Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 6 การพยาบาลระยะหลังคลอด.new

บทที่ 6 การพยาบาลระยะหลังคลอด.new

Published by panitsaral, 2021-02-10 05:28:29

Description: บทที่ 6 การพยาบาลระยะหลังคลอด.new

Search

Read the Text Version

การพยาบาลระยะหลังคลอด (มารดาหลังคลอด) PANITSARA LEEKUAN SCHOOL OF NURSING UNIVERSITY OF PHAYAO

วตั ถปุ ระสงค์:  1. อธิบายการเปลี่ยนแปลง/การปรบั ตวั ดา้ นสรรี ะ และการกลับคืนสภู่ าวะปกติของ อวัยวะตา่ งๆ ในระยะหลงั คลอดปกตไิ ด้  2. อธบิ ายหลกั การประเมินภาวะสุขภาพและจิตสังคมของมารดาหลังคลอดปกติได้  3. บอกแนวทางการสง่ เสรมิ สขุ ภาพมารดาหลงั คลอด (13B)ได้  4. บอกแนวทางการส่งเสริมสมั พันธภาพมารดาและทารกหลงั คลอดได้  5. วางแผนการพยาบาลมารดาหลงั คลอดปกติและครอบครัวไดอ้ ย่างเหมาะสม

ความหมายของระยะหลังคลอด ระยะหลังคลอด (Puerperieum period, Postpartum period, Puerperal period] หมายถงึ ระยะเวลาตง้ั แต่ทารกและรกคลอดครบไปจนถงึ 6 สปั ดาห์หลงั คลอด และเป็นระยะทอ่ี วยั วะสืบพนั ธจ์ุ ะกลบั คืนสสู่ ภาพเดิม ระยะแรก (Immediate puerperium) เปน็ ระยะหลังคลอด 24 ช่ัวโมง ระยะหลัง (Late puerperium) เป็นระยะหลังคลอดจากระยะแรกจนถึง 6 สัปดาห์

1. การเปลยี่ นแปลง/การปรบั ตวั ด้านสรรี ะและ การกลบั คืนสู่ภาวะปกติของอวัยวะตา่ งๆ ระบบหวั ใจและ การเปลี่ยนแปลง ระบบทางเดิน หลอดเลือด ทางดา้ นร่างกาย อาหาร ระบบผวิ หนัง ระบบตอ่ มไรท้ อ่ โครงร่าง ระบบอวยั วะ ระบบทางเดนิ กล้ามเนือ้ สบื พนั ธุ์ ปัสสาวะ

การเปลี่ยนแปลงของอวยั วะสืบพันธ์ุ (Reproductive system) มดลูก การลดระดบั ของมดลูก นา้ หนักมดลูก ปากมดลูก นา้ คาวปลา ช่องคลอดและ อาการปวดมดลูก อวัยวะสืบพันธุ์ อวัยวะสืบพันธุ์ กล้ามเนือ้ พนื้ เชิงกราน เตา้ นม

การเปลี่ยนแปลงของอวยั วะสบื พันธ์ุ (Reproductive system) มดลกู หลังจากท่ีทารกและรกคลอด มดลูกจะมกี ระบวนการเปล่ียนแปลง เพ่ือปรบั ตัวใหเ้ หมือนสภาพก่อนตั้งครรภ์ กระบวนการนีเ้ รียกวา่ “Involution process” ประกอบด้วย 3 กระบวนการคือ 1) contraction of muscle fibers 2) catabolism 3) regeneration

contraction of Involution process regeneration muscle fibers catabolism deciduas basalis มกี ารหดรัดตวั อย่างแรง แบง่ ตัว ของกลา้ มเนือ้ มดลกู การยอ่ ยสลายของโปรตนี ใน cytoplasm ของเซลล์กลา้ มเน้อื หลอดเลอื ดทม่ี าเลีย้ ง มดลกู ถูกบีบ มดลกู เลือดมาเลี้ยง ขนาดของเซลล์ ผลผลิตจาก ชัน้ ผิว basal layer) มดลูกลดลง ลดลง การยอ่ ยสลาย ที่ตดิ กบั โปรตีนขับออก (superficial กลา้ มเน้อื มดลกู มีขนาด เลก็ ลง ทางไต layer) จะ มดลกู จะสร้าง สลายตัวเปน็ เยื่อบุโพรง มีไนโตรเจนใน น้าคาวปลา มดลูกข้ึนมา ปัสสาวะเพม่ิ ขึ้น ใหม่ (BUN)

การเปล่ยี นแปลงของอวัยวะสืบพันธ์ุ (Reproductive system) มดลูก การลดระดบั ของมดลกู (descent of the uterine fundus) จะลดระดับลงโดยเฉลยี่ ประมาณวนั ละ 1-2 ซม.หรอื ½-1 น้วิ และประมาณวันที่ 10 หลังคลอดจะคล้าไมไ่ ดท้ างหนา้ ท้อง ถ้าการลดระดบั ของมดลกู ไม่เปน็ ไปตามปกติ เรียกวา่ “Subinvolution” http://www.genevez.com/postpartum-uterine- palpation-worthwhile/

การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสบื พนั ธ์ุ (Reproductive system)

การเปลี่ยนแปลงของอวยั วะสบื พันธ์ุ (Reproductive system) มดลูก นา้ หนักของมดลกู : หลังรกคลอดครบ มดลูกมนี ้าหนกั ประมาณ 1,000 กรัม ในสัปดาหท์ ่ี 1 หลังคลอด นา้ หนักมดลกู ลดลงเหลือ 500 กรมั ในปลายสัปดาห์ที่ 2 น้าหนกั มดลกู ลดลงเหลอื 350 กรมั ในสปั ดาหท์ ี่ 6 หลงั คลอด นา้ หนกั มดลูกลดลงเหลอื ประมาณ 50-60 กรัม ใกล้เคยี งกบั น้าหนักมดลกู กอ่ นตง้ั ครรภ์

การเปลี่ยนแปลงของอวยั วะสืบพนั ธ์ุ (Reproductive system) น้าคาวปลา (lochia) คอื เลอื ดและเนอ้ื เยอื่ ทสี่ ลายตวั ขบั ออกมาจากแผลทรี่ กเกาะ Lochia rubra : สีแดงเขม้ Lochia serosa: สีแดงจางลงจน อย่ใู นชว่ ง 1-3 วนั แรกหลังคลอด เปน็ สีน้าตาล อยูใ่ นชว่ งวันที่ 4-9 วนั หลงั คลอด

การเปลี่ยนแปลงของอวยั วะสืบพันธุ์ (Reproductive system) น้าคาวปลา (lochia) Lochia alba: สีจะคอ่ ย ๆ จางลงจนเป็น สเี หลืองจาง ๆ อยใู่ นช่วงวันท่ี 10 หลังคลอด เป็นต้นไป

การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสบื พนั ธ์ุ (Reproductive system) อาการปวดมดลกู หลังคลอด (after pain) เกิดจากการหดรัดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเนือ้ มดลกู ในครรภแ์ รกปกตจิ ะไมม่ อี าการปวดมดลูกเนอ่ื งจากกลา้ มเนื้อมดลูกยงั มคี วามตงึ ตัวสงู แต่ถ้ามีการยดื ขยายของมดลกู มาก อาการปวดมดลูกอาจรุนแรง เม่ือมารดาให้บตุ รดดู นม

การเปล่ียนแปลงของอวยั วะสืบพนั ธ์ุ (Reproductive system) ปากมดลูก (cervix) ระยะหลงั คลอดทันที ปากมดลูกจะมลี ักษณะนุ่ม มาก และไม่เป็นรูปเป็นรา่ ง ฉีกขาดง่ายและยดื ขยาย ได้งา่ ย 17 days p.p. ปากมดลูก internal os และ external os จะเปิด At delivery 8 days p.p. กวา้ งแตจ่ ะคอ่ ยๆ ปิดและแคบลง 24 days p.p. ประมาณปลายสัปดาห์ที่ 1 ไม่สามารถสอดนิ้วมือ เขา้ ไปได้ 8 hrs p.p. 14 days p.p. 3 months p.p. ในสปั ดาหท์ ่ี 6 หลงั คลอดเม่ือมดลูกเข้าสสู่ ภาพปกติ ทีม่ า: Cunningham FG, Leveno KJ, Bloom SL, Hauth JC, Rouse, DJ, Spong CY. The puerperium. Williams Obstetrics. 23rd ed. New York: McGraw-Hill, 2010: 646-660)

การเปลย่ี นแปลงของอวยั วะสืบพนั ธุ์ (Reproductive system) ชอ่ งคลอดและอวัยวะสบื พนั ธภ์ุ ายนอก (vagina and perineum) หลงั คลอด เยอื่ บุชอ่ งคลอดจะบางลง จากการลดลงของ ฮอร์โมน estrogen และ progesterone ภายหลังการคลอดชอ่ งคลอดจะยดื ขยาย บวม หรือมีรอย ถลอกทผ่ี ิวหนังช้นั บน สว่ นรอยย่น หรือรอยนูนในช่อง คลอด (Rugae) จะลดลง

การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสืบพนั ธุ์ (Reproductive system) กลา้ มเนือ้ พ้นื เชิงกราน (pelvic muscles) เตา้ นม [breast] มีการเปลี่ยนแปลงต้งั แต่ระยะตัง้ ครรภ์ เพ่อื เตรียมต่อม พื้นเชิงกรานประกอบด้วยกลา้ มเนือ้ ไขมนั และ นา้ นมใหพ้ ร้อมในการผลิตน้านมส้าหรับทารกหลงั คลอด พงั ผดื ขณะคลอดกล้ามเน้ือมักจะขาดและถกู ยดื ขยาย ความแข็งแรงคอ่ ยๆ เรม่ิ กลับคืนมาแตไ่ ม่ เหมอื นเดมิ

การเปล่ียนแปลงของระบบหวั ใจและการไหลเวยี นเลือด (Circuratory system) ปริมาณเลอื ด ระบบหัวใจและ สญั ญาณชีพ การไหลเวียน เลือด ส่วนประกอบของ เลอื ด

การเปล่ียนแปลงของระบบหวั ใจและการไหลเวยี นเลอื ด (Circuratory system) ปริมาณเลือด (Blood volume) หลงั คลอดประมาณ 3-4 สัปดาห์ ปรมิ าณเลือดจึงจะลดลงสูร่ ะดบั ใกล้เคียงกับกอ่ น ต้ังครรภ์ การไหลเวยี นของเลอื ดระหว่างมดลูกกับรกสนิ้ สุดลง การผลติ ฮอรโ์ มนจากรกสน้ิ สุดลง ซงึ่ เปน็ การหยดุ การกระต้นุ ใหห้ ลอดเลอื ด ขยายตัว มีการเคลื่อนยา้ ยของนา้ จากนอกหลอดเลือดท่ีสะสมระหวา่ งการตั้งครรภก์ ลบั เข้าสกู่ ระแสเลือด

การเปลยี่ นแปลงของระบบหวั ใจและการไหลเวยี นเลอื ด (Circuratory system) สัญญาณชพี (Vital signs) อุณหภูมิ (Temperature) ในระยะ 24 ช่ัวโมงแรกหลังคลอด อาจมีอุณหภูมิสูงข้ึนได้แต่ต้องไม่เกิน 38°c เรียกวา่ “Reactionary fever” ในช่วงวนั ท่ี 3-4 หลังคลอด อณุ หภมู ิจะสงู ขึ้นอีกครง้ั เรยี กวา่ “Milk fever” ชีพจร (Pulse rate) ในระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด อาจพบภาวะ “physiological bradycardia” ได้ ชวั่ คราว โดยชีพจรจะอย่ใู นช่วง 50-60 ครงั้ /นาที การหายใจ (Respiration rate) อัตราการหายใจควรอยใู่ นอตั ราปกติ คอื 16-20 คร้งั /นาที ความดันโลหิต (Blood pressure) มกี ารเปล่ียนแปลงเล็กน้อย ถ้า systolic pressure ลดลงถึง 20 mm.Hg หรอื มากกวา่ เม่อื เปลี่ยนทา่ รว่ มกับมอี าการวงิ เวียนศีรษะ หน้ามดื เรียกวา่ “Orthostatic hypotension”

การเปล่ียนแปลงของระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด (Circuratory system) hemoglobin and hematocrit เมด็ เลอื ดขาว องค์ประกอบในการแข็งตวั ของเลอื ด (Coagulation factors)  จะสูงข ้ึน ในระยะ 2-3 วันหลัง  10-12 วนั หลงั คลอด จา้ นวนเมด็ คลอด จากการสูญเสีย plasma เลือดขาวอยู่ระหวา่ ง 20,000-  มีค่าสงู ขึ้นในระยะตั้งครรภ์ และยงั คง volume มากกว่า red blood 25,000 เซลล/์ ลูกบาศก์มิลลเิ มตร ระดับอยู่ในระยะหลังคลอดใหม่ๆเพื่อ cell ชว่ ยควบคุมการเสียเลอื ด  จะลดลงสู่ร ะดับ ป ก ติเหมือน  ค่อยๆลดลงสู่ระดบั กอ่ นตงั้ ครรภ์ ก่อนตั้งครรภ์ประมาณสัปดาห์ที่ ประมาณ 2-3 วันหลังคลอด 4-5 หลังคลอด  ยกเวน้ fibrinogen และ thromboplastin จะคงอยู่จนถึงปลาย สปั ดาห์ท่ี 3 หลงั คลอด

การเปลีย่ นแปลงของระบบทางเดนิ อาหาร (Gastrointestinal system)  ความอยากอาหาร จะรู้สึกกระหายน้า เนื่องจากการงดนา้ และอาหาร การสูญเสียพลังงานและ อาจมอี าการคลนื่ ไสอ้ าเจียนในระหวา่ งการคลอด  ท้องผกู 2-3 วนั แรกหลงั คลอดอาจมอี าการทอ้ งผกู  นา้ หนัก ทันทีหลงั คลอด นา้ หนกั ลดลงประมาณ 5 - 6 กโิ ลกรัม ในช่วงสัปดาห์แรกหลังคลอดนา้ หนกั จะลดลงอกี 2 - 3 กิโลกรัม ประมาณสัปดาห์ที่ 6 ถึง 8 หลงั คลอด นา้ หนกั ลดลงใกลเ้ คยี งกบั กอ่ นตง้ั ครรภ์

การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary and Renal system) ระบบทางเดนิ ท่อปสั สาวะและ ปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ การท้างานของไต สว่ นประกอบของ น้าปัสสาวะ การขบั น้าออกจาก ร่างกาย

การเปลย่ี นแปลงของระบบทางเดนิ ปสั สาวะ (Urinary and Renal system) ทอ่ ปสั สาวะและกระเพาะปัสสาวะ  การบาดเจ็บจากการคลอด ท้าให้มีอาการบวมช้ารอบรูท่อ ปัสสาวะ มีเลอื ดคง่ั ใต้เย่ือบุกระเพาะปัสสาวะ  ความเจ็บปวดท่ีเกิดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดและฝีเย็บ ท้าให้ถ่ายปสั สาวะล้าบาก ไม่อยากถ่ายปัสสาวะ ถ่ายปสั สาวะไม่ หมดและกระเพาะปสั สาวะเต็ม https://th.wikipedia.org/wiki

การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดนิ ปสั สาวะ (Urinary and Renal system) การทา้ งานของไต  ระดับฮอร์โมนสเตยี รอยดจ์ ะลดลง สว่ นประกอบของน้าปสั สาวะ  ไตท้างานลดลง แต่การไหลเวียนพลาสมาท่ีผ่าน  1-2 วนั แรกหลังคลอด อาจพบโปรตนี ใน ไต (Renal plasma flow) และอัตราการกรองที่ไต ปัสสาวะไดเ้ ลก็ น้อย (+1) (Glomerular filtration rate) ยังคงเทา่ เดมิ  พบยเู รียไนโตรเจนในเลอื ด (Blood urea nitrogen) เนอ่ื งมาจากกระบวนการ catabolism

การเปลยี่ นแปลงของระบบทางเดินปสั สาวะ (Urinary and Renal system) การขับน้าออกจากร่างกาย “postpartum chill” เปน็ อาการหนาวเยน็ และมีอาการส่นั โดยไม่มีไข้ เกดิ จาก รา่ งกายจะมกี ารขับน้าที่สะสมต้ังแตใ่ นระยะตั้งครรภ์ออกจากรา่ งกาย การมี เหง่อื อกมากและระเหยไปจากผิวหนังเป็นการน้าความรอ้ นออกจากรา่ งกาย ด้วย “diuresis” เกิดข้ึนจาก Renal plasma flow และ Glomerular filtration rate ทยี่ งั คงอยู่ในระดับสงู รว่ มกับการเพ่ิมของปรมิ าณเลอื ดในรา่ งกาย ท้าให้รา่ งกายขบั นา้ ออกทางปัสสาวะไดม้ ากถงึ 3,000 มิลลลิ ิตร/วนั

การเปลย่ี นแปลงของระบบตอ่ มไรท้ อ่ (Endocrine system)  ฮอรโ์ มนจากรก (placental hormone) จะลดลงอยา่ งรวดเร็ว  หลงั คลอด 24 ชว่ั โมง จะตรวจไม่พบ HPL  HCG จะลดลงและมรี ะดบั ต่้าจนกระทั่งมกี ารตกไข่  Estrogen และ progesterone ลดลงตา้่ สดุ ในวนั ท่ี 7 หลงั คลอด  Prolactin ในกระแสเลือดจะสูงข้ึนในระยะหลังคลอด จะสูงข้ึนมากน้อย เพยี งใดขึน้ อย่กู ับจา้ นวนคร้ังในการใหบ้ ุตรดดู นมในแต่ละวนั

การเปล่ียนแปลงของระบบโครงรา่ งกล้ามเนอื้ (Muscle system)  ในระยะหลังคลอด กล้ามเน้ือ กระดูกและข้อต่อต่างๆจะกลับ เขา้ สภู่ าวะปกติเหมือนกอ่ นตัง้ ครรภภ์ ายใน 6-8 สัปดาห์  ฮอรโ์ มนโปรเจสเตอโรนลดลงหลงั คลอด  กล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรง บางรายอาจมี กลา้ มเน้ือหน้าทอ้ งแยก (Diastasis recti) ท้าให้เกิดภาวะท้อง ยอ้ ย (pendulus abdomen)

การเปล่ยี นแปลงของระบบผิวหนงั (Skin system)  ฮอร์โมนเอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรนลดลง  ฝา้ บริเวณใบหนา้ (chloasma)  รอยแตกบรเิ วณหนา้ ท้อง ต้นขาดา้ นใน เต้านม (striae gravidarum)  เสน้ กลางหนา้ ทอ้ ง (lenia nigra) จะจางลงแตจ่ ะไม่ หายไป

5. การพยาบาลมารดาหลังคลอด

การประเมนิ และใหก้ ารพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย 1. การตรวจสอบสัญญาณชีพ 7. การขบั ถา่ ยปัสสาวะและอุจจาระ 2.ประเมนิ การหดรัดตัวของมดลกู และการกลบั 8. การรบั ประทานอาหาร น้าและ สสู่ ภาพปกตขิ องมดลกู การควบคุมน้าหนัก 3. การบรรเทาอาการปวดมดลกู 9. การบรหิ ารรา่ งกาย 4. การดแู ลฝีเย็บและนา้ คาวปลา 10. การรกั ษาความสะอาดของร่างกาย 5. สง่ เสรมิ การพกั ผ่อนนอนหลบั 11. การดูแลหวั นมและเต้านม 6. การกระตุ้นใหม้ ี early-ambulation 12. การดูแลเก่ยี วกบั อวยั วะสว่ นล่างของร่างกาย

การใหก้ ารพยาบาลมารดาหลงั คลอด ตามการเปลย่ี นแปลงดา้ นร่างกาย 1. การตรวจสอบสัญญาณชพี 2.ประเมินการหดรดั ตวั ของ 3. การบรรเทาอาการปวดมดลกู มดลูกและการกลบั สสู่ ภาพปกติของ  ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด มดลูก  การปวดมดลกู เป็นอาการปกตทิ ่พี บได้ ควรประเมนิ สญั ญาณชพี ทั้ง อณุ หภูมิ ชพี จร และความดัน  ประเมินการหดรดั ตวั ของมดลกู ใน 1-2 วันแรก โลหติ ซ้าทกุ 4 ชั่วโมง  ประเมินการกลบั สู่สภาพปกติของมดลกู  ดแู ลกระเพาะปัสสาวะให้วา่ งโดยกระต้นุ หลังจากนัน้ อาจประเมินทกุ 8 ชวั่ โมง ให้ถา่ ยปัสสาวะทกุ 2-4 ชั่วโมง  ใหน้ อนควา่ โดยใช้หมอนรองใต้ท้องนอ้ ย ทา่ ใหม้ ดลกู ถูกกด  ใหร้ บั ประทานยาแกป้ วด  ถ้ามอี าการปวดมดลกู ผิดปกติ มากกว่า 72 ชวั่ โมง หรือปวดรนุ แรง สง่ ปรึกษาแพทยเ์ พ่อื ใหไ้ ดร้ ับการรกั ษา

การประเมินและใหก้ ารพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปล่ยี นแปลงดา้ นรา่ งกาย 4.การดูแลฝีเยบ็ และ 5. สง่ เสรมิ การพักผอ่ นนอนหลับ 6. การกระตุ้นให้มี early- ambulation น้าคาวปลา  สง่ เสรมิ ให้มารดาไดร้ บั การพักผ่อน อยา่ งเพียงพอ  ช่วยใหร้ า่ งกายฟื้นฟสู ภู่ าวะปกติโดยเรว็  ประเมนิ แผลฝีเยบ็ และนา่ คาวปลา กระตนุ้ ใหเ้ ลือดไหลเวียนดี ควรประเมินอย่างนอ้ ย 2 ครงั ต่อวนั  นา้ คาวปลาไหลสะดวก มดลกู เขา้ อ่เู รว็  การบรรเทาความไม่สขุ สบายจากการ  ปอ้ งกนั การเกิดหลอดเลอื ดดา ปวดแผลฝีเย็บ อกั เสบ และหลอดเลือดดาอดุ ตนั  การทา่ ความสะอาดอวัยวะสืบพนั ธ์ุ และการเปล่ียนผ้าอนามยั

การใหก้ ารพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปล่ยี นแปลงด้านร่างกาย 7. การขับถา่ ยปัสสาวะและอุจจาระ 8. การรบั ประทานอาหาร น้าและ  กระตนุ้ ใหม้ ารดาหลังคลอดถ่ายปัสสาวะทุก 4- การควบคุมนา้ หนัก 6 ชว่ั โมง  สง่ เสริมให้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ เพ่ิม  ถา้ มารดาหลงั คลอดถ่ายปสั สาวะไมอ่ อก โปรตีน เกลือแร่ และวติ ามินสงู  ราดนา่ อุ่นบริเวณอวัยวะสบื พนั ธหุ์ รอื เปดิ น่า  สิ่งที่ควรงดและหลีกเล่ยี ง ไดแ้ ก่ ชา กาแฟ  ประเมิน residual urine ถ้ามปี รมิ าณนา่ เครื่องดื่มและอาหารที่มีแอลกอฮอลผ์ สม ปสั สาวะคา้ งมากกว่า 200 มิลลลิ ติ ร  ไมค่ วรลดนา่ หนกั กอ่ น 6 สปั ดาห์หลังคลอด และ  อาจได้รับการพิจารณาใสส่ ายสวนปัสสาวะคาไว้ ไมค่ วรลดน่าหนกั มากกว่า 2 กโิ ลกรมั ต่อเดอื น เพอ่ื ใหร้ า่ งกายฟืน้ ฟูสภาพ ประมาณ 12-24 ชั่วโมง

การให้การพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปลี่ยนแปลงด้านรา่ งกาย 9. การบรหิ ารร่างกาย ทา่ ที่ 2 บรหิ ารกลา้ มเนอื้ คอ  ทา่ ท่ี 1 บรหิ ารกลา้ มเนื้อหนา้ ท้อง

การให้การพยาบาลมารดาหลงั คลอด ตามการเปลย่ี นแปลงด้านร่างกาย 9. การบริหารรา่ งกาย • ทา่ ท่ี 4 บรหิ ารกลา้ มเนอื้ สะโพก และ หนา้ ท้อง  ทา่ ท่ี 3 บรหิ ารกลา้ มเน้อื แขน อก และปอด

การใหก้ ารพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปลย่ี นแปลงด้านรา่ งกาย 9. การบรหิ ารรา่ งกาย • ทา่ ที่ 6 บริหารกลา้ มเนื้อฝเี ยบ็  ทา่ ที่ 5 บริหารกลา้ มเน้อื หนา้ ท้อง

การให้การพยาบาลมารดาหลงั คลอด ตามการเปลยี่ นแปลงดา้ นรา่ งกาย 9. การบริหารรา่ งกาย  ทา่ ท่ี 7 บรหิ ารกล้ามเน้อื หน้าทอ้ ง สะโพก

การให้การพยาบาลมารดาหลังคลอด ตามการเปลีย่ นแปลงดา้ นรา่ งกาย 10. การรักษาความสะอาดของรา่ งกาย 11. การดูแลหวั นมและเต้านม 12. การดูแลเกย่ี วกับอวยั วะ  รักษาความสะอาดของรา่ งกาย ปากและ  แนะนา่ การรกั ษาความสะอาดของเต้า สว่ นล่างของร่างกาย นมหวั นมโดยควรทา่ ทกุ ครงั หลัง ฟนั อย่างสม่าเสมอ อาบนา่  สังเกตอาการบวม หลอดเลอื ดด่า  การอาบนา่ ช่าระร่างกายวนั ละ 1-2 ครัง บริเวณขา เพราะอาจ เกดิ thromboembolism ได้ สระผมสัปดาหล์ ะ 2 ครัง สวมเสอื ผ้าท่ี สะอาด

การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลงั คลอดและครอบครวั การให้ค้าแนะน้าในการดูแลตนเองของมารดาหลงั คลอด 1) การพักผอ่ น 2) การทา่ งาน 3) การรับประทานอาหาร 4) การรักษาความสะอาดของร่างกาย 5) การบรหิ ารร่างกาย 6) การมเี พศสัมพันธ์ 7) การวางแผนครอบครัว 8) การมปี ระจา่ เดือนหลังคลอด 9)การปรับตวั ด้านจติ สงั คมและการเปลยี่ นแปลงบทบาทมารดา

การสง่ เสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและครอบครวั 10) การแกไ้ ขปัญหาท่ีพบบ่อย เช่น อาการคดั ตงึ เต้านม ปวดมดลกู และท้องผูก เป็นต้น 11) อาการผดิ ปกติทค่ี วรรบี มาพบแพทย์ ไดแ้ ก่ มีไข้สงู ปวดแผล ฝีเย็บมาก น่าคาวปลา มกี ลนิ่ เหม็น ฯลฯ รวมทังมีอารมณเ์ ศรา้ รนุ แรงและนาน 12) การนดั ตรวจสขุ ภาพหลังคลอดครบ 6 สัปดาห์ 13) การรับใบสตู บิ ัตรและการแจ้งเกดิ และ 14) การดูแลสขุ ภาพทางเลอื ก เช่น การอยูไ่ ฟ การนวด การอบแผลฝเี ยบ็

การส่งเสริมสขุ ภาพมารดาหลังคลอดและครอบครัว การให้ค้าแนะนา้ ในการดแู ลทารก 1) ลักษณะและพฤติกรรมของทารกแรกเกิด 2) การรกั ษาความสะอาดร่างกายทารก 3) วิธีการเลียงลูกดว้ ยนมแม่ 4) วธิ กี ารเลยี งทารกดว้ ยนมผสม (ในกรณีที่มีความจา่ เป็น) 5) การใหค้ วามรักและความอบอนุ่ แก่ทารก 6) เสือผา้ และเครื่องใชส้ า่ หรับทารก 7) การป้องกนั การติดเชอื ในทารก 8) การสังเกตอาการผิดปกตทิ ่พี บบอ่ ยและการแกไ้ ขขันพนื ฐาน ในกรณที บี่ ุตรมีอาการทอ้ งเดิน ท้องผูก ทอ้ งอืด มไี ข้ เปน็ หวดั ลินเปน็ ผวิ ขาว อาเจียน สะดือแฉะ และตวั เหลอื ง 9) การน่าบตุ รมารับการตรวจสุขภาพและรบั ภมู ิค้มุ กนั โรค

อาการผดิ ปกตทิ พ่ี บได้บ่อยในระยะหลังคลอด 1. มีไข้จากการตอบสนองของรา่ งกาย 2.อาการปวดมดลูก (After pain) (Reactionary fever) อาการปวดมดลกู เปน็ พกั ๆ สาเหตจุ ากการหดรัดตวั ภายหลงั คลอดอณุ หภูมริ า่ งกายใน 24 ชั่วโมงแรก และคลายตวั ของกล้ามเนือมดลูก สูงขึนเลก็ น้อย แตจ่ ะไมเ่ กนิ 38 องศาเซลเซียส แต่ควรจะ ประมาณ 75 เปอรเ์ ซ็นต์ มักพบในครรภห์ ลัง กลบั อยใู่ นระดับปกติ 24 ชั่วโมง ในครรภ์แรกจะไมม่ ีอาการปวดมดลกู เน่อื งจาก กลา้ มเนอื มดลูกยงั มีความตึงตวั สงู

อาการผิดปกติที่พบได้บอ่ ยในระยะหลงั คลอด 3. เจ็บแผลฝเี ย็บ (Perineal pain) 4. รดิ สดี วงทวารหนกั (Hemorrhoid) สาเหตุ เนือ่ งจากการฉีกขาด หรอื การตดั ฝีเย็บ มารดาจะรู้สกึ เจบ็ ฝเี ย็บประมาณ 2-3 สัปดาห์ สาเหตุ หลงั คลอด (ปกตแิ ผลจะหายภายใน 7 วัน หลงั คลอดและ ไหมทเ่ี ย็บจะละลายเอง) 1) ในระยะตงั ครรภ์มีเลือดมาเลียงบริเวณอ้งุ เชิงกราน มากขนึ 2) มีการ Obstruct ของเลอื ดดา่ ท่ไี หลเข้าสหู่ ัวใจ ท่า ใหห้ ลอดเลอื ดด่าบรเิ วณทวารหนกั มกี ารโปง่ พอง 3) ในระยะตังครรภม์ ารดามกั จะมปี ญั หาท้องผูก 4) ในระยะคลอดมีการเบ่งคลอด เปน็ การเพ่มิ ความ ดนั ใน hemorrhoid 5) มารดาในระยะหลงั คลอดมักจะมีปญั หาทอ้ งผูก

อาการผิดปกติทีพ่ บได้บอ่ ยในระยะหลังคลอด 5. ทอ้ งผกู (Constipation) สาเหตุ 1) ล่าไสถ้ ูกเบียดตงั แต่ในระยะตังครรภ์ และระยะคลอด 6. ปัสสาวะล้าบาก (Dysuria) 2) มกี ารสูญเสียนา่ เชน่ เสียเหงอ่ื และเลอื ด ถา้ กระเพาะปัสสาวะเต็มจะคล่ากระเพาะปัสสาวะได้ และดนั มดลกู ให้ลอยสงู ขนึ ไปหรอื เอียงไปทางข้างขวา 3) สวนอุจจาระ เมือ่ แรกรับเขา้ ห้องคลอด เปน็ อาการแสดงของกระเพาะปัสสาวะโปง่ 4) มารดาบางรายได้รับยาระงับปวด สาเหตุ 5) การเปลยี่ นแปลงความดันในช่วงท้องทีเ่ กดิ ขนึ อย่าง 1) ความรสู้ ึกเจ็บบรเิ วณแผลฝเี ยบ็ รวดเร็วหลงั คลอดบุตรแลว้ 6) มารดามีแผลฝีเยบ็ จงึ ทา่ ใหไ้ มอ่ ยากอุจจาระ เน่ืองจาก 2) กระเพาะปัสสาวะอาจจะบวม ฉกี ขาด กลัวเจบ็ ไมก่ ลา้ เบง่ ซ่งึ สง่ ผลใหเ้ กดิ ปัญหารดิ สดี วงทวาร มีเลือดออกในชนั ของกล้ามเนอื กระเพาะปัสสาวะ

กรณีศกึ ษาที่ 1  มารดาหลังคลอดบุตรคนแรกด้วยวิธี ND with Rt medio- lateral Episiotomy 4 ชั่วโมงหลังคลอด on 5% D/N/2 1000 ml + syntocinon 20 u vein drip 120 cc/hr. ช่วยเหลือตัวเองได้ อ่อนเพลียเล็กน้อย เปลือกตาไม่ซีด เต้านมตึง น้านมเริ่มไหลซึม หัวน ม ปกติ อุม้ บุตรใหน้ มไมเ่ ปน็ ทาร กดดู นมไมต่ อ่ เนอื่ ง ไมย่ นิ เสยี งดดู นมเปน็ ชว่ งๆ ต้องกร ะตนุ้ จน อม หัวน ม ได้ คล้าพบมดลูกกลมแข็ง อยู่เหนือสะดือเล็กน้อยเอียงไปทางขวา ยังไม่ปัสสาวะ คล้าพบก้อนนุ่มบริเวณเหนือหัวเหน่า แผลฝีเย็บบวมเล็กน้อย ปวดแผลฝีเย็บ Pain Score = 6 มีเลือดที่ออกทางช่องคลอดสีแดงสด เป้ือนผา้ อนามัยคร่ึงผืน V/S: T = 37.5 c, PR = 76 bpm. , RR = 22 bpm., BP = 102/76 mmHg.

วนิ ิจฉัยทางการพยาบาล  1. เสย่ี งต่อการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด  2. ไมส่ ขุ บายเน่ืองจากปวดแผลฝเี ยบ็  3. พรอ่ งความร้ใู นการปฏบิ ัติตัวหลังคลอด และการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่  4. วติ กกังวลเกยี่ วกบั การเลี้ยงดบู ุตร

กรณศี ึกษาท่ี 2  มารดาหลงั คลอดบุตร P2002 ดว้ ยวิธี ND with Lt medio- lateral Episiotomy Day 2 ช่วยเหลือตวั เองได้ เปลือกตาไมซ่ ดี เต้านมคัดตึง นา้ นมไหลระดับ 1 หวั นมข้างซา้ ยแตก หัวนม ขา้ งขวาปกติ อุม้ บุตรใหน้ มไม่ถนัด ขณะทารกดดู นมต้องกระต้นุ จนอมหัวนมได้ ดดู นมไมต่ ่อเนอ่ื ง วัดระดับยอดมดลกู อยู่บรเิ วณสะดือ มดลกู กลมแข็ง ปสั สาวะปกติ ไมม่ แี สบขดั แผลฝเี ย็บไม่บวม ปวดแผลฝีเย็บเล็กนอ้ ย Pain Score = 5 นา้ คาวปลาสีแดงสด เปือ้ นผ้าอนามยั ครงั้ ละคร่ึงผนื เปลี่ยนผ้าอนามยั 3 ครัง้ (เชา้ - กลางวนั - เยน็ ) V/S: T = 37.1 c, PR = 78 bpm. , RR = 20 bpm., BP = 110/76 mmHg.

วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล  1. มโี อกาสเกิดภาวะตกเลือดหลงั คลอด  2. มโี อกาสเกดิ การติดเชอื้ ท่ีแผลฝเี ย็บ  3. ไม่สุขบายเนื่องจากปวดแผลฝีเยบ็  4.พร่องความรเู้ กี่ยวกบั การปฏิบัติตวั หลงั คลอดและการดแู ลบตุ รเม่อื กลบั บา้ น



2. การปรับตัวด้านจติ สงั คม และบทบาทการเปน็ มารดา การปรับตวั ดา้ นจิตสังคม และ ความผกู พนั และสมั พันธภาพ บทบาทการเป็นมารดา การปรับตัวรบั บทบาทมารดา อารมณ์เศรา้ หลังคลอด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook