี ดโครงสราŒ งการกํากับดแู ลดาŒ นการแสดงความรบั ผิดชอบต‹อสงั คม คณะกรรมการการยางแหง‹ ประเทศไทย คณะอนุกรรมการดาํ เนินงานดาŒ นการแสดงความรบั ผิดชอบตอ‹ สังคม (CSR) คณะทาํ งานดาํ เนินงานดาŒ นการแสดงความรับผดิ ชอบตอ‹ สงั คม (CSR) อํานาจหนŒาที่และความรับผิดชอบคณะอนุกรรมการดําเนินงานดŒานการแสดงความรับผิดชอบ ต‹อสงั คม (CSR) ของ กยท. คณะอนกุ รรมการดาํ เนนิ งานดา นแสดงความรบั ผดิ ชอบ 2. กาํ กบั การดาํ เนนิ งานดา นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ ตอสังคมของ กยท. มีหนาท่ีและความรับผิดชอบท่ีไดรับ ตอสังคมของ กยท. ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายของ มอบหมายจากคณะกรรมการ กยท. ใหด าํ เนนิ การในเรอื่ งตา งๆ แผนการดําเนนิ งานดานการแสดงความรับผดิ ชอบตอ สงั คม ดังนี้ 3. กํากับดูแลใหมีการจัดทํารายงานดานการแสดง 1. ตดิ ตามการดาํ เนนิ งานดา นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ ความรับผดิ ชอบตอ สังคมของ กยท. เสนอตอ คณะกรรมการ ตอสงั คมของ กยท. อยา งสม่ําเสมออยางนอยรายไตรมาส การยางแหงประเทศไทยทราบ นโยบายดŒานการแสดงความรับผิดชอบตอ‹ สังคมของ กยท. ปง‚ บประมาณ 2558 คณะกรรมการดาํ เนนิ งานดา นการแสดงความรบั ผดิ ชอบ 2. อนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ ตอสังคมของ กยท. กําหนดแนวทางในการดําเนินงานไว 2.1 ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการผลติ 4 ดา น ไดแก เครอ่ื งจกั ร และเทคโนโลยี เพอื่ ลดการใชท รพั ยากรธรรมชาติ 1. รกั ษาสภาพแวดลอ ม 2.2 หาแนวทางนําของเสียตางๆ กลับมาใช 1.1 ออกแบบกระบวนการผลิต เคร่ืองจักร ประโยชน โดยการ Reuse/Recycle หรอื เปน พลงั งานและ อุปกรณ และผลติ ภัณฑท่ไี มส งผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอม วตั ถดุ ิบทดแทน 1.2 ควบคุมและลดมลพิษตางๆ รวมถึงสิ่ง 2.3 ฟนฟูและปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติ ปนเปอ นทีจ่ ะสงออกสูส ภาพแวดลอ มภายนอก เพ่ือไมใหสงผลกระทบตอระบบนิเวศ เม่ือมีการนํา 1.3 ลดการเกิดของเสียทั้งจากกระบวนการผลิต ทรพั ยากรธรรมชาติมาใชในการผลติ โดยตรง และการใชงานท่ัวไป โดยของเสียที่ตองกําจัดใหดําเนินการ ดว ยวธิ ที ี่ถูกตอ ง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 66 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. พัฒนาความปลอดภยั และสขุ อนามัย 4.2 ใหการสนับสนุนสังคมและชุมชน โดยผาน 3.1 ออกแบบผลิตภัณฑท ่ีเปนมติ รตอ ผใู ช กระบวนการท่ีมีสวนรวมของชุมชนเพื่อใหมีการพัฒนา 3.2 ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหมี อยา งย่งั ยนื ความปลอดภยั และเปน ไปตามหลกั กายศาสตร (การปรบั ปรงุ 4.3 จัดใหมีระบบที่เปดโอกาสใหชุมชนและผูมี สภาพการทํางานใหเหมาะกบั คน) สวนเก่ียวของมีสวนรวมในการใหขอคิดเห็นสําหรับ โครงการตา งๆ ทอี่ าจสง ผลกระทบตอ ชมุ ชน รวมทงั้ การเสนอ 3.3 กําหนดแนวทางในการปองกันและควบคุม ความเหน็ หรอื ขอ รอ งเรยี นตา งๆ ทเี่ ปน ผลมาจากการดาํ เนนิ งาน ไมใ หเ กดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการดาํ เนนิ งาน ทงั้ พนกั งาน และบคุ คล ของ สกย. ภายนอกท่ีเกีย่ วของ 4.4 เผยแพรข อ มลู ขา วสาร ดา นสงิ่ แวดลอ มและ 3.4 สง เสรมิ และสรา งจติ สาํ นกึ ในการดแู ลสขุ ภาพ ความปลอดภัย รวมท้ังผลการดําเนินงานในเรื่องตางๆ ของพนักงานและครอบครวั ที่เกี่ยวขอ งตอสาธารณะอยางสมาํ่ เสมอ 4. รับผิดชอบตอสงั คม 4.5 สนับสนุนและสงเสริมใหสังคมและชุมชน 4.1 ใหความรวมมือในการดําเนินงานตาม มสี ุขภาพพลานามยั ท่ีดี มาตรฐาน หรือขอตกลงในระดับสากลที่จัดทําขึ้นเพ่ือชวย ปองกนั หรอื ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม 1. โครงการรว‹ มปลกู ปา† และบรจิ าคเงนิ สมทบ “โครงการนอŒ มใจถวาย 6 ลาŒ นกลาŒ ฟนœ„ ฟปู า† อนรุ กั ษ เฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เพ่ือลดภาวะโลกรŒอน” - กจิ กรรมบรจิ าคเงนิ สมทบและรว มปลกู ฟน ฟปู า ใหแกประเทศไทย เพื่อให สกย. ไดเปนสวนหนึ่งในการ และปลกู หวายกบั กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื ชวยเพิ่มพื้นที่ปาไมของประเทศ ใหบรรลุเปาหมาย 40 เปอรเซน็ ต ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ มวี ัตถปุ ระสงคข องโครงการเพื่อให สกย. ไดเ ปน ฉบบั ที่ 11 เพอ่ื สง เสรมิ ภาพลกั ษณ สกย. ในดา นการชว ยเหลอื สว นหนงึ่ ของโครงการนอ มใจถวาย 6 ลา นกลา ฟน ฟปู า อนรุ กั ษ สังคมใหเปนท่ีรูจักแพรหลายมากย่ิงข้ึน โดยไดดําเนินการ เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ ปลูกฟนฟูปาในพื้นที่ปาอนุรักษท่ีมีสภาพเส่ือมโทรม สยามบรมราชกมุ ารี เพอ่ื ลดภาวะโลกรอ น เพอ่ื ใหเ ปน ไปตาม ที่กรมอุทยานแหงชาติดอยภูคา จังหวัดนาน จํานวนพื้นที่ แผนวสิ าหกจิ ของสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง 60 ไร ในการเสรมิ สรา งและรกั ษาสง่ิ แวดลอ มอยา งยงั่ ยนื ในอนาคต รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 67 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2. โครงการคืนสง่ิ แวดลŒอมท่ดี ีสูช‹ มุ ชน ดาํ เนินการ 2 กจิ กรรม 2.1 กิจกรรมสงเสริมการปลูกไมคืนถ่ินในพื้นที่ ไมประจําถนิ่ มเี ปาหมายดาํ เนินการในปง บประมาณ 2558 สวนยาง ซึ่งจัดหาพันธุกลาไมประจําถิ่น จํานวน 300,000 ตน แบงออกเปนจังหวัดระยอง 30,000 ตน จังหวัดระนอง มีวัตถุประสงคเพ่ือคืนไมประจําถ่ินใหกับพื้นท่ี 50,000 ตน จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี 120,000 ตน จงั หวดั สงขลา สวนยางทขี่ อรบั การสงเคราะห เพอ่ื ใหก ารปลกู สรา งสวนยาง 50,000 ตน จังหวดั บรุ รี มั ย 20,000 ตน และจังหวัดกระบ่ี มีระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอมท่ีสมบูรณ เพ่ือใหเกษตรกร 30,000 ตน เพื่อปลูกในพื้นท่ีสวนสงเคราะหของเกษตรกร ผขู อรบั การสงเคราะหจ าก สกย. มรี ายไดเ พมิ่ ดว ยผลผลติ จาก ชาวสวนยางทขี่ อรับการสงเคราะห 2.2 กิจกรรมปลูกพืชคลุมดินลดการใชสารเคมี และน้ําอยางย่ังยืน เพื่อใหเกษตรกรชาวสวนยางไดรับ ปราบวชั พืชในสวนยางพารา ผลตอบแทนจากการใชประโยชนในการสรางมูลคาเพิ่มของ ทดี่ นิ เพมิ่ ขนึ้ มเี ปา หมายดาํ เนนิ การ 2,000 ไร โดยจดั หาเมลด็ มวี ตั ถุประสงคเ พอื่ ให สกย. ไดรวมกนั สง เสรมิ พชื คลมุ ปลกู ในสวนยางเพอ่ื อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ ม แบง ออกเปน และประสานความรวมมือกับเกษตรกรชาวสวนยางในการ จงั หวดั จนั ทบรุ ี 300 ไร จงั หวดั กระบี่ 700 ไร จงั หวดั เลย 200 ไร รณรงคอนุรักษดินและนาํ้ ใหม ีสภาพแวดลอ มทีด่ ีข้ึน เพ่อื ลด จังหวัดหนองคาย 300 ไร และจังหวดั ศรีสะเกษ 500 ไร การใชสารเคมีที่จะทําลายส่ิงมีชีวิตที่เปนประโยชนในดิน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 68 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. โครงการ สรŒางสํานกึ คณุ ค‹า CSR สกย. ของผูมสี ว นไดส ว นเสยี ขององคกร ในทกุ กิจกรรม CSR ของ สกย. ซงึ่ ดาํ เนนิ การในสว นกลาง สว นภมู ภิ าค โดยจดั กจิ กรรม 3.1 กจิ กรรม ORRAF CSR DAY CSR จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เชน การจดั เกบ็ ขยะ การลอกคคู ลอง มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางความรู ความเขาใจ การทาํ ความสะอาด การพฒั นาชมุ ชน ในบรเิ วณทท่ี ที่ าํ การตง้ั อยู ที่ถูกตองเก่ียวกับ CSR ใหก บั บุคลากรของ สกย. ท้ังในระดับ บรหิ ารและระดบั ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ใหเ กดิ ชอ งทางการมสี ว นรว ม 3.2 กิจกรรมบรจิ าคโลหติ สาธารณะใหแกบุคลากรของ สกย. และผูมีสวนไดสวนเสีย มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมกิจกรรม CSR ขององคก ร โดยรณรงคใ หบ คุ ลากรของ สกย. จาํ นวน 1,200 ราย ในรูปแบบของการบริจาคโลหิต เปนการสรางจิตสํานึก รว มกนั บรจิ าคโลหิตชวยเหลือสังคมดวยจิตสํานกึ สาธารณะ 4. โครงการ สกย. สานฝ˜น คนพันธุเกษตร สาขาเกษตรศาสตร (พืชศาสตร) ในสถาบันการศึกษาของรฐั โดยไดมอบทุนการศึกษา ใหแกนักศึกษาระดับปริญาตรี 4.1 กิจกรรม การมอบทุนการศกึ ษา จาํ นวน 10 ทนุ ทุนละ 22,000 บาท มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ชว ยเหลอื ทนุ การศกึ ษาใหก บั บตุ รของเกษตรกรชาวสวนยางทกี่ าํ ลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 69 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบสํานกั งานกองทนุ สงเคราะหการทาํ สวนยาง ประจาํ ปง‚ บประมาณ 2558 คณะกรรมการตรวจสอบสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะห สนิ้ สดุ ลง ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2558) โดยคณะกรรมการ การทําสวนยางซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการ ตรวจสอบไดรวมประชุมหารือกับผูบริหารของสํานักงาน สงเคราะหการทําสวนยางประกอบดวยกรรมการอิสระ กองทุนสงเคราะหการทําสวนยางผูปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของ ซงึ่ เปน ผทู รงคณุ วุฒิ มคี วามรแู ละประสบการณด านการเงนิ ผูตรวจสอบภายในและเจาหนาท่ีสํานักงานการตรวจเงิน และบญั ชี บริหารธุรกิจ นิติศาสตร การเกษตรและสหกรณ แผน ดิน ในการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบไดแ สดง ตามคําสั่งท่ี 6/2557 ส่ัง ณ วันท่ี 17 กันยายน 2557 ความคิดเห็นและรายงานผลการดําเนินงานอยางเปนอิสระ ประกอบดว ย และเท่ียงธรรม เพื่อเพิ่มมูลคาและปรับปรุงการดําเนินงาน ของ สกย. ใหส ามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1. นางสาวลดาวัลย คําภา ประธานกรรมการ และประสทิ ธผิ ล ในปง บประมาณ2558คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง ไดด าํ เนนิ การตามบทบาทความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซง่ึ สรปุ สาระสาํ คญั ดังนี้ 2. นางเยาวลักษณ มานะตระกูล กรรมการ กรรมการสงเคราะหการทาํ สวนยาง 1. การสอบทานงบการเงิน ไดสอบทานความ นาเชื่อถือของรายงานฐานะทางการเงินและงบการเงิน 3. นายธรี พงศ ตันติเพชราภรณ กรรมการ รายไตรมาสและรายป เพ่ือใหม่ันใจไดวาการจัดทํารายงาน กรรมการสงเคราะหก ารทําสวนยาง การเงินไดจัดทําข้ึนอยางถูกตอง ครบถวน เปนไปตาม มาตรฐานการบัญชีตามหลักการบญั ชที ีร่ บั รองทว่ั ไป 4. หัวหนา สาํ นักตรวจสอบภายใน เลขานุการ สาํ นกั งานกองทุนสงเคราะหการทาํ สวนยาง 2. การสอบทานกระบวนการการควบคุมภายใน การบรหิ ารความเสีย่ งและการกํากบั ดแู ลกจิ การที่ดี ดงั นี้ อาํ นาจหนาŒ ท่ี คณะกรรมการตรวจสอบมอี าํ นาจหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ 2.1 การสอบทานกระบวนการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานและติดตามผลการ ขอบเขตการปฏบิ ตั งิ านตามกฎบตั รของคณะกรรมการตรวจสอบ ดําเนินงานจากมาตรการควบคุมภายในขององคกรเปน ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบ รายไตรมาสและรายป พรอมทั้งใหขอเสนอแนะในการ และหนวยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2555 ปรับปรุงตามมาตรฐานการควบคุมภายในขององคกรใหเกิด และคูมือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใน ประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขึ้น รัฐวิสาหกิจ ฉบับปรับปรุง ป 2555 ของสํานักงาน คณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (สคร.) กระทรวงการคลงั 2.2 การสอบทานกระบวนการบรหิ ารความเสย่ี ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบตองรายงานผลการดําเนินงาน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานความเสี่ยงและผลการ เก่ียวกับการตรวจสอบรายไตรมาสและรายงานประจําป ดาํ เนนิ งานขององคก รเปน รายไตรมาสและรายปเพอ่ื ใหป จ จยั เสยี่ ง เสนอตอ คณะกรรมการสงเคราะหก ารทําสวนยาง ทมี่ ีอยใู นระดับสงู ลดลงอยใู นระดับทีอ่ งคก รยอมรับได รายงานผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ 2.3 การสอบทานกระบวนการกํากับดูแล ในปงบประมาณ 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ กจิ การทีด่ ี โดยไดต ิดตามผลการดาํ เนนิ งานและการรายงาน ผลการดําเนินงานการกาํ กับดแู ลกจิ การท่ีดีของ สกย. มีการ สกย. ดําเนินการจัดประชุม จํานวน 8 ครง้ั (เนื่องจากสกย. ติดตามความกาวหนาการดําเนินงานเกี่ยวกับขอรองเรียน มีการปรับเปลี่ยนองคกรเปนการยางแหงประเทศไทย รองทุกข รวมทั้งติดตามรายงานการจัดการความขัดกัน ตามประกาศราชกิจจานุเบกษาซ่ึงมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ ระหวางประโยชนส วนบคุ คลและประโยชนสว นรวม 15 กรกฎาคม 2558 จงึ ทาํ ใหค ณะกรรมการตรวจสอบวาระ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 70 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

3. การกาํ กบั ดแู ลและพฒั นางานตรวจสอบภายใน 5. คณะกรรมการตรวจสอบไปศึกษาดูงาน 3.1 การพิจารณาใหความเห็นชอบ แผนการ ตรวจเย่ียมและพบปะเกษตรกรในเขตพ้ืนที่ สกย.จ.พังงา และกระบ่ี เพื่อรับทราบปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบเชิงกลยุทธ พ.ศ. 2555-2559 (ฉบับปรับปรุง กระบวนการบรหิ ารความเสยี่ ง การควบคมุ ภายใน และการ ครงั้ ท่ี 3 ปง บประมาณ 2558) และแผนการตรวจสอบภายใน กาํ กับดแู ล ประจําป 2558–2559 (ฉบับปรับปรุง)และเห็นชอบแผน กลยุทธเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของสํานักตรวจสอบ 6. การหารือรวมกับผูสอบบัญชี คณะกรรมการ ภายในประจาํ ป 2558 ตามขอ เสนอแนะจากการประเมนิ ผล ตรวจสอบ ไดหารือรว มกับผูสอบบญั ชี (สํานักงานการตรวจ การบรหิ ารจดั การองคก รดา นการตรวจสอบภายในจาก สคร. เงินแผนดิน) โดยไมมีผูบริหารเกี่ยวกับขอตรวจพบและ โดยบริษัท ทริสคอรป อเรชนั่ จํากดั ขอเสนอแนะเพื่อมิใหมีการปฏิบัติการตรวจสอบท่ีซ้ําซอน ตลอดจนติดตามการปรับปรุงการดําเนินงานตามขอเสนอ 3.2 การกํากับดูแลและสอบทานรายงานผลการ แนะของผสู อบบญั ชี ดาํ เนนิ งานของสาํ นกั ตรวจสอบภายใน ประจาํ ปง บประมาณ 2558 และรายงานฯ ไตรมาสที่ 1,2 และ 3 โดยใหค วามสาํ คญั 7. การรกั ษาคณุ ภาพของคณะกรรมการตรวจสอบ ในประเดน็ ขอ ตรวจพบทเี่ ปน ความเสย่ี งสาํ คญั ทจี่ ะทาํ ใหก าร คณะกรรมการตรวจสอบไดทบทวนและปรับปรุงกฎบัตร ดําเนินงานขององคกรไมบรรลุวัตถุประสงค และไดติดตาม คณะกรรมการตรวจสอบรวมท้ังมีการประเมินตนเองตาม ผลการดําเนนิ งานตามขอเสนอแนะของ สตส. อยา งตอเนื่อง แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ขี องสาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจกระทรวงการคลังเพื่อใหม่ันใจวาการปฏิบัติงาน 3.3 ติดตามการบรรจุแตงต้ังบุคลากรของ ของคณะกรรมการตรวจสอบมีประสิทธิภาพและบรรลุ สาํ นกั ตรวจสอบภายในใหเ ตม็ ตามกรอบโครงสรา งอตั รากาํ ลงั วัตถุประสงคตามที่กําหนดไวในกฎบัตรและในระหวางป ป 2558 คณะกรรมการตรวจสอบไดเ ขา อบรมในหลกั สตู รทเี่ กย่ี วขอ ง ไดแ ก Advanced Audit Committee Program (AACP) 3.4 สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของสํานักตรวจ สอบภายใน เพื่อใหสํานักตรวจสอบภายในใชเปนแนวทาง 8. การรายงาน ไดจดั ทํารายงานผลการดาํ เนินงาน การปฏบิ ัติงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ สกย. (Audit Committee’s Report) ประจาํ ปง บประมาณ 2558 เสนอตอ คณะกรรมการ 3.5 การพิจารณาใหความเห็นชอบและติดตาม การยางแหง ประเทศไทย การประเมินคุณภาพการตรวจสอบภายใน ทั้งจากการ ประเมินตนเองของสํานักตรวจสอบภายใน และจากการ (นางสาวลดาวัลย คําภา) ประเมนิ ของหนว ยรบั ตรวจ ประธานกรรมการตรวจสอบ 4. การติดตามการดาํ เนนิ งานทสี่ ําคัญของ สกย. เก่ียวกับการปฏิบัติงานการสงเคราะหปลูกแทน การเคล่ือนไหวราคายาง การจัดเก็บเงินสงเคราะห (Cess) การจดั สรรและการใชไ ป สถานะเงนิ หมนุ เวยี นเพอื่ ชว ยเหลอื ผรู บั การสงเคราะห การทจุ รติ การฝา ฝน กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั มตคิ ณะรฐั มนตรี และนโยบายของคณะกรรมการสงเคราะห การทําสวนยาง รายงานความกาวหนา การดาํ เนนิ งานระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารและผลการดาํ เนนิ งาน ตามการประเมนิ ผลการดําเนินงานของ สกย. (ตัวชว้ี ดั ) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 71 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สํานักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และวันที่ 30 กันยายน 2557 หมายเหตุ 14 กรกฎาคม 2558 หนว ย : ลา นบาท 30 กนั ยายน 2558 สินทรพั ย 5 16,513,446,597.42 11,000,649,183.25 สินทรัพยหมนุ เวยี น 6 14,888,962,034.12 20,728,433,765.36 เงนิ สดและรายการเทยี บเทาเงนิ สด เงินลงทนุ ช่ัวคราว 7 222,967,149.10 199,168,554.53 ลูกหนี้การคา และลูกหนีอ้ นื่ - สทุ ธิ เงนิ ใหกยู มื แกผ ูรบั การสงเคราะห - สทุ ธิ 8 50,563,095.01 12,056,675.75 สนิ คา คงเหลือ สนิ ทรพั ยหมุนเวียนอ่นื 9 10,482,139.22 11,871,237.15 รวมสนิ ทรัพยหมนุ เวยี น 1,051,766.29 1,418,636.69 สินทรพั ยไม‹หมนุ เวยี น 31,687,472,781.16 31,953,598,052.73 เงนิ ฝากธนาคารมขี อจํากดั การใช เงินทดรองจา ยและเงนิ ใหกยู มื แกพ นกั งาน 10 66,909,836.20 67,015,851.80 ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ - สทุ ธิ สินทรพั ยไ มมตี วั ตน - สุทธิ 11 66,658,052.75 70,973,949.75 สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวียนอ่นื 12 1,254,609,227.44 1,179,500,854.78 รวมสนิ ทรัพยไม‹หมนุ เวยี น รวมสนิ ทรพั ย 13 29,288,609.66 37,956,689.07 14 203,650.00 211,550.00 1,417,669,376.05 1,355,658,895.40 33,105,142,157.21 33,309,256,948.13 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน สวนหน่ึงของงบการเงนิ นี้ หมายเหตุ : กอ นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสํานักงานการตรวจเงนิ แผนดิน (สตง.) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 72 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สาํ นักงานกองทุนสงเคราะหก ารทําสวนยาง งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557 หมายเหตุ 14 กรกฎาคม 2558 หนว ย : ลา นบาท 30 กนั ยายน 2558 หนส้ี ินและเงนิ กองทุน 15 201,533,527.93 159,485,708.96 หนีส้ ินหมนุ เวียน 16 25,848,000.00 28,498,208.00 เจา หนีก้ ารคาและเจาหน้อี ื่น 17 173,453,132.62 504,681,113.89 เงนิ สงเคราะหรับรบั เกนิ 18 8,482,048.44 9,970,521.60 เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาลรอการรับรู 409,316,708.99 702,635,552.45 หนสี้ ินหมุนเวยี นอืน่ 19 704,189,520.57 761,518,533.00 รวมหนส้ี ินหมนุ เวยี น หนส้ี นิ ไม‹หมนุ เวียน 20 39,593.00 66,181.20 ภาระผกู พันผลประโยชนพ นักงาน 704,229,113.57 761,584,714.20 หน้ีสินไมห มุนเวียนอืน่ 1,113,545,822.56 1,464,220,266.65 รวมหน้สี ินไมห‹ มุนเวยี น 21 31,991,596,334.65 31,845,036,681.48 รวมหนี้สิน 31,991,596,334.65 31,845,036,681.48 เงินกองทุน 33,105,142,157.21 33,309,256,948.13 เงนิ กองทนุ สะสม รวมเงนิ กองทนุ รวมหนส้ี ินและเงนิ กองทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสว นหน่ึงของงบการเงินนี้ (นายประสิทธ์ิ หมีดเส็น) (นางสาวอภิรดี ประเสรฐิ สุข) รองผูอาํ นวยการสํานกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง ผอู าํ นวยการฝายการเงนิ และบัญชี ปฏบิ ัติการแทน ผวู าการการยางแหง ประเทศไทย หมายเหตุ : กอนการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากสาํ นักงานการตรวจเงินแผน ดิน (สตง.) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 73 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง งบแสดงการเปล่ยี นแปลงเงินกองทนุ สําหรบั งวดต้งั แตว‹ นั ที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ สาํ หรบั ป‚สนิ้ สดุ วันท่ี 30 กันยายน 2557 ยอดคงเหลือ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2556 หนว ย : ลา นบาท รายไดส งู (ต่าํ ) กวาคา ใชจายเบ็ดเสรจ็ รวมสําหรบั ป เงินกองทนุ สะสม ยอดคงเหลือ ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 32,500,168,284.88 รายไดส ูง (ตํา่ ) กวาคา ใชจายเบ็ดเสร็จรวมสาํ หรบั งวด (655,131,603.40) ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 31,845,036,681.48 146,559,653.17 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเปน สว นหนง่ึ ของงบการเงินนี้ 31,991,596,334.65 หมายเหตุ : กอ นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสํานกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ (สตง.) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 74 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สํานกั งานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง งบกระแสเงนิ สด สําหรบั งวดตัง้ แต‹วันที่ 1 ตลุ าคม 2557 ถึงวนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ สําหรบั ปส‚ ้นิ สดุ วันที่ 30 กนั ยายน 2557 หนว ย : ลา นบาท กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมดาํ เนนิ งาน 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ 2557 รายไดสูง (ตํ่า) กวา คา ใชส ทุ ธิสาํ หรับงวด / ป 14 กรกฎาคม 2558 (655,131,603.40) ปรบั กระทบรายไดŒสูง (ตํ่า) กวา‹ ค‹าใชสŒ ทุ ธิเปšนเงินสดรบั (จ‹าย) 146,559,653.17 จากกจิ กรรมดาํ เนินงาน 193,310,160.41 143,074,346.72 9,841,656.11 คา เสื่อมราคา 8,668,079.41 587,477.90 คา ตดั จาํ หนายสินทรัพยไ มมตี ัวตน 534,490.00 20,362.40 คาตดั จาํ หนา ยสินคา คงหลือ - วัสดสุ งเคราะห 52.00 (1,530,629.73) คา ตดั จําหนายทด่ี ิน อาคาร และอุปกรณ (910,231.91) 379,199.55 กาํ ไรจากการจาํ หนายที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ 622,234.02 (78,767.00) หน้สี งสยั จะสญู (26,588.20) - ตดั จาํ หนายรายไดจ ากการรับบริจาครอการรับรู (613,160.00) รายไดจากการรับบรจิ าค (915,375,648.25) รายไดดอกเบ้ีย (688,164,560.76) (602,174.55) รายไดอ่นื ๆ (284,428.51) รายไดสŒ งู (ตาํ่ ) กวา‹ คา‹ ใชจŒ า‹ ยจากการดาํ เนนิ งานกอ‹ นการเปลยี่ นแปลง (1,368,579,966.56) ในสนิ ทรัพยและหน้สี ินดําเนนิ งาน (390,540,114.06) 47,223.92 ลูกหน้ีการคา และลกู หนีอ้ ื่นลดลง (4,780,973.71) สนิ คา คงเหลือ ลดลง (เพ่ิมขึน้ ) 854,607.93 405,741,085.09 สนิ ทรัพยหมุนเวียนอื่นลดลง (เพมิ่ ขน้ึ ) 366,870.40 1,124,690.37 เงนิ ทดรองจา ยและเงินใหก ยู มื แกพ นักงานลดลง (เพ่ิมข้ึน) 4,315,897.00 8,516,167.00 สินทรัพยไ มหมุนเวียนอ่นื ลดลง (เพมิ่ ข้นึ ) 7,900.00 13,200.00 เจาหนก้ี ารคา และเจาหนีอ้ ่นื (ลดลง) เพมิ่ ข้นึ 42,047,818.97 เงินสงเคราะหรบั รบั เกินเพม่ิ ข้ึน (ลดลง) (2,650,208.00) (341,525,434.39) เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาลรอการรบั รูเพิ่มขน้ึ (ลดลง) 2,650,208.00 หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ (ลดลง) เพิม่ ข้ึน (331,227,981.27) 3,051,742.36 ภาระผกู พนั ผลประโยชนพ นกั งานลดลง (1,488,473.16) (2,762,329.73) (57,329,012.43) (22,693,722.00) หมายเหตุ : กอ นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงินจากสํานกั งานการตรวจเงนิ แผนดนิ (สตง.) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 75 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สาํ นักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง งบกระแสเงินสด สําหรับงวดต้งั แตว‹ ันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ สาํ หรบั ปส‚ น้ิ สุดวันที่ 30 กันยายน 2557 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ หนว ย : ลานบาท 14 กรกฎาคม 2558 2557 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนนิ งาน (740,423,668.33) (1,314,417,135.94) ดอกเบี้ยรับ 669,083,411.00 938,505,966.12 (71,340,257.33) (375,911,169.82) เงินสดสุทธิไดŒมาจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกจิ กรรมลงทนุ (6,690,573,983.66) (8,113,725,895.22) 12,530,045,714.90 6,805,899,794.40 เงินสดจายเพอ่ื ซอ้ื เงนิ ลงทุนชว่ั คราว เงินสดรับจากการขายเงนิ ลงทุนชั่วคราว 106,015.60 (4,885,099.20) เงนิ ฝากธนาคารมีขอ จาํ กดั การใช (ลดลง) เพ่มิ ขึน้ (46,831,581.00) (7,022,000.00) เงนิ ใหก ูยืมแกผูรบั การสงเคราะหเพิ่มขน้ึ 11,045,072.30 เงนิ รบั ชําระจากการใหก ยู ืมแกผรู บั การสงเคราะห 8,050,885.13 (205,758,683.91) เงนิ ลงทนุ ในที่ดนิ อาคาร และอุปกรณเพ่ิมขึน้ (217,793,642.47) (12,855,283.74) เงินลงทุนในสินทรัพยไมมตี วั ตนเพิ่มขึ้น 1,904,234.00 เงนิ รับจากการจําหนา ยสนิ ทรพั ย - (1,525,397,861.37) 1,134,263.00 (1,901,309,031.19) เงนิ สดสุทธิใชŒไปในกิจกรรมลงทุน 5,584,137,671.50 12,901,958,214.44 เงินสดและรายการเทียบเทา เงนิ สดสุทธเิ พม่ิ ขึ้น 5,512,797,414.17 11,000,649,183.25 เงินสดและรายการเทยี บเทาเงินสด ณ วนั ตนงวด / ป 11,000,649,183.25 16,513,446,597.42 เงนิ สดและรายการเทียบเท‹าเงนิ สด ณ วันส้ินงวด / ป‚ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปนสวนหนึง่ ของงบการเงนิ น้ี หมายเหตุ : กอ นการตรวจสอบและรบั รองงบการเงนิ จากสาํ นักงานการตรวจเงินแผนดนิ (สตง.) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 76 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สาํ นักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หมายเหตุประกอบงบการเงนิ สําหรับงวดตัง้ แต‹วันที่ 1 ตลุ าคม 2557 ถึงวนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ สําหรับป‚สนิ้ สุดวันท่ี 30 กนั ยายน 2557 1. ขอŒ มูลทัว่ ไป ตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกิจการ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) ไปถือปฏิบัติ และตองเปดเผยเรื่องการใชดุลยพินิจของ ผูบริหารหรือความซับซอนหรือเกี่ยวกับขอสมมติฐาน มีสํานักงานใหญต้ังอยูเลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท และประมาณการที่มีนัยสําคัญตองบการเงินซ่ึง สกย. แขวงบางขนุ นนท เขตบางกอกนอ ย กรงุ เทพมหานคร โดยจดั ตง้ั ไดเปด เผยไวแ ลวในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินขอ ท่ี 3 ขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2505 , พ.ศ. 2518 และ 2.2 การแปลงคา เงนิ ตราตางประเทศ พ.ศ. 2530 มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือเกษตรกร รายการตา งๆ ในงบการเงนิ ของ สกย. วดั มลู คา ชาวสวนยางเกา ในการปลกู แทนดว ยยางพนั ธดุ หี รอื ไมย นื ตน อน่ื ทม่ี ีความสําคญั ทางเศรษฐกจิ และสงเสรมิ เกษตรกรที่ไมเ คย โดยใชสกุลเงินบาท สกย. แปลงคารายการท่ีเปนเงินตรา มีสวนยางมากอนในการประกอบอาชีพการทําสวนยาง ตา งประเทศใหเปนเงินบาทโดยใชอ ตั ราแลกเปล่ยี น ณ วนั ที่ โดยมุงในพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม บริหารงานโดยคณะกรรมการ ทเ่ี กดิ รายการ และแปลงคา สนิ ทรพั ยแ ละหนสี้ นิ ทเ่ี ปน ตวั เงนิ สงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) มีผูอํานวยการเปน ซึ่งเปนเงินตราตางประเทศใหเปนเงินบาทโดยใชอัตรา ผูบริหารสาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทาํ สวนยาง รายได แลกเปลย่ี น ณ วนั ท่ีในงบแสดงฐานะการเงนิ รายการรายได หลกั ในการดาํ เนนิ งานมาจากเงนิ สงเคราะห (Cess) ทเ่ี กบ็ จาก และรายการคาใชจายที่เกิดจากการรับหรือจายชําระที่เปน ผูสงยางออกนอกราชอาณาจักรและเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินตราตางประเทศ และท่ีเกิดจากการแปลงคาสินทรัพย เพื่อดําเนินการสงเคราะหแกเจาของสวนยางท่ีปลูกแทน และหนส้ี นิ ทเี่ ปน ตวั เงนิ ซงึ่ เปน เงนิ ตราตา งประเทศไดบ นั ทกึ ไว ปลูกยางใหม บริหารงานของ สกย. และดําเนนิ กจิ กรรมอ่ืน ในรายไดห รอื คา ใชจาย ทร่ี ัฐบาลมอบหมาย 2.3 เงินสดและรายการเทยี บเทาเงนิ สด 2. นโยบายการบัญชี เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รวมถึง 2.1 เกณฑการเสนองบการเงิน งบการเงินไดจัดทําข้ึนตามหลักการบัญชี เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคลองสูงซ่ึงมีอายุไมเกิน ทร่ี บั รองทว่ั ไปในประเทศไทยภายใตพ ระราชบญั ญตั กิ ารบญั ชี สามเดือนนับจากวันทไี่ ดม า พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการบัญชีท่ีออกภายใต พระราชบัญญัติวิชาชพี การบัญชี พ.ศ. 2547 2.4 ลูกหนก้ี ารคา ลกู หนก้ี ารคา รบั รเู รม่ิ แรกดว ยมลู คา ตามใบแจง งบการเงินไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิม ในการวัดมูลคา ขององคป ระกอบของงบการเงิน หนี้ และจะวัดมูลคาตอมาดวยจํานวนเงินท่ีเหลืออยูหักดวย คาเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ ซ่ึงประมาณจากการสอบทานยอด การจัดทํางบการเงินใหสอดคลองกับหลักการบัญชี คงเหลอื ณ วันส้ินป คา เผื่อหนส้ี งสยั จะสูญหมายถงึ ผลตาง ที่รับรองท่ัวไปในประเทศไทย กําหนดใหใชประมาณการ ระหวางราคาตามบัญชีของลูกหน้ีการคาเปรียบเทียบกับ ทางบญั ชที สี่ าํ คญั และการใชด ลุ ยพนิ จิ ของผบู รหิ ารซง่ึ จดั ทาํ ขนึ้ มูลคา ทคี่ าดวา จะไดร ับจากลูกหนกี้ ารคา หนสี้ ูญท่เี กดิ ขนึ้ จะ รบั รไู วใ นรายไดห รอื คา ใชจ า ยโดยถอื เปน สว นหนงึ่ ของคา ใชจ า ย ในการบริหาร รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 77 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สกย. ตั้งคาเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญตามระเบียบ การคลังกําหนดโดยต้ังคาเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหน้ี กระทรวงการคลังวาดวยการบัญชีและการเงินของ ที่ไมใชสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซ่ึงคางชําระเกินกวา 6 รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 ขอ 7 และหลักเกณฑที่กระทรวง เดือนขึน้ ไปนบั จากวนั ท่ีหน้ีถงึ กาํ หนดชาํ ระตามอัตรา ดังน้ี ระยะเวลาทีห่ นี้คŒางชาํ ระ อตั รารอŒ ยละของค‹าเผอื่ หน้สี งสัยจะสูญ เกินกวา 6 เดอื น แตไ มเ กนิ 1 ป 50 เกินกวา 1 ป ข้นึ ไป 100 2.5 สินคา คงเหลือ ประโยชนเ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตแก สกย. และตน ทนุ ดงั กลา ว สินคาคงเหลือ แสดงดวยราคาทุนหรือมูลคา สามารถวดั มลู คา ไดอ ยา งนา เชอ่ื ถอื และจะตดั มลู คา ตามบญั ชี ของสวนประกอบที่ถูกเปลี่ยนแทนออก สําหรับคาซอมแซม สทุ ธทิ จ่ี ะไดร บั แลว แตร าคาใดจะตา่ํ กวา ราคาทนุ คาํ นวณโดย และบํารุงรักษาอื่นๆ สกย. จะรับรูตนทุนดังกลาวเปนคาใช ใชวิธีเขากอนออกกอน ตนทุนประกอบดวยราคาซื้อและ จา ยในรายไดหรอื คาใชจายเมอ่ื เกิดข้ึน คาใชจายท่ีเก่ียวของโดยตรงกับการซ้ือสินคานั้น สกย. จะบันทึกบัญชีคาเผ่ือการลดมูลคาของสินคาเกา ลาสมัย คาเส่ือมราคาคํานวณโดยวิธีเสนตรงเพื่อลด หรือเส่ือมคณุ ภาพเทา ทจี่ าํ เปน ราคาตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ยแ ตล ะชนดิ ตามอายกุ ารใชง านท่ี ประมาณการไวข องสนิ ทรพั ยด งั ตอ ไปนี้ ยกเวน ทด่ี นิ ซง่ึ มอี ายุ 2.6 ทดี่ นิ อาคาร และอปุ กรณ การใชงานไมจํากัด ทดี่ นิ อาคาร และอปุ กรณร บั รเู มอ่ื เรม่ิ แรกตาม สกย. ไดมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับ ราคาทุน โดยอาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคา สว นประกอบทม่ี นี ยั สาํ คญั แยกตา งหากและเปลย่ี นประมาณ เสอื่ มราคาสะสม การทางบัญชี โดยมีการทบทวนอายุการใชงานของอาคาร และอุปกรณ อายุการใชงานของอาคารและอุปกรณแตละ ตนทุนท่ีเกิดข้ึนภายหลังจะรวมอยูในมูลคา ประเภทแสดงได ดังตอ ไปน้ี ตามบัญชีของสินทรัพยหรือรับรูแยกเปนอีกสินทรัพยหนึ่ง ตามความเหมาะสมเม่ือตนทุนน้ันเกิดข้ึนและคาดวาจะให อาคารและสิ่งปลกู สราง อายกุ ารใชŒงาน (ป‚) - ประเภทอาคารสํานักงานโกดงั เก็บยางพารา , ศนู ยก ารเรียนดานยางพารา , โรงงานตน แบบ 10 - 40 อตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑยาง - ประเภทโรงอบ / อุปกรณ / โรงเรอื น 20 5-7 อุปกรณ 5-8 ครุภณั ฑขนสง สําหรับอุปกรณท่ีมีราคาซ้ือหรือไดมาราคาหนวยละ ในกรณีท่ีมูลคาตามบัญชีสูงกวามูลคาท่ีคาดวาจะได ไมเ กนิ 30,000 บาท จะรบั รเู ปน คา ใชจ า ยในปท ซ่ี อ้ื หรอื ไดม า รบั คืน ราคาตามบญั ชีจะถกู ปรับลดใหเ ทากับมูลคาท่ีคาดวา จะไดรบั คนื ทนั ที ทุกส้ินรอบระยะเวลารายงานไดมีการทบทวนและ ปรับปรุงมูลคาคงเหลือและอายุการใหประโยชนของ ผลรายไดหรือคาใชจายที่เกิดจากการจําหนายที่ดิน สินทรัพยใ หเหมาะสม อาคารและอปุ กรณ คาํ นวณโดยเปรยี บเทยี บจากสง่ิ ตอบแทน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 78 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สุทธิที่ไดรับจากการจําหนายสินทรัพยกับมูลคาตามบัญชี สนิ ทรัพย รายไดคาเชา (สทุ ธิจากสิง่ ตอบแทนจงู ใจท่ไี ดจาย ของสินทรัพย และจะรับรูบัญชีรายไดหรือคาใชจายอ่ืนสุทธิ ใหแ กผูใหเชา ) รบั รดู ว ยวธิ เี สน ตรงตลอดชวงเวลาการใหเ ชา ในรายไดห รอื คา ใชจาย สินทรัพยท่ีใหเชาตามสัญญาเชาทางการเงิน 2.7 สินทรัพยไมม ตี วั ตน บนั ทกึ เปน ลกู หนส้ี ญั ญาเชา ทางการเงนิ ดว ยมลู คา ปจ จบุ นั ของ สินทรัพยไมมีตัวตน ประกอบดวย โปรแกรม จาํ นวนเงนิ ทจ่ี า ยตามสญั ญาเชา ผลตา งระหวา งยอดรวมของ ลูกหน้ีเบื้องตนกับมูลคาปจจุบันของลูกหนี้บันทึกเปนรายได คอมพวิ เตอร รบั รเู มอื่ เรม่ิ แรกตามราคาทนุ หกั คา ตดั จาํ หนา ย ทางการเงินคางรับ รายไดจากสัญญาเชาระยะยาวรับรู สะสม ตลอดอายุของสัญญาเชาโดยใชวิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะทอน อัตราผลตอบแทนคงที่ทุกงวด ตนทุนทางตรงเร่ิมแรกที่รวม คาตัดจําหนายคํานวณโดยวิธีเสนตรง โดย อยูในการวัดมูลคาลูกหนี้สัญญาเชาทางการเงินเร่ิมแรก ประมาณ อายกุ ารใชง าน 5 ป และจะทยอยรบั รโู ดยลดจากรายไดต ลอดอายขุ องสญั ญาเชา 2.8 สัญญาเชาระยะยาว 2.9 ประมาณการหนสี้ ิน กรณที ี่ สกย. เปนผูเชา ประมาณการหน้ีสินจะรับรูก็ตอเม่ือ สกย. สัญญาระยะยาวเพ่ือเชาสินทรัพยซึ่งผูใหเชา มีภาระผูกพันในปจจุบันตามกฎหมายหรือตามขอตกลง เปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของ ทจ่ี ดั ทาํ ไวอ นั เปน ผลสบื เนอื่ งมาจากเหตกุ ารณใ นอดตี ซง่ึ การ เปนสวนใหญ สัญญาเชาน้ันถือเปนสัญญาเชาดําเนินงาน ชําระภาระผูกพันนั้นมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะ เงนิ ทต่ี อ งจา ยภายใตส ญั ญาเชา ดงั กลา ว (สทุ ธจิ ากสงิ่ ตอบแทน สงผลใหกิจการตองสูญเสียทรัพยากรออกไป และตาม จูงใจที่ไดรับจากผูใหเชา) จะบันทึกในรายไดหรือคาใชจาย ประมาณการจาํ นวนทต่ี อ งจา ยไดอ ยางนา เชอ่ื ถอื โดยใชวธิ เี สนตรงตลอดอายขุ องสัญญาเชานั้น ในกรณีที่มีภาระผูกพันท่ีคลายคลึงกันหลาย สัญญาเชาท่ีดิน อาคาร และอุปกรณซึ่งผูเชา รายการ กิจการกําหนดความนาจะเปนที่กิจการจะสูญเสีย เปนผูรับความเส่ียงและผลตอบแทนของความเปนเจาของ ทรัพยากรเพื่อจายชําระภาระผูกพันเหลานั้น โดยพิจารณา เกอื บทั้งหมดถอื เปนสญั ญาเชาการเงนิ ซึ่งจะบนั ทกึ เปนราย จากความนาจะเปนโดยรวมของภาระผูกพันทั้งประเภท จา ยฝา ยทนุ ดว ยมลู คา ยตุ ธิ รรมของสนิ ทรพั ยท เี่ ชา หรอื มลู คา แมวาความเปนไปไดคอนขางแนท่ีกิจการจะสูญเสีย ปจ จบุ นั สทุ ธขิ องจาํ นวนเงนิ ทตี่ อ งจา ยตามสญั ญาเชา แลว แต ทรัพยากรเพ่ือชําระภาระผูกพันบางรายการที่จัดอยูใน มูลคาใดจะต่ํากวา ประเภทเดยี วกนั จะมีระดบั ตา่ํ จาํ นวนเงนิ ทตี่ อ งจา ยดงั กลา วจะปน สว นระหวา ง กจิ การจะวดั มลู คา ของจาํ นวนประมาณการหนส้ี นิ หนส้ี นิ และคา ใชจ า ยทางการเงนิ เพอ่ื ใหไ ดอ ตั ราดอกเบย้ี คงท่ี โดยใชมูลคาปจจุบันของรายจายที่คาดวาจะตองนํามาจาย ตอหน้ีสินคงคางอยู โดยพิจารณาแยกแตละสัญญา ภาระ ชําระภาระผูกพัน การเพ่ิมข้ึนของประมาณการหน้ีสิน ผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปน เนือ่ งจากมลู คาของเงนิ ตามเวลาจะรบั รเู ปนดอกเบีย้ จา ย หน้ีสินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในรายไดหรือ คาใชจายตลอดอายุของสัญญาเชาเพื่อทําใหอัตราดอกเบ้ีย 2.10 ผลประโยชนพนกั งาน แตละงวดเปนอัตราคงท่ีสําหรับยอดคงเหลือของหน้ีสิน ผลประโยชนพ นกั งานของ สกย. ประกอบดว ย ท่ีเหลืออยู สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคา เสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชาหรืออายุ ผลประโยชนหลังออกจากงานท้ังที่เปนโครงการสมทบเงิน ของสัญญาเชา แลว แตร ะยะเวลาใดจะนอยกวา และโครงการผลประโยชน โครงการสมทบเงนิ เปน โครงการท่ี สกย. จายเงินสมทบใหกับกองทุนที่แยกตางหากในจํานวน กรณที ี่ สกย. เปนผูใ หเ ชา เงินท่ีคงท่ี สกย. ไมมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระ สนิ ทรพั ยท ใี่ หเ ชา ตามสญั ญาเชา ดาํ เนนิ งานรวม ผกู พนั จากการอนมุ านทจี่ ะตอ งจา ยเงนิ เพมิ่ ถงึ แมก องทนุ ไมม ี แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินในสวนที่ดิน อาคารและ สินทรัพยเพียงพอท่ีจะจายชําระใหพนักงานทั้งหมดสําหรับ อปุ กรณ และตดั คา เสอ่ื มราคาตลอดอายกุ ารใหป ระโยชนข อง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 79 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

การใหบริการของพนักงานท้ังในอดีตและปจจุบัน โครงการ นอกจากน้ี สกย. ยังจัดใหมีกองทุน ผลประโยชนเปนโครงการที่ไมใชโครงการสมทบเงินซ่ึงจะ บําเหน็จและสมทบเปนเงินสํารองบําเหน็จพนักงานในกรณี กําหนดจํานวนเงินผลประโยชนที่พนักงานจะไดรับเมื่อ พนักงานเลือกไมอยูในกองทุนสํารองเลี้ยงชีพโดยปฏิบัติ เกษียณอายซุ ่ึงจะข้นึ อยกู บั หลายปจจัย เชน อายุ จาํ นวนป ตามขอบังคับคณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง ที่ใหบ รกิ าร และคาตอบแทน เปน ตน วาดว ยการจา ยเงนิ บาํ เหน็จพนกั งาน พ.ศ. 2516 (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2522 ขอ 15 โดย สกย. จะจายเงินสมทบเขาบัญชี  โครงการสมทบเงนิ เงินสํารองบําเหน็จพนักงานจากงบเงินทุนบริหารในอัตรา กองทุนสาํ รองเลย้ี งชพี รอ ยละ 12 ของเงนิ เดอื นหรอื คา จา งทต่ี อ งจา ยในแตล ะเดอื น สกย. ไดจัดต้ังกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สกย. มีนโยบายใหสิทธิพนักงานในการ โดยใชแผนการกําหนดอัตราการจายสมทบโดยท่ีสินทรัพย ลาพกั ผอ นประจาํ ปโ ดยไดร บั คา ตอบแทนทสี่ ะสมไดแ ตไ มเ ปน ของกองทุนไดแ ยกออกจากสนิ ทรพั ยของ สกย. และบรหิ าร สิทธิขาด และรับรูเปนคาใชจายและหนี้สินเมื่อพนักงาน โดยผจู ดั การกองทนุ กองทนุ สาํ รองเลยี้ งชพี ดงั กลา วไดร บั เงนิ ใชบริการสําหรับสิทธิที่พนักงานยังไมไดใชสะสมอยูและ เขาสมทบกองทุนจากพนักงานและ สกย. ไมมีภาระผูกพัน คาดวา จะไดใชใ นอนาคตหรือไดรับเปน เงินเมื่อเกษียณอายุ ที่จะจายเงินเพิ่มอีกเม่ือไดจายเงินสมทบไปแลว เงินสมทบ จะถกู รบั รเู ปน คา ใชจ า ยผลประโยชนพ นกั งานเมอื่ ถงึ กาํ หนด รายไดแ ละคา ใชจ า ยจากการประมาณการ ชาํ ระ สาํ หรบั เงนิ สมทบจา ยลว งหนา จะถกู รบั รเู ปน สนิ ทรพั ย ตามหลกั คณติ ศาสตรป ระกนั ภยั สาํ หรบั โครงการผลประโยชน จนกวา จะมกี ารไดร บั เงนิ คนื หรอื หกั ออกเมอ่ื ครบกาํ หนดจา ย พนกั งานเกดิ ขนึ้ จากการปรบั ปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลงขอ สมมตฐิ าน สกย. จะจา ยสมทบใหก องทนุ สาํ รองเลยี้ งชพี ตามอายงุ านของ จะรบั รใู นรายไดแ ละคา ใชจ า ยเบด็ เสรจ็ อื่น พนกั งานในอตั รารอ ยละ 9 , 10 และรอ ยละ 11 ของเงนิ เดอื น พนกั งาน 2.11 การอดุ หนนุ จากรัฐบาล การอดุ หนนุ จากรฐั บาลรบั รดู ว ยมลู คา ยตุ ธิ รรม  โครงการผลประโยชน ผลประโยชนเมื่อเกษยี ณอายุ หากมีเหตุผลชัดเจนวาจะไดรับการอุดหนุนนั้นและ สกย. สกย. จัดใหมีโครงการผลประโยชน จะปฏิบัติใหเปนไปตามเง่ือนไขที่กําหนดมาพรอมกับการ อุดหนนุ นั้น หลังออกจากงานเพ่ือจายเงินใหแกพนักงานเปนไปตาม กฎหมายแรงงานไทย จาํ นวนเงนิ ดงั กลา วขนึ้ อยกู บั ฐานเงนิ เดอื น การอุดหนุนจากรัฐบาลเพื่อชดเชยตนทุน และจํานวนปท่ีพนักงานทํางานให สกย.นับถึงวันที่สิ้นสุด จะรับรูเปนรายการรายไดรอตัดบัญชีและจะทยอยรับรู การทํางานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หน้ีสินสําหรับโครงการ เปนรายไดในรายไดหรือคาใชจายตามเกณฑและตาม ผลประโยชนจะรับรูในงบแสดงฐานะการเงินดวยมูลคา ระยะเวลาท่ีกําหนดโดยเปรียบเทียบการอุดหนุนกับตนทุน ปจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่ส้ินรอบระยะเวลารายงาน ท่ีเกี่ยวของซ่ึงรัฐบาลตั้งใจใหการอุดหนุนชดเชยคืนใหแก หักดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยโครงการ และปรับปรุง สกย. ดวยตนทุนบริการในอดีตที่ยังไมรับรู ภาระผูกพันนี้คํานวณ โดยนักคณิตศาสตรประกันภัยอิสระ ดวยวิธีคิดลดแตละ การอดุ หนนุ จากรฐั บาลเพอื่ ซอื้ ทดี่ นิ อาคารและ หนวยที่ประมาณการไว ซึ่งมูลคาปจจุบันของโครงการผล อุปกรณจะรับรูเปนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลรอการรับรู และ ประโยชนจ ะประมาณโดยการคดิ ลดกระแสเงนิ สดทตี่ อ งจา ย จะบันทึกเขาไปยังรายไดหรือคาใชจายโดยใชวิธีเสนตรง ในอนาคตโดยใชอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลซึ่งเปน ตลอดอายทุ ี่คาดการณไวของสินทรัพยเ หลานน้ั สกลุ เงนิ เดยี วกบั สกลุ เงนิ ทจี่ ะจา ยภาระผกู พนั ใหแ กพ นกั งาน และวันครบกําหนดใกลเคียงกับระยะเวลาท่ีตองชําระภาระ 2.12 การรบั รูร ายได ผูกพนั นโยบายในการรับรูรายไดแตละประเภทของ สกย. มรี ายละเอียดดงั ตอ ไปน้ี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 80 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

2.12.1 สกย. จะรับรูเงินสงเคราะหท่ีรับ สกย. ไดพิจารณาอัตราคิดลดท่ีเหมาะสม จากผูสงยางออกนอกราชอาณาจักรเปนรายไดก็ตอเมื่อ ในแตละป ซ่ึงไดแกอัตราดอกเบี้ยที่ควรจะใชในการกําหนด มีสิทธิ์ในการไดร ับเงินจากผสู งยางแลว มลู คา ปจ จบุ นั ของประมาณการกระแสเงนิ สดทค่ี าดวา จะตอ ง จายภาระผูกพันโครงการผลประโยชนพนักงานในการ 2.12.2 รายไดดอกเบ้ียเงินฝากธนาคาร พิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสม สกย.พิจารณาใชอัตรา รับรูตามเกณฑสัดสวนของเวลา โดยคํานึงถึงอัตรา ผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซ่ึงเปนสกุลเงิน ผลตอบแทนทีแ่ ทจรงิ เดยี วกบั สกลุ เงนิ ทต่ี อ งจา ยชาํ ระผลประโยชนเ มอื่ เกษยี ณอายุ และมอี ายคุ รบกาํ หนดใกลเ คยี งกบั ระยะเวลาทตี่ อ งจา ยชาํ ระ 2.12.3 รายไดจ ากการรบั บรจิ าค จะรบั รู ภาระผกู พันโครงการผลประโยชนพนกั งานทเ่ี ก่ยี วของ เปนรายไดเม่ือไดรับเงินบริจาคท่ีไมระบุวัตถุประสงคในการ ใหหรือไมมีเง่ือนไขในการใชจาย สําหรับกรณีรับเงินบริจาค ขอสมมติฐานหลักอ่ืนๆ สําหรับภาระผูกพัน ที่มีขอจํากัดในการใช เชน บริจาคเงินโดยระบุวัตถุประสงค โครงการผลประโยชนพ นกั งานอา งองิ กบั สถานการณป จ จบุ นั ในการใหห รอื บรจิ าคเปน สนิ ทรพั ยท จ่ี ะใหป ระโยชนเ กนิ หนงึ่ ในตลาด ขอ มูลเพ่มิ เติมเปด เผยในหมายเหตุประกอบงบการ รอบระยะเวลาบญั ชีนั้น สกย. จะรับรูการรบั บริจาคเปนหนี้ เงนิ ขอ 19 สินประเภทรายไดจากการรับบริจาครอการรับรู และจะ ทยอยรับรูเปนรายไดตามเกณฑที่เปนระบบและสมเหตุ (ข) ประมาณการอายุการใชประโยชนและมูลคา สมผลตลอดระยะเวลาที่จําเปนตอการจับคูรายไดจากการ คงเหลอื สินทรพั ย รับบริจาคกับคา ใชจ า ยที่เกีย่ วของ ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคาร 3. ประมาณการทางบัญชีท่ีสําคัญ ขŒอสมมติฐาน และ และอุปกรณ และคาตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตัวคน การใชดŒ ุลยพนิ จิ ฝายบริหารตองประมาณอายุการใชงานและมูลคาคงเหลือ เม่ือเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทําการ การประมาณการ ขอ สมมตฐิ าน และการใชด ลุ ยพนิ จิ ทบทวนอายุการใชงานและมูลคาคงเหลือใหมหากมีการ ไดม กี ารประเมนิ ทบทวนอยา งตอ เนอ่ื งและอยบู นพนื้ ฐานของ เปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนหรืออยางนอยปละครั้งทุกสิ้นรอบ ประสบการณใ นอดตี และปจ จยั อนื่ ๆ ซงึ่ รวมถงึ การคาดการณ ระยะเวลาบญั ชี โดยสว นใหญอ า งองิ จากขอ มลู เชงิ เทคนคิ ของ ถงึ เหตกุ ารณใ นอนาคตทเ่ี ชอ่ื วา มเี หตผุ ลในสถานการณข ณะนนั้ สินทรัพยน้ัน และรวมถึงการพิจารณาการตัดจําหนาย การประมาณการทางบญั ชที ่ีสําคญั ของ สกย. มีดังน้ี สินทรัพยที่เส่ือมสภาพหรือไมไดใชงานโดยการขายหรือ เลกิ ใช (ก) ภาระผูกพันโครงการผลประโยชนพนักงาน มูลคาปจจุบันของภาระผูกพันโครงการ 4. การจัดการความเสี่ยงในส‹วนของทนุ วตั ถปุ ระสงคข อง สกย. ในการบรหิ ารทนุ ของ สกย. นนั้ ผลประโยชนพนักงานข้ึนอยูกับหลายปจจัยท่ีใชในการ คํานวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยโดยมีขอสมมติฐาน เพ่ือดํารงไวซ่ึงความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเน่ือง ห ล า ย ตั ว ร ว ม ถึ ง ข  อ ส ม ม ติ ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ อั ต ร า คิ ด ล ด ของ สกย. เพอื่ สรา งผลตอบแทนตอ สว นของเจา ของและเปน การเปลี่ยนแปลงของขอสมมติฐานเหลานี้จะสงผลกระทบ ประโยชนต อ ผทู มี่ สี ว นไดเ สยี อน่ื และเพอื่ ดาํ รงไวซ งึ่ โครงสรา ง ตอมลู คา ของภาระผูกพัน ของทุนทีเ่ หมาะสมเพอ่ื ลดตน ทนุ ทางการเงนิ ของทุน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 81 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

5. เงนิ สดและรายการเทยี บเท‹าเงินสด ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลานบาท 30 ก.ย. 57 เงินสด 6.55 เงนิ ฝากธนาคาร - กระแสรายวนั 0.10 5.19 1,969.84 0.10 - ออมทรัพย 14,536.96 1,573.41 - ประจาํ 3 เดือน 16,513.45 9,421.95 รวมทั้งสิน้ 11,000.65 สกย. ไดเปดบัญชีเงินฝากออมทรัพยคูกับบัญชี ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และ 30 กนั ยายน 2557 เงินฝากกระแสรายวันเพื่อประโยชนในการชําระหนี้ เงนิ ฝากธนาคารประเภทออมทรพั ย มอี ตั ราดอกเบยี้ ถวั เฉลย่ี โดยธนาคารจะโอนเงนิ จากบญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ยเ ขา บญั ชี รอยละ 0.55 ตอ ป และ 0.58 ตอป ตามลาํ ดบั และเงินฝาก เงนิ ฝากกระแสรายวนั ตามจาํ นวนเงนิ ในเชค็ ทม่ี ผี นู าํ มารบั เงนิ ธนาคารประเภทประจําที่ถึงกําหนดชําระ ภายใน 3 เดือน ในแตละวนั มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 2.50 - 3.20 ตอป และรอยละ 1.94 - 3.14 ตอป ตามลําดบั 6. เงนิ ลงทุนชั่วคราว ประกอบดวยรายการดังตอ ไปนี้ หนว ย : ลา นบาท เงนิ ฝากประจาํ มากกวา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 บวก เพม่ิ ระหวา งงวด 3 เดอื น ถงึ 1 ป หัก ลดระหวางงวด ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557 19,420.61 บวก เพม่ิ ระหวา งงวด 8,113.72 หกั ลดระหวา งงวด (6,805.90) ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 20,728.43 6,690.57 (12,530.04) 14,888.96 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 82 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 และ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตามหมายเหตุ 30 กันยายน 2557 จํานวน 14,888.96 ลานบาท และ ประกอบงบการเงินขอ 5 จํานวน 16,513.45 ลานบาท 20,728.43 ลานบาท ตามลําดับ เปนเงินฝากธนาคาร (ณ วันท่ี 30 กันยายน 2557 จํานวน 11,000.65 ลา นบาท) ประเภทประจํา 3 เดือนขึ้นไปแตไมเกิน 1 ป ณ วันที่ และเงนิ ลงทนุ ชว่ั คราวตามหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ขอ 6 14 กรกฎาคม 2558 และ 30 กนั ยายน 2557 มอี ตั ราดอกเบย้ี จํานวน 14,888.96 ลานบาท (ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 รอยละ 1.57 – 3.32 ตอป และรอยละ 2.00 – 3.39 ตอป จาํ นวน 20,728.43 ลา นบาท) รวมเงนิ สดและรายการเทยี บเทา ตามลําดับ เงินสดและเงินลงทุนช่ัวคราวทั้งส้ิน จํานวน 31,402.41 ลา นบาท (ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 จํานวน 31,729.08 ลานบาท) ซ่ึงไดสาํ รองไวใ ชจายตามประเภทกจิ กรรม ดังน้ี เงนิ ทนุ หมนุ เวียน 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลานบาท เงนิ สํารองเพื่อใชจ ายในการบริหารงาน 30 ก.ย. 57 เงนิ สํารองเพอื่ ใชจายในการใหก ารสงเคราะห 69.30 รวม 1,779.09 63.76 29,554.02 1,827.04 31,402.41 29,838.28 31,729.08 เงนิ สาํ รองเพอ่ื ใชจ า ยในการใหก ารสงเคราะห ณ วนั ท่ี ชาวสวนยางตามสัญญาผูกพันในการใหการสงเคราะหแก 14 กรกฎาคม 2558 และ 30 กันยายน 2557 จํานวน เจาของสวนยางเปนจํานวนเงิน 23,000.47 ลานบาท และ 29,554.02 ลา นบาท และ 29,838.28 ลานบาท ตามลาํ ดบั 18,389.63 ลานบาท ตามลําดับ โดยจะรับรูเงินที่จาย เปน เงนิ ทจ่ี ะตอ งจา ยใหก บั เกษตรกรชาวสวนยางทไี่ ดร บั การ สงเคราะหเ ปน คา ใชจ า ยภายในระยะเวลาทใ่ี หก ารสงเคราะห สงเคราะหต ามพระราชบญั ญตั กิ องทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง (ตามหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินขอ 28) ทั้งนี้ สกย. ไดประมาณการจํานวนเงินสงเคราะหเกษตรกร 7. ลกู หนกี้ ารคาŒ และลกู หน้อี นื่ - สทุ ธิ ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 เงนิ ยืมทดรองทั่วไป ดอกเบี้ยคา งรับ 4.84 1.96 คา ใชจ ายจายลว งหนา ลกู หนเ้ี งินสงเคราะหเรยี กคืน 193.70 174.66 หัก คา เผ่อื หน้ีสงสัยจะสญู ลกู หนอ้ี ่ืนๆ 1.58 1.28 รวม 0.44 0.30 (0.34) 0.10 (0.28) 0.02 22.75 21.25 222.97 199.17 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 83 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

8. เงินใหกŒ ูŒยมื แกผ‹ Œูรับการสงเคราะห - สทุ ธิ มีการเปลย่ี นแปลงดงั น้ี 14 ก.ค. 58 หนวย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 ยอดยกมา 15.92 บวก ใหก ูเพ่มิ ระหวางงวด 46.83 19.95 หกั รบั ชําระระหวางงวด (8.05) 7.02 54.70 (11.05) หกั คาเผอ่ื หน้ีสงสัยจะสญู (4.14) 15.92 ยอดยกไป 50.56 (3.86) 12.06 เงินใหกูยืมแกผูรับการสงเคราะห เกิดจาก สกย. ไมเ กนิ 4 ป หากไมช าํ ระหนภี้ ายในเวลาทกี่ าํ หนดจะตอ งชาํ ระ ไดใ หผ รู บั การสงเคราะหก ยู มื เงนิ ไปเพอ่ื ลงทนุ ในการปลกู พชื ดอกเบยี้ เพมิ่ ในอตั ราไมเ กนิ รอ ยละ 6 ตอ ปข องเงนิ ตน คงเหลอื แซมในสวนสงเคราะห เลยี้ งสตั ว การทาํ หตั ถกรรม และอน่ื ๆ นับถัดจากวันครบกําหนดจนถึงวันชําระหน้ี และหากไมนํา เพื่อใหมีรายไดเสริมหรือลดตนทุนการผลิต ณ วันที่ 14 เงินกูไปใชเพ่ือการประกอบอาชีพเสริมจะตองสงคืนเงินกู กรกฎาคม 2558 คิดดอกเบ้ียเงินกูในอัตรารอยละ 2 ตอป ท้ังหมดทันทีพรอมดอกเบ้ียอัตรารอยละ 15 ตอปนับจาก และตอ งชาํ ระคนื เงนิ ตน และดอกเบย้ี ใหเ สรจ็ สน้ิ ภายในเวลา วันท่ไี ดร บั เงนิ กูจนถึงวนั ทีส่ ง คนื 9. สนิ คŒาคงเหลือ ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 วสั ดสุ งเคราะห 3.30 งานระหวางทาํ 7.18 9.62 รวม 10.48 2.25 11.87 9.1 วสั ดสุ งเคราะห ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 จาํ หนายใหกบั ผรู ับการสงเคราะห ประกอบดวย งานแปลง จาํ นวน 3.30 ลา นบาท (ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 จาํ นวน ผลติ พนั ธยุ าง (ตนตอตายาง กิ่งตายาง ยางชาํ ถุง และตดิ ตา 9.62 ลานบาท) เปนปุยบํารุง ปุยกอนปลูก ปุยอินทรีย ในถุง) และงานแปลงผลติ พนั ธุปาลม นํา้ มัน โดยใชระยะเวลา หลังหักประมาณการคาใชจายวัสดุสงเคราะห คงเหลือสุทธิ ประมาณ 6 เดือน - 2 ป จงึ จะไดรบั ผลผลิต ณ วันท่ี 14 จาํ นวน 3.30 ลา นบาท (ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557 จาํ นวน กรกฎาคม 2558 และ 30 กันยายน 2557 งานระหวา งทํา 6.99 ลานบาท) และวัสดุปลูกกับอุปกรณการสงเคราะห จํานวน 7.18 ลานบาท และ 2.25 ลานบาท ตามลําดับ ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 จาํ นวน 2.63 ลา นบาท ไดรวมคาใชจายในการปนสวนคาเสื่อมราคามาเปนตนทุน งานระหวางทําดวย จาํ นวน 0.65 ลานบาท (ตามหมายเหตุ 9.2 งานระหวา งทาํ หมายถงึ งานทอี่ ยใู นระหวา ง ประกอบงบการเงนิ ขอ 12) การดําเนินการของขั้นตอนการเตรียมพื้นท่ีงานปลูก และ งานบาํ รงุ รกั ษา ยงั ไมเ ปน ผลผลติ ทพ่ี รอ มจา ยสงเคราะหห รอื รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 84 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

10. เงินฝากธนาคารมีขอŒ จํากัดการใชŒ หนว ย : ลานบาท ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2556 62.13 บวก เพิ่มระหวา งงวด 16.56 หัก ลดระหวางวด (11.67) ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 67.02 บวก เพ่มิ ระหวา งงวด 15.09 หัก ลดระหวา งวด (15.20) ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 66.91 เงนิ ฝากธนาคารมขี อ จาํ กดั การใช เปน เงนิ ฝากประจาํ และ 30 กันยายน 2557 มอี ตั ราดอกเบ้ยี รอยละ 1.11 ตอ ป 3 เดือน มีวัตถุประสงคสําหรับจายใหกับผูเกษียณอายุ และรอ ยละ 1.94 ตอ ป ตามลาํ ดับ ในโครงการเงินสํารองบําเหนจ็ ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 11. เงินทดรองจา‹ ยและเงินใหกŒ ูŒยืมแกพ‹ นักงาน ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 เงนิ ใหยมื ซื้อรถจักรยานยนต 0.86 เงินใหยืมซื้อรถยนต 65.78 0.19 อ่ืนๆ 0.02 70.78 รวม 66.66 - 70.97 เงินใหยืมซ้ือรถจักรยานยนตและรถยนต เปนเงินที่ ยืมเพ่ือซ้ือรถจักรยานยนตหรือรถยนตตามเง่ือนไขท่ีกําหนด สกย. ใหพ นกั งานทปี่ ฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องหนว ยงานในสว นภมู ภิ าค โดยไมคดิ ดอกเบี้ย ระยะเวลาการสงใชไมเกิน 84 เดอื น รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 85 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

12. ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ - สทุ ธิ หนวย : ลา นบาท อาคารและ อปุ กรณ สนิ ทรพั ย รวม อาคารและ อาคารและ อปุ กรณ ระหวา ง สง่ิ ปลกู อปุ กรณโ รง โรงงาน ดาํ เนนิ การ ทดี่ นิ สรา ง อบ/รมยาง ตน แบบฯ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2556 156.12 1,186.90 2,533.64 99.41 576.39 19.46 4,571.92 ราคาทนุ - (750.45) (2,147.45) (63.19) (443.38) - (3,404.47) หกั คา เสือ่ มราคาสะสม 436.45 386.19 36.22 133.01 ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ 156.12 19.46 1,167.45 ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557 ราคาตามบญั ชตี นป - สุทธิ 156.12 436.45 386.19 36.22 133.01 19.46 1,167.45 ซอ้ื สนิ ทรพั ย / รับบริจาค 8.98 20.74 0.04 - 37.81 157.17 224.74 จาํ หนายสินทรัพย - สทุ ธิ - (0.01) (0.38) - (0.39) การโอนเขา (ออก) - 115.42 - - - - (18.99) คาเสื่อมราคา - (41.17) 29.11 (163.52) (193.31) ราคาตามบญั ชปี ลายป - สทุ ธิ 531.43 (106.56) (4.42) (41.16) ณ วันท่ี 30 กันยายน 2557 165.10 279.29 31.80 158.77 - 1,179.50 ราคาทุน 13.11 หัก คา เส่ือมราคาสะสม ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ 165.10 1,320.62 2,518.77 99.41 628.80 13.11 4,745.81 ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 - (789.19) (2,239.48) (67.61) (470.03) - (3,566.31) ราคาตามบญั ชีตน ป - สุทธิ 531.43 279.29 31.80 158.77 ซือ้ สนิ ทรพั ย / รบั บริจาค 165.10 13.11 1,179.50 จําหนายสินทรัพย - สทุ ธิ การโอนเขา (ออก) 165.10 531.43 279.29 31.80 158.77 13.11 1,179.50 คา เสอ่ื มราคา 0.58 10.61 0.09 0.67 84.42 123.47 219.84 ราคาตามบัญชีปลายป - สุทธิ - (0.01) (0.21) (0.22) ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 - 47.78 - - - - (1.46) ราคาทุน - (12.11) - 1.63 (50.87) (143.06) หัก คา เสอื่ มราคาสะสม 577.70 (82.82) (2.39) (45.74) ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ 165.68 196.35 30.08 199.08 - 1,254.60 85.71 165.68 1,378.68 2,508.88 100.08 707.85 85.71 4,946.88 - (800.98) (2,312.53) (70.00) (508.77) - (3,692.28) 577.70 196.35 30.08 199.08 165.68 85.71 1,254.60 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 86 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

12.1 อาคารและสิ่งปลูกสราง ซ่ึงมีราคาตามบัญชี รวมกลุมเพ่ือสรางอํานาจตอรองใหกับเกษตรกร จัดตั้ง ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 จํานวน 577.70 ลานบาท ตลาดประมูลยางทองถ่ินรวมท้ังเปนแหลงผลิตตนกลายาง สว นใหญเ ปนอาคารและสง่ิ ปลกู สรางของสาํ นกั งาน จํานวน พนั ธดุ ี และเปน แหลง เรยี นรเู กยี่ วกบั ยางพาราอยา งครบวงจร 452.38 ลานบาท นอกจากน้ันเปนอาคารและสิ่งปลูกสราง เปนตน ที่ใชสําหรับโครงการพัฒนาผลิตยางแผนและศูนยเรียนรู ยางพารา จาํ นวน 125.32 ลานบาท ประกอบดว ย ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 อาคาร - ครภุ ณั ฑ ศูนยเรียนรูดานยางพาราฯ มีราคาทุน 118.94 ลานบาท 12.1.1 อาคารและอุปกรณโรงรมยาง 10 โรง คา เสอื่ มราคาสะสม 14.18 ลานบาท และมีราคาตามบญั ชี สรางดว ยเงนิ งบประมาณป 2536 ของ สกย. เปนโครงการ สุทธิ 104.76 ลานบาท นํารองซ่ึงมีขอตกลงใหกลุมเกษตรกรหรือสหกรณใช ประโยชนเ ชน เดยี วกบั โรงอบ/รมยาง ทส่ี รา งดว ยงบประมาณ 12.2 อาคารและอปุ กรณโ รงอบ/รมยาง เปน อาคาร ของรัฐบาล และอปุ กรณข องโรงอบ/รมยาง ทก่ี อ สรา งมาเพอ่ื ใหเ กษตรกร ใชป ระโยชน ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 อาคารและอปุ กรณ ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 อาคารและ โรงอบ/รมยาง มีราคาทนุ 2,508.88 ลา นบาท คา เสอื่ มราคา อุปกรณโรงรมยางดังกลาวมีราคาทุน 32.24 ลานบาท สะสม 2,312.53 ลา นบาท และมรี าคาตามบญั ชสี ทุ ธิ 196.35 คาเส่อื มราคาสะสม 31.90 ลานบาท และมีราคาตามบญั ชี ลา นบาท เกดิ จากการทร่ี ฐั บาลไดม นี โยบายทจี่ ะสรา งโรงอบ/ 0.34 ลานบาท รมยาง พรอมอปุ กรณเปา หมาย จํานวน 1,500 โรง วงเงนิ งบประมาณ 5,890.41 ลา นบาท ระยะเวลาดาํ เนนิ การตงั้ แต 12.1.2 อาคารและอปุ กรณโ กดงั เกบ็ ยางพารา ป 2537 - 2540 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือยกระดับคุณภาพ ขนาด 940 ตัน ซ่ึงกอสรางตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ยางแผน ใหเ ปน ยางชน้ั 1 ในป 2537 - 2538 รฐั บาลไดจ ดั สรร 27 กุมภาพันธ 2539 เพ่ือสนับสนุนการเก็บยางแผนดิบ งบประมาณให สกย. สรางโรงอบ/รมยาง จํานวน 700 โรง ตามโครงการแทรกแซงยางของรัฐบาล และเพื่อสนับสนุน ในจาํ นวนนไ้ี ดแ ปรงบประมาณสาํ หรบั โรงอบ/รมยาง จาํ นวน การผลิตยางของสหกรณกองทนุ สวนยาง 300 แหง เปน คลัง 15 โรง มาสรา งโรงเรือน 167 โรง จงึ ไดดาํ เนนิ การกอ สรา ง สินคามาตรฐานท่ีมีอุปกรณจําเปนอยางพรอมมูลโดยไดรับ โรงอบ/รมยาง เพียง 685 โรง (ภายหลังไดมีการยกเลิกการ อนมุ ตั ใิ หก อ สรา งจาํ นวน 20 โรง แต สกย. ดาํ เนนิ การกอ สรา ง กอสรางจํานวน 20 โรง) สวนท่เี หลือ 815 โรง คณะรัฐมนตรี เพยี ง 14 โรง โดยเร่ิมทําสัญญากอ สรางเดือนตุลาคม 2540 ไดม มี ติเมือ่ วนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2540 ใหช ะลอการกอสราง และพฤศจกิ ายน 2540 อาคารและอปุ กรณโ กดงั เกบ็ ยางพารา ไวกอ น ไดก อ สรา งแลว เสร็จท้งั หมดในป 2542 ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 มีโรงอบ/รมยาง ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 อาคารและ จํานวน 665 โรง ซ่ึงเปน โรงอบ/รมยางรุน ป 2537 กอ สรา ง อปุ กรณโ กดงั เกบ็ ยางพาราดงั กลา วมรี าคาทนุ 75.12 ลา นบาท แลว เสรจ็ ทง้ั จาํ นวน 300 โรง และเปน ของรนุ ป 2538 จาํ นวน คาเสอ่ื มราคาสะสม 54.90 ลานบาท และมีราคาตามบัญชี 365 โรง และไดก อ สรางแลวเสร็จทงั้ หมดในป 2544 สทุ ธิ 20.22 ลานบาท ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 มโี รงเรอื น จาํ นวน 12.1.3 อาคาร - ครุภัณฑศูนยเรียนรูดาน 209 โรง เปนโรงเรือนรุน ป 2538 จํานวน 167 โรง กอสรา ง ยางพาราฯ เปนอาคารและอุปกรณของศูนยเรียนรูดาน แลวเสร็จท้ังหมดตามเปาหมาย โรงเรือนป 2540 จํานวน ยางพาราฯ ซ่ึงไดซอมแซมและดัดแปลงอาคารหลังเดิม 37 โรง โรงเรือนป 2541 จาํ นวน 5 โรง เน่อื งจาก สกย. ยงั มคี วามรับผดิ ชอบตอเกษตรกรซึง่ ยังตอ ง มภี ารกจิ ดแู ลใหค วามชว ยเหลอื แกเ กษตรกรเจา ของสวนยาง 12.3 อาคารและอุปกรณโรงงานตนแบบ หลังจากสวนยางพนการสงเคราะหไปแลวเพ่ือใหเกษตรกร อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย าง รฐั บาลมนี โยบายเพอื่ สง เสรมิ ให มีความมั่นคงในอาชีพ เชน ใหบริการเพ่ือการถายทอด มีการใชยางในประเทศใหมากขึ้นเพ่ือลดปริมาณการสงออก เทคโนโลยียางพาราครบวงจร ชวยเหลือเกษตรกรในการ ยางดิบหรือทําใหยางดิบท่ีจะสงออกมีปริมาณนอยลง รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 87 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

ตามอปุ สงคอ ุปทานทําใหย างดิบมีราคาที่สูงขึ้นได เนอื่ งจาก 12.4 คา เสอื่ มราคา สาํ หรบั งวดตงั้ แตว นั ท่ี 1 ตลุ าคม ปรมิ าณยางท่จี ะขายในรปู ยางดบิ นอยลง ทางหน่ึงทําใหย าง 2557 ถงึ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 จาํ นวน 143.06 ลา นบาท ท่ีนํามาใชในประเทศมีมูลคาเพิ่มเนื่องจากการนํามาแปรรูป ไดแสดงเปนคาเส่ือมราคาจํานวน 142.41 ลานบาท และ เปน ผลิตภัณฑยางสาํ เรจ็ รูปท่มี รี าคาสงู กวา สกย. จงึ กาํ หนด แสดงรวมเปน ตน ทนุ งานระหวางทํา จํานวน 0.65 ลานบาท ใหมีการสรางโรงงานตนแบบอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง (ตามหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ขอ 9) สาํ หรบั กลมุ เกษตรกรในพน้ื ทที่ เี่ ปน ทต่ี งั้ ของสถานศกึ ษาทาง ดานอตุ สาหกรรมยางและพอลเิ มอร คือจงั หวัดสรุ าษฏรธานี 12.5 สินทรัพยระหวางดําเนินการ ณ วันที่ 14 ปตตานี ระยอง และขอนแกน จํานวน 4 โรง สรางแลวเสรจ็ กรกฎาคม 2558 จาํ นวน 85.71 ลา นบาท เปน งานกอสรา ง ทั้ง 4 โรง ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 อาคารและอุปกรณ ระหวางทํา จํานวน 8.62 ลานบาท และครุภัณฑระหวาง โรงงานตน แบบอตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย างมรี าคาทนุ 100.08 ดาํ เนนิ การ จาํ นวน 77.09 ลานบาท ลา นบาท คา เสอ่ื มราคาสะสม 70.00 ลา นบาท และมีราคา ตามบญั ชี 30.08 ลา นบาท 13. สนิ ทรพั ยไมม‹ ีตวั ตน - สุทธิ หนว ย : ลา นบาท ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2557 34.95 ราคาตามบญั ชตี นป - สุทธิ 12.85 ซอื้ สนิ ทรัพย / รับบรจิ าค (9.84) ตัดจําหนา ย 37.96 ราคาตามบัญชีปลายป - สทุ ธิ ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557 63.27 ราคาทนุ (25.31) หัก คา จัดจาํ หนายสะสม 37.96 ราคาตามบญั ชี - สุทธิ ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 37.96 ราคาตามบญั ชตี นป - สุทธิ - ซอื้ สินทรพั ย / รับบริจาค ตดั จําหนาย (8.67) ราคาตามบญั ชีปลายป - สุทธิ 29.29 ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 ราคาทุน 63.27 หกั คาจัดจําหนายสะสม (33.98) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 29.29 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 88 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สินทรัพยไมมีตัวตน เปนโปรแกรมคอมพิวเตอร คาตัดจําหนายสะสม 33.98 ลา นบาท และมรี าคาตามบญั ชี ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 มีราคาทนุ 63.27 ลา นบาท จํานวน 29.29 ลานบาท 14. สินทรัพยไมห‹ มนุ เวยี นอ่ืน ประกอบดวย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 ลกู หนี้บรษิ ัท เพ่มิ ผลการเกษตร จาํ กดั - หกั คา เผ่ือหน้สี งสยั จะสูญ 149.19 149.19 - ลกู หนอี้ ่ืน (149.19) - (149.19) หัก คา เผื่อหนีส้ งสยั จะสูญ 0.20 - เงินมัดจําคาสาธารณูปโภค 30.33 0.20 30.40 0.21 รวม (30.33) (30.40) 0.21 ลูกหนี้บริษัท เพ่ิมผลการเกษตร จํากัด จํานวน 0.003 ของจาํ นวนเงนิ ทยี่ อมใหไ ดร บั ชาํ ระหนเ้ี ปน จาํ นวนเงนิ 149.19 ลานบาท เกิดจากกรณีที่บริษัทฯ ผิดสัญญา 6,155.37 บาท ไดร บั ชาํ ระเงินแลว ไมสามารถสงมอบปุยบํารุงตามกําหนดในสัญญาได ทําให สกย. ตอ งจดั ซอ้ื ปยุ จากทอ่ี นื่ และไดต งั้ คา เผอื่ หนสี้ งสยั จะสญู สําหรับป 2553 สกย. ไดทําหนังสือแจงไปยัง ไวเ ตม็ จาํ นวนแลว ในงวดป 2546 ปจ จบุ นั ศาลจงั หวดั นครปฐม กรมบังคับคดีตามหนังสือท่ี กษ 2029/พ.07 ลงวันท่ี ไดพิพากษาใหบริษัท เพ่ิมผลการเกษตร จํากัด ชําระหน้ี 13 ตลุ าคม 2553 ขอทราบวา หลงั จากศาลสง่ั ปด คดี ซง่ึ ทาํ ให 127.19 ลา นบาท พรอมดอกเบยี้ จาํ นวน 77.99 ลานบาท คดีลมละลายระงับลงเปนการชั่วคราวแลว บริษัท เพ่ิมผล แตบริษัทฯ ไมชําระหน้ี สกย. จึงฟองเปนคดีลมละลาย การเกษตร จํากดั ผูลมละลายมที รัพยสนิ เพ่ิมข้นึ ใหมห รือไม และศาลไดม คี าํ สงั่ พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดตาม พรบ. ลม ละลาย ขณะนีย้ ังไมไดรบั คําตอบจากกรมบังคับคดี พ.ศ. 2538 มาตรา 14 และ สกย.ไดย ่นื คาํ ขอรบั ชําระหน้ีตอ เจาพนักงานพิทักษทรัพยเปนเงิน 205.18 ลานบาท ลกู หนอี้ นื่ ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 จาํ นวน 30.33 เมอื่ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2547 และกรมบงั คบั คดไี ดม หี นงั สอื ถงึ ลา นบาท เปน ลกู หนส้ี หกรณทร่ี ับผิดชอบดูแล โรงอบ/โรงรม สกย. ตามหนงั สอื ที่ ยธ 0503/8386 ลงวนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน ท่ีเกิดจากการสูญหายของแผนเสียบในตะกงปูน ต้ังแตป 2549 แจง ให สกย. ยนื่ บญั ชีเงนิ เกย่ี วคางของบรษิ ัท เพมิ่ ผล 2541 คงเหลือหน้จี ํานวน 8.35 ลา นบาท ลกู หนพี้ นักงาน การเกษตร จาํ กัด ภายใน 14 วนั นับจากวนั ทไี่ ดรบั หนงั สอื จาํ นวน 0.08 ลานบาท และลกู หนี้วัสดรุ อการชดใช จาํ นวน เพื่อจะเฉล่ียทรัพยคืนให และ สกย. ไดจัดทําหนังสือแจง 0.11 ลานบาท และลกู หนี้บรษิ ทั เอ็น วาย รับเบอร จาํ กดั กรมบงั คบั คดไี ปแลวตามหนังสอื ที่ กษ 2029/1591 ลงวันท่ี จาํ นวน 0.73 ลา นบาท เกดิ จากกรณบี รษิ ทั เอน็ วาย รบั เบอร 30 พฤศจกิ ายน 2549 วา มเี ฉพาะหนต้ี ามคาํ พพิ ากษาเปน เงนิ จํากัด สงยางออกนอกราชอาณาจักรโดยไมไดชําระเงิน 205.18 ลา นบาท เทา น้ัน ในป 2550 สกย. ไดร ับแจงจาก สงเคราะหเพ่ือสมทบกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เจาพนักงานพิทักษทรัพยเพ่ือรับสวนแบงในอัตรารอยละ ซง่ึ ศาลภาษอี ากรกลางไดม คี าํ พพิ ากษาเมอ่ื วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2555 พิพากษาใหบริษัท เอ็น วาย รับเบอร จาํ กดั ชําระเงนิ จาํ นวน 0.71 ลา นบาท พรอ มดอกเบย้ี และคา ฤชาธรรมเนยี ม รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 89 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

จาํ นวน 0.02 ลานบาท และลูกหนี้บรษิ ทั ปุยแหงชาติ จํากัด สนิ ทรพั ย หนส้ี นิ และภาระผกู พนั ทงั้ หมดใหแ กธ นาคารธนชาต (มหาชน) จํานวน 21.06 ลานบาท เกิดจากกรณีบริษัท จํากดั (มหาชน) ผูรอง และธนาคารธนชาต จาํ กัด (มหาชน) ปยุ แหง ชาติ จาํ กดั (มหาชน) ผดิ สญั ญา ตามหนงั สอื สาํ นกั งาน ผูร อ ง ไดร บั โอนกจิ การทงั้ หมดของจาํ เลย โดยการโอนกจิ การ อัยการสูงสดุ ที่ อส 0021.7/315 ลงวันท่ี 12 มถิ ุนายน 2556 ดงั กลา ว ธนาคารแหง ประเทศไทยไดใ หค วามเหน็ ชอบในการ ธนาคารนครหลวง จาํ กดั (มหาชน) จาํ กดั บรษิ ทั ปยุ เอน็ เอฟซี โอนและรับโอนกิจการท้ังหมดใหแกผูรอง ตามประกาศ จํากัด (มหาชน) หรือบริษัทปุยแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ธนาคารแหงประเทศไทย ท่ี สกส. 1/2554 ฉบับลงวันท่ี จําเลยรวม และตามคดีหลักหมายเลขดําที่ 710/2548 คดี 23 กมุ ภาพนั ธ 2554 และไดมปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา หลกั หมายเลขแดงท่ี 7066/2552 ศาลแพง ไดสัง่ ใหธนาคาร เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม 2554 ซ่งึ ไดต ้ังคา เผ่ือหนสี้ งสยั จะสญู ไว ธนชาต จํากัด (มหาชน) เปนจําเลยแทน ซ่ึงธนาคาร แลวเต็มจํานวนแลว นครหลวงไทย จาํ กดั (มหาชน) ไดโ อนกิจการทงั้ หมด รวมถงึ 15. เจŒาหนก้ี ารคŒาและเจŒาหน้อี ื่น ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนวย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 เจาหน้กี รมวชิ าการเกษตร 33.19 เจาหนีซ้ ือ้ ที่ดนิ อาคาร และอปุ กรณ 61.24 21.11 เจาหน้อี นื่ 22.13 7.60 คาใชจา ยคางจา ย 84.97 27.01 รวม 201.53 103.76 159.48 เจา หนก้ี รมวชิ าการเกษตร เปน เงนิ ท่ี สกย. จดั สรรให ลูกหน้ีพนักงานในบญั ชีลูกหน้อี ่ืนๆ ท่เี กดิ จากพนักงาน สกย. กรมวชิ าการเกษตรเพอื่ ใชใ นการคน ควาทดลอง ตามมาตรา อาํ เภอทา แซะ จาํ นวน 3 รายได กระทาํ ผดิ โดยรว มกนั ดาํ เนนิ 18 (1) ของพระราชบญั ญตั กิ องทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง การอนุมัติใหการสงเคราะหแกเกษตรกรท่ีไมมีสวนยาง ในอัตราไมเกินรอยละ 5 ของเงินสงเคราะหรับ ในระหวาง และสวนทไี่ มเ ขา หลกั เกณฑท จี่ ะไดร บั การสงเคราะห จาํ นวน งวดตง้ั แตว ันท่ี 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 318 ราย ทาํ ให สกย. ไดร ับความเสยี หาย กลาวคอื จายเงนิ สกย. ไดจัดสรรใหกรมวิชาการเกษตร จํานวน 213.25 ใหแกผูไมมีสิทธ์ิไดรับการสงเคราะห มูลคาความเสียหาย ลานบาท มยี อดคงคาง ณ วันท่ี 30 กันยายน 2557 จํานวน คงเหลอื ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 จาํ นวน 19.73 ลา นบาท 21.11 ลานบาท ซึ่ง สกย. ไดจายใหกรมวิชาการเกษตร และมีการกระทําผิดโดยการปลอมแปลงเอกสารเพ่ือเปน จาํ นวน 201.17 ลานบาท คงคา ง ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม เอกสารประกอบการตงั้ ตวั แทนเพอ่ื ขอรบั เงนิ สงเคราะหง วด 2558 จํานวน 33.19 ลา นบาท ปด บญั ชี 17 แปลง และมิไดย กเลิกสวนสงเคราะหท ี่ผูขอรบั การสงเคราะหไมประสงคจะขอรับการสงเคราะห จํานวน เจาหน้ีอ่ืน คงเหลือ ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 1 ราย มูลคาความเสียหาย จํานวน 1.14 ลานบาท และ จาํ นวน 22.13 ลา นบาท เปน บญั ชเี งนิ รอเรยี กเกบ็ จากลกู หนี้ ตอมาพบวาไดจัดทําเอกสารขึ้นโดยมิชอบเพ่ืออนุมัติใหการ พนักงาน จาํ นวน 20.77 ลา นบาท ท่ีบนั ทกึ บัญชีคกู ับบญั ชี รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 90 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

สงเคราะหแ ละจายเงินงวดท่ี 1 งวดท่ี 2 และงวดท่ี 3 บาง สงเคราะห ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ สว นเขา บัญชีเงินฝากตวั แทน จํานวน 0.10 ลานบาท ซ่งึ ถอื ณ วันที่ 6 กันยายน 2553 ซ่ึงมีผลบังคับใชตั้งแตวันท่ี เปนการกระทําผิดโดยจงใจให สกย. ไดรับความเสียหาย 1 ตลุ าคม 2553 เปนตน ไป แตมบี รษิ ทั ท่ีไดทําสญั ญาซ้ือขาย จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหาย จํานวน 0.10 ลานบาท ลว งหนา และจะตอ งคนื เงนิ ใหก บั บรษิ ทั ทงั้ สน้ิ เปน จาํ นวนเงนิ รวมเปนเงนิ 1.24 ลานบาท ตอ มาไดช ําระเงินบางสวนแลว 1,530.37 ลา นบาท จา ยคนื แลว ตามมติ ก.ส.ย. ครง้ั ท่ี 8 , 10 , 0.20 ลานบาท คงเหลือหนี้จํานวน 1.04 ลานบาท 11/2554 1 , 3 , 5/2555 และ 3 , 4 , 7 , 11/2556 จาํ นวนเงนิ (ตามหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ขอ 7) และอืน่ ๆ จํานวน 1,504.52 ลา นบาท คงเหลือตองจายคนื จํานวนเงิน 25.85 1.36 ลานบาท ลานบาท ปจจุบนั อยูในระหวางการดาํ เนนิ การทางกฎหมาย 16. เงนิ สงเคราะหร ับรับเกิน 16.2 เงนิ สงเคราะหรบั รบั เกิน ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน เงนิ สงเคราะหร บั รบั เกนิ ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 2557 จาํ นวนเงนิ 2.65 ลา นบาท เปน เงนิ ท่ีจะตอ งจายคนื ใหกบั ผสู ง ยางออกนอกราชอาณาจักร ตามขอ บงั คบั กองทนุ และ 30 กนั ยายน 2557 จาํ นวน 25.85 ลา นบาท และ 28.50 สงเคราะหการทําสวนยางวาดวยวิธีการรับชําระเงิน ลานบาท ตามลําดบั ประกอบดว ย สงเคราะหทางอิเล็กทรอนิกสและการคืนเงินสงเคราะห พ.ศ. 2556 ขอ 9 และ 10 โดยไดจายคนื ทงั้ จาํ นวนแลว ใน 16.1 เงนิ สงเคราะหร บั รบั เกนิ ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม ระหวางป 2558 2558 และ 30 กันยายน 2557 เกิดจากการปรับอัตรา เงนิ สงเคราะหท ผี่ สู ง ยางออกนอกราชอาณาจกั รตอ งชาํ ระเงนิ รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 91 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

17. เงินอุดหนุนจากรัฐบาลรอการรบั รูŒ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลรอการรบั รู ณ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2558 จาํ นวน 173.45 ลา นบาท ประกอบดวย รบั เงนิ หนว ย : ลานบาท ยอดยกมา อดุ หนนุ โอนรบั รู จา ยคนื ยอดยกไป 1 ต.ค. 57 ระหวา งงวด เปน รายได คลงั 14 ก.ค. 58 คา ใชจา ยในการบริหาร - 182.00 (182.00) - - โครงการจัดตลาดประมลู ยางพาราแบบครบวงจร 11.71 25.67 (16.26) - 21.12 โครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงขอ มูลทางอิเลก็ ทรอนกิ ส 28.98 (1.55) - 27.43 (National Single Window) - โครงการสงเสรมิ ปลูกยางพนั ธดุ ีและไมย ืนตน ทีม่ คี วามสาํ คญั 34.88 33.62 ทางเศรษฐกจิ ดา นวชิ าการแกเกษตรกรฯ 28.10 (29.36) - โครงการฝก อบรมชา งกรีดยาง 0.05 0.05 โครงการชว ยเหลอื เกษตรกรทไี่ ดร บั ความเสยี หายจากอทุ กภยั 16.51 0.37 (0.37) - 14.97 วาตภัย และดินถลม 1.94 (3.48) - โครงการจดั ต้งั ตลาดนํา้ ยางสดระดับทองถนิ่ 5.73 10.95 โครงการปลกู ยางพาราในทวี่ างเปลา ในเขตพัฒนาพเิ ศษ 18.71 10.04 (4.82) - 15.26 เฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนใต - (3.45) - โครงการสงเสริมปลกู ยางพันธดุ แี ละไมยนื ตนทีม่ คี วามสาํ คัญ 0.78 3.59 ทางเศรษฐกิจ / อบรมครยู าง 5.79 (2.98) - โครงการปลูกยางพาราในที่แหงใหม ระยะที่ 3 385.57 - โครงการพฒั นาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพ่อื รกั ษา 1.76 - - (385.57) - เสถียรภาพราคายาง - - (1.76) โครงการสนับสนุนสนิ เชอ่ื สถาบนั เกษตรกรเพื่อแปรรูป - 0.26 ยางพาราภายใตแนวทางพัฒนายางพาราทัง้ ระบบ 0.84 (0.58) - โครงการชดเชยรายไดแกเกษตรกรชาวสวนยาง - 6.10 โครงการสนบั สนุนสินเชอื่ เกษตรกรชาวสวนยางรายยอย - 8.50 (2.40) - 38.12 เพอื่ ประกอบอาชีพเสริม 42.00 (3.88) - โครงการสนบั สนนุ สินเช่อื เปนทุนหมุนเวยี นแกส ถาบัน - 1.98 เกษตรกรเพอ่ื รวบรวมยาง 1.98 - - รวม 504.68 173.45 307.23 (251.13) (387.33) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 92 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

เงินอุดหนนุ จากรฐั บาลรอการรบั รู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2557 จํานวน 504.68 ลา นบาท ประกอบดวย รบั เงนิ หนวย : ลา นบาท ยอดยกมา อดุ หนนุ โอนรบั รู 1 ต.ค. 56 ระหวา งป เปน รายได จา ยคนื ยอดยกไป คลงั 30 ก.ย. 57 คา ใชจา ยในการบริหาร - 1,053.08 (1,053.08) -- โครงการจัดตลาดประมลู ยางพาราแบบครบวงจร 14.62 24.25 (27.16) - 11.71 โครงการพฒั นาระบบเชื่อมโยงขอ มลู ทางอเิ ล็กทรอนิกส 10.00 20.00 (1.02) - 28.98 (National Single Window) โครงการสง เสรมิ ปลูกยางพนั ธดุ ีและไมย ืนตนทีม่ คี วามสาํ คญั 14.47 28.10 (22.46) - 20.11 ทางเศรษฐกิจดา นวชิ าการแกเ กษตรกรฯ โครงการฝกอบรมชา งกรดี ยาง 0.04 0.37 (0.36) - 0.05 โครงการชว ยเหลอื เกษตรกรทไี่ ดร บั ความเสยี หายจากอทุ กภยั 20.62 - (4.11) - 16.51 วาตภยั และดนิ ถลม โครงการจัดต้งั ตลาดน้าํ ยางสดระดบั ทองถ่นิ 3.99 9.52 (7.78) - 5.73 โครงการปลูกยางพาราเพ่อื ยกระดับรายไดแ ละความมนั่ คง 2.50 -- (2.50) - ใหก บั เกษตรกรในแหลง ปลกู ยางแหงใหม ระยะท่ี 1 โครงการปลกู ยางพาราในท่วี า งเปลา ในเขตพัฒนาพิเศษ 27.98 2.47 (11.74) - 18.71 เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนใต โครงการสง เสริมปลูกยางพันธดุ ีและไมยืนตนทีม่ ีความสาํ คญั 11.88 27.03 (24.14) - 14.77 ทางเศรษฐกิจ / ติดตามตรวจสอบการปฏบิ ัติงานและ ใหความรูก ารบาํ รงุ รักษาสวนฯ 2.67 7.00 - 0.78 โครงการสงเสริมปลกู ยางพันธุดแี ละไมยนื ตน ทมี่ ีความสําคัญ (8.89) ทางเศรษฐกจิ / อบรมครยู าง 391.01 - 385.57 โครงการปลูกยางพาราในทีแ่ หงใหม ระยะท่ี 3 1.85 - - 1.76 โครงการพฒั นาศกั ยภาพสถาบันเกษตรกรเพอื่ รกั ษา - (5.44) เสถียรภาพราคายาง 501.63 (2.50) 504.68 รวม (0.09) 1,171.82 (1,166.27) รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 93 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

คาใชจายในการบริหาร เปนคาใชจายที่ใชในการ โครงการปลูกยางพาราเพ่ือยกระดับรายไดและ บริหารงานของสํานกั งาน ความมน่ั คงใหก บั เกษตรกรในแหลง ปลกู ยางแหง ใหมร ะยะท่ี 1 เปน โครงการเพอื่ ใหค วามรูคาํ แนะนาํ ดา นวชิ าการ การปลกู สรา ง โครงการจัดตลาดประมูลยางพาราแบบครบวงจร สวนยาง และติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานแกเกษตรกร เปนโครงการจัดใหมีตลาดประมูลยางพาราระดับทองถิ่น ผเู ขา รว มโครงการในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพื่อรองรับผลผลิตยางพาราในทุกพ้ืนท่ีใหเกษตรกรขาย ผลผลิตไดในราคาที่เปนธรรมพรอมทั้งพัฒนาบุคลากรดาน โครงการปลูกยางพาราในที่วางเปลา และโครงการ ตลาดยาง ปลูกยางพาราในที่วางเปลาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนใต เปนโครงการที่สงเสริมใหเกษตรกร โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ เ ช่ื อ ม โ ย ง ข  อ มู ล ท า ง ในพ้ืนที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตใชประโยชนจากที่ดิน อเิ ล็กทรอนกิ ส (National Single Window) เปนโครงการ วางเปลาโดยการปลูกยางพารา ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใหการบริหารจัดการระบบรับชําระเงิน สงเคราะหทางอิเล็กทรอนิกส เปนไปอยางมีระบบและมี โครงการสงเสริมปลูกยางพันธุดีและไมยืนตนท่ีมี ประสิทธิภาพ สรางความเชื่อมั่นแกผูประกอบการสงยาง ความสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ / ตดิ ตามตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน ออกนอกราชอาณาจกั ร ใหส ามารถใชง านไดต ลอดเวลา แกไ ข และใหค วามรกู ารบาํ รงุ รกั ษาสวนฯ เปน โครงการทใี่ หค าํ แนะนาํ และปองกันปญหาตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบเทคโนโลยี ถายทอดความรูในการปลูกสรางสวนยางอยางถูกวิธี และ สารสนเทศของหนวยงาน และสามารถกูคืนระบบรับชําระ ฝกอบรมการกรีดยางแกเกษตรกรผูปลูกยางในโครงการ เงนิ สงเคราะหท างอเิ ลก็ ทรอนกิ สไดท ันทวงที ปลูกยางพาราเพ่ือยกระดับรายไดและความม่ันคงใหกับ เกษตรกรในแหลงปลูกยางแหงใหมระยะที่ 1 เพื่อปองกัน โครงการสงเสริมปลูกยางพันธุดีและไมยืนตนท่ีมี ไมใ หหนากรดี ยางเสียหาย ในวันท่ี 1 ตลุ าคม 2557 มีการ ความสําคัญทางเศรษฐกิจดานวิชาการแกเกษตรกรฯ โอนงบประมาณคงเหลือจากป 2557 ใหโครงการสงเสริม เปนโครงการเพื่อถายทอดความรูในการปลูกสรางสวนยาง ปลูกยางพันธุดีและไมยืนตนท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ อยางถูกวธิ ี การกรดี ยาง การแปรรูป และการตลาด ใหแ ก ดา นวชิ าการแกเ กษตรกรฯ เกษตรกรผูปลูกยางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ในวันท่ี 1 ตุลาคม 2557 โครงการสงเสริมปลูกยางพันธุดีและไมยืนตนท่ีมี มกี ารรับโอนงบประมาณคงเหลอื จากป 2557 จากโครงการ ความสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ /อบรมครยู าง เปน โครงการทใี่ หก าร สงเสริมปลูกยางพันธุดีและไมยืนตนที่มีความสําคัญทาง ฝกอบรมพัฒนาเพ่ิมพูนความรูทักษะในการปฏิบัติงาน เศรษฐกิจ/ ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานและใหความรู ภาคสนามใหกับครูยางที่เปนเสมือนตัวแทนของพนักงาน การบาํ รุงรักษาสวนฯ ใหม คี วามเชย่ี วชาญ และสามารถใหค าํ แนะนาํ แกเ กษตรกรได โครงการฝก อบรมชา งกรดี ยาง เปน โครงการเพอื่ เพม่ิ โครงการปลูกยางพาราในที่แหงใหมระยะท่ี 3 แรงงานกรีดยางใหเกษตรกรกรีดยางไดถูกตองตามหลัก เปน โครงการทใี่ หก ารสงเคราะหป ลกู ยางพนั ธดุ ใี หแ กเ กษตรกร วิชาการและสามารถกรีดไดน านข้ึน ผซู งึ่ ไมม สี วนยางมากอ นใหม ที างเลอื กในการประกอบอาชีพ ทมี่ น่ั คง และมรี ายไดเ พมิ่ ขน้ึ โดยโครงการไดส น้ิ สดุ ในป 2558 โครงการชวยเหลือเกษตรกรที่ไดรับความเสียหาย และสง เงนิ ท่ีเหลอื คนื คลังทัง้ จาํ นวนแลว จากอทุ กภยั วาตภยั และดนิ ถลม เปน โครงการชว ยเหลอื ฟน ฟู เกษตรกรที่ประสบภัยธรรมชาตใิ นพนื้ ทภี่ าคใต โครงการพฒั นาศกั ยภาพสถาบนั เกษตรกรเพอื่ รกั ษา เสถียรภาพราคายาง เปนโครงการที่แกไขปญหาราคายาง โครงการจัดต้ังตลาดนํ้ายางสดระดับทองถิ่น ท่ีผันผวน โดยการสนับสนุนวงเงินกูใหแกสถาบันเกษตรกร เปน โครงการทจี่ ดั ตงั้ เพอ่ื รองรบั ผลผลติ ของเกษตรกรทอ่ี ยใู น เพื่อใชรับซื้อยางจากสมาชิกหรือนําไปแปรรูปแลวจําหนาย เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งมี เมอ่ื มรี าคาทเ่ี หมาะสมโดย โครงการไดส น้ิ สดุ ในป 2558 และ เหตุการณไมสงบภายในพื้นท่ีลดการเสี่ยงภัยในการจัดทํา สงเงนิ ที่เหลือคืนคลงั ทั้งจาํ นวนแลว ยางแผน รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 94 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

โครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกรเพื่อแปรรูป โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง ย า ง พ า ร า ภ า ย ใ ต  แ น ว ท า ง พั ฒ น า ย า ง พ า ร า ทั้ ง ร ะ บ บ รายยอ ยเพอื่ ประกอบอาชพี เสรมิ เปน โครงการเพอื่ สนบั สนนุ เปนโครงการเพื่อใหสถาบันมีความรูดานการแปรรูปผลผลิต สนิ เชอื่ ใหเ กษตรกรชาวสวนยางรายยอ ยนาํ ไปลงทนุ ประกอบ ยางข้ันตน การจําหนา ยผลผลติ และดา นการตลาด อาชีพเสริมดานการเกษตรหรือเก่ียวเนื่องกับการเกษตร เพ่ือเพ่มิ รายได โครงการชดเชยรายไดแกเกษตรกรชาวสวนยาง เปนโครงการเพ่ือแกปญหาความเดือดรอนของเกษตรกร โครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแก ชาวสวนยางเนอ่ื งจากปญ หาราคายางตกต่าํ สถาบันเกษตรกรเพื่อรวบรวมยาง เปนโครงการเพื่อให สถาบันเกษตรกรมีความรูความเขาใจในดานการพัฒนา คณุ ภาพผลผลิตยางพารา การแปรรปู และดานการตลาด 18. หนส้ี นิ หมนุ เวยี นอื่น ประกอบดวย 14 ก.ค. 58 หนวย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 เงินรับฝาก 0.22 เงินมดั จํารบั 7.90 0.42 ภาษีหกั ณ ทีจ่ ายคางนาํ สง 0.36 8.66 รวม 8.48 0.89 9.97 เงินรับฝาก เปนเงินที่หักจากเงินเดือนพนักงาน ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 และ 30 กันยายน 2557 เพ่ือจายคืนใหกับแตละประเภทเงินกู ไดแก เงินกูธนาคาร มีจาํ นวน 0.22 ลา นบาท และ 0.42 ลา นบาท ตามลาํ ดับ กรงุ ไทย เงนิ กสู วัสดกิ าร เงิน สร.กสย. เงินฌาปนกจิ สกย. เงนิ สหกรณฯ และเงนิ สมาคม สกย. รวมทง้ั เงนิ รบั ฝากอน่ื ๆ เงินมัดจํารับ สวนใหญเปนเงินคํ้าประกันสัญญา ในการจดั ซือ้ จดั จางของ สกย. 19. ภาระผกู พันผลประโยชนพ นกั งาน ประกอบดว ย 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลา นบาท 30 ก.ย. 57 งบแสดงฐานะการเงนิ เงนิ ตอบแทนความชอบ 528.64 568.81 โครงการจายเงินคา ชดเชยตามกฎหมาย 22.39 19.83 ผลประโยชนเ งินตอบแทนวันลาพกั ผอ นหลังเกษียณอายุ 54.36 62.06 ผลประโยชนเ งินบําเหน็จ 98.80 110.82 รวม 704.19 761.52 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 95 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand

งบรายไดแ ละคาใชจ ายสําหรับงวด / ป 1 ต.ค. 57 ถงึ หนวย : ลานบาท เงนิ ตอบแทนความชอบ 14 ก.ค. 58 2557 โครงการจายเงินคา ชดเชยตามกฎหมาย 17.08 ผลประโยชนเ งนิ ตอบแทนวนั ลาพักผอ นหลงั เกษยี ณอายุ 3.65 39.64 ผลประโยชนเงนิ บาํ เหนจ็ 2.41 2.16 รวม 1.53 4.20 24.67 2.69 งบรายไดและคา ใชจา ยเบด็ เสร็จสาํ หรับงวด / ป 48.69 ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลกั คณิตศาสตร 1 ต.ค. 57 ถงึ ประกนั ภยั 14 ก.ค. 58 หนว ย : ลานบาท 4.58 2557 19.1 เงินตอบแทนความชอบ จาํ นวนที่รบั รูในงบแสดงฐานะการเงินมีดงั น้ี - มูลคา ปจ จบุ นั ของภาระผกู พันโครงการผลประโยชน 14 ก.ค. 58 หนวย : ลา นบาท หน้สี นิ สุทธิทร่ี บั รูในงบแสดงฐานะการเงิน 30 ก.ย. 57 528.64 528.64 568.81 568.81 รายการเคล่ือนไหวของภาระผูกพนั ผลประโยชนท่ีกาํ หนดไวระหวา งงวด / ป มีดงั น้ี 1 ต.ค. 57 ถงึ หนว ย : ลานบาท 2557 14 ก.ค. 58 587.50 ยอดยกมาตน งวด / ป 568.81 19.04 20.60 ตน ทุนบรกิ ารปจ จุบนั 21.70 - ตน ทนุ ดอกเบ้ยี 11.72 - (58.33) ตนทนุ บรกิ ารในอดตี (16.34) 568.81 ผลขาดทนุ จากการประมาณการตามหลกั คณติ ศาสตรประกันภยั 18.42 ผลประโยชนท จ่ี า ย (75.67) ยอดคงเหลอื ปลายงวด / ป 528.64 รายงานประจําป‚ 2558 การยางแห‹งประเทศไทย 96 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook