Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏฺิบัติการ 63

แผนปฏฺิบัติการ 63

Published by Supaporn Wangleatpanit, 2019-10-28 22:36:09

Description: แผนปฏฺิบัติการ 63

Search

Read the Text Version

ขอ้ มูลพนื้ ฐาน 1.1ความเปน็ มา ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป 1. ชอ่ื หอ้ งสมดุ ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบรุ ี 2. สถานทต่ี ้งั ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี ถนนแสงชูโต ตาบลบา้ นเหนอื อาเภอเมือง กาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี โทรศัพท์ 034 - 512451 โทรสาร 034 – 623290 E-mail : Face book : หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี ลกั ษณะอาคาร  เอกเทศ  อยูร่ ่วมกบั ศบอ.  เช่า สังกดั กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี สานักงาน กศน. จงั หวดั กาญจนบรุ ี สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ แผนทีอ่ าเภอเมอื งกาญจนบรุ ี หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 1

ประวัติห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี ได้เริ่มเปิดให้บริการแกป่ ระชาชนมาตั้งแต่ วนั ท่ี 24 มิถุนายน 2494 โดยได้เช่าห้องแถวในตลาดกาญจนบุรีเปิดเป็นท่ีทาการห้องสมุด ปี พ.ศ.2496 กองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญ ศึกษา ไดจ้ ัดสรรเงินงบประมาณ 30,000 บาท เพือ่ ให้จัดสร้างอาคารห้องสมุดเป็นเอกเทศ จงั หวดั กาญจนบุรี ได้ ดาเนนิ การจัดสร้างเป็นอาคารไมช้ ั้นเดยี ว ขนาด 11 × 24 เมตร ที่บรเิ วณดา้ นหน้าโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จนถึง ปี พ.ศ. 2513 โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์มีความประสงค์ท่ีจะใช้ท่ีดินตรงตัวอาคารของห้องสมุดฯ สร้างเป็น หอประชุมโรงเรียน ในขณะน้ันจังหวัดมีนโยบายที่จะรวมสถานที่ทางานของ “ ห้องสมุด ” และที่ทางานของ “ หน่วยศึกษานิเทศก์ ” ให้อยู่ในอาคารเดียวกันและเรียกใหม่ว่า “ ศูนย์วิชาการ” รวมอยู่ในตึกหลังคาเดียวกัน ดังน้ันจึงได้มีการจัดสร้างอาคารข้ึนใหม่เป็นตึก 2 ชั้นบริเวณท่ีดินราชพัสดุ ( สนามหน้าโรงเรียนกระดาษไทย อนุเคราะหห์ รือโรงเรียนเทศบาล 5 ) ในปัจจุบันตึกหลงั น้ีก็คอื ทีท่ าการสานักงานประถมศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี เงินท่ีใช้ในการก่อสร้างนั้นก็ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานสลากกินแบ่ง เงินเพ่ือบารุงสาธารณประโยชน์และ บารุงการกุศล ภายในจังหวัดของสหกรณอ์ อมทรัพย์ครูกาญจนบุรี เงนิ ช่วยเหลือจากคุรุสภาและบริษัทไทยวัฒนา พาณชิ ย์ จากดั เป็นต้น ต่อมาทางจังหวัดได้จัดหาเงินงบประมาณมาสมทบได้อีกจานวนหน่ึง เมื่อนามารวมกันแล้วได้ประมาณ 1,000,000บาท จึงไดม้ ีการจัดสร้างอาคารหอ้ งสมดุ ข้ึนมาใหมเ่ ป็นอาคารชน้ั เดียวทรงสูงคอนกรตี เสริมเหลก็ โดยมี ขนาด 20 x 20 เมตร การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและห้องสมดุ ไดย้ ้ายเขา้ มาเปิดทาการให้ใช้บริการแก่ประชาชนได้ เมอ่ื วนั ท่ี 9 กนั ยายน พ.ศ. 2522 และไดเ้ ปดิ ทาการมาจนถงึ ปัจจบุ นั ปี พ.ศ. 2537 ได้มีการจัดต้ังศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอและศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดได้หมอบหมายให้ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอยู่ในความดูแลของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอ เมอื งฯ และต่อมาในปี พ.ศ. 2542 หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดไดไ้ ปอย่ใู นความดแู ลของศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี น จังหวัด ( ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด กาญจนบุรี ) จนกระท่ังถึงปจั จุบนั ปี พ.ศ.2551 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรีก็ได้กลับมาอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของศูนย์ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (ซ่งึ ได้เปลีย่ นช่ือจากเดมิ คอื ศนู ยก์ ารศกึ ษา นอกโรงเรียนอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี ) ดงั เดมิ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 2

ทศิ เหนือ พกิ ดั 14.0188223,99.5335356,3a ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั กาชาดจังหวดั กาญจนบรุ ี ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับโรงเรียนเทศบาล 5 (กระดาษไทยอนุเคราะห์) ติดตอ่ กับโรงงานกระดาษไทยอนุเคราะห์ ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับ กศน.ตาบลบ้านเหนอื บุคลากรในหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี 1. นายศักด์ชิ ัย นาคเอยี่ ม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. นางสาวสภุ าภรณ์ หวงั เลศิ พาณชิ ย์ บรรณารกั ษ์ปฏิบตั กิ าร 3. นางสิริกริ ยิ า นาคทองอนิ ทร์ บรรณารกั ษ์ 4. นางอจั ฉรา คงเพชรศกั ดิ์ ครอู าสาสมัคร กศน. แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 3

คณะกรรมการห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี ท่ี ชอื่ - สกลุ ตาแหน่ง ภาพประกอบ 1. พลตรสี าเริง เกิดผล ประธานกรรมการ 2. พนั โทบุญย่ิง คงเกตุ กรรมการ 3. พนั ตารวจเอกชนิ ภทั ร ตันศรสี กุล กรรมการ 4. นายประสิทธ์ิ หนิ ออ่ น กรรมการ 5. นางมนรัตน์ สารภาพ กรรมการ 6. นายสมชาย แสงชัยศรยี ากุล กรรมการ 7. นางสาววรรณา ล้อศิริ กรรมการ 8. นายสขุ นิพล เหลืองพฤษาชาติ กรรมการ 9. นายศกั ดิ์ชัย นาคเอย่ี ม กรรมการทปี่ รกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 4

ท่ี ชื่อ - สกุล ตาแหนง่ ภาพประกอบ 10. นางสาวสุภาภรณ์ หวงั เลศิ พาณชิ ย์ กรรมการและเลขานกุ าร 11. นางสริ กิ ริ ิยา นาคทองอนิ ทร์ ผชู้ ว่ ยกรรมการและ เลขานกุ าร แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 5

บริการยืม-คืน หนงั สือ/สอ่ื ประต่างๆ 1. บริการหนังสือทั่วไป เป็นหนังสือประเภทต่างๆ ท่ีห้องสมุดจัดหาตามความต้องการของประชาชน ซึ่งความต้องการดังกล่าวได้จากการสารวจความคิดเห็น การสังเกต และสถิติการยืมหนังสือของสมาชิกห้องสมุด และมวี ิธีการจดั เกบ็ โดยวิธีการจดั เรียงตามจัดหมวดหมู่ตามระบบทศนยิ มดวิ อี้ และมกี ารนาเอาระบบเช่ือมโยงแหล่ง การเรยี นรู้ มาใชใ้ นระบบการทางานทะเบียนหนังสอื ภายในหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี เพ่ือใหส้ ะดวกและ ง่ายต่อการศกึ ษาคน้ ควา้ และบริการยืม – คนื แกผ่ ูใ้ ชบ้ รกิ ารด้วยระบบ IT เพิ่มมากขึน้ หนงั สอื และสื่อทใี่ หบ้ รกิ ารในหอ้ งสมดุ ประเภทสอ่ื ส่งิ พิมพ์ 1. หนังสอื ท่วั ไป หมวด 000 - 900 จานวน 10,987 เลม่ หมวด จานวน (เล่ม) 000 เบด็ เตล็ด (ความรู้ท่ัวไป) 443 100 ปรัชญา 472 200 ศาสนา 396 300 สังคม 429 400 ภาษา 131 500 วทิ ยาศาสตร์ 118 600 วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ 553 700 ศิลปกรรมและการบนั เทงิ 363 800 วรรณคดี 224 900 ภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ 969 นวนิยาย 1,890 หนงั สือเด็กและเยาวชน 319 อืน่ ๆ 4,680 รวม 10,987 2. หนังสือพิมพ์ จานวน 3 ชอ่ื เรื่อง ไดแ้ ก่ ไทยรัฐ, เดลนิ ิวส์ และ สยามกฬี า 3. วารสารท่ัวไปและวารสารวิชาการ จานวน 28 ช่ือเรือ่ ง เชน่ ชวี จติ , บ้านและสวน ประเภทสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ - ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ สป์ ระเภท CD / DVD เพอื่ การศึกษาและการพัฒนาอาชพี 2,371 เรอื่ ง - คอมพวิ เตอร์ให้บริการ 12 เคร่อื งให้บริการอนิ เตอรเ์ นต็ - โทรทัศน์เพ่อื การศึกษา 1 เครอ่ื ง 2. บริการหนังสืออ้างอิง เป็นหนังสือที่มีราคาและคุณค่า อีกทั้งเป็นหนังสือหายาก จัดพิมพ์ขึ้นเฉพาะ กรณี ไดแ้ ก่ หนงั สอื ประเภทความรูต้ ่างๆ พจนานกุ รม สารานกุ รม อภิธานศัพท์ หนังสือรายปี เปน็ ต้น แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 6

3. บริการมมุ หนังสือเด็กและเยาวชน เพ่ือส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กและเยาวชนผู้เป็นกาลังของ ประเทศชาติ ได้แก่ หนังสอื นทิ าน หนังสือเดก็ สารานกุ รมสาหรับเดก็ และความรทู้ ว่ั ไปทีม่ ีเนือ้ หาเหมาะสาหรับเดก็ 4. บริการวารสาร นติ ยสาร และหนงั สือพิมพ์ เปน็ การบรกิ ารขอ้ มลู ที่ทันสมยั ทนั เหตุการณ์ ท่ผี ้ใู ชน้ ิยมใช้มากทีส่ ดุ มมุ หนึง่ บริการของห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี ซึ่งให้บรกิ ารทั้งวารสาร นติ ยสาร ฉบับปัจจุบันและลว่ งเวลา 5. บริการสื่อทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ การบรกิ ารสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ วิดโี อเทป CD / DVD ซง่ึ ผู้ใช้บรกิ ารสามารถใชบ้ ริการยมื 6. บริการสื่อให้กับบ้านหนังสือชุมชน เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดนิทรรศการของมุมศิลปวัฒนธรรม และแหลง่ เรียนรู้ทีส่ ามารถแสวงหาได้ในทอ้ งถิ่น เปน็ ข้อมลู ความรู้ทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชน หอ้ งสมุด ประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี โดยความรว่ มมอื กับเครือขา่ ยของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อาเภอเมืองกาญจนบุรี รวบรวมข้อมลู ในท้องถ่ินในลักษณะแฟม้ ข้อมูลท้องถิ่นให้บริการศกึ ษาค้นคว้าแก่ประชาชน ทวั่ ไปและผู้สนใจ 7. บรกิ ารป้ายประชาสัมพันธ์นิเทศความรู้ตามอัธยาศัย นาเสนอความรู้ ข่าวสารท่ีทนั สมยั เก่ียวกบั วัน สาคญั ตา่ งๆ เหตุการณ์ทีน่ ่าสนใจ เป็นการพัฒนาส่ือความรทู้ ี่หลากหลายวิธี กระตุ้นให้เกดิ นิสัยรักการอ่าน และการ แสวงหาความรู้ สรา้ งแหล่งความรู้ ท่ีทกุ คนสามารถศกึ ษาค้นควา้ เองได้ตามอัธยาศยั แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี หน้า 7

8. บริการนิทรรศการวันสาคัญ เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านลักษณะหน่ึง ซ่ึงห้องสมุดจัดเป็นส่ือให้ ความรู้หมุนเวียนเคล่ือนไหวตามกระแสยุคสมัยของข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการที่สนใจศึกษาหา ความรตู้ ามอธั ยาศยั ทีส่ อดคล้องความต้องการผใู้ ช้บรกิ ารมากทีส่ ดุ ในบริการหนึง่ ของห้องสมดุ 9. บริการแนะนาหนังสือใหม่ เป็นบริการสาหรับการแนะนาสอื่ ส่ิงพิมพ์ท่ีน่าสนใจ ได้รับเข้ามาใหม่ใน ห้องสมดุ แก่ผใู้ ช้บรกิ าร ซ่ึงผู้สนใจสามารถหยบิ อ่านรายละเอียดเก่ียวกับสง่ิ พมิ พป์ ระเภทนั้นๆ แตไ่ มส่ ามารถยืมออก นอกบรเิ วณในชว่ งเวลาทีแ่ นะนาได้ 10. บริการแหลง่ เรยี นรูก้ ารศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นส่อื ทน่ี ่าสนใจประเภทหน่ึงทใ่ี ห้บริการสอดคลอ้ งกับ ความตอ้ งการของผ้ใู ช้บริการ ซึง่ ห้องสมดุ สามารถผลติ ส่ือได้ดว้ ยความรว่ มมอื ของเครือข่าย และตามคาแนะนาของ ผู้ใชบ้ ริการ จงึ เป็นบริการทสี่ ร้างสีสันกระตุน้ ให้กิจการของหอ้ งสมุดเกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลมากยง่ิ ขึน้ 11. บริการ Internet (Wifi) ฟรี 12. บริการส่ือมัลติมีเดยี โดยให้บริการขา่ วสารความรู้ ขอ้ มูลต่างๆ หลากหลายชอ่ งให้เลือกผา่ นระบบ อินเตอร์เน็ต ภารกิจดา้ นงานบรหิ าร 1. จดั ทาแผนปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนและเสนอแผนพจิ ารณาอนุมตั ิ 2. จัดทาทะเบียนรับ-ส่งหนังสือ 3. ปรับปรุงบริเวณภายใน และภายนอกห้องสมุด 4. จัดหาสอ่ื สงิ่ พิมพแ์ ละส่ือโสตฯ (โดยวธิ ีการจดั ซ้ือและรบั บรจิ าค) 5. ประชาสมั พนั ธ์งานห้องสมดุ 6. สารวจความต้องการของผใู้ ช้บริการ 7. รบั สมคั สมาชิกหอ้ งสมุดใหม่ 8. เปดิ บรกิ ารทกุ วนั จันทร์ – อาทิตย์ 9. ทวงหนังสือคา้ งสง่ 10. จัดเก็บสถติ กิ ารใช้บรกิ าร 11. รายงานผลการดาเนนิ งานหอ้ งสมดุ ภารกิจด้านงานเทคนิค 1. ลงทะเบียนหนังสือ/สอื่ และสื่อโสตฯ 2. ลงทะเบยี นวารสาร/หนงั สือพิมพ์ 3. วิเคราะหห์ มวดหมู่ ลงทะเบยี นหนงั สอื ในโปรแกรม PLS 4. จัดสอ่ื ข้นึ ชน้ั สาหรบั ให้บรกิ าร และดแู ลรักษาการเก็บส่ือให้เรียบรอ้ ย 5. ซอ่ มหนังสอื ทช่ี ารดุ ภารกิจดา้ นกิจกรรมพิเศษ 1. ประสานงาน ใหค้ วามร่วมมอื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ เครอื ข่ายในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 8

ภารกิจด้านงานวชิ าการ 1. ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับการใช้บริการหอ้ งสมุด 2. จดั มมุ อาเซยี นศึกษา 3. จดั ทาคมู่ อื การใช้ห้องสมดุ 4. แผ่นพบั ความรู้ 5. แผ่นพับห้องสมุด 6. บรรณานทิ ศั นห์ นงั สือ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 9

3. จานวนสมาชกิ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 5,227 คน จานวนสมาชิกห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี ประจาปีงบประมาณ 2562 จานวนสมาชิก เพศ ชว่ งอายุ (ระบจุ านวน) หอ้ งสมุด ชาย หญิง 0-14 ปี 15-59 ปี 60 ปีข้นึ ไป 2,798 2,429 970 2,942 1,315 5,227 คน 4. จานวนผใู้ ช้บรกิ าร ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 5,227 คน สถติ ิผเู้ ขา้ ใช้บริการหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี ประจาปงี บประมาณ 2562 ประจาเดอื น จานวนผเู้ ขา้ ใช้บริการ (คน) ตุลาคม 2561 ชาย หญิง รวม พฤศจิกายน 2561 489 385 874/28 ธนั วาคม 2561 442 473 915/31 มกราคม 2562 413 462 875/28 กมุ ภาพันธ์ 2562 475 453 928/30 มนี าคม 2562 431 396 827/30 เมษายน 2562 455 496 951/31 พฤษภาคม 2562 426 481 943/32 มิถนุ ายน 2562 446 492 938/30 กรกฎาคม 2562 442 485 927/31 สงิ หาคม 2562 451 495 946/31 กนั ยายน 2562 445 497 942/30 414 512 929/31 รวม 5,329 5,627 10,995/30 ผู้ใชบ้ ริการเฉลย่ี จานวน 30 คน/วนั แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 10

ตอนที่ 2 ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๑ ปรชั ญา เอกลักษณ์ คิดเปน็ อตั ลกั ษณ์ คิดเป็น เรียนรู้ตลอดชวี ติ คิดเป็น เนน้ คณุ ธรรม นาเทคโนโลยี ๒.๒ วิสัยทัศน์ คนไทยได้รบั โอกาสการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ สามารถดารงชีวิตที่เหมาะสม กับ ชว่ งวยั สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทักษะทจ่ี าเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 ๒.๓ พนั ธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปา้ หมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททาง สังคม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการเรียนรู้อ่ืนใน รปู แบบต่างๆ ๓. ส่งเสริมและพฒั นาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ใน การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้กับประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทุก รปู แบบใหส้ อดคล้องกับบริบทในปัจจุบนั ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพ เพือ่ มุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ท่ีมี คณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 11

๒.๔ ยทุ ธศาสตร์ ๑. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมั่นคง ๑.๑ สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ตามพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของ รัชกาลท่ี 10 ๑) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิด และอุดมการณ์ รวมทงั้ สังคมพหวุ ฒั นธรรม ๒) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีป่ ลกู ฝังคณุ ธรรม สร้างวินัย จติ สาธารณะ และอุดมการณค์ วาม ยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอ่ืนๆ ตลอดจน สนบั สนนุ ให้มกี ารจดั กจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั บคุ ลากรในองค์กร ๑.๒ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในเขตพื้นทีพ่ ิเศษ ๑) เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะพ้ืนทีช่ ายแดน ๑.๑) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหม้ คี วามสอดคล้องกับ บรบิ ทของสงั คม วฒั นธรรม และพน้ื ที่ เพอื่ สนบั สนุนการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาพ้ืนที่ ๑.๒) เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงานและสถานศึกษา รวมทัง้ บุคลากรท่ีปฏบิ ัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจ โดยบูรณาการแผนและปฏิบัติงานรว่ มกับหน่วยงาน ความม่นั คงในพ้นื ที่ ๑.๓ ) สนับสนุนใหม้ ีการพัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดับทกุ ประเภทให้มีสมรรถนะท่ีสงู ข้ึน เพอ่ื ใหส้ ามารถ ปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๒) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพน้ื ท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) โดยส่งเสริมการ จัดการศึกษาเพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สร้างงานและพัฒนาอาชีพท่ีเป็นไปตามบริบท และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ๒.๑ ขับเคล่ือน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจดั การศึกษาและการเรียนรทู้ ีเ่ สริมสร้างศกั ยภาพ ของ ประชาชนให้สอดคล้องกับการพฒั นาประเทศ ๑) พัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เช่น Boot Camp หลักสตู รภาษาองั กฤษ การจัดหลกั สูตรภาษาเพอ่ื อาชพี ๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social Media และ Application ต่างๆ เพ่ือ พัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่ีมีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพ่อื รองรบั การพัฒนาประเทศ ๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชน มีความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้ เรื่องกฎหมายวา่ ด้วยการกระทาความผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ สาหรับการใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวัน รวมทัง้ การ พัฒนาและการเข้าสู่อาชพี ๒) สร้างความรู้ความเขา้ ใจและทักษะพ้ืนฐานให้กบั ประชาชน เกีย่ วกับการทาธุรกจิ และการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) เพ่ือร่วมขับเคลอื่ นเศรษฐกิจดิจิทัล ๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรปู แบบต่างๆ อยา่ งเป็นรูปธรรม โดยเน้น ทกั ษะภาษาเพอื่ อาชพี ท้ังในภาคธุรกจิ การบริการ และการทอ่ งเทยี่ ว แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 12

๓. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มคี ุณภาพ ๓.๑ เตรยี มความพรอ้ มการเขา้ สู่สงั คมผ้สู งู อายอุ ยา่ งมคี ุณภาพ (Smart Aging Society) ๑) สง่ เสริมการจัดกิจกรรมใหก้ บั ประชาชนเพอ่ื สร้างตระหนักถงึ การเตรียมพรอ้ มเขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุใน ครอบครวั และชุมชน ๒) พฒั นาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเขา้ สู่วยั สูงอายุ ท่เี หมาะสมและมคี ุณภาพ ๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษา เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชวี ิต ใหส้ ามารถดูแลตนเองท้งั สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ และรู้จกั ใชป้ ระโยชน์ จากเทคโนโลยี ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของ ผู้สงู อายุ และใหม้ ีสว่ นร่วมในกจิ กรรมดา้ นตา่ งๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชพี กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม ๓.๒ สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรอื่ ง) โดยใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมท่ีเหมาะกับบริบทของพื้นที่ และความ ต้องการของชุมชน รวมท้ังการเพ่ิมมูลค่าสินค้าทางการเกษตร และสร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทาง ตา่ งๆ โดยตระหนกั ถึงคุณภาพของผลผลิตความปลอดภัยต่อระบบนเิ วศน์ ชมุ ชน และผูบ้ รโิ ภค ๓.๓ ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สาหรับผู้เรียน และ ประชาชน โดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อ ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั พฒั นาทกั ษะชีวิตสกู่ ารประกอบอาชีพ ๓.๔ เพ่ิมอัตราการอา่ นของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัคร ส่งเสรมิ การอ่าน หอ้ งสมุดประชาชน บา้ นหนังสอื ชมุ ชน หอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ี เพ่ือพฒั นาใหป้ ระชาชน มีความสามารถ ในระดับอ่านคล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้อง และทันเหตุการณ์ รวมท้งั นาความรทู้ ไี่ ด้รบั ไปใชป้ ฏบิ ตั จิ รงิ ในชวี ติ ประจาวัน ๓.๕ ศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน สู่ “วิสาหกจิ ชมุ ชน : ชมุ ชนพึง่ ตนเอง ทาได้ ขายเปน็ ” ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด รวมทั้งสรา้ งเครือขา่ ยการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกจิ ชมุ ชน สร้างรายได้ใหก้ ับชมุ ชน ใหช้ ุมชนพึง่ พาตนเองได้ ๒) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่าย ผลติ ภณั ฑข์ องวสิ าหกิจชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร ๓.๖ จดั กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมอยา่ งย่งั ยนื ๑) พัฒนาบุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตร ธรรมชาตสิ ่กู ารพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ๒) จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เพ่ือ ถา่ ยทอดความรูด้ า้ นเกษตรธรรมชาตสิ ูก่ ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมใหก้ ับชุมชน ๓) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการระหว่าง ศูนย์ฝึกอาชีพ และ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี ในการจัด กระบวนการเรยี นรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมใหก้ บั ประชาชน ๓.๗ ยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการ จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คณุ ภาพของส่ือและนวัตกรรม รวมการมาตรฐานของการ วดั และประเมินผล เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันใหส้ งั คมเกย่ี วกบั คุณภาพการจดั การศกึ ษาของสานกั งาน กศน. แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 13

๔. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๔.๑ ส่งเสริมการนาระบบคูปองการศึกษามาใช้ เพอ่ื สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่สี อดคล้องกับความต้องการของประชาชนผูร้ บั บรกิ าร ๔.๒ สร้างกระบวนการเรียนร้ใู นรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจดั การเรียนรู้ เพื่อ เป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของ ประชาชนผูร้ บั บริการ ๔.๓ เพ่มิ อัตราการรู้หนังสือและยกระดบั การรูห้ นงั สือของประชาชน ๑) เร่งจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถ อ่าน ออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ และพ้ืนที่ห่างไกล โดยมีการวัด ระดับการรหู้ นังสือ การใชส้ ่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทกั ษะในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้อง กับสภาพพื้นท่ีและกลุ่มเป้าหมาย ให้ประชาชนสามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการใช้ ชวี ิตประจาวันได้ ๒) ยกระดบั การรหู้ นงั สือของประชาชน โดยจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะการร้หู นังสือในรูปแบบตา่ งๆ รวมทง้ั ทักษะด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน ๔.๔ ยกระดบั การศึกษาใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทัง้ กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษอ่ืนๆ เช่น คน พกิ าร เด็กออกกลางคัน ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนา ตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง ๔.๕ พลกิ โฉม กศน. ตาบล สู่ “กศน.ตาบล 4G” ๑) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teacher ให้เปน็ ตวั กลางในการเชอื่ มโยงความรู้กบั ผู้รบั บริการ มีความเป็น “ครูมืออาชพี ” มจี ิตบริการ มคี วามรอบรู้ และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ท่ีดี รวมทั้ง เป็น ผู้ปฏบิ ัติงานอยา่ งมีความสขุ ๒) พัฒนา กศน.ตาบล ให้มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มเอ้ือตอ่ การเรียนรู้อย่างต่อเน่อื ง : Good Place Best Check-In มคี วามพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะท่ีง่ายต่อ การเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสรา้ งสรรค์ มีส่ิงอานวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยสาหรับผ้รู ับบริการ ๓) สง่ เสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ภู ายใน กศน.ตาบล : Good Activities ใหม้ ีความหลากหลายน่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรขู้ องประชาชน รวมทงั้ เปดิ โอกาส ใหช้ ุมชนเข้ามา จัดกิจกรรมเพ่ือเช่ือมโยงความสมั พันธข์ องคนในชมุ ชน ๔) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังสง่ เสรมิ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความ รว่ มมือในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ ห้กับประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ ๔.๗ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรอื ภาคส่วนต่างๆ ท่ีมีแหลง่ เรียนร้อู ่ืนๆ เช่น พิพธิ ภัณฑ์ ศนู ย์ เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และ ตอบสนองความต้องการของประชาชน ๕. ยุทธศาสตรด์ า้ นส่งเสรมิ และจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเก่ียวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศและภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ ๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนเก่ียวกับ การคัดแยก การแปรรูป และการจดั การขยะ รวมทั้งการจดั การมลพษิ ในชุมชน แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 14

๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลงั งานที่เปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อม รวมท้ังลดการใช้ทรัพยากรที่ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม ๖. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ๖.๑ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและเช่ือมโยงกับ ระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่ือการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลของประชาชนอยา่ งเป็น ระบบ ๖.๒ ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลาระบบ สารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เปน็ ต้น ๖.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งระบบการจัดทา แผนปฏิบัติการ และระบบการรายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี รวมทงั้ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ๖.๔ สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดับ ใหม้ คี วามรูแ้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงานหรือ ความชานาญ ๒.๕ เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผ้ดู ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนทั่วไปไดร้ ับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มี คณุ ภาพอย่างเทา่ เทยี มและท่ัวถึง เปน็ ไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของแตล่ ะกลุ่มเป้าหมาย ๒. ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศกึ ษา สรา้ งเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม และความเปน็ พลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความม่ันคง และยั่งยืน ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม ๓. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถ คดิ วิเคราะห์ และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน รวมทง้ั แกป้ ญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ ๔. ประชาชนได้รับการสรา้ งและส่งเสริมให้มนี ิสยั รกั การอ่านเพือ่ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วน ร่วมจัด สง่ เสริม และสนับสนุนการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทงั้ การขับเคล่ือนกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ คณุ ภาพในการจดั การเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชน ๗. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เพ่ือแก้ปัญหาและพฒั นา คุณภาพ ชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบทห่ี ลากหลาย ๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๙. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจดั การทีเ่ ป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 15

2.6 ตัวชี้วัด ตัวชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ๑. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานที่ได้รับการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายตามสิทธิท่ี กาหนดไว้ ๒. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ท่เี ข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศึกษา ตอ่ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทสี่ อดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ ๓. จานวนผรู้ ับบรกิ ารในพน้ื ที่เปา้ หมายไดร้ ับการสง่ เสรมิ ดา้ นการรู้หนังสือและการพัฒนาทกั ษะชีวิต ๔. จานวนผูผ้ ่านการอบรมตามหลักสูตรที่กาหนดของกิจกรรมสรา้ งเครอื ข่ายดจิ ิทัลชมุ ชนระดับตาบล ๕. จานวนประชาชนท่ีเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) สาหรับประชาชน ในศนู ยอ์ าเซียนศกึ ษา กศน. ๖. จานวนประชาชนท่ีเข้ารับการอบรมให้มีความรู้ในอาชีพการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และ ความตอ้ งการของพื้นท่ี/ชุมชน ๗. จานวนนกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนท่วั ไปทเ่ี ขา้ ถึงบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๘. จานวนนักเรียน นกั ศึกษาทไี่ ด้รับบริการติวเขม้ เตม็ ความรู้ ๙. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มรี ะบบประกนั คุณภาพภายในและมกี ารจดั ทารายงานการประเมินตนเอง ๑๐. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษาที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทาฐานข้อมูลชุมชน และการบรหิ ารจัดการ เพือ่ สนบั สนนุ การดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๑๑. จานวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏบิ ัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๒. จานวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ท่ีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตัวชี้วดั เชงิ คณุ ภาพ ๑. ร้อยละของกาลังแรงงานทส่ี าเรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า ได้รบั การศึกษาระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า ๒. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ๓. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้ เพ่ิม สงู ขึ้น ๔. รอ้ ยละของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมทส่ี ามารถอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละคิดเลขเป็นตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรม ๕. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบที่สามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ ตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร/กิจกรรมที่กาหนด ๖. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม มีรายได้เพ่ิมขึ้นจากการพฒั นาอาชีพ ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน ๗. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ด้าน อาชพี (ระยะสน้ั ) มคี วามรูใ้ นการสื่อสารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตได้ ๘. รอ้ ยละของผูเ้ ข้ารบั การอบรมหลักสตู รการดูแลผสู้ ูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเกณฑก์ ารอบรม ตาม หลักสตู รทีก่ าหนด แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 16

๙. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รบั การพัฒนา ศกั ยภาพ ทกั ษะอาชีพ สามารถมีงานทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ ๑๐. ร้อยละของตาบล/แขวง ทีม่ ีปริมาณขยะลดลง ๑๑. รอ้ ยละการอ่านของคนไทยเพิม่ ข้นึ ๑๒. ร้อยละของครู กศน. ทส่ี ามารถจดั กระบวนการเรียนรู้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สารได้อย่าง สอดคล้อง กบั บริบทของผู้เรยี น ๑๓. ร้อยละของคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน ภารกจิ ต่อเนอื่ ง ๑. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยดาเนินการให้ ผเู้ รียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอน อย่างทว่ั ถงึ และเพยี งพอ เพอื่ เพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใชจ้ ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ท้ังระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่าน การเรยี นแบบเรยี นรูด้ ้วยตนเอง การพบกลมุ่ การเรยี นแบบชนั้ เรยี น และการจัดการศึกษาทางไกล ๓) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กล่มุ เปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเป็นสว่ นหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามคั คี กิจกรรมเก่ียวกบั การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพตดิ การบาเพ็ญสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งต่อเนอื่ ง การสง่ เสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ ชมุ นุม พร้อมท้ังเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อนื่ ๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพิม่ ชว่ั โมงกิจกรรม ใหผ้ ู้เรียนจบตามหลกั สูตรได้ ๑.๒ การสง่ เสรมิ การรหู้ นังสอื ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผู้ไม่รู้หนงั สือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกันทั้ง ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค ๒) พฒั นาหลักสูตร สอื่ แบบเรียน เครอื่ งมือวัดผลและเคร่ืองมือการดาเนินงานการส่งเสรมิ การรู้หนงั สือ ทสี่ อดคล้องกับสภาพแต่ละกล่มุ เปา้ หมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การ จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือใน พน้ื ทที่ ่ีมีความต้องการจาเป็นเป็นพเิ ศษ ๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของ ประชาชน แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 17

๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ๑) จัดการศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทาอย่างยงั่ ยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศกึ ษาอาชีพ เพ่ือ การมีงานทาในกลุ่มอาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรอื การบริการ ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผเู้ รยี น ความต้องการและศกั ยภาพของแต่ละพ้นื ท่ี ตลอดจน สร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน โดยจัดใหม้ ีหน่ึงอาชีพเด่นต่อหน่ึงศูนย์ฝกึ อาชพี รวมท้ังใหม้ ีการกากับ ติดตาม และรายงานผล การจัดการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง ๒) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ สอดคลอ้ งกับความต้องการจาเปน็ ของแต่ละบุคคล และมงุ่ เน้นให้ทุกกล่มุ เป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มคี วามร้คู วามสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวติ ของตนเอง ใหอ้ ยใู่ นสังคมได้ อยา่ งมคี วามสขุ สามารถเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และเตรยี มพร้อม สาหรับการปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของขา่ วสารขอ้ มลู และเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นอนาคต โดยจดั กจิ กรรมท่ีมี เน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สขุ ภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ ชุมนมุ การส่งเสริมความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ ๓) จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การ สร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพ้ืนท่ี โดยจัด กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึก ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การ บริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนรุ ักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ชว่ ยเหลอื ซ่ึง กันและกนั ในการพัฒนาสงั คมและชุมชนอยา่ งยัง่ ยืน ๔) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน รูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมกี ารบริหารจัดการ ความเส่ยี งอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและย่งั ยนื ๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย ๑) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัดกิจกรรม เพือ่ เผยแพรอ่ งคค์ วามรใู้ นชมุ ชนไดอ้ ย่างทัว่ ถึง ๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้เพ่อื ปลูกฝงั นิสัยรักการอา่ น และพัฒนาความสามารถในการอา่ น และ ศกั ยภาพการเรยี นร้ขู องประชาชนทกุ กลุม่ เปา้ หมาย ๓) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดย สนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนอยา่ งกว้างขวางและทัว่ ถึง เช่น พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนทุกแห่งให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน การสรา้ งเครือขา่ ยสง่ เสริม การอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ เพื่อ สนบั สนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การอา่ นอยา่ งหลากหลาย ๔) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชน และเป็นแหล่งท่องเท่ียวประจาท้องถ่ิน โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรม การศึกษาที่ เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผา่ นการ ฝึกทักษะกระบวนการทบ่ี ูรณาการความรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ ควบคกู่ ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทง้ั สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บรบิ ทของของชุมชน และประเทศ รวมทง้ั การเปล่ียนแปลง แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 18

ระดับภมู ภิ าคและระดับโลก เพ่อื ใหป้ ระชาชนมคี วามรแู้ ละความสามารถ ในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะทีจ่ าเป็นใน โลกศตวรรษท่ี 21 มีความสามารถในการปรับตัวรองรับการ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษา สิ่งแวดลอ้ ม การบรรเทาและปอ้ งกันภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ๒. ดา้ นหลักสตู ร สอื่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการ ประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีหลากหลาย ทนั สมยั รวมท้ังหลักสตู รทอ้ งถิน่ ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพบริบทของ พื้นที่ และความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน ๒.๒ ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออื่นๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กล่มุ เปา้ หมายทวั่ ไปและกลุม่ เป้าหมายพเิ ศษ ๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน์ ๒.๔ พัฒนาระบบการประเมนิ เพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ ให้ มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒.๕ พฒั นาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สูตร ในระดับ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานให้ไดม้ าตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Exam) มา ใช้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รปู แบบการจัด สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศัย เพอื่ ให้มีการนาไปสูก่ ารปฏิบัติอยา่ งกว้างขวางและมกี ารพัฒนาให้เหมาะสมกบั บรบิ ทอย่างต่อเนอ่ื ง ๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาเนินการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างตอ่ เนอื่ งโดยใช้การประเมนิ ภายในดว้ ยตนเอง และ จัดใหม้ ีระบบสถานศึกษาพเ่ี ลีย้ งเขา้ ไปสนับสนุนอย่างใกล้ชดิ สาหรบั สถานศกึ ษาที่ยงั ไม่ได้เขา้ รับการประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด ๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา ๓.๑ ผลิตและพฒั นารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพอ่ื การศกึ ษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองตอ่ การจัด กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษา เพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษาสาหรับ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลอื กในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหร้ ู้ เท่าทันส่ือ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การสอ่ื สาร เช่น รายการพัฒนาอาชพี เพ่ือการมีงานทารายการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทาง อินเทอรเ์ นต็ ๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบเทคโนโลยี ดิจทิ ัล และช่องทางออนไลนต์ ่างๆ เช่น You tube Facebook หรอื Application อ่ืนๆ เพอ่ื ส่งเสริมใหค้ รู กศน. นา เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรบั ฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวประเทศ และเพม่ิ ช่องทางให้สามารถรับชม แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 19

รายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะรองรับการพัฒนาเป็นสถานี วทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนาระบบการใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และ รูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพ่ือให้ กลมุ่ เป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพอ่ื เขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไ้ ดต้ ามความต้องการ ๓.๕ สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และนาผล มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของ ประชาชนได้อย่างแท้จรงิ ๔. ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เกีย่ วเน่ืองจากราชวงศ์ ๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอัน เก่ยี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ ๔.๒ จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ียวเนอื่ งจากราชวงศ์ ที่สามารถนาไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนางาน ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔.๓ สง่ เสรมิ การสรา้ งเครือข่ายการดาเนินงานเพือ่ สนบั สนุนโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ เพื่อให้ เกดิ ความเข้มแขง็ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา้ ทท่ี ่ีกาหนดไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๕ จัดและสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถชี ีวิตของประชาชนบนพื้นท่ีสูงถนิ่ ทุรกันดาร และพ้นื ท่ชี ายขอบ ๕. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพนื้ ที่บรเิ วณชายแดน ๕.๑ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และ ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งอัตลกั ษณแ์ ละความเปน็ พหวุ ัฒนธรรมของพ้นื ที่ ๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐานอย่างเข้มขน้ และต่อเน่ือง เพ่ือให้ ผเู้ รยี นสามารถนาความรทู้ ่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ ๓) ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาจดั ให้มมี าตรการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั แก่บคุ ลากร และนักศึกษา กศน. ตลอดจนผ้มู าใชบ้ ริการอย่างทว่ั ถึง ๕.๒ พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ บรบิ ทของแต่ละจงั หวัดในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ๒) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด การพฒั นาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพ้นื ท่ี ๕.๓ จดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คง ของศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) ๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิตการ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจดั กิจกรรมตามแนวพระราชดารปิ รัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดน ดว้ ยวธิ กี ารเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย ๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กล่มุ เป้าหมาย เช่น การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความรว่ มมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนาดา้ นอาชีพ ที่ เนน้ เรอื่ งเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี หน้า 20

๖. ดา้ นบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน ๖.๑ การพฒั นาบคุ ลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่างการ ดารงตาแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงานของ หน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเอง เพื่อเลื่อน ตาแหน่งหรือเลื่อนวทิ ยฐานะ โดยเน้นการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจักษ์ ๒) พฒั นาศึกษานิเทศก์ กศน. ใหม้ ีสมรรถนะทจี่ าเป็นครบถว้ น มีความเป็นมืออาชพี สามารถปฏิบัตกิ าร นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน สถานศกึ ษา ๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตาบล /แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความสะดวกในการเรยี นรเู้ พือ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรูท้ ี่มปี ระสิทธิภาพอยา่ งแท้จรงิ ๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้ อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัด และประเมนิ ผล และการวิจยั เบือ้ งต้น ๕) พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ท่รี ับผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรยี นรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเป็นมอื อาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ของประชาชน ๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการบริหาร การดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๗) พฒั นาอาสาสมคั ร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายท้ังในและ ต่างประเทศในทุกระดบั โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธภิ าพในการทางานร่วมกัน ในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยา่ งตอ่ เน่ือง ๖.๒ การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานและอัตรากาลงั ๑) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ ให้มคี วามพรอ้ มในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๒) บริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ ท้ังในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏบิ ตั ิงาน ๓) แสวงหาความรว่ มมือจากภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนในการระดมทรพั ยากรเพอ่ื นามาใช้ในการปรบั ปรุง โครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรบั ดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการ สง่ เสริมการเรียนร้สู าหรบั ประชาชน ๖.๓ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมยั และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็น ระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั สามารถนาไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื สาคญั ในการบริหารการวางแผน การ ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมี ประสิทธิภาพ ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณใหเ้ ป็นตามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 21

๓) พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู รวมของนกั ศกึ ษา กศน. ให้มคี วามครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ทว่ั ประเทศ สามารถสบื ค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนและการ บริหารจดั การอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชน พรอ้ มทง้ั พฒั นาขดี ความสามารถเชงิ การแขง่ ขันของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ๖.๔ การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล ๑) สรา้ งกลไกการกากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ชื่อมโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ขา่ ยทัง้ ระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาที่เก่ียวข้องทกุ ระดับ พฒั นาระบบกลไกการกากบั ตดิ ตาม และรายงาน ผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ืองได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสือ่ อื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปีของ หนว่ ยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตวั ช้ีวดั ในคารับรองการปฏบิ ัติราชการประจาปีของสานักงาน กศน. ใหด้ าเนินไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาที่กาหนด ๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ สว่ นกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวดั จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และ การพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 22

ตอนที่ 3 วิเคราะหข์ ้อมูล 3.1 วิเคราะห์ข้อมลู สภาพแวดลอ้ มชุมชนระดับตาบล (SWOT Analysis) 3.2 สรุปสภาพปญั หาความตอ้ งการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พัฒนาระดับตาบล แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 23

ตอนท่ี 3 วเิ คราะหข์ อ้ มลู /สรปุ สภาพปญั หาความต้องการ สาเหตุและแนวทางแกไ้ ข/พฒั นา (SWOT Analysis) ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ประเดน็ พิจารณา จดุ แข็ง (S : Strength) จุดอ่อน (W : Weakness) 1.ดา้ นบคุ ลากร/ 1. บรรณารักษ์ จบสาขา งบประมาณมีน้อย อาสาสมัคร/เครือข่าย บรรณารกั ษ์โดยตรง ร่วมจดั กิจกรรม กศน. 2. มีระบบบริหารจัดการ ตาบล โปรแกรมระบบงานห้องสมดุ ใน การให้บรกิ าร 3. มีภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ แหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลายรองรบั ความ ต้องการของผู้เรยี นและ ผู้รับบริการ ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร ประเด็นพิจารณา จดุ แขง็ (S : Strength) จดุ ออ่ น (W : Weakness) 2. กิจกรรม 1. การจัดกิจกรรมสามารถ ขาดความตอ่ เนือ่ งในการจัดกิจกรรม 3.ผู้รับบริการ ดาเนนิ การได้อยา่ งหลากหลาย 1. สนองความตอ้ งการทุก กลุ่มเป้าหมายมคี วามตอ้ งการ นวนยิ าย กลุ่มเป้าหมาย เรือ่ งสน้ั เพียงอย่างเดียว 2. ผู้รบั บริการสามารถเรยี นรู้ด้วย ตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ประเดน็ พิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จดุ ออ่ น (W : Weakness) 4.ด้านระบบบริหาร/ มีระบบการนิเทศ กากับ และ 1. ได้รับงบประมาณไมเ่ พียงพอต่อการ ติดตามผลการปฏิบตั งิ านอย่าง ปฏิบัตงิ าน จัดการ ต่อเนื่องและเป็นปัจจบุ ัน 2. บ้านหนังสือชุมชนตั้งอยใู่ นพนื้ ที่ทีม่ ี - ด้านบริหารทวั่ ไป ผู้ใช้บริการน้อย แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 24

ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ประเด็นพิจารณา จดุ แขง็ (S : Strength) จุดอ่อน (W : Weakness) 5.ด้านโครงการพน้ื ฐาน 1.ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด 1. สถิติการรบั บริการมีจานวนน้อย กาญจนบรุ ตี ้ังอยใู่ นพนื้ ที่ชุมชน มี ความสะดวกในการคมนาคมผู้เรียน และผู้รบั บริการมีความสะดวกในการ เดนิ ทางและรับบริการทางการศึกษา ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองคก์ ร ประเด็นพิจารณา โอกาส (O : Opportunity) ภยนั ตราย (T : Threat) 1.ดา้ นนโยบายระดบั 1.สานักงาน กศน.มีนโยบายที่ชัดเจน 1. มีการปรบั เปลย่ี นนโยบายบ่อย ต่างๆ ทาให้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางใน สง่ ผลให้ มีภาระงานเพิม่ ข้นึ สง่ ผลให้ - นโยบายรฐั บาล - นโยบาย การปฏิบัตงิ านได้ การจัดกิจกรรมไมต่ ่อเนือ่ ง กระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสานักงาน 2. สานักงาน กศน.จงั หวดั มีนโยบาย กศน. - นโยบายจังหวัด สอดคลอ้ งกับนโยบายหลกั ของ สานกั งาน กศน. 3. สถานศึกษามีนโยบายสอดคลอ้ ง กบั นโยบายจากต้นสังกัด 2.ด้านสภาพของชุมชน 1.ชมุ ชนให้การสง่ เสริมสนับสนนุ การ 1. ประชาชนในชมุ ชนมีความเชือ่ ดา้ น - เศรษฐกจิ จัดกิจกรรม เปน็ อยา่ งดี การเมืองทีห่ ลากหลาย ทาให้การจดั - การเมือง 2.ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความรู้ กิจกรรม ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย - สงั คม/วัฒนธรรม ความสามารถที่หลากหลาย 2.ประชาชนบางส่วนมีรายได้น้อยต้อง และเอือ้ ต่อการจดั การศึกษาตาม ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพ อธั ยาศัย การเกษตร ค้าขายและผู้ใช้แรงงาน 3.แหลง่ เรียนรู้ในชุมชนมีอยา่ ง จึงทาให้ไมม่ ีเวลาในการเข้าใช้บรกิ าร หลากหลาย สามารถนาไปใช้จดั ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี กิจกรรม ได้อยา่ งมีคุณภาพ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 25

ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองคก์ ร ประเด็นพิจารณา โอกาส (O : Opportunity) ภยนั ตราย (T : Threat) 3.ด้านภาคีเครือข่าย 1.ภาคีเครือข่ายและผู้นาชุมชน 1. ภาคีเครือข่ายและผู้นาชุมชน (ปรมิ าณ/คุณภาพ) ให้การสนบั สนนุ การจัดกิจกรรม ขาดทักษะดา้ นการใช้ส่อื เทคโนโลยี เปน็ อยา่ งดี สารสนเทศเพือ่ การดาเนินชีวิตใน ประจาวัน การวิเคราะห์ SWOT จากการที่ ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี ได้ดาเนินการจัดทา วิเคราะห์ SWOT ของ ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี สามารถสรุปได้ดงั นี้ จุดแขง็ ( Strength ) 1. มีระบบการวางแผนและนโยบายที่ชดั เจนเป็นระบบขั้นตอน 2. บุคลากรสว่ นใหญเ่ ป็นบุคคลในพนื้ ทีท่ าให้เกิดความคลอ่ งตัวและรกั ถน่ิ ฐานบา้ นเกิด 3. สถานศึกษามีขน้ั ตอนการเบิกจา่ ยที่ชดั เจน โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ 4. มีวัสดุ อปุ กรณ์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย จดุ ออ่ น ( Weakness ) 1. มีนโยบายทีไ่ มต่ ่อเนื่องเปล่ยี นแปลงบ่อยทาให้ไม่มงุ่ แก้ปัญหาที่แท้จริง 2. บคุ ลากรมีการเปล่ยี นแปลงบ่อย 3. บคุ ลากรทางานซ้าซ้อนมากเกินไป โอกาส ( Opportunity ) 1. ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี อยู่ในเขตเทศบาล จึงทาให้สามารถจดั กิจกรรมทางด้านการศึกษา ได้อยา่ งสะดวก อปุ สรรค ( Treat ) 1. ขาดการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การติดต่อข่าวสาร และแหลง่ การเรียนรู้ที่ จริงจัง แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 26

สรปุ สาเหตุและแนวทางแกไ้ ข/พัฒนา S2T = สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบริการที่ดีและมี คุณภาพ M2T = สนบั สนนุ การใช้เครือ่ งมือสารสนเทศทีม่ ีประสิทธิภาพและทันสมยั S1T = สง่ เสริมการใช้สารสนเทศในการกาหนดนโยบาย M1T = พัฒนาคณุ ภาพการปฏิบัตงิ านของบุคลากรให้เต็มศักยภาพ M3T = สง่ เสริม สนับสนุนให้มีการใช้วัสดุ ครุภณั ฑ์ในการจดั กิจกรรมอย่างเหมาะสม S2S = สง่ เสริมให้มรี ะบบประกนั คณุ ภาพสถานศึกษาเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคลอ้ งกับความต้องการของชมุ ชน M2S = สง่ เสริมให้มกี ารระดมทรัพยากรจากภายนอกให้มากข้ึน เช่น แหลง่ การเรียนรู้ ภมู ิปัญญาเครอื ข่าย S1S = สง่ เสริมให้ท้องถิ่นและบุคลากรมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายและกิจกรรม M1S = สง่ เสริมให้บุคลากรจัดกิจกรรมที่สอดคลอ้ งกับชมุ ชนอย่างต่อเนือ่ ง M3S = สง่ เสริมให้สถานศึกษาจัดซอื้ /จัดหา วัสดุ อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ M4S = สง่ เสริมให้มรี ะบบนเิ ทศ ตรวจสอบ งานกิจกรรม การศึกษานอกโรงเรียน S2E = จดั กิจกรรมการศึกษาที่สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของชุมชน M2E = สง่ เสริมการใช้จา่ ยงบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด S1E = มุ่งเนน้ ประสานแผนงานนโยบายกบั เครอื ข่าย M1E = สง่ เสริมพฒั นาความรู้ความสามารถของบคุ ลากรในการจัดกิจกรรม M4E = มีระบบตดิ ตาม ประเมินผล ที่มีประสทิ ธิภาพโดยให้ชุมชนมีสว่ นร่วม S2P = จัดให้มรี ะบบการทางานรองรับการประเมิน M2P = สง่ เสริม สนับสนุน ให้มีการดาเนินงานวางแผน ใช้จา่ ยงบประมาณร่วมกบั องค์กร ทอ้ งถิน่ และเครอื ข่าย S1P = สง่ เสริมให้องค์กรท้องถิน่ มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย แผนงาน M1P = สง่ เสริมพัฒนาบคุ ลากร ให้มีความรคู้ วามสามารถ สามารถทางานร่วมกับชมุ ชน เครอื ข่ายได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ M3P = เร่งดาเนินการจดั หา วสั ดุ อปุ กรณ์ทีจ่ าเป็นต่อการปฏิบัตงิ าน M4P = พฒั นากระบวนการติดต่อประสานงาน การประชาสมั พันธ์ ติดตามประเมินผล กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้หน่วยงานอืน่ ได้รับทราบ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 27

ตอนท่ี 4 ทิศทางการดาเนินงานและบทบาทภารกจิ ของหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี 4.1 ปรัชญา/วิสัยทศั น/์ อตั ลกั ษณ/์ เอกลกั ษณ์/พนั ธกจิ 4.2 เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 28

4.1 ปรชั ญา/วิสยั ทัศน/์ อัตลักษณ์/เอกลกั ษณ์/พนั ธกจิ ปรัชญา “ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรัชญาคิดเปน็ ” วิสยั ทัศน์ “ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรีได้รับการศึกษาตลอดชีวิตทุกช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ เพื่อให้ เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี พนั ธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อ ยกระดับการศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทกุ ชว่ งวัย และพร้อม รบั การเปล่ยี นแปลงบรบิ ททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุน และประสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน รวมท้ังการ ดาเนนิ กิจกรรมของศนู ย์การเรียน และแหลง่ การเรียนรู้ในรปู แบบต่างๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กบั ประชาชน อย่างทวั่ ถึง 4. พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยี ส่อื และนวตั กรรม การวัด และประเมินผลในทกุ รูปแบบให้สอดคลอ้ งกบั บริบทในปัจจุบนั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาที่มี คุณภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วม 4.2 เปา้ ประสงคแ์ ละตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และ ความตอ้ งการของแตล่ ะกลมุ่ 2. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมืองอันนาไปสู่การยกระดับคณุ ภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ ความมั่นคงและย่งั ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดล้อม แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 29

3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมท้ังแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างสร้างสรรค์ 4. ประชาชนได้รับการสร้างสรรค์และส่งเสริมให้มีวินัยรักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเอง 5. ชมุ ชนและเครอื ข่ายทุกภาคสว่ น ร่วมจัด สง่ เสริม และสนับสนุนการดาเนนิ งานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการขับเคลอ่ื นกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใช้ในการ ยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองการเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และส่งิ แวดล้อม รวมท้ังความตอ้ งการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบที่หลากหลาย 8. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาไดร้ ับการพัฒนาเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีประสทิ ธิภาพ 9. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ตวั ชี้วัด 1. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จา่ ยตามสทิ ธิที่กาหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ (กลุ่มเป้าหมายทั่วไป กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และ กลุ่มคนไทยทั่วไป เป็นต้น) ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง และ การศึกษาตามอัธยาศัยทีส่ อดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ 3. ร้อยละผู้จบหลักสตู ร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ ตามจุดมงุ่ หมายของหลักสตู ร/กิจกรรมทีก่ าหนด 4. จานวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบลที่มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั 5. จานวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารบั การฝึกอาชีพ เหน็ ช่องทางในการประกอบอาชีพ 6. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทีส่ ามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเปน็ ตามจุดมุ่งหมาย ของกิจกรรม 7. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ตาม อัธยาศัยมีความรคู้ วามเข้าใจ เจตคติ ทกั ษะตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมที่กาหนด 8. จานวนผู้ดแู ลผสู้ งู อายทุ ี่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรทีก่ าหนด 9. จานวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการ ดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 30

10. จานวนนักเรียนนักศึกษาและประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการการเรียนรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ในรปู แบบต่างๆ 11. จานวน/ประเภทของส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้ เพือ่ สง่ เสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รบั บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 12. จานวนนักเรียนนักศึกษาและประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ผ่านช่องทางส่อื เทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีการส่อื สาร 13. จานวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะใน การปฏิบัตงิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 14. ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดที่มีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทา รายงานการประเมินตนเอง 15. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษากศน. ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารในการจัดทาฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยขององค์การ 16. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษากศน. ที่สามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบได้สาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างโปร่งใสตรวจสอบได้โดยใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า/ตามแผนทีก่ าหนดไว้ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี หน้า 31

ส่วนที่ 5 บัญชีสรปุ โครงการ/กิจกรรม แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองกาญจนบุรี ท่ี โครงการ วัตถปุ ระสงค์ งบดาเนินงาน พื้นท่ีดาเนนิ การ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ๑ โครงการจดั สรา้ ง 1. เพ่ือส่งเสริมและพัฒนา ๓๓,๙๙๐ บาท ห้องสมดุ นางสาวสุภาภรณ์ แหลง่ เรียนรู้ กศน.ตาบล ท้ัง ๑๓ แห่ง ให้ ประชาชน หวังเลิศพาณิชย์ นสพ. วารสาร เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน จงั หวดั นางสริ กิ ิรยิ า และสนบั สนุนการอา่ น กาญจนบรุ ี นาคทองอนิ ทร์ 2. เพือ่ เปน็ การส่งเสริมและ กศน.ตาบล สรา้ งนสิ ยั รกั การอ่าน รกั การ ๑๓ แห่ง เรยี นรู้ให้กับนกั ศึกษา กศน. ประชาชน และผรู้ ับบริการท่ัวไปในพน้ื ท่ี เขตบรกิ ารอาเภอเมอื ง กาญจนบรุ ี ทั้ง 13 ตาบล ๓. เพอื่ เป็นการให้บรกิ าร ข่าวสาร วารสาร นติ ยสาร แกป่ ระชาชน ๒ โครงการจัดซื้อสื่อ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา ๒๐,๐๐๐ บาท ห้องสมดุ นางสาวสภุ าภรณ์ หนงั สือสาหรบั กศน.ตาบล ท้ัง ๑๓ แห่ง ให้ ประชาชน หวงั เลศิ พาณิชย์ หอ้ งสมดุ ประชาชน เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน จงั หวดั นางสิรกิ ิรยิ า จังหวัดกาญจนบุรี และสนับสนุนการอา่ น กาญจนบรุ ี นาคทองอนิ ทร์ 2. เพ่ือเป็นการส่งเสรมิ และ สร้างนิสยั รักการอา่ น รักการ เรยี นรู้ให้กบั นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน และผูร้ ับบรกิ ารทัว่ ไปในพนื้ ที่ เขตบรกิ ารอาเภอเมือง กาญจนบุรี ทงั้ 13 ตาบล ๓. เพอ่ื เป็นการให้บริการ ขา่ วสาร วารสาร นิตยสาร แก่ประชาชน แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี หน้า 32

ท่ี โครงการ วตั ถุประสงค์ งบดาเนินงาน พนื้ ท่ดี าเนนิ การ ผู้รับผดิ ชอบ ๓ โครงการเมอื งนักอา่ น ๑. เพอ่ื กระตนุ้ และ - พนื้ ที่ในอาเภอ นางสาวสภุ าภรณ์ คนกาญจนบุรี เสรมิ สรา้ งนิสัยรักการอา่ น เมอื งกาญจนบรุ ี หวงั เลศิ พาณิชย์ ให้กบั ประชาชนในชมุ ชน นางสริ ิกิรยิ า ไดม้ โี อกาสพฒั นาทักษะการ นาคทองอินทร์ อ่าน และส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหป้ ระชาชนทว่ั ไปไดร้ บั โอกาสทางการศึกษา ใน รปู แบบการศึกษาตาม อัธยาศัย ท่ีมีคณุ ภาพ อย่าง ทั่วถึง และเท่าเทยี มกนั ๒. เพือ่ สรา้ งภาคีเครอื ขา่ ย ให้เปน็ ชุมชนเมอื งนักอ่านคน กาญจนบรุ ี ๔ โครงการวันเด็ก ๑. เพอ่ื กระตนุ้ และ ๔,๐๐๐ บาท พนื้ ท่อี าเภอ นางสาวสภุ าภรณ์ แหง่ ชาติ เสริมสรา้ งนสิ ยั รักการอ่าน เมอื งกาญจนบุรี หวังเลศิ พาณิชย์ ใหก้ ับประชาชนในชุมชน นางสริ ิกริ ยิ า ได้มีโอกาสพฒั นาทักษะ นาคทองอินทร์ การอา่ น และส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหป้ ระชาชนท่วั ไป ไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา ในรูปแบบการศึกษาตาม อัธยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพ อย่าง ท่ัวถึง และเท่าเทยี มกนั ๒. เพื่อสรา้ งภาคีเครือข่าย ใหเ้ ป็นชมุ ชนเมอื งนกั อา่ นคน กาญจนบรุ ี แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 33

ท่ี โครงการ วตั ถุประสงค์ งบดาเนินงาน พ้นื ท่ีดาเนนิ การ ผู้รับผดิ ชอบ ๕ โครงการ กศน.สัญจร ๑. เพือ่ สรา้ งเสรมิ นิสัยรัก ๒,๕๘๕ บาท - ตาบลบา้ น นางสาวสุภาภรณ์ และห้องสมดุ เคลื่อนท่ี อ่านให้แก่ประชาชน และ เหนือ หวังเลศิ พาณิชย์ ประชาชนทอ่ี ยู่หา่ งไกล - ตาบลบ้านใต้ นางสิรกิ ิรยิ า นาคทองอนิ ทร์ หอ้ งสมดุ ประชาชนไดม้ ี - ตาบลปาก โอกาส ใชบ้ รกิ ารของ แพรก ห้องสมุด - ตาบลทา่ ๒. การจัดกิจกรรมร่วมกบั มะขาม ภาคเี ครอื ข่าย - ตาบลหนอง ๓. เพอื่ ประชาสมั พนั ธ์งาน หญ้า หอ้ งสมุดประชาชน และงาน - ตาบลเกาะ กศน. สาโรง - ตาบลวังเย็น ๖ โครงการจดั นทิ รรศ ๑. เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ ใช้บรกิ าร - ห้องสมดุ นางสาวสุภาภรณ์ การวนั สาคญั ห้องสมดุ ประชาชนได้รบั ประชาชน หวงั เลิศพาณิชย์ ความรู้ ได้อ่านและเข้าใจใน วนั สาคัญต่างๆ ได้ จังหวัด นางสิริกิรยิ า กาญจนบุรี นาคทองอินทร์ ๗ โครงการพฒั นา 1. เพื่อให้บรรณารกั ษ์ - ห้องสมดุ นางสาวสุภาภรณ์ บุคลากรหอ้ งสมุด ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั ประชาชน หวงั เลิศพาณิชย์ ประชาชนจังหวัด ไดร้ บั การพัฒนาในการ จงั หวัด กาญจนบรุ ี ปฏิบตั งิ านห้องสมุด กาญจนบรุ ี ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรีได้ 2. เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ ทกั ษะ และการปฏิบัติงานห้องสมุด ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 34

ท่ี โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ งบดาเนนิ งาน พืน้ ท่ดี าเนนิ การ ผรู้ ับผิดชอบ ๘ โครงการ ส่อื ๑. เพือ่ ให้ผู้เรยี นเกิดการ - พ้นื ท่อี าเภอ นางสาวสุภาภรณ์ เมอื งกาญจนบรุ ี หวงั เลิศพาณิชย์ นวัตกรรมการเรยี นรใู้ น เรยี นร้แู ละพัฒนาพฤติกรรม หอ้ งสมดุ ที่พึงประสงค์ ๒. เพื่อให้ผู้รับบรกิ ารไดใ้ ช้ เทคโนโลยเี พื่อส่งเสรมิ การ อ่าน ๓. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การพฒั นาการจัดการศึกษา ทัง้ ในระบบ การศกึ ษาตาม อัธยาศยั และการพัฒนา แหลง่ เรยี นรู้ ๙ โครงการ อาสาสมัคร ๑. เพ่อื ใหล้ ดความเหลอื่ มล้า - ตาบลบา้ นเหนือ นางสาวสุภาภรณ์ ส่งเสรมิ การอ่าน ในการเขา้ ถึงหนงั สอื และส่อื ตาบลบา้ นใต้ หวงั เลิศพาณิชย์ การอ่าน ตาบลปากแพรก นางอจั ฉรา ๒. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ประชาชน ตาบลท่ามะขาม คงเพชรศกั ดิ์ พฒั นาใหม้ ีนิสยั รักการอ่าน ตาบลหนอง หญ้า ตาบลเกาะ สาโรง ตาบลวังเยน็ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 35

โครงการจัดสร้างแหล่งเรยี นรู้ นสพ. วารสาร ๑. ช่อื โครงการ : โครงการจัดสรา้ งแหล่งเรียนรู้ นสพ.วารสาร ๒. ความสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพอ่ื สรา้ งขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนให้มคี ุณภาพ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความสามารถภาคทางการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการ 3. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันประเทศไทยเปิดรับความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาอย่างมากมาย โดยการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล ช่วยส่งเสรมิ ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ รวมท้ังมีสว่ นในการปลูกฝังนิสยั รกั การ อ่าน การรู้จกั ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ มิใช่เปน็ เพียงห้องสมุดหรือ คอมพิวเตอรแ์ ตเ่ พียงอยา่ งเดยี ว จาเป็นตอ้ ง ให้เหมาะสมกบั พื้นท่อี าเภอดา่ นชา้ ง จากหลักการดังกล่าว จึงไดจ้ ัดทาโครงการ จัดสร้างแหลง่ เรยี นรู้ นสพ. วารสาร เพอ่ื ผู้รับบริการใน ห้องสมุด ประชาชน และ กศน.ตาบลทั้ง 13 ตาบล ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน เป็นแหล่งเรียนรู้ของ ชมุ ชน แหล่งการอ่าน แหล่งศกึ ษาหาความรู้ เพ่ือเป็นการกระตุ้น ปลูกฝงั่ นิสัยรกั การอา่ นและการเรยี นรู้ในรูปแบบ กิจกรรมบรกิ ารตา่ งๆ ท่หี ลากหลาย ใหก้ ับ นักศกึ ษา กศน. ผรู้ ับบรกิ ารในชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ สง่ เสริมและพฒั นา กศน.ตาบล ทงั้ ๑๓ แห่ง ให้เปน็ แหลง่ เรียนรขู้ องชมุ ชน และสนับสนนุ การอ่าน 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสร้างนิสัยรักการอ่าน รักการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน. ประชาชน และผู้รบั บริการท่วั ไปในพนื้ ที่เขตบรกิ ารอาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี ท้ัง 13 ตาบล ๓. เพ่ือเปน็ การใหบ้ ริการข่าวสาร วารสาร นิตยสาร แกป่ ระชาชน 5. เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ ๑. จัดหาหนังสอื พมิ พ์ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี วนั ละ ๓ ฉบับ จานวน ๑๘๓ วัน 1 แหง่ ๒. จัดหาวารสาร นิตยสารหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี ๙ ชือ่ เร่อื ง ๓. จัดหาหนังสือพมิ พ์ กศน.ตาบล วันละ ๑ ฉบับ จานวน ๑๒๕ วนั ๑๓ แห่ง เชิงคณุ ภาพ เพอื่ เป็นการสง่ เสริมและสร้างนสิ ยั รกั การอา่ น รักการเรยี นรู้ใหก้ ับนักศึกษา กศน. และผูร้ บั บรกิ ารทั่วไป แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 36

6. วธิ ดี าเนินงาน วัตถุประสงค์ กลมุ่ พ้นื ท่ี ระยะ งบ กิจกรรมหลัก เป้าหมาย ดาเนินการ เวลา ประมาณ 1. (P) ประชมุ เพ่ือวางแผนการ - เพื่อสร้างความเขา้ ใจและ ทางานและขออนมุ ัตโิ ครงการ วางแนวทางในการทางาน - บุคลากร - ห้องสมุด ต.ค. - การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ร่วมกัน กศน.อาเภอ ประชาชน 25๖๒ กศน.ตาบล เมอื งฯ จังหวัด 2. (D) การดาเนนิ การจดั กาญจนบรุ ี โครงการ จัดสร้างแหลง่ เรยี นรู้ นสพ. วารสาร 1. เพื่อสง่ เสรมิ และพัฒนา - จัดหา - หอ้ งสมุด ต.ค. 256๒ ค่าหนงั สือ ห้องสมดุ ประชาชน หนงั สอื พมิ พ์ ประชาชน 3. (C) นเิ ทศ ตดิ ตาม หอ้ งสมดุ จังหวดั ถึง พมิ พ์ ประเมนิ ผล เป็นแหลง่ เรยี นรขู้ องชุมชน หอ้ งสมุด ประชาชน วัน กาญจนบุรี เม.ย.256๓ ประชาชน 4. (A) สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ละ ๓ ฉบบั - กศน.ตาบล เพ่ือการพฒั นา จงั หวัด จานวน ๑๘๓ ท้งั ๑๓ แห่ง กาญจนบรุ ี วัน ๗,๓๒๐ - จดั หาวารสาร บาท นิตยสาร วารสาร หอ้ งสมุด นติ ยสาร ประชาชน ๔,๙๒๐ จงั หวัด บาท กาญจนบรุ ี ๙ คา่ หนังสือ พมิ พ์ ชอื่ เร่ือง - จดั หา กศน. ตาบล หนังสอื พิมพ์ ๑๖,๒๕๐ กศน.ตาบล วนั บาท ละ ๑ ฉบับ ค่า จานวน ๑๒๕ วัน ๑๓ ตาบล สาธารณูป โภค - เพื่อประเมนิ ผลการ คณะนิเทศ - หอ้ งสมดุ ๕,๕๐๐ บาท ดาเนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตาม กศน.อาเภอ ประชาชน วัตถปุ ระสงค์ เมืองฯ จงั หวัด ต.ค. 256๒ กาญจนบุรี ถงึ - กศน.ตาบล ๑๓ แห่ง เม.ย.256๓ - เพ่อื ใหข้ อ้ เสนอ งานการศึกษา - หอ้ งสมดุ ประชาชน ต.ค. 256๒ แนะแนวทาง แก้ปญั หา ตามอธั ยาศยั จังหวดั กาญจนบรุ ี ถึง พัฒนางานใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ - กศน.ตาบล ๑๓ ยง่ิ ข้ึน แหง่ เม.ย.256๓ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 37

7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ จากแผนงบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 5 กจิ กรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดาเนินงาน เป็นเงนิ ๓๓,๙๙๐ บาท (สามหมื่นสามพนั เกา้ ร้อย เก้าสบิ บาทถ้วน) ๑. หนังสือพิมพ์ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี เป็นเงิน ๗,๓๒๐ บาท (เจ็ดพันสามร้อยยี่สิบ บาทถว้ น) ๒. วารสาร และนติ ยสาร หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี เป็นเงิน ๔,๙๒๐ บาท (สพี่ ันเก้ารอ้ ยยส่ี ิบ บาทถว้ น) ๓. หนงั สือพิมพ์ กศน.ตาบล เปน็ เงนิ ๑๖,๒๕๐ บาท (หนง่ึ หมน่ื หกพนั สองรอ้ ยห้าสิบบาทถว้ น) ๔. คา่ สาธารณูปโภคหอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี เปน็ เงนิ ๕,๕๐๐ บาท (หา้ พันหา้ ร้อยบาทถ้วน) 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.6๒) (ม.ค.-มี.ค.6๓) (เม.ย.-ม.ิ ย.6๓) (ก.ค.-ก.ย.6๓) - คา่ หนงั สอื พิมพ์ห้องสมดุ ๓,๖๘๐ บาท ๓,๖๔๐ บาท ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี -- - คา่ วารสาร นติ ยสารหอ้ งสมุด ๒,๔๖๐ บาท ๒,๔๖๐ บาท ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี -- - ค่าหนงั สือพมิ พ์ กศน.ตาบล ๘,๐๖๐ บาท ๘,๑๙๐ บาท ท้ัง ๑๓ แห่ง -- - คา่ สาธารณูปโภคห้องสมดุ ๕,๕๐๐ บาท - ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี -- 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ - นางสาวสุภาภรณ์ หวังเลิศพาณิชย์ บรรณารักษป์ ฏิบัติการ - นางสริ ิกิรยิ า นาคทองอินทร์ บรรณารกั ษ์หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรี 10. เครือข่าย - ผู้นาชุมชน ท้ัง ๑๓ ตาบล - หนว่ ยงานภาคีเครอื ข่ายทัง้ ภาครัฐและเอกชนในเขตอาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 11. โครงการท่เี กยี่ วขอ้ ง - โครงการเมอื งนกั อ่าน คนกาญจนบรุ ี 12. ผลลพั ธ์ นักศึกษา กศน. และผู้รับบริการในชุมชนศึกษาเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้เพ่ือแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยมแี หลง่ เรยี นร้ใู นชุมชนเปน็ กลไกในการจัดการเรยี นรู้ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 38

13. ดัชนีชี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลติ (Output) - ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ๑ แห่ง บรกิ ารสง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ - กศน.ตาบลทง้ั ๑๓ ตาบล ตวั ช้วี ัดผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 8๐ นักศึกษา กศน. และผู้รับบริการในชุมชนศึกษาเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ เพื่อแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยมีแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรียนรู้และสามารถนาความรู้ ทไ่ี ด้รับไปใช้ประโยชน์ ในชวี ิตประจาวนั ได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ - แบบประเมินความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ - แบบนิเทศการจดั กิจกรรม/โครงการ - สรุปผลการดาเนนิ งานกจิ กรรม/โครงการ ลงชือ่ ............................................ผเู้ สนอโครงการ ลงช่อื ............................................ผู้เห็นชอบโครงการ (นางสาวสุภาภรณ์ หวังเลิศพาณชิ ย์) (นางสาวชมพู จันทนะ) ครูชานาญการ บรรณารักษป์ ฏบิ ตั กิ าร ลงชอ่ื ................................................ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ (นายศักด์ิชัย นาคเอ่ียม) ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งกาญจนบุรี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 39

โครงการจัดซอื้ สอ่ื หนังสือสาหรบั ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี ๑. ชอ่ื โครงการ : จดั ซือ้ ส่อื หนังสอื สาหรบั ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี ๒. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนนิ งาน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นากาลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขดี ความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนใหม้ ีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความสามารถภาคทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจัดการ ๓. หลกั การและเหตผุ ล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดจ้ ัดสรร งบประมาณจัดกิจกรรมตามนโยบายด้านการจัดการศึกษาและเรียนรู้ แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ ๕ ผู้รับบริการการศึกษานอกตามอัธยาศยั งบดาเนินงาน ให้ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ได้จัดซื้อสื่อหนังสือ ส่ิงพิมพ์ให้กับห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี เพ่ือเสริมสร้างความพร้อมในด้านส่ือหนังสือสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามความต้องการของ กลุ่มเปา้ หมาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรี จึงเห็นความสาคัญของ หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ในการดาเนินการจัดทาโครงการจดั ซ้ือสื่อ หนังสือสาหรับหอ้ งสมุดประชาชน จงั หวดั กาญจนบรุ ี ๔. วัตถปุ ระสงค์ ๔.๑ เพื่อจดั ซือ้ สือ่ หนังสือ ให้กับห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี ๔.๒ เพอื่ เสรมิ สร้างความพร้อมในดา้ นส่ือ หนงั สอื ท่สี นับสนนุ การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน ๕. เปา้ หมาย ๕.๑ เชงิ ปริมาณ - สอ่ื หนงั สือสาหรบั หอ้ งสมุดประชาชน จานวน ๔๘ รายการ ๕.๒ เชิงคณุ ภาพ - หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี มสี ่ือท่ีทนั สมยั พรอ้ มให้บริการและใช้สนบั สนุน การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นในอาเภอเมืองกาญจนบุรี แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 40

๖. วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ (คน) ดาเนินการ ๒๐,๐๐๐ บาท ไตรมาส ๑. สารวจความ - เพื่อทราบ - สมาชิก ๑-๒ ตอ้ งการส่อื ของ ความตอ้ งการ ห้องสมดุ ผรู้ ับบรกิ าร ส่อื ของ ประชาชน ผูใ้ ชบ้ ริการ - นักศึกษา ใหก้ ับห้องสมุด กศน. ๒.บันทึกขออนุมตั ิ ประชาชน - บรรณารกั ษ์ - จากกลมุ่ - ห้องสมดุ จดั ซื้อสอ่ื หนังสอื ตัวอย่าง ประชาชน - เพือ่ เสนอให้ ผูบ้ ริหารทราบ ๒๐๐ คน จังหวดั และพิจารณา กาญจนบรุ ี อนุมตั ิ มอบ พัสดดุ าเนินการ ๓. ลงทะเบยี นส่อื - เพอื่ พรอ้ ม - สมาชกิ ตามขน้ั ตอนของ ให้บริการ ห้องสมดุ ระบบงานห้องสมดุ ประชาชน ได้ ประชาชน พรอ้ มรายงานให้ ศึกษาคน้ ควา้ หา - นักศึกษา ผบู้ ริหารทราบ ความรู้ และ กศน. ใหบ้ ริการ ยมื - คนื หนังสือ รวมเป็นเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๗. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ เงนิ งบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงาน : พื้นฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน ผลผลติ ที่ ๕ ผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั งบดาเนนิ งาน จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมน่ื บาทถ้วน) รายละเอยี ดดังนี้ - ค่าหนงั สือ ส่ือ ห้องสมุดประชาชน จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 41

๘. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค.-ธ.ค.๖๑) (ม.ค.-มี.ค.๖๒) (เม.ย.-มิ.ย.๖๒) (ก.ค.-ก.ย.๖๒) - ค่าสอ่ื หนงั สอื ห้องสมุดประชาชน ๒๐,๐๐๐ บาท - - - จงั หวดั กาญจนบุรี - - - รวม ๒๐,๐๐๐ บาท ๙. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ ๑. นางสาวสภุ าภรณ์ หวงั เลศิ พาณิชย์ บรรณารักษป์ ฏบิ ัติการ ๒. นางสิริกริ ยิ า นาคทองอินทร์ บรรณารกั ษห์ ้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ๑๐. เครือขา่ ย - ๑๑. โครงการท่เี กยี่ วขอ้ ง - โครงการเมืองนกั อา่ น คนกาญจนบุรี - โครงการ กศน.สญั จร และหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี ๑๒. ผลลพั ธ์ - หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี มสี ื่อท่ีทนั สมยั พร้อมให้บริการและใช้สนบั สนุนการจดั กจิ กรรม ส่งเสรมิ การอ่าน ๑๓. ดัชนตี วั ช้วี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๒.๑ ตวั ช้ีวดั ผลผลิต รอ้ ยละ ๗๐ ของสือ่ หนังสอื ที่ได้รบั ตรงตามความตอ้ งการของผู้รบั บริการ ๑๒.๑ ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี มสี อ่ื ทที่ นั สมยั พร้อมใหบ้ รกิ ารและหมุนเวียนไปยัง แหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ รอ้ ยละ ๗๐ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 42

๑๔. การติดตามและการประเมินผลโครงการ - แบบประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ช้บรกิ าร ลงชอื่ ............................................ผู้เสนอโครงการ ลงช่อื ............................................ผเู้ ห็นชอบโครงการ (นางสาวสภุ าภรณ์ หวงั เลิศพาณิชย์) (นางสาวชมพู จันทนะ) บรรณารกั ษ์ปฏิบตั กิ าร ครูชานาญการ ลงชอ่ื ................................................ผูอ้ นมุ ัตโิ ครงการ (นายศกั ด์ิชยั นาคเอ่ยี ม) ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี หน้า 43

โครงการเมอื งนักอ่าน คนกาญจนบรุ ี ๑. ช่ือโครงการ : เมืองนักอา่ น คนกาญจนบุรี ๒. ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนินงาน ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นากาลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรม เพือ่ สรา้ งขดี ความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนใหม้ ีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความสามารถภาคทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ ๓. หลักการและเหตุผล การอ่านเป็นทักษะพนื้ ฐานทีส่ าคัญต่อการดารงชีวิต เพราะในชีวิตประจาวันทุกคนต้องใช้การอ่านเพื่อการ ดารงชีวิต เช่น การอ่านค่มู อื การทางาน การอา่ นรายละเอยี ดสนิ ค้าและยารักษาโรค เป็นต้น และการอ่านมีสว่ นชว่ ย สร้างความสาเร็จในการดารงชีวิตของบุคคล เสริมสร้างความรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของ มนษุ ย์ทุกเพศทกุ วยั เพราะถือวา่ ถา้ อา่ นไดก้ ็จะสามารถเรียนรูท้ กุ ส่ิงทกุ อยา่ งทตี่ ้องการได้ การอา่ นและการเรียนรู้เป็น การพัฒนาตนเองและเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การอ่านเป็นสิ่งจาเป็นมากในการพัฒนาคนและพัฒนา สังคม ปัจจุบันนี้การอ่าน หนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมูผ่ ู้รู้หนังสือแล้วกต็ าม การอ่านท่ีดี และมีสาระย่ิงน้อยลงไปทุกที สาเหตุน้ันมีหลายประการนับต้ังแต่การขาดแคลนหนังสือที่ดีและตรงกับความสนใจ ของผู้อ่าน รวมทั้งยังขาดการชักจูงและการกระตนุ้ ให้เห็นถึงความสาคัญของการอ่านให้มีนิสัยรักการอา่ นทั้งในและ นอกสถานศึกษา การปลูกฝังให้ประชาชนในจังหวัดกาญจนบุรีอ่านหนังสือจนเป็นนิสัยนั้น เริ่มต้นได้ภายใน ครอบครัว ชุมชน และเมื่อเข้าสู่สถาบันการศึกษา ซ่ึงเปน็ ช่วงเวลาแห่งการสะสมประสบการณ์และความรู้การอ่าน ถือเป็นทกั ษะที่สาคัญอยา่ งมาก การอา่ นยงั ทาใหผ้ ู้อา่ นมีความคดิ กวา้ งขวางขน้ึ และมีทักษะการคิดเปน็ ข้นั ตอน หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี และกลุ่มสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรี ตระหนกั ถึงความสาคัญของการอ่านจึงได้จดั ทาโครงการเมืองนัก อ่านคนกาญจนบุรี ร่วมกับภาคีเครือข่ายขึ้นเพือ่ เปน็ การสร้างเสริม และปลูกฝงั นสิ ัยรกั การอ่านและเผยแพร่ข่าวสาร และความร้ตู า่ งๆสาหรับผู้ทีส่ นใจและขยายโอกาสทางการเรยี นรู้ให้กว้างขวางข้ึน ๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพ่ือกระตุน้ และเสรมิ สรา้ งนสิ ยั รักการอ่านใหก้ บั ประชาชนในชุมชน ไดม้ โี อกาสพัฒนาทักษะการอา่ น และสง่ เสรมิ สนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษา ในรปู แบบการศกึ ษาตามอัธยาศัย ท่ีมคี ุณภาพ อย่างท่ัวถึง และเทา่ เทยี มกัน ๔.๒ เพือ่ สรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยใหเ้ ป็นชมุ ชนเมอื งนักอ่านคนกาญจนบุรี ๕. เป้าหมาย ๕.๑ เชงิ ปริมาณ - นกั ศึกษาและประชาชนทั่วไป จานวน ๓,๕๐๐ คน ๕.๒ เชิงคณุ ภาพ - นักศึกษาและประชาชนมนี ิสัยรักการอ่าน และสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยให้เป็นชุมชนเมอื งนกั อ่านคน กาญจนบุรี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี หน้า 44

๖. ระยะเวลาดาเนนิ การ วนั ที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ถงึ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ ๗. วิธดี าเนินการ วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนทดี่ าเนนิ การ ระยะเวลา ๔๗ คน กจิ กรรมหลัก - เพอื่ เตรียม บุคลากร กศน.อาเภอ กศน.อาเภอเมือง ๑๕ ตุลาคม ความพรอ้ มให้ เมืองกาญจนบุรี ๑. การวางแผน คณะทางาน กาญจนบุรี ๒๕๖๒ ดาเนนิ งาน และดาเนนิ ๑.๑ เขียนโครงการ กิจกรรมได้ตาม เสนอขออนุมัติ วัตถปุ ระสงค์ ๑.๒ ประชุมผ้ทู ี่ เก่ียวข้อง เพ่ือเตรียม ความพร้อมของ โครงการ ๑.๓ ประสานงาน เครือขา่ ย ๒. ดาเนินการจัด เพือ่ กระต้นุ นกั ศกึ ษา และ ๓,๕๐๐ คน ในเขตพ้นื ที่ วนั ท่ี ๑๕ กิจกรรม ประชาชนทั่วไป อาเภอเมือง ๒.๑ แนะนาหนงั สอื และเสรมิ สร้าง กาญจนบรุ ี ตลุ าคม เพอื่ การอา่ น นสิ ยั รักการ ๒๕๖๒ ๒.๒ การอ่านเพอ่ื สรา้ ง อา่ นใหก้ ับ ถงึ วนั ท่ี อาชีพ ๒.๓ เกมการอา่ น ประชาชนใน ๓๑ มีนาคม ชุมชน ๒๕๖๓ ๓. สรุปผล/รายงานผล เพอ่ื รายงานผล กลุ่มสง่ เสริม ผ้รู ับผดิ ชอบ กศน.อาเภอเมือง วนั ท่ี ๓๑ โครงการ การดาเนนิ งาน การดาเดนิ งาน การศึกษาตาม กาญจนบุรี มนี าคม ตอ่ ผบู้ ริหาร อัธยาศัย ๒๕๖๓ ๘. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ - ๙. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค.-ธ.ค.๖๒) (ม.ค.-มี.ค.๖๓) (เม.ย.-มิ.ย.๖๓) (ก.ค.-ก.ย.๖๓) ๑. แนะนาหนงั สือ เพอ่ื การอ่าน - - - - ๒. การอา่ นเพือ่ สร้างอาชีพ - - - - ๓. เกมการอา่ น รวม แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 45

๑๐. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ๑๐.๑ นางสาวสุภาภรณ์ หวงั เลศิ พาณิชย์ บรรณารกั ษป์ ฏบิ ัตกิ าร ๑๐.๒ นางสิรกิ ริ ิยา นาคทองอินทร์ บรรณารกั ษ์หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี ๑๑. เครอื ข่าย ๑๑.๑ ผู้นาชมุ ชน ๑๑.๒ บ้านหนงั สือชุมชน ๑๑.๓ เทศบาล และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ๑๒. โครงการที่เก่ยี วข้อง ๑๒.๑ โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ นสพ วารสาร ๑๓. ผลลพั ธ์ - นักศกึ ษาและประชาชนมนี สิ ัยรักการอา่ น และไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา ในรูปแบบการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ที่มีคณุ ภาพ อย่างทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี มกัน และมีภาคเี ครอื ข่ายให้เป็นชมุ ชนเมอื งนักอา่ นคนกาญจนบรุ ี ๑๔. ดชั นีตวั ช้ีวัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๔.๑ ตวั ชวี้ ดั ผลผลิต - จานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ๓,๕๐๐ คน ๑๔.๒ ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์ - นักศึกษาและประชาชนมีนสิ ยั รักการอ่าน และไดร้ บั โอกาสทางการศึกษา ในรปู แบบการศึกษา ตามอธั ยาศยั ทีม่ ีคุณภาพ อยา่ งทว่ั ถงึ และเทา่ เทียมกัน และมีภาคีเครือข่ายให้เปน็ ชุมชนเมืองนกั อา่ นคนส่งเสริม การอา่ น ร้อยละ ๘๐ ๑๕. การติดตามและการประเมินผลโครงการ - แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้บรกิ าร ลงชอ่ื ............................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ............................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นางสาวสุภาภรณ์ หวังเลศิ พาณิชย์) (นางสาวชมพู จนั ทนะ) ครูชานาญการ บรรณารกั ษป์ ฏบิ ตั ิการ ลงช่ือ................................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายศักด์ิชยั นาคเอยี่ ม) ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 46

โครงการวนั เด็กแหง่ ชาติ ๑. ชื่อโครงการ : โครงการวันเด็กแหง่ ชาติ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนนิ งาน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นากาลงั คน การวจิ ัย และนวัตกรรม เพ่อื สรา้ งขีดความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนให้มีคุณภาพ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความสามารถภาคทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ๓. หลักการและเหตุผล เด็กเป็นทรพั ยากรบุคคล ท่ีสาคัญย่งิ ของประเทศชาติ เพราะเดก็ จะเติบโตเป็นผ้ใู หญ่ในวนั ขา้ งหน้า จะเป็น หลักสาคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้ามั่นคง และจะทาหน้าท่ีดูแลสังคม ตลอดจนเศรษฐกิจ วัฒนธรรมของชาตติ อ่ ไป เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้เหน็ ความสาคญั ของเด็กและกระตุ้นให้เด็กทงั้ ที่อยู่ในระบบและ นอกระบบ ท่วั ประเทศได้รถู้ งึ บทบาทอนั สาคญั ของตนเอง รฐั บาลจงึ ไดม้ นี โยบายใหม้ ีการจัดงานวันเดก็ แหง่ ชาติข้ึน โดยกาหนดให้ในวันเสารท์ ี่ ๒ ของเดือนมกราคมของทกุ ปี เป็นวันเด็กแห่งชาติ ซง่ึ ใน พ.ศ.๒๕๖๓ ประจาปีน้ี ตรงกับ วันเสารท์ ี่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๓ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี สังกัดศูนย์ กศน. อาเภอเมืองกาญจนบุรี เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ทด่ี าเนนิ การ จัดกิจกรรมให้บริการสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย หลากหลายรูปแบบ เพื่อสนองความต้องการของ ผู้ใช้บริการ เพ่ือให้เด็ก และเยาวชนของชาติ ได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา และ เสริมสร้างให้เด็กและเยาวชนรู้รักสามัคคี มีนิสัยรักการอ่าน กล้าแสดงออก และได้รับข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์และ ความบันเทิงจงึ จัดโครงการวนั เด็กแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๓ ขน้ึ ๔. วตั ถุประสงค์ ๔.๑ เพอ่ื สรา้ งเสรมิ และพฒั นาใหเ้ ดก็ และเยาวชนมีรา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญาที่ดี ได้รบั ความรู้ สนกุ สนาน เพลิดเพลนิ กล้าคดิ กล้าแสดงออก และสามารถอย่กู บั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๔.๒ เพือ่ สร้างความตระหนักใหเ้ ดก็ และเยาวชน เหน็ ความสาคัญของการอา่ นและมนี ิสยั รกั การอา่ น ตลอดจนใหก้ ารอ่านนาไปสู่การใฝร่ ้ใู ฝ่เรียนตลอดชีวิต รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเพ่อื ประชาสัมพันธ์งาน หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี และงาน กศน. ๕. เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ - เด็ก และเยาวชนทั่วไป จานวน ๕๐๐ คน เชงิ คุณภาพ - เดก็ และเยาวชนทัว่ ไปไดร้ ับความร้เู พม่ิ ขนึ้ และได้เข้าร่วมกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ท่ีหลากหลาย เด็กและเยาวชนมนี ิสยั รักการอ่านใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชนแ์ ละเปน็ การประชาสมั พันธ์ของสมดุ ประชาชน และงาน กศน. ให้เปน็ ทรี่ จู้ ักของประชาชน แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี หน้า 47

๖. วธิ /ี ข้ันตอนการดาเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย ดาเนนิ การ ๖.๑ เขียนและ - เพ่ือขออนมุ ตั ิ บรรณารกั ษ์ ๕ คน -ห้องสมดุ ๑๕ พ.ย. ๖๒ - ขออนมุ ตั ิโครงการ โครงการ ครูอาสาสมัคร ๑๖ คน ประชาชน ๑๓ ธ.ค.๖๒ - ครู กศน. ๕๐๐ คน จงั หวัด ๑๕ พ.ย. ๖๒ - ๖.๒ ประชมุ - วางแผนการ ตาบล กาญจนบรุ ี คณะกรรมการ ดาเนนิ งานและ คณะกรรมการ ๕๐๐ คน -หอ้ งสมดุ ถึง ๔,๐๐๐ มอบหมายภารกิจ ดาเนนิ งาน ประชาชน ๑๑ ม.ค.๖๓ บาท ๖.๓ ประชาสัมพนั ธ์ จังหวดั ๑๑ ม.ค. ๖๓ การจัดกจิ กรรม - เชิญชวน ให้เดก็ - เดก็ เยาวชน กาญจนบุรี - เยาวชน นักเรยี น และ และประชาชน พ้ืนที่ ๒๐ ม.ค. ๖๓ ๖.๔ ดาเนินการจัด ประชาชนรบั ทราบเพอื่ ท่วั ไป ในเขต อาเภอเมอื ง กิจกรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรม อาเภอเมอื ง กาญจนบุรี กิจกรรมทจ่ี ดั มีดังนี้ โครงการวันเด็ก กาญจนบุรี - ชอ้ นไข่ใส่คาถาม แห่งชาติ ประจาปี -หอ้ งสมุด - แตง่ แต้มสีสนั พ.ศ. ๒๕๖๓ - เด็ก เยาวชน ประชาชน ชว่ ยกันระบายสี - เพอื่ เป็นการส่งเสรมิ และประชาชน จงั หวัด - ระบายสี ให้เดก็ และเยาวชนได้ ทัว่ ไป กาญจนบุรี ภาพเสมือน มคี วามรู้ ความสามารถ - รับสมัครสมาชิก กล้าคดิ กล้าทา และ - อ่านผ่านโซเชยี ล กล้าแสดงออก มีเดีย - จิก๊ ซออาเซยี น - เพือ่ สรุปผลการ บรรณารักษ์ ๒ คน - หอ้ งสมดุ - การอา่ นเพื่ออาชพี ดาเนินงาน ปัญหา ประชาชน ๖.๕ สรปุ ผลและ อปุ สรรค และความพึง จงั หวดั ประเมนิ โครงการ พอใจของผ้รู บั บรกิ าร กาญจนบรุ ี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี หน้า 48

๗. ระยะเวลาดาเนินงาน/สถานท่ี วนั ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น. ณ หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี ๘. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ เบกิ จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงาน : พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและ เสรมิ สร้างศกั ยภาพคน ผลผลติ ที่ ๕ ผู้รบั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมจดั การศึกษาตามอัธยาศยั งบดาเนินงาน เปน็ เงนิ ๔,๐๐๐ บาท (สพ่ี ันบาทถ้วน) เพอื่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายดงั น้ี ๑. ค่าวสั ดุ จานวน ๓,๕๕๐ บาท ๒. ค่าป้ายประชาสมั พันธ์โครงการ จานวน ๔๕๐ บาท รวมเป็นเงิน (สามพันบาทถ้วน) จานวน ๔,๐๐๐ บาท หมายเหตุ ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจี่ ่ายจรงิ ๙. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค.–ธ.ค. ๖๒) (ม.ค.-ม.ี ค.๖๓) (เม.ย.-ม.ิ ย.๖๓) (ก.ค.-ก.ย.๖๓) - ดาเนนิ กจิ กรรมโครงการ วนั เด็กแหง่ ชาติ ประจาปี ๔,๐๐๐ บาท - พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีการจัด กิจกรรมวนั เดก็ แห่งชาติ และ ประชาสมั พันธ์รับสมคั รสมาชกิ ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด กาญจนบุรี ในวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๓ ณ หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี รวม - ๔,๐๐๐ บาท - ๑๐. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. นางสาวสภุ าภรณ์ หวงั เลิศพาณิชย์ บรรณารักษ์ปฏบิ ัตกิ าร ๒. นางสิรกิ ิริยา นาคทองอินทร์ บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี ๑๑. เครอื ขา่ ย ๑๑.๑ ท่ีวา่ การอาเภอเมอื งกาญจนบุรี ๑๑.๒ เทศบาล และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ๑๒. โครงการ/กิจกรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ๑๒.๑ โครงการเมืองนกั อา่ น คนกาญจนบุรี แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2563 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี หน้า 49

๑๓. ผลลพั ธ์ (Outcome) ๑๓.๑ เด็กและเยาวชนมรี า่ งกาย จิตใจ สติปัญญาทดี่ ี ไดร้ บั ความรู้ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ กล้าคดิ กล้า แสดงออก และสามารถอย่กู ับผู้อนื่ ได้อย่างมคี วามสขุ ๑๓.๒ เด็กและเยาวชน เห็นความสาคัญของการอ่านและมีนสิ ัยรักการอา่ นตลอดจนใหก้ ารอา่ นนาไปสู่การ ใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี นตลอดชีวิต รู้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และไดป้ ระชาสัมพนั ธ์งานหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี และงาน กศน. ๑๔. ดชั นตี ัวช้ีวัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๔.๑ ตัวชี้วัดผลผลติ (Output) - จานวนกลุ่มเป้าหมายผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จานวน ๕๐๐ คน ๑๔.๒ ตวั ชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ เกิดนิสัยรักการอ่าน และได้รับการส่งเสริม พัฒนาการให้มีร่างกาย จิตใจ สติปัญญาที่ดี มีความม่ันใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก มีระเบียบวินัย มีความ รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สังคม และชุมชน สามารถอยูร่ ่วมกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข และได้ประชาสัมพนั ธง์ านห้องสมุด ประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี และงาน กศน. ๑๕. การติดตามประเมินผลโครงการ ๑๕.๑ สงั เกตพฤตกิ รรมเด็กและเยาวชนในขณะรว่ มกิจกรรมตา่ งๆ ๑๕.๒ แบบประเมินความพงึ พอใจ ลงชอ่ื .........................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชอื่ .......................................ผูเ้ ห็นชอบโครงการ (นางสาวสุภาภรณ์ หวังเลิศพาณชิ ย์) (นางสาวชมพู จนั ทนะ) ครชู านาญการ บรรณารักษ์ปฏิบตั ิการ ลงชอ่ื ..............................................ผูอ้ นมุ ตั ิโครงการ (นายศักดช์ิ ยั นาคเอย่ี ม) ผูอ้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2563 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี หน้า 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook