Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน

โครงงาน

Published by ppaiza.onenine, 2021-11-10 14:34:04

Description: ไม่มี

Search

Read the Text Version

ก โครงงานวิทยาศาสตร เรอ่ื งสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือเพอ่ื ยบั ยง้ั การงอกรากบริเวณขอปลองของตนกระดุมทองเลอื้ ย โดย นาย วันกาว โพธ์ถิ าวร นาย ฐติ ิพัฒน โกนาคม นาย ปณณวัฒน นนทิวฒั นวณิช รายงานน้ีเปน สวนหน่งึ ของรายวชิ า ว30291 โครงงานวทิ ยาศาสตร ตามหลักสตู รหอ งเรียนพิเศษวิทยาศาตรข อง สสวท. โรงเรียนสามเสนวิทยาลยั ภาคเรยี นท่ี 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6 ปก ารศึกษา 2564

ก บทคดั ยอ งานวจิ ยั นีม้ วี ตั ถุประสงคเพื่อศึกษาผลของสารสกัดหยาบจากใบสาบเสอื ตอการงอกรากบริเวณขอปลอง ของตนกระดุมทองเล้อื ย จากการสกัดสารสกัดหยาบจากใบของตน สาบเสือ โดยใชน ํ้ากล่ันเปน ตวั ทาํ ละลาย ซึง่ สกัด ในอัตราสว น 1 ตอ 10 แลวจงึ นาํ มาเจอื จางใหเหลอื ความเขม ขนท่ีตางกัน ดงั น้ี 2.56 , 5.26 และ 10 เปอรเ ซ็นต ตามลําดับ เพ่ือมาเปรยี บเทยี มตามเขมขน ตอประสิทธิภาพในการงอกรากของตนกระดุมทองเล้ือย พบวา สารสกดั หยาบสามารถยับยงั การงอกรากของตน กระดมุ ทองเลื้อยได โดยถา ใชในความเขมขน มากขนึ้ จะสามารถยับยง้ั ได มากขน้ึ ใบสาบเสือจะสามารถปลอยสารอัลลีโพพาที ทีเ่ ปนสารทปี่ ระกอบดว ยกลมุ ของสารประเภทของกลุม ฟนอ ลิก อัลคาลอยด และ กรดอะมโิ น ซ่ึงมีความสามารถในการยังย้ังการเจริญเติบโตของพืชชนิดอ่นื โดยในสว นใบจะ พบสารดงั กลา วในปริมาณมากทส่ี ุด แสดงใหเห็นถึงแนวทางในการนาํ สารสกัดหยาบจากใบสาบเสอื ไปแกปญหา วชั พืชในทางการเกษตร แทนสารเคมปี ระเภท Amino acid synthesis inhibitors ไดใ นอนาคต

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงงานเรือ่ งนป้ี ระกอบดว ยการดาํ เนนิ งานหลายข้นั ตอน นับตัง้ แตการศกึ ษาหาขอมลู การทดลอง การ วเิ คราะหผ ลการทดลอง การจัดทาํ โครงงานเปนรูปเลม จนกระท่ังโครงงานน้ีสาํ เร็จลลุ ว งไปไดดวยดี ตลอด ระยะเวลาดังกลาวคณะผูจดั ทําโครงงานไดร บั ความชว ยเหลอื และคาํ แนะนําในดา นตา งๆ ตลอดจนไดรับกําลงั ใจ จากบคุ คลหลายทาน คณะผจู ัดทาํ ตระหนักและซาบซง้ึ ในความกรุณาจากทุกๆทานเปนอยางย่ิง ณ โอกาสน้ี ขอ ขอบคณทุกๆ ทาน ดงั นี้ กราบขอบพระคุณ อาจารยธ ณฏั ฐา คงทน และ อาจารยม นตรี มะลกิ ลุ และ อาจารยอรินยา มานอย ท่ใี ห ความอนุเคราะหและใหความชวยเหลือในดานตางๆ ทค่ี อยดูแลเอาใจใสและใหคาํ ปรกึ ษาอยา งดี ขอขอบคุณ เพ่ือนๆ ที่ไดใ หความชวยเหลือในการทําโครงงานทา ยทีส่ ดุ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอและ คุณแม ผเู ปน ท่รี ัก ผูใหก ําลงั ใจและใหโ อกาสการศึกษาอันมีคายิง่ วันกา ว โพธถ์ิ าวร ฐิติพัฒน โกนาคม ปณ ณวฒั น นนทวิ ัฒนว ณิช

สารบัญ ค บทคัดยอ หนา กิตตกิ รรมประกาศ สารบญั ก สารบัญตาราง ข สารบญั ภาพ ค ง บทที่ 1 บทนาํ จ ทม่ี าและความสาํ คัญ วัตถปุ ระสงคข องโครงงาน 1 สมมตฐิ าน 2 ตัวแปรที่ศึกษา 2 นิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ 2 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วของ 4 บทที่ 3 วิธกี ารดาํ เนนิ การทดลอง 12 บทที่ 4 ผลการทดลอง 14 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 16 เอกสารอางอิง ภาคผนวก 19 ก การทดสอบฤทธ์ิของสารสกัดหยาบจากตน สาบเสือ

ง สารบญั ตาราง หนา ตารางที่ 15 ตารางที่ 1 ผลการทดลองประสทิ ธิภ์ าพในการยับย้ังการเจริญเติบโตของตนกระดุมทองเลื้อยดว ย สารสกดั จากใบสาบเสอื

สารบญั ภาพ จ ภาพที่ หนา ภาพท่ี 2.1 ตน กระดุมทองเล้ือย 4 ภาพที่ 2.2 ตนสาบเสอื 6

ฉ บทที่1 บทนํา 1.1 ทม่ี าและความสําคญั ในปจจบุ นั สํานักวจิ ัยการอนุรกั ษปาไมและพนั ธพุ ชื ไดใหขอ มลู วากระดมุ ทองเลอ้ื ยถูกจัดใหเปน ชนิดพันธุ ตา งถนิ่ ที่มีแนวโนม รุกราน กระดุมทองเลื้อย (Wedelia trilobata (L.) A.S. Hitchcock) เปนไมพุมขนาดเลก็ ใบ เลยี้ งเด่ยี ว เปนพืชขา มปในวงศทานตะวัน ขยายพนั ธไุ ดอยางรวดเร็วในบรเิ วณดินช้นื แฉะ สามารถเจรญิ เติบโตเปน ตนใหมได หากกานหลุดจากลําตน มาสัมผสั พืน้ ดิน (CABI, 2562) ขยายคลมุ หนาดนิ ไดเ ปนบริเวณกวาง ภายในเวลา 2 - 3 เดอื นจนมศี ักยภาพเปนพืชรกุ ราน (วราภรณ สทุ ธิสา และ ศริ ิประภา คําจันดี, 2562) ไดรับการจัดอันดับโดย องคการระหวา งประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ วา เปน 1 ใน 100 ชนิดพันธุตา งถ่นิ ทรี่ กุ รานมากทีส่ ดุ (IUCN, 2556) มีความสามารถในการบดบังพืชโดยรอบ นอกจากนีย้ งั เปน พืชท่ี สามารถอยรู อดไดในสภาวะทีห่ ลากหลาย รวมถงึ ความแหง แลง และน้ําทวม (Lin Sztab and Lesley Henderson, 2560) คณะผูจัดทาํ จึงมคี วามสนใจในการ หาวิธยี ับยงั การงอกรากของตนกระดุมทอง ดว ยสารสกัดจากใบสาบเสอื สาบเสอื (Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob.) อยใู นวงศ Asteraceae เปน พืชใบเลี้ยงคู อายุหลายป พบในพน้ื ทรี่ กรา ง ตามทงุ หญา ในไร และบรเิ วณรมิ ถนน แพรกระจายพนั ธุโดยอาศยั เมลด็ ใบสาบเสือ มีกลิ่นฉุนแรง บริเวณรอบๆ โคนตนพบพชื ชนดิ อื่นข้ึนนอย เพราะเปนพชื ท่ีมีการรายงานวา มฤี ทธิ์ทางอัลลีโลพาธี ซ่ึง สามารถยบั ยง้ั การงอกและการเจรญิ เตบิ โตของพืชชนดิ อ่นื โดยพบมากสดุ ทีส่ วนใบ ใบท่รี วงหลนลงดินจะยอยสลาย และปลดปลอ ยสารชวี เคมีออกมา สง ผลใหลดการเจรญิ เตบิ โตของพชื ตางชนิด สารกลมุ หลกั ทอี่ อกฤทธิ์ ไดแก กลุมฟน อลกิ อัลคาลอยด และ กรดอะมโิ น (เดช วัฒนชัยยิ่งเจรญิ และ คณะ, 2559)

ช เน่ืองจากตน กระดมุ ทองเล้ือยสามารถแตกแขนง ทอดเลื้อยไปตามผิวดิน และสามารถแตกรากตามขอ (ประภาพรรณ ซ่อื สัตย และ คณะ, 2562) คณะผจู ดั ทาํ จงึ มีความสนใจในการนําสารสกัดจากใบสาบเสอื ที่สกัดดว ย วธิ ีการสกัดหยาบ ซ่งึ จะไดส ารในกลุมอลั คาลอยด(alkaloid)และอนื่ ๆ โดยสารกลุมอลั คาลอยดเปน สารหลักทอ่ี อก ฤทธิอ์ ลั ลีโพพาธี ท่มี ีฤทธิย์ บั ยังการเจรญิ เติบโตของพืชชนิดอ่ืน(ชุตมิ า แกว พบิ ูลย และ ณวงศ บนุ นาค, 2561) มาใช ในการยบั ยังการงอกรากบรเิ วณขอ ปลองของตนกระดมุ ทองเลือ้ ย 1.2 วัตถปุ ระสงค เพื่อศกึ ษาผลของสารสกดั หยาบจากใบสาบเสือตอการงอกรากบรเิ วณขอปลองของตน กระดุมทองเลื้อย 1.3 ขอบเขตของการศึกษา การศกึ ษาคร้งั นี้ ทดลองความสามารถในการยบั ยัง้ การงอกรากบริเวณขอปลอ งของตนกระดุมทองเล้ือย (Wedelia trilobata (L.) A.S. Hitchcock) ดวยสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ(Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob.)โดยใชน ้ํากลัน่ เปนตัวทาํ ละลาย 1.4 สมมติฐาน สารสกดั หยาบจากใบสาบเสือมคี วามสามารถในการยบั ย้งั การงอกรากบรเิ วณขอปลองของตนกระดุมทอง เลือ้ ย 1.5 ตวั แปรท่ีศกึ ษา ตัวแปรตน การใสส ารสกัดหยาบจากใบของตนสาบเสอื ในตนกระดมุ ทองเล้อื ย

ซ ตวั แปรตาม ความสามารถในการยับย้งั การงอกรากบริเวณขอ ปลอ งของตน กระดุมทองเล้อื ย ตวั แปรควบคมุ ปริมาณนํ้าทใี่ ชรด ดนิ ที่ใช สถานที่ 1.6 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ สารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ หมายถงึ สารท่ีสกัดออกมาจากใบสาบเสอื โดยวิธีสกัดหยาบโดยใชนํา้ กลนั่ เปนตัวทําละลาย ความสามารถในการยับการงอกรากบรเิ วณขอปลองของตนกระดุมทองเลือ้ ย หมายถึง การงอกของราก บริเวณขอ ของตนกระดมุ ทอง หลงั จากการใชสารสกัดจากใบสาบเสือทดสอบ ชนิดพนั ธุตา งถ่นิ รุกราน หมายถึง ชนดิ พนั ธตุ า งถิ่นทเ่ี ขามาแลว สามารถต้งั ถิน่ ฐานและมีการแพรกระจายได ในธรรมชาติ เปนชนิดพนั ธุเดน ในสิ่งแดวลอ มใหม และเปนชนดิ พนั ธุที่อาจทําใหช นิดพันธทุ องถน่ิ หรอื ชนิพันธุ พ้ืนเมืองสูญพันธุ รวมไปถึงสงผลคุกคามตอ ความหลากหลายทางชีวภาพและกอ ใหเ กดิ ความสูยเสยี ทางสิ่งแวดลอ ม เศรษฐกจิ และสุขอนามัย การสกัดหยาบ หมายถึง การแยกสารบางชนิดออกจากสารผสมโดยใชตัวทําละลายสกัดออกมา โดยทัว่ ไป มกั เปน การสกดั สารสกดั เบ้ืองตน จากสมุนไพรที่ยงั ไมถงึ ขน สารบริสุทธ์ิ โดยการนาํ พืชที่ตองการสกดั ไปแชใ นตวั ทํา ละลาย

ฌ บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวของ 2.1 ตน กระดมุ ทองเลื้อย ภาพท่ี 2.1 ตนกระดุมทองเล้ือย ท่ีมา: ธงชยั เปาอินทร (2560) กระดมุ ทองเล้อื ย เปน ไมลม ลกุ อายหุ ลายป ลาํ ตนทอดเล้ือยไปกบั พื้น แตกรากตามขอ มีขนยาวหาง ใบ เดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู ใบหอก รูปขอบขนาน หรอื รปู ไขก ลบั แกบรปู ใบหอก แยกเปน 3 แฉก กวา ง 25.5-5 ชม. ยาว 6.5-7 ชม. มขี นยาวหา งทัง้ 2 ดาน กา นใบยาวไดถึง 4 มม. ชอดอก แบบซอ กระจุกแนน ออกทชี่ อกใบหรือปลายก่งิ เสน ผา นศนู ยกลาง 2-2.2 ชม. กา นชอ ยาว 3.5-14 ชม. ดอกวงนอกเปน เพศเมยี มี 12-14 ดอก สีเหลอื ง กลบี ดอก รปู ขอบขนาน ยาว 12.5-13 มม. ปลายหยักซ่ีฟน 3 ซ่ี ดอกวงในเปนดอกสมบรู ณเ พศมีประมาณ 38 ดอก กลบี ดอก

ญ สเี หลอื ง ผลแบบผลแหง เมลด็ ออ นรปู ไขกลีบ ยาว 2.6-3 มม. สดี าํ เปน สนั 3-4 สนั มีตอมกระจาย มขี นแขง็ คลา ย มงกฎุ ข้ีนบรเิ วณท่ีโลง แสงแดดจัด พบทัว่ ไป มักพบปลูกเปนไมประดับ ออกดอกตลอดป ถูกจัดใหเปนชนิดพันธตุ างถน่ิ รกุ รานรายท่ี 2 (ชนิดพันธตุ า งถน่ิ มแี นวโนม รกุ ราน) (สํานักวิจยั การอนุรักษปา ไมแ ละพันธุพืช, 2563) กระดมุ ทองเลอื้ ย เปน ไมพมุ ขนาดเลก็ เปน พืชขา มปใ นวงศทานตะวันทีน่ ิยมปลูกเพ่อื เปน ไมดอกไม ประดบั เปน หลกั สว นดอกและลาํ ตน ยังสามารถใชเปน สมนุ ไพรหรือใชป ระโยชนใ นดานอื่น ๆ อาทิ สีผสม อาหาร และสยี อ ม ผา เปนตน ซ่งึ พืชชนิดนม้ี ถี ่นิ กําเนิด ในทวีปอเมริกา พบมากในแถบประเทศอบอุน และ เขตรอนช้ืน รวมถึงประเทศ ไทยดวย เปนพืชทีเ่ ติบโตเรว็ และเตบิ โตไดดีบริเวณดนิ ช้ืนแฉะ สามารถแตกก่ิงกาน และเหงาใหมขยายคลมุ หนา ดนิ ไดเ ปนบริเวณกวาง ภายในไมกเี่ ดอื นจนมศี ักยภาพเปนพืชรุกรานชนดิ หนึ่ง (วราภรณ สทุ ธสิ า และ ศริ ิประภา คําจัน ด,ี 2564) ตนกระดุมทองเล้ือยสามารถผลิตผลขนาดเลก็ ซ่ึงมเี มลด็ พชื ทเี่ ปน หมนั อยา งไรกต็ ามมีการวิจัยที่แสดงให เหน็ วามีเมลด็ มากถงึ 17% ท่ีสามารถเจรญิ เติบโตได เมล็ดเหลานีม้ กั จะใชเ วลาในการเจริญเติบโตหน่ึงปเ ปนอยา งตํ่า นอกจากน้ตี น กระดุมทองเล้ือยมกั จะขยายพันธุดวยการงอกรากใหมเม่ือลาํ ตน สัมผสั พน้ื ดนิ และเศษกานก็สามารถ งอกรากได การแพรกระจายของตน กระดมุ ทองเล้อื ยสามารถควบคมุ ไดโดยฉดี สารกําจดั วัชพชื เมตซลั ฟวรอน-เมทลิ ซ่งึ เปนวธิ คี วบคมุ ทดี่ ี แตก็ยังมีบางตน ทส่ี ามารถเอาชีวติ รอดและงอกใหมได นอกจากนีย้ งั สามารถควบคุมไดโดยการ ใช 2,4-D, dicamba หรอื triclopyr เนอื่ งจากวัชพืชใบกวา งหลายชนดิ มีความไวตอสารกาํ จดั วัชพืชเหลานี้มากกวา หญา ตน กระดุมทองเลอ้ื ยเปนวชั พืชที่รกุ รานดว ยการปกคลุมพืน้ ดนิ หนาแนน แพรกระจายอยางรวดเรว็ ยกเวนพชื คลมุ ดินอน่ื เจรญิ เติบโตเหมือนเถาวลั ย และอาจมกี ารแขงขันกับพชื พรรณชนิดอ่นื อาจเพิม่ ข้นึ ดว ยฤทธอิ์ ัลโลพาที ตนกระดุมทองเลอ้ื ยไดร ับการจดั อันดับใหเปน สายพนั ธทุ รี่ ุกรานซึ่งคกุ คามและสง ผลกระทบตอ สงิ่ มชี วี ิตพื้นเมือง ของหลายพนื้ ทใ่ี นฮาวาย หมูเกาะแปซิฟกอื่นๆ อีกมากมาย หมเู กาะอนิ เดียตะวนั ตกและฟลอริดาตอนใต สหรัฐอเมรกิ า อเมริกากลาง แอฟริกาตะวนั ตก และเอเชีย นอกจากน้ียังจะบุกรกุ เขา ไปในเขตชายขอบของปา ฝน ดว ย สายพนั ธทุ อ งถนิ่ สามารถถูกยับย้ังการเจริญเติบโตไดเน่อื งจากการเตบิ โตอยา งรวดเร็วของตนกระดมุ ทองเล้อื ย และสามารถนําไปสกู ารลดความหลากหลายทางชีวภาพในพน้ื ท่ีท่ีถูกบุกรุกได (CABI, 2562)

ฎ กระดมุ ทองเลื้อย เปนไมล ม ลุก และเปน พืชขามปในวงศทานตะวนั มีอายหุ ลายป นยิ มปลูกเปน ไมประดับ ลําตนทอดเล้ือยไปกับพน้ื แตกรากตามขอ ออกดอกท่ชี อกใบหรือปลายกิ่ง ออกดอกตลอดป ดอกและลําตน ยงั สามารถนาํ ไปใชเ ปนสมนุ ไพรหรอื ใชประโยชนใ นดา นอื่น ๆ เชน สผี สมอาหาร และสียอมผา เปน ตน มีถนิ่ กาํ เนดิ ใน ทวีปอเมรกิ า พบมากในแถบประเทศอบอุน และ เขตรอนชืน้ รวมถงึ ประเทศไทย มักข้ีนบริเวณท่ีโลง แสงแดดจัด เปนพืชทเ่ี ติบโตเรว็ และเติบโตไดดีบรเิ วณดินชืน้ แฉะ สามารถแตกกง่ิ กาน และเหงา ใหมขยายคลมุ หนาดินไดเปน บริเวณกวาง ถกู จัดใหเปนชนิดพันธตุ างถ่นิ รุกรานรายท่ี 2 2.2 ตน สาบเสือ ภาพที่ 2.2 ตน สาบเสือ ที่มา: พานิชย ยศปญ ญาม (2564) สาบเสือ(Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob.) อยใู นวงศ Asteraceae เปน พชื ใบเลย้ี งคู อายุหลายป พบไดในพื้นทร่ี กราง ทงุ หญา ในไร และริมถนน แพรพ ันธโุ ดยอาศยั เมล็ด ใบมกี ลิน่ ฉุนแรง บรเิ วณรอบๆ โคนตน จะพบพืชชนิดอ่ืนเจริญเตบิ โตนอย เพราะเปนพืชท่ีมกี ารรายงานวามฤี ทธิ์ทางอัลลีโลพาธี ซึ่งสามารถยบั ยง้ั การงอกและการเจริญเติบโตของพชื ชนดิ อนื่ โดยจะพบสารอัลลีโลพาธมี ากสุดท่สี วนใบ โดยใบที่รว งหลนลงดินจะ ยอยสลาย และปลดปลอยสารชีวเคมีออกมา สงผลใหเ กดิ การลดการเจริญเติบโตของพชื ตา งชนดิ ซึง่ สารกลมุ หลักท่ี ออกฤทธ์ิ ไดแ ก กลมุ ฟนอลกิ อัลคาลอยด และ กรดอะมโิ น (เดช วฒั นชยั ยง่ิ เจริญ และ คณะ, 2559)

ฏ งานวจิ ัยท่เี กยี่ วของกับอัลลีโพพาธีในตน สาบเสอื ชุติมา แกว พิบลู ย และ ณวงศ บนุ นาค(2561) ไดทําการทดลองเพ่ือทดสอบผลรวมของสารสกดั หยาบจาก พชื 2 ชนิด คือ สาบเสือ และกระถินเทพา ซึ่งมผี ลตอ การงอกและการเจรญิ เตบิ โตของไมยราบซง่ึ เปนวัชพชื ในนา ขา ว โดยใชตัวทําละลาย 2 ชนิด ไดแ ก ไดคลอโรมีเทน และเมทานอล เพือ่ สกัดใบสาบเสอื และกระถนิ เทพา ตามลาํ ดบั จากนั้นไดทําการทดสอบทางพฤกษเคมเี บ้ืองตน พบวา ในสารสกดั หยาบของใบสาบเสือประกอบดวยสาร กลุมอลั คาลอยด คมู ารนิ ฟลาโวนอยด เทอพีนอยด และสเตียรอยด สว นสารสกดั หยาบของของใบกระถินเทพา ประกอบดว ยสารกลุมอลั คาลอยด แทนนิน นํา้ ตาลรีดิวซ และสเตยี รอยด เม่ือศึกษาผลรว มกันของสารสกดั จากพืช ท้งั 2 ชนดิ ในอัตราสว น 1:1, 2:1 และ 1:2 ตอการงอกและการเจริญของไมยราบ และขา วสังขหยดซึ่งปน ชุดควบคุม ผลการทดลองแสดงวา สารสกัดใบสาบเสือตอกระถนิ เทพาในอัตราสว น 2:1 สามารถยบั ย้ังการงอกของไมยราบรอย ละ 73.4 ยับย้ังความยาวของรากและลาํ ตนรอยละ 38.27 และ 77.88 ตามลําดับ แตไมม ผี ลตอการงอกและการ เจรญิ ของขา วสงั ขห ยด ซึ่งแสดงใหเหน็ วาสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือและใบกระถินเทพาสามารถยับยง้ั การงอก และการเจรญิ ของวัชพืชอยา งจําเพาะ 2.3 สารอัลลโี พพาธี สารประกอบทางเคมใี นพืช และสารอลั ลิโลพาธี หมายถึง สารประกอบที่พชื สรางขึน้ ดวยกระบวนการเม แทบอลิซึม รวมทงั้ สารอนพุ นั ธตา ง ๆ ของสารเหลา นถ้ี ูกสรางขึ้นดวย โดย สารประกอบที่สิ่งมชี ีวติ สรา งขึ้นถูกแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. สารเมแทบอไลทปฐมภมู ิ คือ สารทไี่ ดม าจากกระบวนการ สงั เคราะหดว ยแสง รวมทงสารอื่น ๆ ที่ เกีย่ วของในกระบวนการตาง ๆ ของพชื เชน การหายใจ ซึ่งมีสารประกอบตา ง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ งมากมาย เชน คารโบไฮเดรต ไขมนั โปรตนี กรดอะมโิ น เพยี วรีน และไพริมดิ ีน เปน ตน 2. สารเมแทบอไลททตุ ิยภมู ิ คือกลุมของสารเคมที ี สรา งโดยพชื สัตว รา หรอื แบคทเี รีย ท่ีไมมคี วามจ เปน ข้ันวิกฤตติ อสิ่งมีชวี ติ และผผู ลิต หากแตถ ูกสรา งโดยกระบวนการทางชวี เคมขี องผผู ลติ เปนสารจาํ เพาะตอผูผลติ

ฐ นน้ั ๆ เปนสารทใ่ี หก ลิน่ สี หรอื สารทีม่ ีสรรพคณุ จาํ เพาะของพืช ไดแก สารอัลคาลอยด ฟน อลิก อะซโี ทจีนิน และ เทอรพีนอยด เปน ตน (จารุวรรณ แซเอง, 2559) อัลลีโลพาทีเปนกระบวนการทพี่ ืชชนดิ หนงึ่ ปลอ ยสารที่เปน พิษออกไปใหก ับพชื ขา งเคยี ง ซึ่งอาจเปน อนั ตรายตอพืชผรู บั นนั้ ๆจนถงึ ตายได ซงึ่ สารท่ีถูกปลอยออกมาเรยี กวา สารอลั ลโี ลเคมิคอล พชื ท่สี รา งสารอัลลีโลเค มิคอลออกมาเรียกวา พืชผปู ลดปลอยสารพิษ ผลกระทบของอัลลโี ลพาธีมี 2 ระดับ คอื ผลกระทบขัน้ ปฐมภมู ิ เปนผล จากสารอลั ลโี ลเคมิคอลที่อยูในเศษซากพชื ทต่ี กคางอยูในดินถกู ปลดปลอ ยโดยการยอยสลายหรอื ถกู นา ฝนชะ แลวมี ผลตอ การเจรญิ ของพืชอีกชนดิ ท่ีอยูในดนิ นั้น รวมท้งั สารพิษท่ีจุลินทรียส รางระหวางการยอยสลายเศษซากพชื น้ันๆ ดว ย ผลกระทบอีกแบบคือ ผลกระทบขั้นทุตยิ ภมู ิ ซงึ่ เกิดจากการท่ีพชื สรา งและปลอดปลอ ยสารพิษออกมาขณะท่ี ยังมชี วี ิตอยู ผลกระทบจะไมร ุนแรงเทา กบั สารพิษจากเศษซากพชื พชื ทสี่ รา งสารอัลลีโลเคมิคอลไดนัน้ เปนไดท ้ังพชื ปลูก หรือวัชพืช และอาจพบไดท ้งั ในกรณีทีพ่ ชื ปลกู สรางสารอลั ลีโลเคมิคอลไปยับย้งั วัชพืช วัชพืชสรางสารอลั ลี โลเคมิคอลไปยับยัง้ พืชปลูก หรอื วัชพชื อาจจะสรา งสารอัลลีโลเคมิคอลเพ่อื ยับย้ังวชั พืชดวยกันเอง พชื ท่สี รา งสารอลั ลีโลเคมคิ อลทมี่ ีฤทธ์ยิ ับยงั้ การเจริญเติบโตของพืชอื่นอยางรุนแรง จะสังเกตไดวาจะไมมีพืชชนดิ อนื่ ขนึ้ ในระยะใกล เคียงกบั พืชชนดิ นัน้ ได โดยไมเกย่ี วของกบั รมเงาของพชื ดงั แสดงในการทดสอบฤทธิท์ างอลั ลีโลพาทีทนี่ ยิ มศึกษาใน ประเทศไทย จะเปนการนาํ สวนตางๆ ของพืชที่คาดวาจะมีฤทธิ์ทางอลั ลโี ลพาทีนี้มาสกัดดวยตัวทําละลายตางๆ แลว จึงนาํ สารสกดั ที่ได ไปทดสอบผลตอ การเจรญิ ของพชื ทดสอบ ซ่ึงนิยมทดสอบในระยะตนกลาทง้ั กอนงอกหรือหลงั งอก ตวั ทําละลายทีเ่ ปน ทนี่ ิยมมากทส่ี ดุ คือนา เน่ืองจากเปนตวั ทาํ ละลายที่หาไดงา ย ไมเปนพษิ เหมาะกับการใช สกดั ตวั อยา งพชื สด และยงั สอดคลองกบั การออกฤทธิจ์ ริงของสารเหลานใ้ี นระบบนเิ วศทมี่ นี า เปน องคประกอบหลกั นอกจากนา แลว ตัวทาํ ละลายอืน่ ทนี่ ยิ มใช ไดแก เอทานอล เมทานอล และเอทลิ อะซเี ตต แตเนือ่ งจากตวั ทําละลาย เหลา น้อี าจเปนพิษตอพชื ได ดังน้นั กอนทดสอบจะตองนําสารสกดั ไประเหยตวั ทําละลายออกใหห มด กอ นจะนาํ มา ทดสอบตอไป (ผศ.ดร.วราภรณ ฉุยฉาย, 2555) จากการศึกษาผลทางอลั ลโี ลพาธจี ากพืชชนดิ ตางๆ ตอพืชทดสอบ พชื สรางสารอัลลีโลพาธแี ละปลดปลอย สูสิ่งแวดลอม ซง่ึ สารอลั ลีโลพาธีน้ันมีผลยับยั้งการงอกของเมลด็ และการเจริญเติบโตของพืชขางเคยี ง สารอัลลโี ล พาธที ี่ปลดปลอยออกมาจากพืชสวนใหญเปน สารเมแทบอไลต ทตุ ิยภมู เิ มื่อนาํ สารสกัดจากพืชทดลองมาวิเคราะห

ฑ ทางเคมีเพื่อหารสารสําคญั ทีม่ ีผลทางอลั ลีโลพาธีตอ พืช สามารถแบง สารอัลลลีโลพาธีออกเปน กลุมตามลกั ษณะ โครงสรางของสารไดด งั นี้ กลุมกรดอินทรียล ะลายนํา้ ได แอลกอฮอลโ ซตรง อะลิเฟทิก อัลดีไฮด และ คโี ตน กลุมอะ โรมาทกิ กลมุ นํ้าตาลแลคโทนไมอ ่ิมตัว กลมุ คมู ารนิ กลมุ ควิโนน กลุม ฟาโวนอยด กลุมแทนนิน กลมุ อัลคาลอยด และ ไซยาโนไฮดริน กลมุ เทอรฟน อยดและสเตอรอยด กลมุ แกสพิษ กลมุ กรดไขมนั โซย าวและพอลิอะเซทลิ นี กลุม กรด ซนิ นามกิ และอนุพันธ กลุมกรดอะมิโนและพอลิเพปไทด กลุมซัลไฟดและมสั ตารด ออยดไกลโคไซด กลุมพวิ รนี และ นิวคลโี อไซด กลมุ ไซยาโนเจนกิ ไกลโคไซด จากรายงานการศกึ ษาสารจากชะลางหรือเศษซากของ Alfalfa ที่ยอย สลายจะพบสารพวก phenolic จาํ นวนมาก สารสกัดจากใบ Magnolia grandiflora L. พบ sesquiterpene lactones 2ชนิด ไดแก costunolide และ parthenolide สารท้ัง 2 ชนิด ท่ีความเขมขน 500 µg/ml ทาํ ใหค วาม งอกของขา วสาลี ผักกาดหอ แรดิช และ หอมใหญ ลดลง(p< 0.005) ขาว แปดสายพนั ธุ ปลดปลอยสาร momilactone A และ B ออกมาทางรากและสง ผลใหเกิดการยบั ยง้ั การเจริญเตบิ โตของรากและลําตน ของเมลด็ ขาวนก Echinochloa crusgalli (สรุ เชษฐ พฒั ใส, 2555) 2.4 สารในกลุมอัลคาลอยด อัลคาลอยด เปนสารเมแทบอไลททตุ ยิ ภมู ิ มีฤทธ์ิเปน ดา ง ในโมเลกลุ ประกอบดวยธาตไุ นโตรเจนอยางนอย 1 อะตอม พบมากในพืช แตอาจพบไดใ นแบคทีเรีย รา และสตั ว เปน สารที่มกั จะมีพิษและมีฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยาใน หลายระบบ อัลคาลอยดจ งึ ถูกนํามาใชใ นการรกั ษาโรคอยา งกวางขวาง เชน ใชเ ปน ยาระงับปวด ยาชาเฉพาะท่ี ยา แกไ อ ยาแกหอบหืด ยารักษาแผลในกระเพาะและลาํ ไส ยาลดความดัน ยาควบคมุ การเตน ของหวั ใจ และอลั คา ลอยดบางตัวมีฤทธ์ติ านมะเรง็ 9-15 การจาํ แนกชนิดของสารอัลคาลอยดทาํ ไดห ลายวธิ ี เชน การแบงตามกลมุ ของ พืชที่มีอลั คาลอยดน ้ันๆ แบงตามคณุ สมบัติทางเภสชั วทิ ยา แบงตามชนิดของสารต้งั ตน และแบง ตามสตู รโครงสราง ทางเคมี โดยวธิ ที ี่นิยมคือ แบงตามชนดิ ของสารตัง้ ตนในชวี สังเคราะห ซ่งึ สามารถแบงอลั คาลอยดไดเปน 3 กลุม ดังน้ี 1. อัลคาลอยดแทจ ริง สูตรโครงสรา งมีอะตอมไนโตรเจนอยา งนอย 1 อะตอม ท่ีมาจากกรดอะมโิ น และ อะตอมไนโตรเจนเปน สวนของวงเฮเทอโรไซคลิก กรดอะมิโนที่เปนสารตั้งตน ในชวี สงั เคราะหข องอัลคาลอยดกลมุ น้ี เชน แอล-ออรนิธีน, แอล-ไลซนี , แอล-ฟน ิลอะลานนี /แอล-ไทโรซนี แอล-ทรปิ โตเฟน และ แอลฮสี ทดิ ีน ตัวอยาง สารอลั คาลอยดทีแ่ ทจริง เชน โคเคน นิโคตนิ พิเพอรดิ ีน พิเพอรนี มอรฟ น อะโทรปน เปนตน

ฒ 2. โพรโทอัลคาลอยด เชน เมสคาลนี ฮอรดินนี และโยฮิมบีน เปน กลมุ ของสารอลั คาลอยดที่อะตอม ไนโตรเจนในโครงสรางมาจากกรดอะมิโนเชน เดยี วกับอัลคาลอยดแทจ รงิ แตโ ครงสรางมีอะตอมไนโตรเจนอยนู อก วงเฮเทอโรไซคลกิ สารตั้งตนในชีวสงั เคราะหของอัลคาลอยดในกลมุ น้ี ไดแก แอล-ไทโรซีน และแอล-ทรปิ โตเฟน 3. ซโู ดอัลคาลอยด หรอื อัลคาลอยดเ ทยี ม เปน อลั คาลอยดท โ่ี ครงคารบอนไมไ ดมาจากกรดอะมโิ น สูตร โครงสรา งประกอบดว ยอะตอมไนโตรเจนในวงเฮเทอโรไซคลกิ สารตั้งตน ในชีวสงั เคราะหของอลั คาลอยดในกลุมน้ี ไดแ ก แอซิเตต กรดไพรูวิก กรดเฟอรูลิก เจอรานิออล ซาโปนนิ และอะดีนนี / กวานีน ซ่งึ เปน สารต้งั ตน หรือสารที่ เกดิ จากกระบวนการเปลีย่ นของสารต้งั ตนของกรดอะมโิ น ตัวอยางสารอัลคาลอยดท ีจ่ ัดอยใู นกลุมน้ี เชน คาเฟอีน แคปไซซนิ ทีโอโบรมนี และธิโอฟลลีน เปน ตน (ศิริพร หมาดหลา และ พจนพร ไกรดิษฐ, 2559) 2.5 งานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ งกบั สารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ สารสกดั หยาบ หมายถึงการแยกสารบางชนดิ ออกจากสารผสมโดยใชต วั ทําละลายสกัดออกมา โดยท่วั ไป มักเปน สารสกัดเบ้ืองตน จากสมุนไพรทยี่ งั ไมถงึ ขนั้ สารบริสทุ ธิ์ กรรมวธิ ีการสกัดไมย งุ ยากซับซอ น โดยการแชพชื ท่ี ตอ งการสกดั ในตัวทาํ ละลาย ท้ิงไวระยะเวลาหนึ่ง แลวจงึ กรองจากนน นําสารละลายท่สี กดั ไดไประเหยเอาตวั ทาํ ละลายออกจนไดสารสกดั ขั้นตน ซ่งึ ในการแชต ัวอยา งในตัวทําละลายน้ัน ตวั ทําละลายสามารถซึมผานเขา ไปใน เนอื้ เยื่อของพืชไดมาก หากแช ในระยะเวลาทเ่ี พิม่ มากขนึ้ การสกดั สารจากพชื ทาํ ไดห ลายวธิ ซี ง่ึ ขึ้นอยกู ลบั ชนดิ ของ สารที่ตอ งการสกดั คุณสมบตั ิของสารในการทนตอความรอน และชนดิ ของตวั ทาํ ละลายที่จะใช เปนตน (จารวุ รรณ แซเ อง,2559) งานวิจัยท่ีเกีย่ วของกบั วธิ ีการสกัดหยาบใบสาบเสอื ปนศิ า นมัสการ และคณะ (2555) การสกดั ใบสาบเสือโดยนาํ ใบสาบเสอื สดมาคดั เลือกใบทีส่ มบูรณ ใชใ บที่ 5 ถงึ 10 นบั จากยอด ลา งใหสะอาด นํามาหนั่ เปน ช้ินเลก็ ๆ เพ่อื ทําการสกดั

ณ สกดั ดวยน้าํ กลน่ั โดยนาํ ใบสาบเสือจํานวน 30 กรมั มาสกัดดวยน้าํ กล่ัน 300 มิลลิลิตร ทําการโขลกให ละเอยี ด แชท ง้ิ ไวนานประมาณ 12-16 ชัง่ โมงจากนัน้ แยกสวนทเี่ ปนของเหลวและสว นกากพืชอกจากกัน นําสว น ของเหลวไปกรองผา นกระดาษกรองเบอร 1 เพ่ือแยกชิ้นสว นพชื ออกจากสว นของของเหลวใหมากท่สี ุด สกัดดวยเอทานอล 95% โดยช่ังใบสาบเสอื จาํ นวน 30 กรัมมสกดั ดวยเอทานอล 95% จํานวน 300 มิลมิ ลติ ร แชท ง้ิ ไวประมาณ 12-16 ชว่ั โมง จากนัน้ แยกสว นทเี่ ปนกากพชื ออกจากสว นที่เปนของเหลวโดยกรองผา น กระดาษกรองเบอร 1 เพ่ือแยกชน้ิ สวนพืชออกจากสวนของเหลวใหม ากท่สี ดุ จากน้นั นําไประเหย จุฑามาศ ศุภพนั ธและวรี ะเกยี รติ ทรัพยม ี (2557) นาํ ใบวัชพชื ไดแก สาบเสือ ตอ ยต่ิง หญาคา แมงลักคา และขี้ไกยาน 50 กรมั มาปน ละเอียดแลว ละลายดว ยเมทานอล 750 มิลลลิ ติ รจากน้ันเติม นํ้ากลัน่ 150 มิลลลิ ติ ร แลวระเหยเมทานอลออกใหเ หลอื สารละลายประมาณ 50 มลิ ลิลิตร นําสารละลายทไ่ี ดม าปรับปริมาตรดว ยนาํ้ กลั่น ใหเ ปน 100 มิลลลิ ิตร สารละลายจะเปน stock solution เพือ่ ทาํ การเจือจางและใชใ นการทดสอบตอไป จากนั้นทํา การทดลองโดยวางแผนแบบสุมสมบูรณต ลอด แตล ะชดุ การทดลองนํา stock solution มาเจือจางดว ยนํ้าากล่นั ให ไดค วามเขม ขน 10, 20 , 40, 80 และ 100 เปอรเซ็นตโ ดยใชช ดุ ควบคุมเปนนํา้ กลน่ั สขุ ุมาลย เลศมงคล (2558) นําผกั เสย้ี นดอกมวงที่ออกดอกและมฝี ก เกบ็ จากที่รกรางจังหวัดลพบุรี ความชนื้ 22 เปอรเซ็นต มาลา งทําความสะอาดและตดั เปนชน้ิ ใหมีขนาดเล็กประมาณ 0.5 เซนติเมตร ใชทุกสว น ของพืช ทง้ั สวนของราก ลําตน ใบ ดอก นํามาใสภาชนะบกี เกอร โดยใชผกั เสยี้ น 200 กรัม ตอ นากลั่นปรมิ าตร 800 มลิ ลิลติ ร หมักไวเ ปนระยะเวลา 1 สัปดาหเ ม่อื ครบกําหนดนํามากรองดวยผาขาวบาง แลวทาํ การลดปริมาตรโดยใช เคร่ือง Freeze-dryer ใหเ หลือ 50 มิลลลิ ติ ร คณะผจู ัดทาํ ไดเลือกการทดลองของ ปนศิ า นมสั การ มาใชเ ปน ตนแบบในการทดลองเนอื่ งจากเปนการ ทดลองที่ใชต นสาบเสอื ในการทดลองเพยี งชนดิ เดยี วโดยไมมพี ืชชนดิ อ่นื มารว มสารสกัด และไมใชเครอ่ื งมอื ท่ี ซบั ซอ นทําใหสามารถนาํ มาทดลองไดโ ดยงา ย

ด บทที่ 3 วิธีดาํ เนนิ การทดลอง 3.1 วัสดอุ ุปกรณแ ละมอื พเิ ศษ 3.1.1 วสั ดุอปุ กรณ ชนิดของวสั ดอุ ุปกรณ บรษิ ัทผผู ลิต กระดาษกรอง Whatman NO.1 GE Healthcare Life sciences แกว พลาสติก มิสเตอร. ดี. ไอ. วาย. เทรดดงิ้ (ประเทศไทย) จาํ กัด เครอ่ื งช่งั กรรไกรขนาด 9 น้วิ YHequipment ดี.เอช.เอ. สยามวาลา จาํ กดั 3.2 สารเคมี ชนดิ สารเคมี บรษิ ัทผผู ลติ นาํ้ กล่นั ห.จ.ก.ลเ้ี ชยี ฮวด 3.3 สงิ่ มชี ีวิต ตนกระดุมทองเล้ือย ใบสาบเสอื

ต 3.4ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน 3.4.1 การสกดั หยาบสารอัลลีโลเคมคี อลจากตนสาบเสือ 3.4.1.1 นําใบของตน สาบเสือมาหั่นเปนชนิ้ เล็กๆ โดยใชก รรไกรขนาด 9 น้ิว 3.4.1.2 ช่ังสาบเสือ 100 กรัม แลวเตมิ น้ํากลั่นใหครบ 1000 มลิ ลิลิตร (อตั ราสวน 1 : 10) 3.4.1.3 แชท ้ิงไวประมาณ 12 - 16 ช่วั โมง 3.4.1.4 กรองสารสกดั ผา นกระดาษกรอง Whatman NO.1 3.4.1.5 นําสารทีไ่ ดม าแบง ออกเปน 4 ชุดการทดลอง ไดแก ชดุ ที่ 1 เปน ชดุ ควบคุมทใี่ สน้ําสะอาด 200 มลิ ลลิ ติ ร ชดุ ท่ี 2 เปน ชุดที่ใสน้าํ สะอาด 100 มลิ ลิลิตร ผสมกบั สารสกัดที่ไดจากการกรอง 100 มลิ ลลิ ติ ร ชุดที่ 3 เปนชดุ ทใ่ี สน ํา้ สะอาด 150 มิลลิลิตร ผสมกับสารสกดั ที่ไดจ ากการกรอง 50 มิลลลิ ิตร ชุดที่ 4 เปนชดุ ที่ใสแตส าร สกัดทีไ่ ดจากการกรอง 200 มิลลลิ ิตร 3.4.2 การทดสอบฤทธข์ิ องสารสกดั หยาบจากตนสาบเสือ 3.4.2.1 แบงการทดลองเปน 4 ชดุ โดยชุดท่ี 1 เปน ชดุ ควบคมุ ชดุ ที่ 2 เปนชดุ ทีม่ ีสารสกัดหยาบจากใบ สาบเสือความเขมขน 2.56% ชดุ ที่ 3 เปน ชดุ ท่มี ีสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือความเขม ขน 5.26% และชุดที่ 4 เปน ชุดที่มสี ารสกัดหยาบจากใบสาบเสอื ความเขม ขน 10% 3.4.2.2 ตัดกา นจากตนกระดุมทองโดยนับจากกานบนสุด 18 เซนติเมตร 3.4.2.3 นํากานของตน กระดุมทองเลอ้ื ยของทั้ง 4 ชุดการทดลองมาใสในภาชนะทจี่ ดั เตรียมไว 3.4.2.4 นาํ ไปวางในจดุ ท่ีแสงแดดสองถงึ และปลอยท้งิ ไวป ระมาณ 1-2 สัปดาห 3.4.2.5 สงั เกตการเจรญิ เตบิ โตบริเวณขอ ของตนกระดมุ ทองเลอ้ื ย 3.4.2.6 บนั ทกึ ผลการทดลอง

ถ บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการศึกษาความเหมาะสมของสารสกดั หยาบจากใบสาบเสอื เพ่ือปองกันการงอกรากของตนกระดุมทอง เลื้อย ใชเ พื่อการทดสอบ ผลการสอบเทยี บชุดควบคุม และ ชุดที่มีสารสกดั หยาบจากใบสาบเสอื รายละเอียดดงั นี้ 4.1 ทดสอบฤทธย์ิ ับยง้ั การเจริญเติบโตของตนกระดุมทอง เม่ือทดลองสกัดหยาบใบสาบเสอื ดว ยน้าํ กลั่นในอัตราสว น 1:10 จะไดสารสกัดหยาบทีม่ สี ีน้าํ ตาลออน และมกี ล่นิ แรง พบวา มีฤทธใ์ิ นการยับย้งั การเจริญเตบิ โตของตนกระดุมทอง จากน้นั แบงชุดการทดลองเปน 4 ชุด การทดลอง ไดแ ก ชุดท่ี 1 เปนชดุ ควบคมุ ที่ใสน ้ําสะอาด 200 มิลลลิ ิตร ชดุ ที่ 2 เปนชดุ ท่ีใสนา้ํ สะอาด 100 มิลลลิ ิตร ผสมกบั สารสกดั ท่ีไดจากการกรอง 100 มิลลลิ ติ ร ชดุ ที่ 3 เปนชุดที่ใสน ํา้ สะอาด 150 มิลลิลติ ร ผสมกับสารสกดั ทไ่ี ด จากการกรอง 50 มิลลลิ ิตร ชุดที่ 4 เปนชุดทใี่ สแตส ารสกัดทีไ่ ดจ ากการกรอง 200 มลิ ลลิ ติ ร 4.2 บันทกึ ผลการทดลอง ตารางท4่ี .1 ผลการยบั ย้งั การเจริญเตบิ โตของตน กระดุมทองเลื้อย วนั ที่ ชุดควบคมุ ชุดที่ 2 ชุดท่ี 3 ชดุ ที่ 4 10% 2.56% 5.26% ไมมีการ 1 ไมม ีการ ไมมีการ ไมมีการ เปลย่ี นแปลง เปล่ยี นแปลง เปลีย่ นแปลง เปลยี่ นแปลง

ท 2 ไมม ีการ ไมม ีการ ไมม ีการ ไมม ีการ เปลย่ี นแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปล่ียนแปลง 3 ไมมีการ ไมมีการ ไมมีการ ใบเริ่มสซี ีด เปล่ียนแปลง เปล่ียนแปลง เปลย่ี นแปลง 4 ไมมีการ ไมม ีการ ไมมีการ ใบเหยี วเฉา เปลีย่ นแปลง เปล่ียนแปลง เปลยี่ นแปลง 5 รากเริ่มงอก ใบเริม่ สีซดี ใบเร่ิมสซี ดี ตาย 6 ไมม ีการ ไมม ีการ ไมม ีการ - เปล่ียนแปลง เปลี่ยนแปลง เปล่ยี นแปลง 7 มรี ากงอกทหั้ มดรวม ใบสซี ีดเล็กนอ ยมี ใบเรมิ่ เหียวเฉา ไมมี - 9 รากโดยในรากที่ รากงอกทง้ั หมด 3 รากงอกเพ่ิมข้ึนมา ยาวท่สี ดุ ยาว 5 ราก โดยรากทย่ี าว มิลลิเมตร ทีส่ ุดมีความยาวไม ถึง 1 มลิ ลเิ มตร ตารางท่ี 1 ผลการทดลองประสทิ ธ์ิภาพในการยับยั้งการเจริญเตบิ โตของตน กระดุมทองเล้ือยดวยสารสกดั จากใบ สาบเสอื

ธ บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ จากการสกดั สารสกดั จากใบสาบเสือโดยใชน้ํากล่ันเปน ตวั ทําละลาย พบวา สารสกดั มฤี ทธใ์ิ นการยบั ยั้งการ เจรญิ เตบิ โตของตนกระดมุ ทอง โดยทําใหตนกระดุมไมสามารถงอกรากและไมสามารถเจริญเติบโตไดเมื่อ เปรียบเทยี บกับชดุ ควบคมุ ถาสารสกัดมคี วามเขมขน มากขึ้นจะทําใหยับยงั จะสามารถยับยังไดมากข้ึน เปน เพราะ ในสารสกัดหยาบจากตน สาบเสือมีกลมุ สารอัลลีโลพาธี โดยสารชนิดนมี้ ีความสามารถในการยบั ยังการเจริญเตบิ โต ของพืชชนิดอื่น ทาํ ใหรากของตนกระดุมทองไมง อก 5.1 สรุปผล 5.1.1 สารสกดั หยาบท่ีไดจ ากการสกดั ตน สาบเสือ ทนี่ าํ มาแบงเปน 4 ชุดการทดลอง ซ่ึงมีความเขมขน ของ สารสกดั หยาบจากใบสาบเสือแตกตางกนั ไดแก ชุดควบคุมใหตน กระดมุ ทองเจริญเตบิ โตในน้าํ สะอาด 200 มิลลิลติ ร ชดุ ที่ 2 ใหต น กระดมุ ทองผสมกับสารสกดั หยาบจากใบสาบเสือ 200 มิลลิลติ ร ความเขมขน 2.56 เปอรเซน็ ต ชุดที่ 3 ใหตนกระดมุ ทองผสมกบั สารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ 200 มลิ ลลิ ิตร ความเขมขน 5.26 เปอรเ ซน็ ต ชดุ ท่ี 4 ใหตนกระดมุ ทองผสมกับสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ 200 มิลลิลติ ร ความเขม ขน 10 เปอรเ ซน็ ต ความเขม ขนของสารสกัดหยาบจากใบสาบเสือทําใหตน กระดมุ ทองเลื้อยเจรญิ เติบโตไดไ มเ ทากนั โดยถา ความเขม ขนของสารสกัดมากขน้ึ จะเจรญิ เตบิ โตและงอกรากไดนอยลง 5.1.2 ชุดควบคุมสามารถเจริญเตบิ โตไดดีทสี่ ุด และชุดท่ีมกี ารใสส ารสกัดจากใบสาบเสือจะมีการ เจริญเตบิ โตท่นี อยหรือไมสามารถเจริญเตบิ โตได โดยใบจะเริ่มเห่ียว และจะตายในที่สุด ในการทดลองชดุ ควบคุม มี รากงอกท้ัหมดรวม 9 ราก โดยในรากท่ียาวท่ีสุดยาว 5 มิลลิเมตร การทดลอง ในการทดลองชดุ ท่ี 2 มีจํารากทีง่ อ กรวม 3 ราก โดยรากทยี่ าวท่ีสดุ มีความยาวไมถึง 1 มิลลิเมตร ในการทดลองชดุ ท่ี 3 และ 4 ไมมีรากงอก

น 5.2 อภิปรายผล 5.2.1 ชดุ ควบคุมสามารถเจริญเตบิ โตไดดีทีส่ ุด เน่ืองจากตนกระดมุ ทองมคี วามสามารถในการแตกราก ตามขอและสามารถเจรญิ เติบโตในสภาพแวดลอมท่หี ลากหลายได และไมมสี ารอลั ลีโลพาทจี ากสารสกัดใบสาบเสอื มายับยังการเจรญิ เติบโต 5.2.2 ชุดการทดลองที่ 2, 3, และ4 งอกรากเล็กนอย เจริญเติบโตไดน อย ไมสามารถงอกราก ไมส ามารถ เจริญเติบโต เปนผลมาจากสารกลมุ อัลลีโลพาธีท่ีอยูใ นสารสกดั หยาบจากใบสาบเสือ สารหลกั ท่อี อกฤทธ์ิ ไดแก กลมุ ฟนอลิก อลั คาลอยด และ กรดอะมโิ น ซ่งึ จะไปขัดขวางการเจรญิ เติบโตของตนกระดุมทอง โดยในความเขน ขนท่ีมากขนึ้ จะสามารถสง ผลไดดีมากข้นึ 5.3 ขอ เสนอแนะ 5.3.1 แนะนาํ ใชเ ครื่องมือทางวทิ ยาศาสตรเ พ่ือใหไดผลการทดลองทชี่ ัดเจนและปริมาตรทแ่ี นน อน 5.3.2 ใหท ดลองในหองควบคุมเพ่ือใหไ ดผลการทดลอทีแ่ นนอนมากข้นึ

บ เอกสารอางอิง จารุวรรณ แซเ อง (2559) วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาชวี วิทยาศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยบรู พา ชตุ มิ า แกว พิบูลย และ ณวงศ บุนนาค (2561) สาขาวิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ วิทยา เขตพัทลุง เดช วฒั นชัยย่ิงเจรญิ และ คณะ (2559) วารสารวชิ าการเกษตร ปท ี่ 34 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2559 ปณศิ า นมสั การ และ คณะ (2555) วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี วราภรณ ฉุยฉาย (2555) วารสารวิชาการวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค วราภรณ สุทธิสา และ ศริ ิประภา คําจันดี (2562) คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ศิริพร หมาดหลา และ พจนพร ไกรดษิ ฐ (2560) สงขลานครนิ ทรเวชสาร ปท ี่ 35 ฉบบั ท่ี 1 ม.ค.-ม.ี ค. 2560 ภาควชิ าชวี เวชศาสตร2 หองปฏบิ ตั ิการวจิ ยั สคู วามเปน เลศิ ดานชวี โมเลกลุ ของมะเรง็ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร สาํ นักวจิ ัยการอนรุ ักษป าไมและพันธุพชื (2564) พืชตางถน่ิ รุกราน (ออนไลน) สบื คนจาก https://drive.google.com/file/d/1L0nNTcaVEDEORcDvIV9EPuXIyhylvko0/view?usp=drivesdk สุรเชษ พฒั ใส (2555) ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาชวี วิทยา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ

ป ภาคผนวก ภาคผนวกท่ี 1 : การทดสอบฤทธ์ขิ องสารสกัดหยาบจากตน สาบเสือ ภาพที่ 8.1 ชดุ การทดลองเปน 4 ชดุ การทดลอง ไดแก ชดุ ท่ี 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชดุ ที่ 4 ภาพท่ี 8.2 รากบรเิ วณขอของตนกระดุมทองเลือ้ ยตนที1่ ในการทดลองชดุ ควบคมุ หลังจากผา นไป 1 สปั ดาห หลังจากการทดลอง

ผ ภาพที่ 8.3 รากบรเิ วณขอ ของตน กระดุมทองเลอ้ื ยตน ท2ี่ ในการทดลองชุดควบคุมหลังจากผา นไป 1 สปั ดาห หลังจากการทดลอง ภาพที่ 8.4 การงอกรากของตนในชุดการทดลองชุดท่ี2

ฝ ภาพที่ 8.5 กระดุมทองในการทุดลองชุดท่ี 3 ใบเริ่มเหียว

พ ภาพที่ 8.6กระดุมทองในการทุดลองชุดที่ 4 ตาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook