Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุ

_คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุ

Published by aj.kulisarasuwan, 2020-08-10 05:44:38

Description: _คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุ

Search

Read the Text Version

คูม่ อื แนวทาง ประเมนิ ความเส่ยี งการทจุ ริต FRAs : FRAUD RISK-ASSESSMENTS จดั ทาโดย : กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานักงาน ป.ป.ท. กันยายน ๒๕๖๑

คานา เหตกุ ารณ์ความเส่ียงด้านการทุจริตเกิดแล้วจะมีผลกระทบทางลบ ซึ่งปัญหามาจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ค้นหาต้นตอท่ีแท้จริงได้ยาก ความเสี่ยงจึงจาเป็นต้องคิดล่วงหน้าเสมอ การป้องกันการทุจริต คือ การแก้ไข ปัญหาการทุจริตที่ย่ังยืน ซ่ึงเป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของหัวหน้าส่วนราชการ และเป็นเจตจานง ของทุกองค์กร ทรี่ ่วมตอ่ ตา้ นการทุจรติ ทุกรูปแบบ อนั เปน็ วาระเร่งด่วนของรฐั บาล การนาเครือ่ งมอื ประเมินความเสี่ยงการทจุ ริตมาใชใ้ นองค์กร จะช่วยให้เป็นหลักประกันในระดับหนึ่ง ไดว้ า่ การดาเนนิ การขององคก์ รจะไม่มกี ารทุจริต หรือในกรณีท่ีพบกับการทุจริตที่ไม่คาดคิด โอกาสที่จะประสบกับ ปัญหาน้อยกว่าองค์กรอื่น หรือหากเกิดความเสียหายขึ้นก็จะเป็นความเสียหายที่น้อยกว่าองค์กรท่ีไม่มีการนา เคร่ืองมือประเมินความเส่ียงการทุจริตมาใช้ เพราะได้มีการเตรียมการป้องกันล่วงหน้าไว้โดยให้เป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏบิ ัตงิ านประจา ซ่งึ ไมใ่ ช่การเพม่ิ ภาระงานแตอ่ ย่างใด สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงำน ป.ป.ท.) ในฐำนะเป็นกลไกของฝ่ำยบริหำร มีบทบำทในกำรขับเคลื่อนหน่วยงำนภำครัฐให้บริหำรงำนภำยใต้กรอบ ธรรมำภิบำล โดยกำรประเมินควำมเส่ียงกำรทุจริตจะเป็นเครื่องมือหน่ึงในกำรขับเคลื่อนธรรมำภิบำล เพ่ือลดปัญหำกำรทุจริตภำครัฐ ตำมคาส่ังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๖๙/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เร่ืองมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบที่กาหนดให้ทุกส่วนราชการและ หน่วยงานของรัฐ กาหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการ และหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจาก ทกุ ภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝา้ ระวัง เพอื่ สกดั ก้นั มใิ ห้เกดิ การทจุ ริตประพฤติมชิ อบได้ กองยทุ ธศำสตร์และแผนงำน สำนักงำน ป.ป.ท. จึงได้จัดทำคู่มือประเมินควำมเส่ียงกำรทุจริต (FRAs : FRAUD RISK-ASSESSMENTS) โดยหวงั เป็นอยำ่ งยิ่งว่ำคู่มือน้ีจะเป็นประโยชน์ให้กับหน่วยงำนภำครัฐ และผู้สนใจในกำรสร้ำงควำมเข้ำใจในกำรประเมินควำมเส่ียงกำรทุจริต เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือ แนวทางในบริหารจัดการความเส่ียงของการดาเนินงานท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริตซ่ึงเป็นมาตรการ ป้องกนั การทุจรติ เชงิ รุกที่มีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงาน ป.ป.ท. กนั ยายน 2561

-๓- หนา้ สารบญั 1 คานา 2 ส่วนที่ ๑ ความเปน็ มา 2 ส่วนท่ี ๒ ประเมินความเสี่ยงการทุจรติ 2 ๔ 1. วตั ถุประสงค์การประเมินความเสย่ี งการทุจรติ ๔ 2. การบรหิ ารจัดการความเสี่ยงมคี วามแตกตา่ งจากการตรวจสอบภายในอย่างไร ๕ 3. กรอบการบรหิ ารความเส่ยี งการทุจริต 7 4. องค์ประกอบที่ทาให้เกิดการทจุ ริต ๙ ๕. ขอบเขตประเมนิ ความเสย่ี งการทุจริต ๑๐ ๖. ขั้นตอนประเมินความเสีย่ งการทจุ รติ 9 ขัน้ ตอน 1๑ 1๒ ขน้ั ตอนท่ี ๑ การระบุความเส่ยี ง 1๓ ขั้นตอนท่ี ๒ การวิเคราะหส์ ถานะความเสย่ี ง 1๔ ขนั้ ตอนท่ี ๓ เมทริกส์ระดับความเสยี่ ง 1๕ ขั้นตอนที่ 4 การประเมนิ การควบคมุ ความเสี่ยง 1๖ ขั้นตอนที่ ๕ แผนบรหิ ารความเสย่ี ง ขน้ั ตอนท่ี ๖ การจัดทารายงานผลการเฝา้ ระวังความเสี่ยง ขน้ั ตอนที่ ๗ จดั ทาระบบการบริหารความเสีย่ ง ขนั้ ตอนที่ ๘ การจดั ทารายงานการบรหิ ารความเสี่ยง ขน้ั ตอนท่ี ๙ การรายงานผลการดาเนินงานตามแผนบรหิ ารความเส่ียง ภาคผนวก ตัวอย่างรปู แบบความเสยี่ งการทจุ ริต

-๔- หนา้ ๘ สารบญั ตาราง ๙ 1๐ ตารางท่ี ๑ ตารางระบุความเสีย่ ง 1๑ ตารางที่ ๒ ตารางแสดงสถานะความเสีย่ ง 1๑ ตารางที่ ๓ SCORING ทะเบยี นข้อมูลท่ตี ้องเฝ้าระวงั ๒ มติ ิ 1๒ ตารางท่ี ๓.๑ ระดับความจาเป็นของการเฝา้ ระวงั 1๓ ตารางท่ี ๓.๒ ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบตาม Balanced Scorecard 1๓ ตารางท่ี ๔ ตารางแสดงการประเมินการควบคมุ ความเส่ียง 1๔ ตารางท่ี ๕ ตารางแผนบรหิ ารความเสีย่ ง 1๕ ตารางที่ ๖ ตารางจัดทารายงานผลการเฝ้าระวงั ความเสยี่ ง 1๖ ตารางที่ ๗ ตารางจัดทาระบบความเสยี่ ง ตารางท่ี ๘ ตารางรายงานการบรหิ ารความเสี่ยง 1๗ ตารางท่ี ๙ แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนบริหารความเสย่ี ง ตารางท่ี ๑๐ ตารางเสนอขอปรบั ปรงุ แผนบรหิ ารความเส่ียงการทจุ รติ ระหวา่ งปี (ทดแทนแผนเดิม)

สว่ นท่ี ๑ ความเปน็ มา คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ รับทราบมติคณะกรรมการต่อต้าน การทุจริตแห่งชาติ (คตช.) ในการประชุม คตช. คร้ังที่ ๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ ที่เสนอให้ รัฐบาลประกาศให้ “ปี ๒๕๖๐ เป็นปีแห่งการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุมัติอนุญาตของทาง ราชการต่อต้านการรับสินบนทุกรูปแบบ” ตามที่สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครฐั (สานกั งาน ป.ป.ท.) โดยกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน เสนอ ท้ังน้ี คตช. ได้มอบหมายให้สานักงาน ป.ป.ท. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ คตช. เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนนโยบายและมาตรการต่อต้าน การทจุ ริตคอร์รปั ชนั ตอ่ ต้านการรบั สนิ บนทกุ รปู แบบ สืบเนื่องจากองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) ได้ประกาศ ผลคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index : CPI) ประจาปี ๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๐ ประเทศไทยได้รับคะแนน ๓๕ คะแนน อยู่ในลาดับท่ี ๑๐๑ จากประเทศที่เข้าร่วมประเมิน ทั้งหมด ๑๗๖ ประเทศ ลดลงจากปี ๒๕๕๘ ซ่ึงประเทศไทยมีคะแนน ๓๘ คะแนน อยู่ในลาดับที่ ๗๖ จากประเทศทเ่ี ขา้ ร่วมประเมิน ๑๖๘ ประเทศ ผลคะแนนพบว่า แหล่งการประเมินท่ีเก่ียวข้องกับการอานวย ความสะดวกทางธุรกิจมีคะแนนลดลงอย่างมากในปี ๒๕๕๙ ประเทศไทยมีแหล่งการประเมินที่คะแนนลดลง ทั้งหมด ๔ แหล่งการประเมิน คือ GI (๒๒ คะแนน) WEF (๓๗ คะแนน) PERC (๓๘ คะแนน) และ EIU (๓๗ คะแนน) โดยแหล่งการประเมินท่ีมีคะแนนลดลงมากที่สุด คือ GI (-๒๐ คะแนน) รองลงมาคือ WEF (-๖ คะแนน) ซึ่งเป็นแหล่งการประเมินที่เก่ียวข้องกับการวิเคราะห์ว่าภาคธุรกิจเกี่ยวข้องกับการทุจริต มากน้อยเพียงใด และการสารวจจากนักธุรกิจ ที่เข้ามาลงทุนในประเทศว่าภาคธุรกิจต้องจ่ายเงินสินบน ในกระบวนการตา่ ง ๆ มากน้อยเพียงใด สานักงาน ป.ป.ท. ในฐานะเป็นกลไกของฝ่ายบริหารในการป้องกันและแก้ไขปัญหา การทุจริต มีบทบาทอานาจหน้าที่ในการขับเคล่ือนหน่วยงานภาครัฐให้บริหารภายใต้กรอบธรรมาภิบาล เพ่ือลดปัญหาการทุจริต จึงเล็งเห็นว่าเพ่ือขับเคลื่อนภาครัฐสู่ธรรมาภิบาล โดยเฉพาะการให้บริการในการ พิจารณาอนุมัติ อนุญาต อันเป็นการแก้ไขปัญหาการรับสินบนซ่ึงเป็นผลมาจากการประเมินผลคะแนนแหล่ง การประเมินที่เก่ียวข้องกับการอานวยความสะดวกทางธุรกิจ และเพ่ือเป็นการขับเคล่ือนกลไกภาครัฐ ให้ดาเนินการตามคาส่ังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ ๖๙/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เร่ือง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ ข้อ (๑) ให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ กาหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและ หน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพ่ือสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบได้ การประเมินความเส่ียงการทุจริต เป็นเครอื่ งมอื หนึ่งในการบริหารเพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาล การทุจริตนอกจากการให้พิจารณาอนุมัติ อนุญาต ของทางราชการ ยังมีการทุจริตของงานปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ สานักงาน ป.ป.ท. จึงเห็นความจาเป็นที่ต้องมี คมู่ ือเพ่ือให้หนว่ ยงานภาครฐั มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงการทุจริตของทุกภาระงาน โดยเฉพาะการดาเนินงาน ทีอ่ าจก่อให้เกิดการทุจริต ซึ่งผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานต้องให้ความสาคัญและถือเป็นนโยบายขององค์กร ด้วยการสั่งการหรือมอบหมายให้มีการวางระบบการประเมินความเสี่ยงการทุจริต อย่างต่อเนื่อง จริงจัง เพอื่ ป้องกนั และแก้ไขปัญหาการทุจรติ และเป็นการยกระดับค่า CPI

-๒- สว่ นที่ 2 ประเมนิ ความเส่ียงการทจุ ริต ๑.วตั ถุประสงคก์ ารประเมนิ ความเส่ียงการทุจรติ มาตรการป้องกันการทุจริตสามารถจะช่วยลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตในองค์กรได้ ดังน้ัน การประเมินความเส่ียงด้านการทุจริต การออกแบบและการปฏิบัติงานตามมาตรการควบคุมภายใน ท่ีเหมาะสมจะช่วยลดความเส่ียงด้านการทุจริต ตลอดจนการสร้างจิตสานึกและค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต ให้แก่บุคลากรขององค์กรถือเป็นการป้องกันการเกิดการทุจริตในองค์กร ท้ังน้ี การนาเคร่ืองมือประเมิน ความเสี่ยงมาใช้ในองค์กรจะช่วยให้เป็นหลักประกันในระดับหน่ึงว่า การดาเนินการขององค์กรจะไม่มี การทุจริต หรือในกรณีท่ีพบกับการทุจริตที่ไม่คาดคิดโอกาสที่จะประสบกับปัญหาน้อยกว่าองค์กรอ่ืน หรือ หากเกิดความเสียหายข้ึนก็จะเป็นความเสียหายที่น้อยกว่าองค์กรท่ีไม่มีการนา เครื่องมือประเมินความเสี่ยง มาใช้ เพราะได้มีการเตรียมการป้องกันล่วงหน้าไว้โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจา ซึ่งไม่ใช่ การเพม่ิ ภาระงานแตอ่ ยา่ งใด วัตถุประสงค์หลักของการประเมินความเสี่ยงการทุจริต : เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือ แนวทางในบริหารจัดการความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต ซึ่งเป็นมาตรการปอ้ งกนั การทุจริตเชงิ รกุ ที่มีประสิทธภิ าพตอ่ ไป 2. การบริหารจดั การความเส่ียงมีความแตกต่างจากการตรวจสอบภายในอยา่ งไร กำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงเป็นกำรทำงำนในลักษณะที่ทุกภำระงำนต้องประเมินควำมเสี่ยง กอ่ นปฏิบัตงิ ำนทุกครง้ั และแทรกกิจกรรมกำรตอบโต้ควำมเสี่ยงไว้ก่อนเร่ิมปฏิบัติงำนหลักตำมภำระงำนปกติ ของกำรเฝ้ำระวังควำมเส่ียงล่วงหน้ำจำกทุกภำระงำนร่วมกันโดยเป็นส่วนหน่ึงของควำมรับผิดชอบปกติ ที่มี กำรรับร้แู ละยอมรบั จำกผทู้ ่ีเกีย่ วข้อง (ผ้นู ำสง่ งำนให้) เป็นลักษณะ Pre-Decision ส่วนกำรตรวจสอบ Pre-decision VVSS Post-decision ภำยในจะเป็นในลักษณะกำกับติดตำมควำมเส่ียง เป็นกำรสอบทำน เป็นลักษณะ Post-Decision 3. กรอบการประเมินความเสย่ี งการทุจรติ กรอบตามหลักของ การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations 2013) ซ่ึงมาตรฐาน COSO เป็นมาตรฐาน ทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั มาตั้งแต่เริ่มออกประกาศใชเ้ มือ่ ปี 1992 โดยทีผ่ า่ นมา มีการออกแนวทางด้านการควบคุม ภายในเพ่ิมเติมอีก ๓ ครั้ง คือ ครั้งแรกเม่ือปี 2006 เป็นแนวทางด้านการทารายงานทางการเงิน Internal Control over Financial Report – Guidance for Small Public Companies ครั้งที่ 2 เมื่อปี 2009 เป็นแนวทางด้านการกากับติดตาม Guidance on Monitoring of Internal Control ครั้งที่ 3 ในปี 2013 เป็นแนวทางเพ่ิมเติมด้านการควบคุมภายใน Internal Control – Integrated Framework : Framework and Appendices การปรับปรุงในปี 2013 นี้ยังคงยึดกรอบแนวคิดเดิมของปี 1992 ที่กาหนดให้มีการควบคุม ภายในแต่เพ่ิมเติมในส่วนอื่น ๆ ให้ชัดเจนข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มเติมเรื่องการสอดส่อง ในภาพรวม ของการกากับดูแลกิจการ ดังน้ัน การควบคุมภายในจึงถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการที่จะตอบสนอง ตอ่ ความคาดหวงั ของกิจการในการป้องกันเฝ้าระวงั และตรวจสอบการทจุ ริตภายในกจิ การ

-๓- สาหรับมาตรฐาน COSO 2013 ประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบ 17 หลักการ ดังน้ี องคป์ ระกอบที่ 1 : สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) หลกั การที่ 1 – องค์กรยึดหลกั ความซื่อตรงและจรยิ ธรรม หลกั การท่ี 2 – คณะกรรมการแสดงออกถึงความรบั ผิดชอบต่อการกากบั ดูแล หลกั การที่ 3 - คณะกรรมการและฝ่ายบริหาร มอี านาจการสง่ั การชัดเจน หลักการที่ 4 - องคก์ ร จูงใจ รกั ษาไว้ และจูงใจพนกั งาน หลกั การที่ 5 – องค์กรผลกั ดันให้ทกุ ตาแหน่งรบั ผดิ ชอบต่อการควบคุมภายใน องค์ประกอบที่ 2: การประเมนิ ความเสย่ี ง (Risk Assessment) หลกั การที่ 6 – กาหนดเป้าหมายชัดเจน หลักการท่ี 7 – ระบุและวเิ คราะหค์ วามเส่ยี งอยา่ งครอบคลุม หลกั การที่ 8 – พจิ ารณาโอกาสทจี่ ะเกิดการทจุ ริต หลกั การท่ี 9 – ระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงทจ่ี ะกระทบต่อการควบคุมภายใน องคป์ ระกอบท่ี 3: กจิ กรรมการควบคมุ (Control Activities) หลกั การที่ 10 – ควบคุมความเสย่ี งใหอ้ ยู่ในระดบั ทยี่ อมรบั ได้ หลกั การที่ 11 – พัฒนาระบบเทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการควบคุม หลกั การท่ี 12 – ควบคมุ ให้นโยบายสามารถปฏิบตั ิได้ องคป์ ระกอบท่ี 4: สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication) หลกั การท่ี 13 – องค์กรมีข้อมลู ทีเ่ กย่ี วข้องและมีคุณภาพ หลกั การท่ี 14 - มีการส่ือสารข้อมลู ภายในองค์กร ให้การควบคมุ ภายในดาเนินตอ่ ไปได้ หลกั การท่ี 15 - มีการสือ่ สารกับหน่วยงานภายนอก ในประเดน็ ทอ่ี าจกระทบต่อ การควบคมุ ภายใน องค์ประกอบที่ 5: กจิ กรรมการกากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล (Monitoring Activities) หลักการที่ 16 – ตดิ ตามและประเมนิ ผลการควบคุมภายใน หลักการท่ี 17 – ประเมนิ และส่ือสารข้อบกพรอ่ งของการควบคุมภายในทันเวลา และเหมาะสม ท้ังน้ี องค์ประกอบการควบคุมภายในแต่ละองค์ประกอบและหลักการจะต้อง Present & Function (มีอยู่จริง และ นาไปปฏิบัติได้) อีกทั้งทางานอย่างสอดคล้องและสัมพันธ์กัน จึงจะทาให้การ ควบคุมภายในมีประสทิ ธผิ ล สาหรับคู่มือฉบับนี้ จะเน้นตามมาตรฐาน COSO 2013 องค์ประกอบที่ ๒ หลักการที่ ๘ ในเร่ืองการประเมนิ ความเสี่ยงการทุจรติ เป็นหลกั กรอบหรอื ภาระงานในการประเมินความเสี่ยงการทจุ รติ มี ๔ กระบวนการ ดงั นี้  Corrective : แก้ไขปัญหำที่เคยรับรู้ว่ำเกิด สิ่งท่ีมีประวัติอยู่แล้ว ทำอย่ำงไรจะไม่ให้ เกดิ ข้นึ ซำ้ อีก  Detective : เฝ้ำระวัง สอดส่อง ติดตำมพฤติกรรมเส่ียง ทำอย่ำงไรจะตรวจพบ ต้องสอดส่องตั้งแต่แรก ต้ังข้อบ่งช้ีบำงเร่ืองท่ีน่ำสงสัยทำกำรลดระดับควำมเสี่ยงน้ันหรือให้ข้อมูลเบำะแสน้ัน แกผ่ ู้บริหำร

-๔-  Preventive : ป้องกัน หลีกเลี่ยง พฤติกรรมท่ีนำไปสู่กำรสุ่มเส่ียงต่อกำรกระทำผิด ในสว่ นที่พฤติกรรมทเ่ี คยรับรูว้ ำ่ เคยเกิดมำก่อน คำดหมำยได้ว่ำมีโอกำสสูงที่จะเกิดซ้ำอีก (Known Factor) ท้ังที่ รู้ว่ำทำไปมีควำมเส่ียงต่อกำรทุจริต จะต้องหลีกเลี่ยงด้วยกำรปรับ Workflow ใหม่ ไม่เปิดช่องว่ำงให้กำรทุจริต เข้ำมำได้อีก  Forecasting : กำรพยำกรณ์ประมำณกำรส่งิ ทอี่ ำจจะเกดิ ขน้ึ และปอ้ งกันป้องปรำม ลว่ งหนำ้ ในเรื่องประเด็นทีไ่ ม่คุ้นเคย ในสว่ นที่เป็นปัจจัยควำมเส่ียงท่ีมำจำกกำรพยำกรณ์ ประมำณกำรล่วงหน้ำ ในอนำคต (Unknown Factor) ๔. องค์ประกอบทท่ี าใหเ้ กิดการทุจริต องค์ประกอบหรือปัจจัยที่นำไปสู่กำรทุจริต ประอบด้วย Pressure/Incentive หรือ แรงกดดันหรือแรงจงู ใจ Opportunity หรือ โอกำส ซงึ่ เกิดจำกช่องโหว่ของระบบต่ำง ๆ คุณภำพกำรควบคุม กำกับควบคุมภำยในขององค์กรมีจุดอ่อน และ Rationalization หรือ กำรหำเหตุผลสนับสนุนกำรกระทำ ตำมทฤษฎี สำมเหลย่ี มกำรทุจรติ (Fraud Triangle) ๕. ขอบเขตประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ คู่มอื นจ้ี ะแบง่ ประเภทความเสี่ยงการทจุ ริต ออกเปน็ ๓ ดา้ น ดังนี้ ๕.1 ความเส่ียงการทุจริตท่ีเก่ียวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต (เฉพาะหน่วยงานที่มี ภารกิจให้บริการประชาชนอนุมัติ หรืออนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณา อนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘) ๕.2 ความเส่ยี งการทุจรติ ในความโปร่งใสของการใชอ้ านาจและตาแหนง่ หนา้ ท่ี ๕.3 ความเส่ียงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการ ทรพั ยากรภาครฐั

-๕- กำรพิจำรณำอนุมตั ิ อนุญำต กำรใชอ้ ำนำจและตำแหนง่ หน้ำท่ี กำรใช้จ่ำยงบประมำณ และกำรบรหิ ำรจัดกำรทรพั ยำกรภำครฐั ๖. ข้นั ตอนการประเมินความเสี่ยงการทุจริต มี ๙ ขัน้ ตอน ดังนี้ 1 • การระบุความเสยี่ ง 2 • การวิเคราะห์สถานะความเสยี่ ง 3 • เมทริกส์ระดบั ความเสีย่ ง ๔ • การประเมินการควบคมุ ความเสี่ยง ๕ • แผนบรหิ ารความเสย่ี ง 6 • การจัดทารายงานผลการเฝ้าระวังความเสย่ี ง 7 • จัดทาระบบการบริหารความเสีย่ ง ๘ • การจดั ทารายงานการบรหิ ารความเสย่ี ง 9 • การรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนการบรหิ ารความเส่ยี ง

-๖- ขั้นเตรยี มการ : ประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริต ก่อนทำกำรประเมินควำมเส่ียงกำรทุจริต ต้องทำกำรคัดเลือกงำนหรือกระบวนงำน จำกภำรกิจ ในแต่ละประเภทที่จะทำกำรประเมิน ซ่ึงคู่มือนี้ได้จำแนกขอบเขตของกำรประเมินควำมเสี่ยงกำรทุจริตไว้ ๓ ด้ำน ดังนี้ ความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต (เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจ ใหบ้ ริการประชาชนอนุมัติ หรืออนญุ าต ตามพระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘) ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อานาจและตาแหน่งหน้าที่ และความเส่ียงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากร ภาครัฐ เมื่อคัดเลือกได้แล้ว ให้ทาการคัดเลือกกระบวนงานของประเภทด้านนั้น ๆ โดยเฉพาะการดาเนินงาน ท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริต และจัดเตรียมข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือแนวทาง หลักเกณฑ์ในการ ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้อง จากน้ันจึงลงมือทาการตามข้ันตอนประเมินความเส่ียงการทุจริต ตัวอย่างในการประเมิน ความเสยี่ ง ในการพิจารณาอนมุ ัติ อนุญาตการออกใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ๑. เลือกงำนดำ้ นทีจ่ ะทำกำรประเมินประเมินควำมเสี่ยงกำรทุจริต ๒. เลือกกระบวนงำน จำกงำนทจี่ ะทำกำรประเมินควำมเสย่ี งกำรทจุ รติ ๓. เตรยี มข้อมูล ขั้นตอน แนวทำง หรือเกณฑ์กำรปฏิบัติงำน ของกระบวนงำน ทจี่ ะทำกำรประเมินควำมเสี่ยงกำรทุจริต (ตัวอยา่ ง) ๑. งำนด้ำนกำรพิจำรณำอนุมัติ อนญุ ำตของทำงรำชกำร ๒. กระบวนงำน กำรขออนุญำตก่อสร้ำงอำคำร ดัดแปลงอำคำร หรือรือ้ ถอน อำคำร ๓. รำยละเอยี ดของขัน้ ตอน แนวทำงหรือเกณฑ์กำรอนุญำตก่อสร้ำงอำคำรฯ

-๗- ข้ันตอนที่ ๑ การระบคุ วามเส่ียง (Risk Identification) ข้ันตอนท่ี ๑ นาขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากขน้ั เตรียมการในสว่ นรำยละเอียดขั้นตอน แนวทำงหรือเกณฑ์ กำรปฏิบัติงำนของกระบวนงำนที่จะทำกำรประเมินควำมเสี่ยงกำรทุจริต ซ่ึงในขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนน้ัน ย่อมประกอบไปด้วยข้ันตอนย่อย ในกำรระบุควำมเสี่ยงตำมข้ันตอนที่ ๑ ให้ทำกำรระบุควำมเสี่ยง อธบิ ำยรำยละเอยี ด รูปแบบ พฤตกิ ำรณ์ควำมเส่ียงเฉพำะที่มีควำมเสี่ยงกำรทุจริตเท่ำนั้น และในการประเมิน ต้องคานงึ ถึงความเสี่ยงในภาพรวมของการดาเนินงานเร่ืองที่จะทาการประเมินด้วย เน่ืองจากในกระบวนงาน การปฏิบัติงานตามขั้นตอนอาจไม่พบความเส่ียง หรือโอกาสเสี่ยงต่า แต่อาจพบว่ามีความเสี่ยงในเร่ืองนั้น ๆ ในการดาเนินงานท่ีไม่ได้อยู่ในข้ันตอนก็เป็นได้ โดยไม่ต้องคานึงว่าหน่วยงานจะมีมาตรการป้องกันหรือแก้ไข ความเสี่ยงการทุจริตนั้นอยู่แล้ว นำข้อมูลรำยละเอียดดังกล่ำวลงในประเภทของควำมเส่ียงซึ่งเป็น Known Factor หรือ Unknown Factor Known Factor ความเส่ียงท้ัง ปัญหา/พฤติกรรมท่ีเคยรับรู้ว่าเคยเกิดมาก่อน คาดหมายได้ว่า มโี อกาสสงู ทจ่ี ะเกดิ ซา้ หรือมีประวตั ิ มตี านานอยู่แลว้ Unknown Factor ปัจจัยความเสี่ยงที่มาจากการพยากรณ์ ประมาณการล่วงหน้าในอนาคต ปัญหา/ พฤติกรรม ความเสีย่ งที่อาจจะเกิดขึ้น (คดิ ล่วงหนา้ ตีตนไปกอ่ นไขเ้ สมอ) เทคนิคในการ ระบุความเสย่ี ง หรือค้นหาความเสย่ี งการทจุ รติ ดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ ดังนี้ WORK กำรระดม เทคนคิ SHOP สมอง ในการคน้ หา ความเสี่ยงการทุจริต Risk กำร ถกเถียง dentification ออกแบบ หยิบยก ประเดน็ สอบถำม ท่มี โี อกำสเกดิ กำร เปรยี บเทยี บ Risk สัมภำษณ์ วธิ ปี ฏิบัติ Identification กับองค์กรอื่น

-๘- ประเมินความเสี่ยงการทจุ รติ ปีงบประมาณ พ.ศ. .... ประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ ดา้ น ๑ ความเส่ยี งการทุจริตทเ่ี กยี่ วข้องกับการพจิ ารณาอนมุ ตั ิ อนญุ าต ๒ ความเสี่ยงการทจุ รติ ในความโปรง่ ใสของการใช้อานาจและตาแหน่งหนา้ ท่ี 3 ความเสี่ยงการทจุ ริตในความโปร่งใสของการใช้จา่ ยงบประมาณและการบริหาร จดั การทรัพยากรภาครฐั ชอื่ กระบวนงาน/งาน ......................................................................................................................... ชอ่ื หน่วยงาน / กระทรวง........................................................................................................... ผรู้ ับผดิ ชอบ................................................................................. โทรศัพท์................................ ตารางท่ี ๑ ตารางระบุความเส่ยี ง (Known Factor และ Unknown Factor) ประเภทความเสย่ี งการทุจรติ ท่ี โอกาส/ ความเส่ยี งการทจุ ริต Known Factor Unknown Factor (ให้อธิบายรูปแบบ พฤตกิ ารณก์ ารทุจรติ ของกระบวนงาน หรืองานที่เลือกมา ทาการประเมนิ ความเสย่ี งว่ามีโอกาส หรือความเสี่ยงการทจุ รติ ) ตารางท่ี ๑ อธิบายรายละเอียดความเส่ียงการทุจริต เช่น รูปแบบ พฤติการณ์การทุจริตที่มีความเส่ียง การทุจรติ เทา่ นั้น และควรอธิบายพฤตกิ ารณค์ วามเสี่ยงใหล้ ะเอียด ชัดเจน มากทส่ี ดุ - ความเสีย่ งทีเ่ คยเกดิ หรอื คาดว่าจะเกดิ ซ้าสงู มีประวัติอยู่แลว้ ใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย  ในช่อง Known Factor - หากไมเ่ คยเกดิ หรอื ไมม่ ีประวัติมากอ่ น แต่มีความเส่ยี งจากการพยากรณ์ในอนาคตวา่ มีโอกาสเกิด ให้ใส่เครื่องหมายในช่อง Unknown Factor - หนว่ ยงานสามารถปรบั แบบไดโ้ ดยไมร่ ะบุว่าเปน็ ประเภท Known Factor หรอื Unknown Factor ก็ได้

-๙- ขั้นตอนที่ ๒ การวิเคราะห์สถานะความเส่ียง ขั้นตอนท่ี ๒ ให้นาข้อมูลจากตารางท่ี ๑ มาวิเคราะห์เพ่ือแสดงสถานะความเสี่ยงการทุจริต ของแต่ละโอกาส/ความเส่ียงการทุจริต ออกตามรายสีไฟจราจร เขียว เหลือง ส้ม แดง โดยระบุสถานะของ ความเส่ยี งในชอ่ งสีไฟจราจร ความหมายของสถานะความเสย่ี งตามสีไฟจราจร มีรายละเอียดดังน้ี  สถานะสีเขียว : ความเสยี่ งระดบั ต่า  สถานะสีเหลอื ง : ความเสี่ยงระดับปานกลาง และสามารถใช้ความรอบคอบระมัดระวัง ในระหว่างปฏบิ ตั ิงาน ตามปกติควบคุมดแู ลได้  สถานะสีส้ม : ความเสี่ยงระดับสูง เป็นกระบวนงานท่ีมีผู้เกี่ยวข้องหลายคน หลายหน่วยงาน ภายในองคก์ ร มีหลายข้ันตอน จนยากตอ่ การควบคุม หรือไม่มอี านาจควบคุมขา้ มหนว่ ยงานตามหน้าทปี่ กติ  สถานะสีแดง : ความเสี่ยงระดับสูงมาก เป็นกระบวนงานที่เก่ียวข้องกับบุคคลภายนอก คนท่ีไม่รู้จักไม่สามารถตรวจสอบได้ชดั เจน ไมส่ ามารถกากับติดตามไดอ้ ย่างใกล้ชิดหรอื อย่างสม่าเสมอ ตารางที่ ๒ ตารางแสดงสถานะความเสี่ยง (แยกตามรายสไี ฟจราจร) ท่ี โอกาส/ความเสี่ยงการทจุ รติ เขยี ว เหลอื ง สม้ แดง ตารางที่ ๒ นาโอกาส/ความเสี่ยงการทุจริต จากตารางท่ี ๑ นามาแยกสถานะความเสย่ี งการทุจริต ตามไฟสจี ราจร - สีเขยี ว หมายถงึ ความเส่ยี งระดบั ต่า - สีเหลอื ง หมายถงึ ความเสย่ี งระดบั ปานกลาง - สสี ม้ หมายถงึ ความเส่ยี งระดบั สูง - สแี ดง หมายถึง ความเส่ียงระดบั สูงมาก

- ๑๐ - ขน้ั ตอนที่ ๓ เมทรกิ สร์ ะดับความเส่ียง (Risk level matrix) ขั้นตอนที่ ๓ นาโอกำส/ควำมเสีย่ งกำรทุจรติ ที่มีสถานะความเส่ียงระดับสูงจนถึงความเส่ียง ระดับสูงมาก ท่ีเป็น สีส้ม และสีแดง จากตารางที่ ๒ มาทาการหาค่าความเส่ียงรวม ซ่ึงได้จากระดับ ความจาเปน็ ของการเฝา้ ระวัง ที่มีค่า ๑ - ๓ คูณด้วย ระดับความรุนแรงของผลกระทบที่มีค่า ๑ - ๓ เช่นกัน ค่า ๑ - ๓ โดยมเี กณฑใ์ นการใหค้ ่า ดังน้ี ๓.๑ ระดับควำมจำเป็นของกำรเฝำ้ ระวงั มีแนวทำงในกำรพิจำรณำดังนี้ - ถ้ำเป็นกิจกรรมหรือขั้นตอนหลักท่ีสำคัญของกระบวนงำนน้ัน ๆ แสดงว่ำกิจกรรม หรือข้ันตอนน้ัน เป็น MUST หมำยถึงมีควำมจำเป็นสูงของกำรเฝ้ำระวังควำมเสี่ยงกำรทุจริตท่ีต้องทำกำร ปอ้ งกันไม่ดำเนนิ กำรไมไ่ ด้ ค่ำของ MUST คอื คำ่ ทอี่ ย่ใู นระดบั ๓ หรือ ๒ - ถ้ำเป็นกิจกรรมหรือขั้นตอนนั้นเป็นกิจกรรม หรือขั้นตอนรองของกระบวนงำนน้ัน ๆ แสดงว่ำกิจกรรมหรือข้ันตอนนั้นเป็น SHOULD หมำยถึงมีควำมจำเป็นต่ำในกำรเฝ้ำระวังควำมเสี่ยงกำรทุจริต คำ่ ของ SHOULD คอื ค่ำที่อยูใ่ นระดบั ๑ เทำ่ นน้ั (ตวั อยา่ งตามตารางที่ ๓.๑) (เกณฑพ์ จิ ารณาระดบั ความจาเปน็ ของการเฝา้ ระวงั ความเส่ียงการทจุ รติ ว่าเป็น MUST หรอื SHOULD) ๓.๒ ระดับควำมรนุ แรงของผลกระทบ มีแนวทำงในกำรพิจำรณำดงั นี้ กจิ กรรมหรือขน้ั ตอนกำรปฏิบัตงิ ำนนั้นเกีย่ วขอ้ งกบั ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย Stakeholders รวมถึงหน่วยงำนกำกับดูแล พนั ธมติ ร ภำคเี ครอื ขำ่ ย คำ่ อยทู่ ่ี ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือขั้นตอนกำรปฏิบตั งิ ำนนนั้ เก่ียวขอ้ งกับ ผลกระทบทำงกำรเงิน รำยได้ลด รำยจำ่ ยเพม่ิ Financial คำ่ อย่ทู ี่ ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนน้ันผลกระทบต่อผู้ใช้บริกำร กลุ่มเป้ำหมำย Customer/User ค่ำอยูท่ ี่ ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือข้ันตอนกำรปฏิบัติงำนนั้นผลกระทบต่อกระบวนงำนภำยใน Internal Process หรือกระทบด้ำนกำรเรยี นรู้ องค์ควำมรู้ Learning & Growth ค่ำอยู่ที่ ๑ หรอื ๒ (ตัวอยา่ งตามตารางที่ ๓.๒ ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบ) ตารางท่ี ๓ SCORING ทะเบียนข้อมลู ทตี่ อ้ งเฝ้าระวงั ๒ มติ ิ (หรือตารางเมทรกิ สร์ ะดับความเสยี่ ง (Risk level matrix)) ท่ี โอกาส/ความเส่ียงการทจุ รติ ระดับความจาเปน็ ระดบั ความรุนแรงของ คา่ ความเสย่ี งรวม ของการเฝ้าระวงั ผลกระทบ จาเปน็ X รุนแรง 3 21 3 21 ตารางที่ ๓ นาข้อมูลทมี่ ีสถานะความเสี่ยงใน ช่องสีส้ม และสีแดง จากตารางท่ี ๒ มาหาค่าความเสย่ี งรวม (ระดบั ความจาเป็นของการเฝา้ ระวัง คูณ ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบ)

- ๑๑ - แนวทางในการพจิ ารณา ระดบั ความจาเปน็ ของการเฝ้าระวงั และ ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ตารางท่ี ๓.๑ ระดับความจาเป็นของการเฝ้าระวัง ที่ โอกาส/ความเสยี่ งการทุจริต กิจกรรมหรือข้นั ตอนหลัก กจิ กรรมหรือขน้ั ตอนรอง MUST SHOULD คา่ ควรเปน็ ๓ หรือ ๒ คา่ ควรเปน็ ๑ ตารางท่ี ๓.๒ ระดับความรุนแรงของผลกระทบตาม Balanced Scorecard โอกาส/ความเสี่ยงการทุจริต ๑ ๒๓ ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย Stakeholders รวมถึง หนว่ ยงำนกำกบั ดูแล พันธมิตร ภำคเี ครือข่ำย XX ผลกระทบทำงกำรเงิน รำยได้ลด รำยจ่ำยเพม่ิ Financial XX ผลกระทบต่อผู้ใช้บริกำร กลุ่มเป้ำหมำย Customer/User XX ผลกระทบตอ่ กระบวนงำนภำยใน Internal Process XX กระทบด้ำนกำรเรยี นรู้ องคค์ วำมรู้ Learning & Growth XX ข้ันตอนที่ ๔ การประเมินการควบคุมความเสยี่ ง (Risk – Control Matrix Assessment) ข้ันตอนที่ ๔ ให้นาค่าความเส่ียงรวม (จาเป็น X รุนแรง) จากตารางท่ี ๓ มาทาการประเมิน กำรควบคุมกำรทุจริต ว่ำมีระดับกำรควบคุมควำมเสี่ยงกำรทุจริตอยู่ในระดับใด เม่ือเทียบกับคุณภำพกำรจัดกำร (คณุ ภำพกำรจดั กำร สอดส่อง เฝำ้ ระวงั ในงำนปกต)ิ โดยเกณฑค์ ุณภาพการจดั การ จะแบง่ เป็น ๓ ระดบั ดังน้ี ดี : จัดการได้ทันที ทุกครั้งท่ีเกิดความเสี่ยง ไม่กระทบถึงผู้ใช้บริการ/ผู้รับมอบผลงาน องค์กร ไมม่ ีผลเสียทางการเงิน ไมม่ ีรายจ่ายเพมิ่ พอใช้ : จดั การได้โดยส่วนใหญ่ มีบางคร้ังยังจัดการไม่ได้ กระทบถึงผู้ใช้บริการ/ผู้รับมอบผลงาน องคก์ รแต่ยอมรับได้ มคี วามเขา้ ใจ อ่อน : จัดการไม่ได้ หรือได้เพียงส่วนน้อย การจัดการเพ่ิมเกิดจากรายจ่าย มีผลกระทบถึง ผู้ใชบ้ รกิ าร/ผู้รบั มอบผลงานและยอมรับไมไ่ ด้ ไม่มีความเขา้ ใจ

- ๑๒ - ตารางท่ี ๔ ตารางแสดงการประเมนิ การควบคมุ ความเสี่ยง โอกาส/ความเสี่ยงการทุจริต คณุ ภาพ ค่าประเมินการควบคุมความเสยี่ งการทจุ ริต การจัดการ ค่าความเส่ยี ง ค่าความเสี่ยง คา่ ความเส่ยี ง ระดบั ตา่ ระดับปานกลาง ระดบั สูง ดี ตา่ คอ่ นข้างตา่ ปานกลาง พอใช้ คอ่ นข้างตา่ ปานกลาง ค่อนขา้ งสงู อ่อน ปานกลาง ค่อนขา้ งสงู สูง ตำรำงท่ี ๔ ให้นำค่ำควำมเสี่ยงรวม (จำเป็น X รุนแรง) จำกตำรำงท่ี ๓ มำทำกำรประเมินกำรควบคุม ควำมเส่ียงกำรทุจริต โดยกำรวิเครำะห์จำกคุณภำพกำรจัดกำรขององค์กรกับควำมเสี่ยง เร่ืองท่ีทำกำรประเมิน (ดี/พอใช้/อ่อน) เพื่อประเมินว่ำ ควำมเส่ียงกำรทุจริต มีค่ำควำมเสี่ยง อย่รู ะดบั ใด จะได้นำไปบรหิ ำรจัดกำรควำมเสีย่ ง ตำมควำมรนุ แรงของควำมเส่ยี ง ขั้นตอนที่ ๕ แผนบรหิ ารความเส่ียง ขั้นตอนที่ ๕ ให้เลือกเหตุกำรณ์ที่มีควำมเสี่ยงสูงสุดจำกกำรประเมินกำรควบคุมควำมเส่ียง Risk – Control Matrix Assessment ในตำรำงที่ ๔ ทีอ่ ยู่ในช่องค่ำควำมเส่ียง อยู่ในระดับ สูง ค่อนข้ำงสูง ปำนกลำง มำทำแผนบริหำรควำมเส่ียงกำรทุจริตตำมลำดับควำมรุนแรง (กรณีที่หน่วยงำนทำกำรประเมินกำรควบคุม ควำมเสยี่ ง ในตำรำงท่ี ๔ ไม่พบว่ำควำมเสี่ยงอยู่ในระดับ สูง ค่อนข้ำงสูง ปำนกลำง เลย แต่พบว่ำควำมเสี่ยง กำรทุจริตอยู่ในระดับ ต่ำ หรือ ค่อนข้ำงต่ำ ให้ทำกำรจัดทำแผนบริหำรควำมเส่ียงในเชิงเฝ้ำระวังควำมเสี่ยง กำรทุจริต หรือให้หน่วยงำนพิจำรณำทำกำรเลือกภำรกิจงำน หรือกระบวนงำนหรือกำรดำเนินงำนที่อำจ ก่อใหเ้ กดิ หรือมีโอกำสเกิดควำมเสีย่ งกำรทจุ ริต นำมำประเมินควำมเสีย่ งกำรทุจรติ เพ่ิมเตมิ )

- ๑๓ - ตารางที่ ๕ ตารางแผนบริหารความเสีย่ ง ช่ือแผนบริหารความเสี่ยง....................................................................................................... ที่ รปู แบบ พฤติการณ์ความเส่ียงการทุจริต มาตรการป้องกันการทจุ ริต ตารางท่ี ๕ พิจารณาเหตุการณค์ วามเส่ียง ที่มีค่าความเสี่ยงการทุจริต จากตารางที่ ๔ ตามลาดับ ความรุนแรงควำมเสี่ยงที่อยู่ในระดับ สูง ค่อนข้ำงสูง ปำนกลำง มาจัดทาแผนบริหาร ความเส่ยี งเพ่ือป้องกันการทจุ รติ ต่อไป ขั้นตอนท่ี ๖ การจดั ทารายงานผลการเฝ้าระวังความเส่ยี ง ขั้นตอนที่ ๖ เพื่อติดตามเฝ้าระวัง เป็นการประเมินการบริหารความเส่ียงการทุจริตในกิจกรรม ตามแผนบริหารความเส่ียงของขั้นตอนท่ี ๕ ซ่ึงเปรียบเสมือนเป็นการสร้างตะแกรงดัก เพื่อเป็นการยืนยันผล การป้องกันหรือแก้ไขปัญหามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด โดยการแยกสถานะของการเฝ้าระวังความเสี่ยง การทจุ รติ ต่อไป ออกเป็น ๓ สี ได้แก่ สเี ขยี ว สเี หลอื ง สีแดง ตารางท่ี ๖ ตารางจัดทารายงานผลการเฝ้าระวงั ความเส่ียง ท่ี มาตรการปอ้ งกัน โอกาส/ สถานะความเสี่ยง การทุจรติ ความเส่ียงการทจุ ริต เขยี ว เหลือง แดง ตารางท่ี ๖ ให้รายงานสถานะของการเฝ้าระวังการทุจริตตามแผนบริหารความเส่ียงในตารางที่ ๕ ว่าอยู่ในสถานะความเส่ียงระดับใด เพื่อพิจารณาทากิจกรรมเพิ่มเติม กรณีอยู่ในข่าย ทีย่ งั แก้ไขไมไ่ ด้

- ๑๔ -  สถานะสีเขยี ว : ไมเ่ กิดกรณที ่ีอยใู่ นขา่ ยความเสยี่ ง ยังไม่ต้องทากจิ กรรมเพิ่ม  สถานะสีเหลือง : เกิดกรณีที่อยู่ในข่ายความเส่ียง แต่แก้ไขได้ทันท่วงที ตามมาตรการ / นโยบาย / โครงการ / กิจกรรมที่เตรียมไว้ แผนใช้ได้ผล ความเส่ียงการทุจริตลดลง ระดับความรนุ แรง < 3  สถานะสแี ดง : เกิดกรณีที่อยู่ในข่ายยังแก้ไขไม่ได้ ควรมีมาตรการ / นโยบาย / โครงการ / กจิ กรรม เพม่ิ ข้นึ แผนใชไ้ มไ่ ดผ้ ล ความเสี่ยงการทุจรติ ไม่ลดลงระดับความรนุ แรง > 3 สแี ดง เกินกวา่ การยอมรบั สีเหลอื ง เกิดขึน้ แล้วแต่ยอมรับได้ สีเขียว ยงั ไม่เกิดเฝา้ ระวังต่อเน่ือง ขั้นตอนที่ ๗ จัดทาระบบการบริหารความเส่ียง ข้ันตอนท่ี ๗ นาผลจากทะเบียนเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริต จากตารางท่ี ๖ ออกตามสถานะ ๓ สถานะ ซึ่งในขั้นตอนที่ ๗ สถานะความเสี่ยงการทุจริตที่อยู่ในข่ายที่ยังแก้ไขไม่ได้ จะต้องมีกิจกรรม หรือ มาตรการอะไรเพมิ่ เติมตอ่ ไป โดยแยกสถานะเพ่ือทาระบบริหารความเส่ียงออกเป็น ดังน้ี ๗.๑ เกนิ กว่าการยอมรบั (สถานะสแี ดง Red) ควรมีกจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ๗.๒ เกิดข้ึนแล้วแต่ยอมรับได้ ควรมีกิจกรรมเพ่ิมเตมิ (สถานะสีเหลือง Yellow) ๗.๓ ยังไมเ่ กิดเฝ้าระวงั ต่อเนื่อง (สถานะสีเขียว Green) ตารางท่ี ๗ ตารางจดั ทาระบบความเส่ียง ๗.๑ (สถานะสแี ดง Red) เกินกวา่ การยอมรบั ควรมกี จิ กรรมเพม่ิ เติม ความเสยี่ งการทุจริต มาตรการป้องกนั การทจุ รติ เพม่ิ เติม (สถานะสีแดง)

- ๑๕ - ๗.๒ (สถานะสเี หลือง Yellow) เกิดขึ้นแล้วแต่ยอมรับได้ ควรมีกิจกรรมเพมิ่ เติม ความเสย่ี งการทจุ รติ มาตรการป้องกันการทจุ รติ เพ่ิมเตมิ (สถานะสีเหลือง) ๗.๓ (สถานะสเี ขยี ว Green) ยังไม่เกิด ให้เฝ้าระวังต่อเนื่อง ความเสย่ี งการทุจริต ความเห็นเพม่ิ เติม (สถานะสีเขียว) ข้ันตอนที่ 8 การจัดทารายงานการบรหิ ารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ ๘ เป็นการจัดทารายงานสรุปให้เห็นในภาพรวม ว่ามีผลจากการบริหารความเสี่ยงการทุจริต ตามข้ันตอนท่ี ๗ มีสถานะความเสี่ยงการทุจริตอยู่ในระดับใด (สี) สถานะความเสี่ยง สีเขียว หมายถึง ความเสี่ยงระดับต่า สีเหลือง หมายถึง ความเสี่ยงระดับปานกลาง สีแดง หมายถึง ความเสี่ยงระดับสูงมาก เพ่อื เป็นเครอ่ื งมอื ในการกากับ ตดิ ตาม ประเมินผล ตารางท่ี ๘ ตารางรายงานการบรหิ ารความเสยี่ ง ที่ สรปุ สถานะความเสี่ยงการทุจริต (เขียว เหลือง แดง) เขียว เหลือง แดง

- ๑๖ - ขัน้ ตอนที่ 9 การรายงานผลการดาเนินงานตามแผนบรหิ ารความเสย่ี ง ขั้นตอนที่ ๙ เป็นการจัดทาแบบรายงานผลการดาเนินงานตามแผนบริหารความเส่ียงการทุจริต หรือสถานะแผนบริหารความเส่ียงการทุจริต ตารางที่ ๘ ต่อผู้บริหารของหน่วยงาน ซ่ึงห้วงระยะเวลาของ การรายงานผล ขึน้ อยกู่ บั หน่วยงาน เชน่ รายงานทกุ เดอื น ทกุ ไตรมาส ซ่งึ แบบในการรายงาน ตามตารางที่ ๙ และตารางที่ ๑๐ สามารถปรบั ได้ตามความเหมาะสมของหนว่ ยงาน ตารางท่ี ๙ แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนบรหิ ารความเส่ยี ง แบบรายงานสถานะแผนบริหารความเสย่ี งการทจุ ริต ณ วันท.ี่ ............................. หนว่ ยงำนที่ประเมิน .............................................................................................................................. ชื่อแผนบรหิ ารความเสี่ยง  ยังไมไ่ ด้ดาเนินการ  เฝ้าระวัง และติดตามต่อเนือ่ ง โอกาส/ความเสีย่ ง  เรม่ิ ดาเนินการไปบ้าง แตย่ งั ไม่ครบถว้ น  ต้องการปรับปรงุ แผนบริหารความเสย่ี งใหม่ให้เหมาะสม สถานะของการดาเนนิ การ จดั การความเส่ยี ง  เหตุผลอน่ื (โปรดระบุ) .................................................................................................................. ............................................................................................. ...................... ผลการดาเนนิ งาน .................................................................................................................. .... ............................................................................................. ......................... .................................................................................................................... .. ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

- ๑๗ - ตารางท่ี ๑๐ ตารางการเสนอขอปรบั ปรุงแผนบริหารความเสี่ยงการทุจรติ ระหวา่ งปี (ทดแทนแผนเดมิ ) หน่วยงานทเี่ สนอขอ ....................................................................................................................... วนั ทเี่ สนอขอ ……………………………………………………………...........................................…….. ชอื่ แผนบริหารความเส่ียงเดิม ชอื่ แผนบรหิ ารความเสี่ยงใหม่ ผรู้ บั ผดิ ชอบหลัก ผรู้ บั ผดิ ชอบรองที่เก่ยี วข้อง เหตผุ ลในการเปล่ยี นแปลง ๑. ........................................................................... ๒. ........................................................................... ๓. ........................................................................... ประเดน็ ความเส่ยี งหลกั เดมิ ใหม่

- ๑๘ - หากมีปัญหาในการใชค้ มู่ ือ ปรึกษา กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน กลุ่มนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ในภาครัฐ (สานกั งาน ป.ป.ท.) โทร ๐ ๒๕๐๒ ๖๖๗๐ - 80 ต่อ ๑๕๑๒ , ๑๕๑๔ โทรสาร 0 2502 6132 E-mail : [email protected] (คมู่ อื นี้เปน็ แนวทาง หน่วยงานสามารถปรับได้ตามความเหมาะสม)

- ๑๙ - ภาคผนวก ตัวอย่าง รูปแบบความเสย่ี งการทุจรติ ตวั อย่าง รูปแบบความเสี่ยงการทุจรติ ท่ีเกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนมุ ัติ อนุญาต  เรียกรับโดยเฉพำะกำรขออนญุ ำตก่อสร้ำงอำคำร / คอนโด บ้ำนจัดสรร / โรงงำน  ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น รบั จำ้ งเขยี นแบบแปลน และตรวจเอง (ถึงแมร้ ำชกำรจะให้มีแบบมำตรฐำน อำนวยควำมสะดวกให้กบั ประชำชนก็ตำม แต่กำรขออนุญำตต้องมี ผงั ประกอบ จึงตอ้ งวำ่ จ้ำง ผ้ตู รวจ หรือผ้อู นมุ ตั ิ อนุญำต จะไดผ้ ำ่ นงำ่ ย)  เจ้ำหน้ำทข่ี องรัฐ สมยอม หรือมีสว่ นรู้เห็นกับบคุ คลหรือนิติบคุ คลในกำรดำเนินกำรกอ่ สรำ้ ง ดัดแปลง ร้ือถอน หรือเคล่ือนย้ำยอำคำรโดยมชิ อบดว้ ยกฎหมำย  เจำ้ หน้ำทขี่ องรฐั สมยอม หรอื มสี ่วนรเู้ ห็นกับบุคคลหรอื นติ ิบคุ คลในกำรใช้อำคำรท่ไี ม่ตรงกบั ใบรับรองใบอนุญำตหรอื ที่ย่นื แจ้งต่อเจ้ำพนักงำนท้องถ่นิ  กำรประเมนิ ภำษที ต่ี ำ่ กว่ำควำมเป็นจรงิ  เรียกรับสนิ บนโดยใช้ตวั กลำง เกบ็ คำ่ ใชจ้ ่ำยรำยเดอื น (ค่ำคุม้ ครอง) จำกผปู้ ระกอบกำร  พนกั งำน เจ้ำหน้ำที่หรือลกู จำ้ งเหมำของหนว่ ยงำนเปน็ ตวั แทนกำรยืน่ คำขอจดทะเบยี น ในกำร ขออนมุ ตั ิ อนญุ ำต โดยเรยี กรบั ผลประโยชนห์ รือเรยี กเกบ็ ค่ำธรรมเนียมเพือ่ สทิ ธพิ เิ ศษ  กำรดำเนินกำรยน่ื คำขออนญุ ำต ไมม่ กี รอบระยะเวลำกำหนดที่ชดั เจนอำจกอ่ ให้เกดิ กำรเรยี กรบั สนิ บนเพอื่ ควำมรวดเรว็ ในกำรพิจำรณำอนมุ ตั ิ อนญุ ำต  กำรเปิดตรวจสินค้ำของเจ้ำหน้ำทีแ่ ต่ละคน ใชด้ ลุ พนิ ิจไมเ่ ปน็ มำตรฐำนเดียวกัน  กำรใชด้ ลุ พนิ จิ ในกำรตรวจสอบควำมครบถ้วนของเอกสำรไมเ่ ปน็ มำตรฐำนเดยี วกัน  กำรตรวจเอกสำรไมค่ รบถ้วนตำมท่ีระบุไวใ้ นคำขอ แต่มีกำรรบั เร่ืองไว้  กำรเกบ็ เร่ืองไว้ไมแ่ จง้ ผู้ประกอบกำร เพ่อื เรยี กรบั ผลประโยชน์  กำรพิจำรณำตรวจสอบและเสนอควำมเห็นของกำรอนมุ ัติ อนุญำต ไม่ดำเนินกำรตำมลำดับคำขอ  เจำ้ หน้ำที่มกี ำรยกเลิกใบเสร็จรับเงินในระบบทำให้กำรรำยงำนกำรรับเงินประจำวันน้อยกว่ำ ที่รบั ไวจ้ ริง/รบั เงนิ และออกใบเสร็จกำรรับเงินแล้วแตไ่ ม่นำเงนิ สด เช็ค นำฝำกธนำคำรในวนั นน้ั แต่นำฝำกในภำยหลัง และอำจนำเงนิ ไปใชส้ ว่ นตวั กอ่ น  ในขน้ั ตอนกำรพจิ ำรณำตรวจสอบตำมปกตจิ ะมีกำรใช้เวลำในกำรพจิ ำรณำตรวจสอบ ๑ วนั แตใ่ นบำงกรณีอำจมคี วำมจำเป็นจะตอ้ งทำกำรพจิ ำรณำเกิน ๑ วันทำกำร เชน่ กรณมี คี วำม จำเป็นตอ้ งมกี ำรนดั หมำยกบั ผ้ขู อรับใบอนุญำตเพื่อลงพ้ืนทที่ ำกำรตรวจสอบสถำนประกอบกำร กอ่ นพิจำรณำ ออกใบอนญุ ำต มีควำมเส่ียงที่เจ้ำหนำ้ ท่ีอำจอำศัยชอ่ งว่ำงหรือแสวงหำประโยชน์ โดยมชิ อบ อำจเรียกรบั ในข้ันตอนของกำรพิจำรณำ  กำรดำเนินกำรออกคำร้องมกี ำรลดั ควิ ให้กับลูกค้ำกลมุ่ ธุรกจิ  รบั สินบนจำกลกู คำ้ เพื่อให้ตรวจผำ่ นมำตรฐำน  กำรตรวจสอบสถำนทตี่ ้งั ทีข่ ออนุญำตประกอบกจิ กำร อำจมกี ำรเออ้ื ประโยชนใ์ ห้กบั ผู้ขออนุญำต บำงรำยในกรณีที่ตั้งสถำนประกอบกำร ไม่เปน็ ไปตำมหลกั เกณฑ์  กำรส่มุ ตรวจสอบสถำนทีต่ งั้ สถำนบรกิ ำร/สถำนประกอบกำรทขี่ ออนุญำต อำจมกี ำรเอื้อประโยชน์ ใหก้ ับผ้ขู ออนญุ ำตบำงรำยทไี่ มเ่ ปน็ ไปตำมหลกั เกณฑ์  กำรพิจำรณำอนุมตั ิ อนญุ ำต อำจมีคณะกรรมกำรบำงท่ำนเอื้อประโยชน์ใหก้ บั ผู้ขออนุญำตบำงรำย ทค่ี ณุ สมบตั ไิ ม่ถูกต้องครบถ้วนตำมหลกั เกณฑ์

- ๒๐ -  เจ้ำหน้ำท่ีของรัฐทำกำรกำรปลอมแปลงเอกสำรกำรเบิกจำ่ ย เชน่ ปลอมลำยมอื ชื่อ แก้ไขแบบ สำรวจ แกไ้ ขใบสำคญั รับเงิน มกี ำรใช้หลกั ฐำนเทจ็ ใชบ้ ตั รประชำชนของบุคคลท่เี สยี ชวี ิตหรือ บัตรประชำชนหมดอำยุ เปน็ ตน้ ๒. ตวั อยา่ ง รปู แบบความเสีย่ งการทจุ รติ ในความโปร่งใสของการใช้อานาจและตาแหนง่ หนา้ ท่ี  กำรเขำ้ ตรวจ หรือเยยี่ ม สถำนทขี่ องผู้ประกอบกำร เช่น โรงงำน รำ้ นค้ำ ฯลฯ โดยมเี จตนำ นำไปสู่ กำรจ่ำยเงินพเิ ศษรำยเดือน  กำรเปล่ียนแปลงข้อกล่ำวหำ (ฐำนควำมผิด) จำกหนกั เป็นเบำ หรอื จำกเบำเปน็ หนกั  กำรบดิ ผนั ข้อเทจ็ จรงิ ในสำนวนกำรสอบสวนคดีอำญำ  กำรทำบัตรสนเทห่ ์ว่ำมีเรื่องร้องเรยี นผูป้ ระกอบกำรเพื่อทำกำรตรวจ ค้น กรณีผู้ประกอบกำร รำ้ นค้ำนัน้ ๆ ทไี่ มจ่ ่ำยเงินพิเศษรำยเดือน  กำรใชต้ ัวกลำงในกำรรบั เงินพเิ ศษ หรอื เก็บเงนิ รำยเดอื น กบั ผู้ประกอบกำรตำ่ ง ๆ  กำรใช้ดลุ พินิจในกำร อนุมตั ิ หรือ ยกเว้นระเบียบฯ ท่เี อ้อื ประโยชน์มผี ลประโยชน์ทบั ซ้อน  กำรออกระเบยี บ กฎหมำย ขอ้ สง่ั กำรต่ำงๆ ท่ีเออื้ ประโยชน์ มีผลประโยชนท์ ับซ้อน  กำรให้ทุนสนบั สนุนกำรศึกษำ วจิ ยั ต่ำง ๆ ให้กบั พรรคพวก มรี ะบบเสน้ สำย ระบบอุปถัมภ์  กำรแต่งต้งั คณะกรรมกำร อนกุ รรมกำรต่ำง ๆ ใหก้ บั พรรคพวก มรี ะบบเสน้ สำย ระบบอุปถมั ภ์  ควำมไมโ่ ปร่งใสในกำรบรหิ ำรงำนบุคคล เช่น กำรช้อื ขำยตำแหนง่ กำรประเมนิ ควำมดีควำมชอบ กำรแตง่ ต้ัง โยกยำ้ ย กำรดำเนินกำรวนิ ัย เปน็ ต้น  กำรเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ เพ่ือรับพนักงำนเข้ำทำงำน/กำรเรียกเงินค่ำแรกเข้ำ (แป๊ะเจ๊ียะ) เพอ่ื แลกกับกำรเขำ้ เรียนในโรงเรียน  ใช้อำนำจในกำรแจกจ่ำย จดั สรรงบประมำณ ลงพ้ืนท่ี หรือจดั ทำโครงกำร ทมี่ ผี ลประโยชน์ทบั ซ้อน หรอื มกี ำรแลกรบั ผลประโยชน์ในภำยหลัง  กำรประเมนิ รำคำไมต่ รงกับสภำพทรัพย์สนิ ทีน่ ำมำจำนำ  กำรเปลย่ี นทรัพย์สินทล่ี กู คำ้ นำมำจำนำ  กำรยักยอกทรัพยส์ ินทีไ่ ด้จำกกำรตรวจคน้ จับกุม ไม่ระบใุ นบัญชีของกลำง  กำรลดปริมำณของกลำงเพือ่ ลดโทษ เพือ่ เรยี กรับผลประโยชน์  กำรกรรโชก (รีดไถ) เรยี กเอำทรัพย์จำกผู้กระทำควำมผิด  กำรเขำ้ ตรวจคน้ ปกปิด ซอ่ นเรน้ ไมม่ หี มำยคน้  กำรทำรำ้ ยรำ่ งกำยเพอ่ื ให้รับสำรภำพ  ร้เู ห็นกบั ผู้ที่มำทำกำรประมูลของหลุดจำนำ มีกำรใหข้ อ้ มลู กำรจำหน่ำยของหลุดจำนำล่วงหน้ำ กับพรรคพวกของตนเอง  กำรแอบอำ้ งชือ่ บคุ คลอนื่ หรอื ช่อื ลกู ค้ำ ยักยอกทรพั ย์สนิ จำนำออกไป  เจ้ำหนำ้ ทข่ี องรัฐ รู้เห็นในกำรปลอมแปลงและใช้เอกสำรปลอม เช่น กำรปลอมระวำงแผนที่ มีกำร ปกปดิ และให้ถ้อยคำรบั รองอนั เป็นเทจ็ เก่ียวกับสภำพทดี่ ิน  ผบู้ ังคับใช้กฎหมำย นำตัวบทกฎหมำยไปแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบ

- ๒๑ - ๓. ตัวอย่าง รูปแบบความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหาร จัดการทรพั ยากรภาครัฐ  ผใู้ ชน้ ้ำมนั รถยนต์รำชกำร นำนำ้ มนั ไปใชส้ ่วนตวั เชน่ กำรดูดน้ำมันไปใชส้ ่วนตัวระหวำ่ งทำง หรือเติม น้ำมันไม่ครบตำมใบส่งั จำ่ ย สว่ นนำ้ มนั ท่ีเหลือนำใส่ถังหรือทอนเปน็ เงนิ สด โดยเจำ้ หน้ำท่รี ่วมมือกับ ผู้ประกอบกำร  เบิกเงินรำชกำรตำมสิทธิเปน็ เทจ็ เชน่ คำ่ ลว่ งเวลำ คำ่ เช่ำบำ้ น คำ่ เบีย้ เลย้ี ง คำ่ พำหนะ ค่ำทพี่ กั  ยกั ยอกเงนิ หลวง ปลอมแปลงเอกสำรในกำรเบกิ จำ่ ย  กำรสืบรำคำที่กำหนดวำ่ ต้อง ๓ รำย ข้นึ ไป อำจไมม่ ีกำรสืบรำคำจำกผู้ประกอบกำรจริง  ในกำรกำหนด TOR กำรจัดชื้อ จัดจ้ำง กำรจ้ำงท่ีปรึกษำ กำรออกแบบโครงสรำ้ ง มกี ำรกำหนด ขอบเขตงำน หรอื เน้ืองำน ทเี่ กินควำมจำเป็น (Over Designs) เพือ่ ใหม้ ีกำรประมำณกำรรำคำ ในสว่ นนีโ้ ดยมผี ลประโยชนท์ ับซอ้ น  คณะกรรมกำรกำกับกำรจำ้ งท่ีปรกึ ษำ /คณะกรรมกำรตรวจรับงำน มกี ำรตรวจรบั ในแต่ละงวดงำน หลำยครงั้ เกินควำมจรงิ เพ่ือประโยชนใ์ นกำรเบิกคำ่ เบ้ียประชมุ หรอื มีกำรถ่วงเวลำในกำรเรยี กรับ ท้ังท่ีไม่มีประเด็นท่ีเป็นสำระสำคญั  คณะกรรมกำร หรอื อนุกรรมกำรตำ่ ง ๆ ของหนว่ ยงำนมีกำรประชมุ ทเี่ กินควำมจำเป็นเพ่ือประโยชน์ ในกำรเบิกคำ่ เบี้ยประชมุ  กำรจดั โครงกำรต่ำง ๆ ของหนว่ ยงำนท่ีแอบแฝง หรือท่เี กนิ ควำมจำเปน็ ทำให้กำรใชจ้ ่ำย งบประมำณท่ีไมค่ ุ้มคำ่ โปร่งใส  มีกำรใชด้ ลุ พินจิ ในเบิกจ่ำยค่ำวทิ ยำกรบคุ คลภำยนอก ท่สี งู โดยมีผลประโยชน์แอบแฝง  กำรกำหนดรำคำกลำงไม่ใช้ค่ำ K มำปรับ  ผรู้ ับจำ้ งขออนมุ ตั ิใชว้ สั ดุ แตไ่ มไ่ ด้นำวัสดุท่ีขออนมุ ตั ิมำใช้  ผู้รับจำ้ งปลอ่ ยปละละเลยใหผ้ ูร้ ับจ้ำงเหมำชว่ ง  มีกำรล็อกสเปควสั ดุทท่ี ำใหไ้ ม่เกดิ กำรแขง่ ขัน  กำรตรวจกำรจำ้ งไม่ตรงตำมรูปแบบรำชกำรโดยมกี ำรรบั เงินหรือผลประโยชน์จำกผู้รบั จำ้ ง  คณะกรรมกำร ไม่ได้ออกไปดูสถำนท่กี ่อสร้ำง แต่จะมีกำรเจรจำกับผ้รู บั เหมำโดยใชข้ ้อมูลตำมท่ี ผ้รู ับเหมำแจง้ แลว้ จึงไปทำกำรตรวจรบั งำนก่อสร้ำง  มีกำรให้สินบน/ของขวญั /สินน้ำใจ/กำรเลี้ยงรับรอง ซงึ่ จะนำไปสูก่ ำรเอื้อประโยชนใ์ หก้ ับคสู่ ัญญำ  มีกำรประสำนกับบริษัท หรือผู้ที่จะมำเป็นคู่สัญญำต้ังแต่เริ่มต้น เพ่ือกำหนดกำหนดคุณลักษณะ (TOR) ซ่ึงไม่มีกำรกำหนดข้ึนอย่ำงแท้จริงแต่เป็นกำรนำร่ำง TOR ดังกล่ำวมำให้คณะกรรมกำรเป็น ผู้กำหนด กำรแต่งต้ังคณะกรรมกำรกำหนด TOR เป็นเพียงกำรดำเนินกำรตำมรูปแบบของทำงรำชกำร เพ่อื เอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน  การใช้ดุลพินิจในการเลอื กวิธีการจดั ชื้อจดั จา้ งและผรู้ ับจา้ งโดยวิธพี ิเศษ ******************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook