Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PowerPoint ศาสนาพุทธ

PowerPoint ศาสนาพุทธ

Published by Yaowalak, 2022-01-15 01:13:10

Description: PowerPoint ศาสนาพุทธ

Search

Read the Text Version

BUDDHISM ศาสนาพทุ ธ

ความหมายของ “พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ” คื อ ค า ส่ั ง ส อ น ข อ ง พระพทุ ธศาสนา พระพุทธเจ้าคร้ังพุทธกาล เม่ือพระพุทธเจ้า ตรัสรู้ พระพุทธศาสนายังไม่ถือกาเนิดขึ้น จน อีกสองเดือนต่อมาเมื่อทรงแสดงพระธรรม เทศนาคร้ังแรก (ธัมมจักกัปปวัตตนสตู ร)

ความหมายของ จึงทาให้เกิดพระพุทธศาสนาข้ึน และมีผู้ฟัง หรือ พระพทุ ธศาสนา สาวก (“สาวก” แปลว่าผู้ฟัง ผู้ฟังคาสั่งสอน ศิษย์ คาคกู่ ับ “สาวกิ า” คือ ผู้ฟังหรือศิษย์ฝ่ายหญงิ ) กบั หมู่ชนท่ีนับถือพระพุทธศาสนา เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พุทธบริษัท มี ๔ ชนิด คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อบุ าสิกา

ความหมายของ ซ่ึงเม่อื ได้ฟงั พระธรรมเทศนาแล้วก็นาไปปฏิบัติตาม ต่อมา พระพทุ ธศาสนา เม่ือมีผู้ฟัง และผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เป็นจานวนมาก ก็มีการจัดต้ังเป็นชุมชน เป็นสถาบัน เป็น องค์กร เพื่อรับผิดชอบดูแลการเรียนและการปฏิบัติ ตลอดจนมี ศาสนพิธี ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และกิจการ ต่าง ๆ ความหมายของพระพุทธศาสนาจึงขยายกว้าง ออกไปครอบคลุมสิ่งต่างๆ เหลา่ น้ีด้วย

ความเปน็ มาของ พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพทุ ธ เป็นศาสนาท่ี พระพุทธศาสนา มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมท่ีพระองค์ตรัสรู้ ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคาสอน สาคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออก บวชเพ่ือศึกษาปฏิบัติตนตามคาส่ังสอนธรรม-วินัย ของ พระบรมศาสดา เพ่ือบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพ่ือสืบทอดคาสอนของพระ บรมศาสดา รวมเรียกวา่ พระรัตนตรัย

ความเปน็ มาของ ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ พระพุทธศาสนา ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเช่ือในศักยภาพของ มนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ี สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทา ของตน ตามกฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจาก พระเป็นเจ้าและส่ิงศักด์ิสิทธ์ินอกกาย คือ ให้พ่ึงตนเอง เพ่ือ พาตวั เองออกจากกองทุกข์

ความเปน็ มาของ มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจาก พระพุทธศาสนา ความทุกข์ทั้งปวงในโลกดว้ ยวิธกี ารสร้าง ปญั ญา ในการ อยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนาคือการหลุดพ้นจากความ ทุกขท์ ัง้ ปวงและวฏั จกั รการเวยี นวา่ ยตายเกดิ

ความเปน็ มาของ ปัจจุบันศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทั่วโลก โดยมี พระพุทธศาสนา จานวนผู้นับถือส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย ท้ังในเอเชีย กลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันศาสนาพุทธ ได้มีผู้นับถือกระจายไปทั่วโลก ประมาณ ๗๐๐ ล้านคนด้วยมีผู้นับถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจงึ เป็นศาสนาสากล

องคป์ ระกอบของศาสนาพทุ ธ

๑.ศาสดา ศาสดาของศาสนาพุทธ คือ พระโคตมพุทธเจ้า มี พระนามเดิมวา่ เจา้ ชายสทิ ธัตถะ ประสูตใิ นดินแดน ชมพทู วีป ตรงกับวนั ขน้ึ ๑๕ ค่า เดอื น ๖ ๘๐ปีก่อน พุทธศักราช ณ สวนลุมพินีวัน เจ้าชายสิทธัตถะผู้ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระ นางสิริมหามายา ทรงดารงตาแหนง่ รชั ทายาท ผู้สืบ ทอดราชบลั ลังก์กรงุ กบิลพัสด์ุแห่งแคว้นสักกะ และ เมื่อพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงยโสธราแห่งเมืองเทวทหะ ต่อมาเมื่อ พระชนมายุ ๒๙ พรรษา มีพระโอรส ๑ พระองค์ พระนามว่า ราหุล

เสดจ็ ออกผนวช ในปเี ดยี วกนั พระองคท์ อดพระเนตรเทวทูต ท้ังสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ จึงทรง ตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นสมณะ เพ่ือแสวงหา ความหลุดพ้นจากทุกข์ คือ ความแก่ เจ็บ และตาย ในปีเดียวกันนั้น ณ ริมฝ่ังแม่น้าอโนมานที และ หลังจากออกผนวชมา ๖ พรรษา ทรงประกาศการ ค้นพบว่าการหลุดพ้นจากทุกข์ทาได้ด้วยการฝึกจิต ด้วยการเจริญสติ ประกอบด้วยศีล สมาธิ และ ปญั ญา จนสามารถรูท้ ุกสิง่ ตามความเป็นจรงิ วา่ เป็น ทุกข์เพราะสรรพส่ิงไม่สมบูรณ์ ไม่แน่นอน และ บังคับใหเ้ ปน็ ด่งั ใจไม่ได้ จนไมเ่ ห็นสิ่งใดควรยึดมั่นถือ มั่นหลดุ พ้นจากกเิ ลสทัง้ ปวง

ทรงบรรลพุ ระอนตุ ตรสมั มาสัมโพธญิ าณ จวบจนได้ทรงบรรลุพระอนุตตรสัมมา สัมโพธิญาณ คือ การตรัสรู้ อริยสัจ ๔ ขณะมี พระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา ท่ีใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม จากนัน้ พระองคไ์ ด้ออก ประกาศส่ิงที่พระองค์ตรัสรู้ตลอดพระชนม์ชีพ เป็นเวลากว่า ๔๕ พรรษา ทาให้ศาสนาพุทธ ดารงมั่นคงในฐานะศาสนาอันดับหน่ึงอยู่ใน ชมพูทวีปตอนเหนือ จวบจนพระองค์ได้เสด็จ ปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ณ สาลวโนทยาน (ในวนั ขึน้ ๑๕ ค่าเดอื น ๖)

๒.หลกั ธรรมคาสอน ศาสนาทุกศาสนามีหลักธรรมคาสอนเป็น เคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจของศาสนิกชน โดยทุก ศาสนามีเป้าหมายเดียวกันคือ “มุ่งให้ทุกคน มีธรรมะ มีคุณธรรม และสอนให้คนเป็นคนดี” ดังนั้น ศาสนาแต่ละศาสนาจึงมีหลักธรรมคาสอน ของตนเอง เปน็ แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ศ า ส น า พุ ท ธ มี ห ลั ก ธ ร ร ม ค า ส อ น ที่ พุทธศาสนิกชนยึดถือและใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินชีวิตหลายประการ ได้แก่ อริยสัจ๔ ทิศ๖ ธรรมคุณ๖ สัปปุริสธรรม๗ อิทธิบาท๔ อบายมุข ๖ เป็นต้น

อรยิ สจั ๔ ความจริงสุดยอดซ่ึงพระพุทธเจ้าได้ทรง ตรัสรู้และได้แสดงต่อจากโอวาทปาติโมกข์ ความจริงสุดยอดอันประเสริฐ มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑.ทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ทาให้เกดิ ปัญหาแกก่ ารดาเนินชวี ิต ๒.สมทุ ยั หมายถงึ สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ ๓.นโิ รธ หมายถึง ความดบั ทกุ ข์ ๔.มรรค หมายถึง วิธีดับทุกข์ เป็นแนวทาง ปฏิบัติเพ่อื ท่จี ะละตัณหาซงึ่ เปน็ ต้นเหตขุ องทุกข์

มรรค ๘ (แนวทางดับทกุ ข์ มี ๘ ประการ ดังนี้) ๑. สมั มาทิฐิ (ความเหน็ ชอบ) ๒. สัมมาสงั กปั ปะ (ความดารชิ อบ) ๓. สมั มาวาจา (วาจาชอบ) ๔. สัมมากมั มนั ตะ (การกระทาชอบ) ๕. สัมมาอาชีวะ (การเลยี้ งชีวิตชอบ) ๖. สมั มาวายามะ (ความเพยี รชอบ) ๗. สัมมาสติ (ความระลึกชอบ) ๘. สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจชอบ)

ทศิ ๖ ทิศ ๖ หรือการปฏิบัติชอบระหว่างบุคคลผู้มี อปุ การะคุณต่อกัน ๖ พวก คอื ๑.ปุรัตถิมทิส (ทิศเบ้ืองหน้า) คือ บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย และผู้มีอุปการะอ่ืนๆที่เล้ียงดูเรามา ในเบอื้ งหน้า ๒.ทักขิณทิส (ทิศเบื้องขวา) คือ ครูบาอาจารย์ที่ พร่าสอนวชิ าในเบ้อื งขวา ๓.ปัจฉิมทิส (ทิศเบื้องหลัง) คือ บุตร ผู้เป็นทา ญาติ ภรรยา และสามี ผู้เป็นคู่ชีวิต ท่ีคอยให้ กาลังใจในเบือ้ งขวา

ทศิ ๖ ๔.อุตตรทิส (ทิศเบื้องซ้าย) คือ มิตรสหายท่ี คอยช่วยเหลือคร้ันเม่ือตกทุกข์ได้ยากในเบ้ือง ซ้าย ๕.อุปริมทิส (ทิศเบื้อล่าง) คือ บริวารหรือผู้รับ ใช้ที่คอยปรนนบิ ตั ิในเบื้องล่าง ๖.เหฏฐิมทิส (ทิศเบ้ืองบน) คือ สามเณร ภิกษุ ภิกษุณีผู้มีศีลอันสูงกว่าที่คอยพร่าสอนธรรมใน เบอ้ื งบน

สปั ปรุ ิสธรรม ๗ สัปปุริสธรรม ๗ คือ หลักธรรมของคนดีหรือ หลักธรรมของสัตตบุรษุ ๗ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ธัมมัญญตุ า (รู้จักเหตุ) ๒. อัตถัญญุตา (รู้จกั ผล) ๓. อตั ตัญญุตา (ร้จู ักตน) ๔. มัตตญั ญุตา (รูจ้ ักพอประมาณ) ๕. กาลญั ญตุ า (ร้จู กั กาลเวลา) ๖. ปริสญั ญุตา (รูจ้ ักปฏิบตั ิ) ๗. บุคคลัญญุตา (รู้จักบคุ คล)

อทิ ธิบาท ๔ อิทธิบาท ๔ คือ หลักธรรมท่ีนาไปสู่ความสาเร็จ แหง่ กิจการ มี ๔ ประการ คือ ๑.ฉนั ทะ คอื ความพอใจ ใฝ่รกั ใฝ่หาความรู้ และ ใฝ่สร้างสรรค์ ๒.วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม มีความอดทนไม่ ท้อถอย ๓.จิตตะ คือ ความเอาใจใส่และต้ังใจแน่วแน่ใน การทางาน ๔.วิมังสา คือ ความหม่ันใช้ปัญญาและสติในการ ตรวจตราและคดิ ไตร่ตรอง

กศุ ลกรรมบท ๑๐ กุศลกรรมบท ๑๐ เป็นหนทางแห่งการทาความดี งาม ทางแห่งกุศลซ่ึงเป็นหนทางนาไปสู่ความสุข ความเจริญ แบ่งออกเป็น ๓ ทางคือ กายกรรม๓ วจีกรรม๔ และมโนกรรม๓ ๑.กายกรรม๓ หมายถึง ความประพฤติดีท่ี แสดงออกทางกาย ๓ ประการ ไดแ้ ก่ (๑) เว้นจากการฆา่ สัตว์ (๒) เว้นจากการลกั ทรพั ย์ (๓) เว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม

กศุ ลกรรมบท ๑๐ ๒.วจกี รรม๓ หมายถึง การเป็นผู้มคี วามประพฤติ ดซี ึ่งแสดงออกทางวาจา ๔ ประการ ได้แก่ (๑) เว้นจากการพูดเท็จ (๒) เว้นจากการพูดสอ่ เสยี ด (๓) เวน้ จากการพูดคาหยาบ (๔) เว้นจากการพดู เพ้อเจอ้ ๓.มโนกรรม ๓ หมายถึง ความประพฤติท่ีเกิดขึ้น ในใจ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ (๑) ไมอ่ ยากได้ของของเขา (๒) ไมพ่ ยาบาทปองร้ายผอู้ ื่น (๓) มีความเห็นท่ีถกู ต้อง

อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ อกุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นหนทางแห่งการทาความ ช่วั ความไมด่ ี ๑๐ ประการ คือ ๑. ปาณาติบาต (การฆ่าสตั ว์ตัดชวี ิต) ๒. อทนิ นาทาน (การลักทรัพย์) ๓. กาเมสุมิจฉาจาร (การประพฤติผดิ ทางกาม) ๔. มุสาวาท (การพดู ปด) ๕. ปสิ ุณวาจา (การพดู ส่อเสยี ด) ๖. ผรสุ วาจา (การพดู คาหยาบ) ๗. สมั ผัปปลาปะ (การพดู เพ้อเจ้อ) ๘. อภิชฌา (ความโลภ) ๙. พยาบาท (ความพยาบาท) ๑๐. มิจฉาทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผิด)

สงั คหวตั ถุ ๔ สังคหวัตถุ ๔ เป็นหลักธรรมคาสอนทางพุทธศาสนาท่ี เปน็ วธิ ปี ฏิบัตเิ พอ่ื ยดึ เหนยี่ วจิตใจคนอ่นื ท่ยี งั ไม่เคยรักใคร่ นับถือ ให้เกิดความรัก ความนับถือ สังคหวัตถุเป็น หลักธรรมทีช่ ว่ ยผูกไมตรซี งึ่ กันและกันให้ แน่นแฟ้นยิ่งข้ึน ประกอบด้วย ๑. ทาน คือ การให้ปันสิ่งของของตนให้แก่ผู้อื่นด้วย ความเตม็ ใจ ๒. ปิยวาจา คอื การเจรจาด้วยถอ้ ยคาไพเราะออ่ นหวาน ๓. อัตถจรยิ า คอื การประพฤตสิ งิ่ ท่เี ปน็ ประโยชน์แก่กัน ๔. สมานัตตา คือ การวางตนเป็นปกติเสมอต้นเสมอ ปลาย

อบายมขุ ๖ อบายมุข ๖ คือ หนทางแห่งความเสื่อม หรือหนทางแห่งความหายนะ ความฉิบ หาย มี ๖ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ๑. การเปน็ นกั เลง ๒. การเปน็ นกั เลงสุรา ๓. การเป็นนักเลงการพนนั ๔. การคบคนชัว่ เปน็ ๕. การเทย่ี วดูการละเล่น ๖. เกียจครา้ นทาการงาน

เบญจศลี เบญจธรรม เบญจศีล เบญจธรรม คือ หลักธรรมที่ควร ปฏิบัติควบคู่กัน มุ่งให้บุคคลทาความดี ละ เวน้ ความช่ัว เบญจศลี (สิง่ ที่ควรละเวน้ ) ๑.เว้นจากการฆ่าสัตว์ ๒.เว้นจากการลกั ทรัพย์ ๓.เวน้ จากการประพฤตผิ ิดในกาม ๔.เวน้ จากการพดู เท็จ ๕.เว้นจากการเสพของมนึ เมา

เบญจศลี เบญจธรรม เบญจธรรม (สง่ิ ท่คี วรปฏิบตั ิ) ๑. มีความเมตตากรณุ า ๒. ประกอบอาชพี สุจรติ ๓. มีความสารวจในกาม ๔. พดู ความจริง ไม่พดู โกหก ๕. มีสติสัมปชญั ญะ

๓.นกั บวช นักบวช คือผู้เข้าสู่ธรรมวินัย ปฏิบัติตามหลัก พรหมจรรย์คือศีล สมาธิ ปัญญา เพื่ออบรมขัด เกลา ชีวิต มุ่งตร งต่อนิ พ พา น เ รีย ก ภิกษุ บา้ ง สมณะบา้ ง ทาหน้าทอี่ บรมตนและช่วยเหลือ สังคม ศาสนาพุทธเรยี กนักบวชวา่ ๑.ภิกษุ ๒.สามเณร หรือ เณร คือเยาวชนท่ีบวชใน ศาสนา ๓.ภิกษณุ ี หรอื แมช่ ี

ภกิ ษุ ภิกษุ หรือ พระภิกษุ เป็นคาใช้เรียก \"นักบวช ชาย\" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับ ภิกษุณี (นักบวชหญิง) คาว่า ภิกษุ เป็นศัพท์ เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้ เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะท่ัวไปสาหรับทุกศาสนา มี ความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และ สามารถแปลว่า ผเู้ ห็นภยั ในวฏั ฏสงสาร

สามเณร สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ,หน่อ เนื้อของสมณะ หมายถึงนักบวชชายใน พระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับ การอุปสมบทเปน็ พระภิกษุ

ภกิ ษณุ ี ภิกษุณี เป็นคาใช้เรียกนักพรตหญิงในศาสนา พุ ท ธ คู่ กั บ ภิ ก ษุ ท่ี ห ม า ย ถึ ง นั ก พ ร ต ช า ย ใ น พระพุทธศาสนา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการต้ังวงศ์ภิกษุณีเถรวาทขึ้นใน ประเทศไทย การท่ีอุบาสิกาที่มีศรัทธาโกนศีรษะ นุ่งขาวห่มขาว ถือปฏบิ ัติศีล ๘ (อุโบสถศีล) ซ่ึง เรียกโดยท่ัวไปว่า แม่ชี เป็นการผ่อนผันผู้หญิงท่ี ศรัทธาจะออกบวชเป็นภิกษุณีเถรวาท แต่ไม่ สามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีเถรวาทได้โดยส่วน ใหญ่แม่ชีเหล่าน้ีจะอยู่ในสานักวัดซ่ึงแยกเป็น เอกเทศจากกฏุ สิ งฆ์

๔.พทุ ธศาสนกิ ชน พุทธศาสนิกชน คือ คนที่นับถือศาสนา พุทธ เรียกอีกอย่างว่า พุทธมามกะ ซ่ึง หมายถึง ผู้ประกาศตนว่าพระพุทธเจ้า เปน็ พระบรมศาสดาของตน

๔.พทุ ธศาสนกิ ชน พุทธศาสนิกชน หมายถึง คนที่ยินดีที่จะปฏิบัติ ตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา เต็มใจท่ีจะ ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม คือ เวน้ จากการทาความชั่ว ทาแต่ความดี และทาจิตใจให้หมดจดจาก กิเลส ด้วยการบาเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา เช่น ให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา เพ่ือขัด เกลา อบรม บ่มเพาะกาย วาจา ใจให้งดงาม เรียบร้อย ให้สงบน่ิง และให้พ้นจากความเศร้า หมองตา่ งๆ

๕.ศาสนสถาน พุทธศาสนสถาน แปลว่า สถานท่ี หรือส่ิงก่อสร้าง ซ่ึงสร้างข้ึนเพ่ือใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนา ได้แก่ สานักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และสถูป เป็นต้น เป็นสถานที่ ซึ่งใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พานักของ พระภิกษุ เและเป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึงคุณพระ รัตนตรัย ซ่ึงพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และรว่ มกจิ กรรมต่างๆ

๕.ศาสนสถาน วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคาเรียกศาสนสถาน ของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และ ลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจ ของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรยี ญ ซึง่ ใชส้ าหรบั ประกอบศาสนพธิ ี ต่างๆ เช่น การเวยี นเทียน การสวดมนต์ การทา สมาธิ

๕.ศาสนสถาน วิหารตามความหมายในทางพุทธศาสนา หมายถึง ท่ีพักอาศัยในป่า กระท่อม ที่อยู่ อาศัย ท่ีพัก กุฏิ (สาหรับพระภิกษุ) สถานท่ี ประชุมของภิกษุ ตึกใหญ่สาหรับภิกษุ ท้งั หลายอยู่อาศยั วหิ าร และวัด เป็นต้น

๕.ศาสนสถาน อุโบสถ ถือเป็นอาคารที่สาคัญภายในวัดเน่ืองจาก เป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทาสังฆกรรม ซึ่งแต่ เดิมในการทาสังฆกรรมของพระภิกษุสงฆ์จะใช้ เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่กาหนดขอบเขตพื้นท่ีสังฆกรรม โดยการกาหนดตาแหน่ง“สีมา”เท่าน้ัน แต่ใน ปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากข้ึน อีกท้ังภายใน พระ อุ โ บ ส ถ มั ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ ป ร ะ ธ า น ที่ เ ป็ น พระพุทธรูปองค์สาคัญๆ ทาให้มีผู้มาสักการบูชา และร่วมทาบุญเป็นจานวนมาก พระอุโบสถจึงถูก ส ร้ า ง ขึ้ น เ ป็ น อ า ค า ร ถ า ว ร แ ล ะ มั ก มี ก า ร ป ร ะ ดั บ ตกแตง่ อยา่ งสวยงาม

๕.ศาสนสถาน เจดีย์ หรือ สถูป หมายถึงส่ิงก่อสร้างหรือส่ิงของที่ สร้างขึ้น เพ่ือเป็นที่ระลึกถึงและเคารพบูชา เจดีย์ เป็นส่ิงก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างข้ึนเพ่ือ บรรจอุ ฐั ิธาตุของผทู้ ี่ล่วงลับไปแล้ว เพ่ือให้ลูกหลาน และผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคล ท่ีควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพ่ือเป็นที่สักการะของ มหาชนอยู่เพียง ๔ พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหนั ตสาวก และพระเจา้ จกั รพรรดิ์

๖.พธิ ีกรรม พธิ ีกรรมวนั มาฆบูชา วันมาฆบูชา ตรงกับวันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๓ เป็นวัน ราลึกเหตุการณ์ “จาตุรงค์สันนิบาต” คือ การ ประชุมท่ปี ระกอบด้วยองค์ ๔ ไดแ้ ก่ หนึ่ง วันน้ันเป็น วันเพ็ญเต็มดวงเสวยมาฆฤกษ์ สอง พระภิกษุสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย สาม พระภิกษุสงฆ์เหล่านั้น ล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรง อภญิ ญาทั้งสิ้น และส่ี พระอรหนั ต์เหล่าน้นั ล้วนเปน็ ผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยตรง หรอื เรยี กว่า “เอหิภิกขอุ ุปสัมปทา” ทัง้ ส้ิน

พธิ ีกรรมวันมาฆบชู า การปฏิบัตพิ ิธกี รรมสาหรบั พุทธศาสนิกชน ๑. ทาบุญ ตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รกั ษาอุโบสถศลี ๒. รว่ มการเวยี นเทียน ๓. ศึกษาหลักธรรมในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ซึ่งเป็นพระ สตู รแรกทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงขนึ้ ในโลก

พธิ ีกรรมวันวิสาขบูชา วิสาขบูชา การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ตรงกับวันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ เป็นวัน คล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า

พธิ ีกรรมวันวิสาขบูชา การปฏิบตั ิพิธกี รรมสาหรบั พทุ ธศาสนกิ ชน ๑. ทาบุญ ตักบาตร ฟงั พระธรรมเทศนา ตอนเช้า ๒. ตอนค่ารว่ มการเวียนเทียน ๓. ทาวตั รสวดมนต์ และฟังพระธรรม เทศนาต่อไปจนเสร็จพธิ ี

พธิ ีกรรมวันอฏั ฐมีบชู า วันอัฏฐมีบูชา คือวันถวายพระเพลิงพระ พทุ ธสรีระของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ ๘ วัน ถือ เป็นวันสาคัญในพระพุทธศาสนาวันหน่ึง ตรงกับวันแรม ๘ ค่า เดือนวิสาขะ (เดือน ๖ ของไทย)

พธิ ีกรรมวันอฏั ฐมีบชู า การปฏบิ ตั พิ ิธกี รรมสาหรับพทุ ธศาสนิกชน ๑. การใหท้ าน ถวายภตั ตาหารแดพ่ ระภกิ ษุ สามเณรในชว่ งเชา้ หรอื เพล รักษาศีล สารวม ระวงั กายและวาจาด้วยการรกั ษาศลี ๕ หรอื ศลี ๘ เจริญภาวนา บาเพญ็ ภาวนาดว้ ยการ ไหวพ้ ระสวดมนตแ์ ละปฏิบัตสิ มาธแิ ละ วิปัสสนาตามแนวสตปิ ฏั ฐาน ๒. เวียนเทียน การเวียนเทียนเป็นการบูชา พระรตั นตรัยดว้ ยอามสิ บชู าและปฏบิ ตั บิ ูชา

พธิ ีกรรมวันอาสาฬหบชู า วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๘ หรือราวเดือนกรกฎาคม ซ่ึงเป็นวัน พระจันทร์เสวยอาสาฬหฤกษ์ แต่หากตรงกับ ปีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน วัน อาสาฬหบูชาจะเล่ือนไปเป็นวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๘ หลัง ตกในราวเดือนกรกฎาคม ปลายๆ เดือน

พธิ กี รรมวนั ธรรมสวนะ วันธรรมสวนะ คือวันกาหนดประชุมฟังธรรม ของพุทธบริษัท ท่ีเรียกเป็นคาสามัญ โดยท่ัวไป ว่า “วันพระ” เป็นประเพณีนิยมของพุทธ บริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเน่ืองกันมาแล้วแต่คร้ัง พุทธกาล โดยถือว่าการฟังธรรมตามกาล ที่ กาหนดเป็นประจาไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญา และสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรม สวนานสิ งส์อยู่เสมอ

พธิ ีกรรมวันธรรมสวนะ วันกาหนดฟังธรรมนี้ พระพุทธเจ้าทรงปัญญัติไว้ใน เดือนหนึง่ ๆ ทง้ั ข้างข้ึนและข้างแรม รวม ๔ วนั ได้แก่ ๑.วันขึ้น ๘ คา่ ๒.วันขึ้น ๑๕ ค่า ๓.วนั แรม ๘ ค่า ๔.วันแรม ๑๔ หรือ ๑๕ ค่า(หากตรงกับเดือนขาด เป็นแรม ๑๔ ค่า) ของทกุ เดือน วันท้ัง ๔ นี้ ถือกันว่าเป็นวันกาหนดประชุมฟังธรรม โดยปกติ และนิยมเป็นวันรักษาปกติ อุโบสถสาหรับ ฆราวาสผู้ต้องการอบรมกุศลอีกด้วย วันธรรมสวนะนี้ พุ ท ธ บ ริ ษั ท ไ ด้ ป ฏิ บั ติ สื บ เ นื่ อ ง กั น ม า แ ต่ ค รั้ ง ส มั ย พทุ ธกาลจนกระท่งั ปัจจุบัน

พธิ ีกรรมวันเขา้ พรรษา วันเข้าพรรษาในพระพุทธศาสนานั้น เกิดจากสมัย หน่ึงพระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พระภิกษุสงฆ์จึงนาเท่ียวจาริกไปตลอดฤดูกาล แม้แต่ในฤดูฝนก็ยังเที่ยวสัญจรไปมา ทาให้ไป เหยียบย่าข้าวกล้าในนาของชาวเมืองจนเสียหาย ประชาชนพากันติเตียน พระพุทธองค์จึงทรง บัญญัติเป็นธรรมเนียมให้พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่จา พรรษา ๓ เดือน นับตั้งแต่แรม ๑ ค่า เดือน ๘ จนถึงข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ โดยห้ามมิให้ไปพัก ค้าง ณ ทอ่ี น่ื ยกเวน้ มเี หตุจาเปน็

พธิ กี รรมวนั เข้าพรรษา การปฏิบัติพธิ ีกรรมสาหรบั พุทธศาสนกิ ชน ๑. ทาเทียนจานาพรรษา ๒. ถวายผ้าอาบน้าฝน และจตุปัจจัย แก่ พระภกิ ษุสามเณร ๓. ทาบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษา อุโบสถศลี

สญั ลักษณข์ องศาสนาพทุ ธ

สญั ลกั ษณ์ของศาสนาพุทธ ธรรมจักร หมายถึง ล้อแห่งธรรม คือจักร แห่งธรรมอันประเสริฐที่พระพุทธเจ้าได้ทรง หมนุ ใหข้ ับเคลอ่ื นไปในใจของชาวโลก เพื่อให้ ได้ตรัสรู้ธรรมท่ีพระองค์ได้ตรัสรู้นั่นเอง ต่อมา รูปธรรมจักร จึงถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนา ตามธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ซ่ึงเป็นปฐมเทศนาของพระองค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook