Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 0-12235985781_20201019_165551_0000

0-12235985781_20201019_165551_0000

Published by fidl kjfkv, 2020-10-20 10:38:44

Description: 0-12235985781_20201019_165551_0000

Search

Read the Text Version

ตุลาคม 2563 รายงาน กราฟก จัดทาํ โดย: พนดิ า และคณะ

02 คาํ นาํ เน่ืองจากในสังคมปัจจุบนั เทคโนโลยไี ดม ี บทบาทตอ สงั คมเป็นอยา งสงู ทัง้ ดา นการเรียนรู,การบนั เทงิ หรือ แมกระทงั่ เร่อื งความสะดวกสบายในการสรางสรรคง านตา งๆท่ี จําเป็นอยา งมากตอ การดํารงชีวติ ของคนในปัจจุบัน ซ่งึ รายงานชุดนี้ทางคณะผจู ดั ทาํ ไดจดั ทาํ ข้นึ โดยมีจดุ ประสงค อยากใหผ อู า นไดร ับรูและเรียนรูเกย่ี วกับเร่ืองความรูทเี่ กี่ยวกับ กราฟิกในชีวิตประจาํ วัน ไมว า จะในดา นการใชงานหรอื วตั ถุประสงคใ นการใชงาน โดยคณะผจู ดั ทาํ หวังเป็นอยางย่ิงวา ผอู า นจะสามารถนําความรู ทไี่ ดไปใชช ีวิตประจําวนั หรือในหน าทก่ี ารงานไมมากก็น อย หากรายงานชุดนี้มบี กพรองประการใดกข็ ออภยั มา ณ ทน่ี ี้ดวย รายงานกราฟก

สารบญั ความหมายของกราฟก หน า ภาพกราฟฟก 4-11 12 ประเภทของภาพกราฟก 13 ภาพเวกเตอร์ (Vector) 14 ภาพเคลอื นไหว (Animation) 15 เสียง (Sound) 16-18



2. ความหมายของคอมพวิ เตอรก ราฟิก คอมพวิ เตอรกราฟิก หมายถึง การสราง การตกแตงแกไข หรอื การจดั การเกยี่ วกบั รูปภาพ โดยใชเ คร่ืองคอมพิวเตอรในการจดั การ ยกตวั อยางเชน การทํา Image Retouching ภาพ คนแกใหม ีวยั ที่ เดก็ ข้ึน การสรา งภาพตามจนิ ตนาการและการใชภ าพกราฟิก ใน การนําเสนอ ขอ มลู ตางๆ เพ่อื ใหส ามารถส่อื ความหมายไดต รงตามท่ี ผสู ่อื สารตอ งการและนาสนใจยง่ิ ข้ึน ดว ยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็ นตน 3. ประเภทของภาพกราฟิก ประเภทของภาพกราฟิกแบง เป็น 2 ประเภท คือ 3.1. ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพท่พี บเห็นโดยทัว่ ไป เชน ภาพถา ย รูปวาด ภาพลายเสน สัญลกั ษณ กราฟ รวมถงึ การตูน ตางๆ ในโทรทัศน ตวั อยา งเชน การตูนเร่อื งพภิ พยมราช ชนิ จงั และโดเรมอน เป็นตน ซ่งึ การต นู จะเป็นภาพกราฟิก เคล่ือนไหว(Animation) โดยจะมีกระบวนการสรางท่ีซับซอนกวา ภาพปกติ

3.2. ภาพกราฟิกแบบ 3 มติ ิ เป็นภาพกราฟิกที่ใชโปรแกรมสราง ภาพ 3 มติ ิ โดยเฉพาะ เชน โปรแกรม 3 D’s Max , โปรแกรม Maya เป็นตน ซ่ึงทาํ ใหไดภ าพมสี ีและแสงเงาเหมอื นจริง เหมาะกบั งานดา นสถาปัตยแ ละการออกแบบตางๆ รวมถงึ การสรางเป็น ภาพยนตรการต ูน หรอื โฆษณาสนิ คาตางๆ เชน การตูนเร่ือง Nemo The Bug และ ปังปอนดแ อนิเมชัน เป็นตน https://www.youtube.com/watch?v=iqTGfoPvPnU

4. หลักการทํางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอรกราฟิ ก ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร เกิดจากการทํางานของโหมดสี RGB ซ่ึงประกอบดวย สีแดง (Red), สีเขียว(Green) และ สีน้ําเงิน(Blue) โดยใชหลักการยิงประจุไฟฟ าใหเกิดการเปลงแสง ของสีทั้ง 3 สีมาผสมกันทาํ ใหเกิดเป็ นจุดส่ีเหล่ียมเล็กๆ ที่เรียกวา พิกเซล(Pixel) ซ่ึงมาจาก คาํ วา Picture กับ Element โดย พิกเซลจะมีหลากหลายสี เม่ือนํามาวางตอกันจะเกิดเป็ น รูปภาพ ซ่ึงภาพท่ีใชกับเคร่ืองคอมพิวเตอรมี 2 ประเภท คือ แบบ Raster และแบบ Vector 4.1. ภาพกราฟิ กแบบราสเตอร (Raster) ภาพกราฟิ กแบบราสเตอร หรือเรียกอีกอยางหน่ึ งวา บิต แมพ (Bitmap) เป็ นภาพกราฟิ กที่เกิดจากการเรียงตัวของจุด ส่ีเหล่ียมเล็ก ๆ ท่ีเรียกวา พิกเซล (Pixel) มีการเก็บคาสีที่เจาะจง ในแตละตาํ แหน งจนเกิดเป็ นภาพในลักษณะตาง ๆ เชน ภาพถาย ในการสรางภาพกราฟิ กแบบ Raster จะตองกําหนดจํานวนของ พิกเซลใหกับภาพที่ตองการสราง ถากาํ หนดจํานวนพิกเซลน อย เม่ือขยายภาพใหมีขนาดใหญข้ึนจะทาํ ใหมองเห็นภาพ เป็ นจุดสี่เห ล่ียมเล็กๆ หรือถากําหนดจํานวนพิกเซลมากก็จะทําใหแฟ มภาพมี ขนาดใหญ ดังนั้นการกําหนดพิกเซล จึงควรกําหนดใหเหมาะสมกับ งานท่ีสราง คือถาตองการใชงานทั่วๆ ไปจะกาํ หนดพิกเซลประมาณ 100 – 150 ppi (Pixel/inch) “จํานวนพิกเซลตอ 1 ตารางนิ้ ว” ถาเป็ นงานท่ีตองการความละเอียดน อยและแฟ มภาพมีขนาดเล็ก เชน ภาพสาํ หรับใชกับเว็บไซต จะกําหนดจาํ นวนพิกเซลประมาณ 72 ppi และถาเป็ นแบบงานพิมพ เชนนิ ตยสาร โปสเตอร ขนาด ใหญจะกาํ หนดจาํ นวนพิกเซลประมาณ 300 – 350 เป็ นตน

ขอดี คอื เหมาะสาํ หรับภาพทตี่ อ งการสรางสหี รอื กําหนดสที ่ี ตอ งการความละเอยี ดและสวยงาม ขอเสยี คือ หากมีการขยายขนาดภาพซ่งึ จะเป็นการเพม่ิ จาํ นวนจุดสใี หกับภาพ สงผลใหคุณภาพของภาพนัน้ สูญเสียไปความ ละเอียดของภาพจะลดลงมองเหน็ ภาพเป็นแบบ จุดสชี ัดเจนข้นึ ไฟล ภาพจะมีขนาดใหญและใชเน้ือทีใ่ นการจัดเกบ็ มากตามไปดวย โปรแกรมทีน่ ิยมใชใ นการสรางภาพแบบราสเตอร ไดแ ก โปรแกรม Paintbrush โปรแกรม Adobe Photoshop เป็นตน 4.2. ภาพกราฟิกแบบ Vector หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกทเี่ กิดจาก การอางองิ ความสมั พนั ธท าง คณิตศาสตร หรอื การคาํ นวณซ่งึ ภาพ จะมีความเป็นอสิ ระตอกัน โดยแยกชนิ้ สวนของภาพ ทัง้ หมดออก เป็นเสนตรง เสนโคง รปู ทรง เม่ือมีการขยายภาพความละเอยี ดของ ภาพไมลดลง แฟ มมีขนาดเล็กกวา แบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใชเ พ่อื งานสถาปัตยตกแตง ภายในและการออกแบบ ตา งๆ เชน การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต การสรา งโลโก การสรา งการต ูน เป็นตน ซ่ึงโปรแกรมที่นิยมใชสรางภาพแบบ Vector คือ โปรแกรม Illustrator, CorelDraw, AutoCAD, 3Ds max เป็นตน แตอปุ กรณทใ่ี ชแ สดงผลภาพ เชน จอคอมพิวเตอร หรอื เคร่ืองพิมพจะเป็นการแสดงผลภาพเป็นแบบ Raster

5. หลกั การใชสแี ละแสงในคอมพิวเตอร RGB เป็นระบบสที ป่ี ระกอบดว ยแมส ี 3 สี คอื สีแดง , สีเขยี วและ สีน้ําเงิน เม่ือนํามาผสมกนั ทาํ ใหเกิดสตี า งๆ บนจอคอมพวิ เตอรม ากถึง 16.7 ลานสี ซ่ึงใกลเคียงกับสที ี่ตาเรามองเหน็ ปกติ สที ี่ไดจากการผสมสขี ้ึน อยูกับความเขมของสี โดยถา สมี ีความเขมมากเม่อื นํามาผสมกันจะทําให เกิดเป็นสีขาว จงึ เรียกระบบสนี ี้วา แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก CMYK เป็นระบบสีทใ่ี ชกบั เคร่ืองพมิ พที่พมิ พอ อกทางกระดาษหรอื วัสดผุ วิ เรยี บอ่ืน ๆ ซ่งึ ประกอบดว ยสหี ลกั 4 สคี อื สีฟ า , สมี วงแดง , สี เหลือง , และสีดํา เม่ือนํามาผสมกันจะเกิดสเี ป็นสีดําแตจ ะไมดาํ สนิท เน่ืองจากหมึกพิมพม คี วามไมบรสิ ุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลด หลกั การ เกิดสขี องระบบนี้ คอื หมึกสหี น่ึงจะดูดกลนื แสงจากสีหน่ึงและสะทอนกลับ ออกมาเป็นสีตาง ๆ HSB เป็นระบบสแี บบการมองเห็นของสายตามนษุ ย ซ่งึ แบงออกเป็น 3 สว นคอื Hue คอื สีตา ง ๆ ที่สะทอนออกมาจากวตั ถแุ ลว เขา สูสายตาของ เรา Saturation คอื ความสดของสี โดยคา ความสดของสีจะเรม่ิ ที่ 0 ถึง 100 แตถา กาํ หนดท่ี 100 สจี ะมีความสดมาก Brightness คือระดบั ความ สวา งขอสี โดยคาความสวา งของสจี ะเริม่ ที่ 0 ถงึ 100 LAB เป็นระบบสีทีไ่ มข ้นึ กับอปุ กรณใด ๆ โดยแบงออกเป็น 3 สวน คอื L เป็นการกาํ หนดความสวา งซ่ึงมีคา ตงั้ แต 0 ถึง 100 ถากาํ หนดที่ 0 จะกลายเป็นสดี าํ แตถา กําหนดท่ี 100 จะเป็นสีขาว A เป็นคาของสีทไ่ี ล จากสีเขยี วไปสแี ดง B เป็นคาของสที ี่ไลจ ากสีน้ําเงินไปเหลือง 6. ประเภทของไฟลภ าพกราฟิก การสรางภาพกราฟิ กหรือการตกแตงภาพกราฟิ กประเภทของไฟล ภาพกราฟิกเป็นอกี ปัจจยั หน่ึงทม่ี ี ความสาํ คัญ เพราะความละเอยี ดของ ไฟลภ าพจะสงผลกบั ขนาดของภาพ เชน ภาพทีน่ ํามาใชงาน บนเว็บเพจ ควรจะตอ งมีขนาดเล็ก เพ่ือนําไปเรยี กใชง านบนเวบ็ เพจไดอยา งรวดเรว็ ประเภทของไฟลภาพกราฟิกทีน่ ิยมใชโ ดยทวั่ ไป ไดแก

6.1. JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เป็นรูปแบบไฟลท ่ีเก็บภาพแบบราสเตอรท ไ่ี มต องการคุณภาพสูงมากนัก เชน ภาพถายจากกลองดจิ ติ อล ภาพถายจากโทรศัพทมือถอื และภาพกราฟิกสําหรับแสดง บนอนิ เทอรเน็ต สามารถแสดงสไี ดถึง 16.7 ลานสี เป็นไฟลภ าพชนิดหน่ึงท่ไี ดรับความ นิยม เพราะไฟลมีขนาดเล็กสามารถบีบอัดขอ มูลไดห ลายระดบั จดุ เดน 1. สนับสนนุ สีไดถ งึ 24 bit 2. แสดงสไี ดถ งึ 16.7 ลา นสี 3. สามารถกาํ หนดคาการบบี อัดไฟลไ ดต ามทีต่ องการ 4. มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและคอย ๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบโพรเกรสซีฟ (Progressive) 5. มีโปรแกรมสนับสนุนการสรา งจํานวนมาก 6. เรยี กดูไดกบั บราวเซอร (Browser) ทกุ ตัว จดุ ดอย 1. ไมสามารถทาํ ภาพใหมีพ้ืนหลงั แบบโปรง ใส (Transparent) ได 2. ทาํ ภาพเคล่อื นไหว (Animation) ไมได 6.2 GIF (Graphic Interchange Format) เป็นไฟลภ าพที่สามารถบีบอดั ขอ มูลใหมีขนาดเลก็ ไดสวนมากจะนําไปใชบนั ทึก เป็นไฟลภาพ เคล่ือนไหวและนิยมมากในการใชงานบนเว็บเพจ จดุ เดน 1. สามารถใชงานขา มระบบไมวา จะเป็นระบบปฏิบัติการวนิ โดวส (Windows) หรอื ระบบปฏิบัติการยนู ิกซ (Unix) ก็สามารถเรยี กใชไ ฟลภาพสกุลนี้ได 2. ภาพมีขนาดไฟลต ่ํา จากเทคโนโลยกี ารบบี อดั ภาพทําใหสามารถสง ไฟลภ าพได อยา งรวดเรว็ 3. สามารถทาํ ภาพพ้ืนหลังแบบโปรงใสได 4. มีโปรแกรมสนับสนุนการสรา งจํานวนมาก 5. เรยี กดูไดก บั บราวเซอรทุกตวั 6. สามารถนําเสนอแบบภาพเคล่ือนไหวได จดุ ดอ ย 1. แสดงสีไดเ พียง 256 สี 2. ไมเหมาะกับภาพทต่ี องการความคมชดั หรือความสดใส

6.4 BMP (Bitmap) เป็นรูปแบบของไฟลภ าพมาตรฐานทใ่ี ชไ ดในระบบปฏบิ ตั กิ ารวินโดวสโดยมลี ักษณะ การจดั เก็บ ไฟลภ าพเป็นจุดสที ีละจดุ จึงทาํ ใหภ าพดูเสมอื นจรงิ จดุ เดน 1. แสดงรายละเอียดสไี ด 24 บิต 2. ไมมกี ารสูญเสยี ขอมลู ใด ๆ เม่ือมีการยอหรือขยายภาพ 3. นําไปใชง านไดกบั ทกุ โปรแกรมในระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวส จดุ ดอ ย 1. ภาพมขี นาดใหญม ากจึงใชเน้ือทใี่ นการจดั เกบ็ คอนขางมาก 2. ความละเอยี ดของภาพอาจจะไมช ัดเจนเหมือนตน ฉบบั 6.5. TIF หรือ TIFF (Tagged Image File) เป็นไฟลท่ีใชเกบ็ ภาพแบบราสเตอรคุณภาพสงู เชน ภาพกราฟิกทีน่ ําไปทํางานดาน ส่ิงพิมพ (Artwork) สามารถเกบ็ ขอ มูลของภาพไวไดครบถวน ทําใหค ณุ ภาพของสีเหมือน ตนฉบบั จดุ เดน 1. สามารถใชงานขามระบบ ไมว า จะเป็นระบบปฏบิ ัติการวินโดวสหรือระบบปฏบิ ตั กิ าร ยนู ิกซกส็ ามารถเรยี กใชไ ฟลภ าพชนิดนี้ได 2. แสดงรายละเอยี ดสไี ด 48 บิต 3. ไฟลมคี วามยดื หยนุ สงู สามารถเปลยี่ นแปลงแกไ ขได 4. เม่อื มีการบีบอัดไฟลจ ะมีการสูญเสียขอ มลู น อยมาก 5. มโี ปรแกรมสนับสนนุ การสรา งจํานวนมาก จุดดอย 1. ไฟลภาพมขี นาดคอ นขางใหญ 2. ใชพ ้นื ทีใ่ นการจัดเก็บไฟลภ าพสูง 6.6. PSD (Photoshop Document) เป็นไฟลภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทําการบนั ทึกแบบแยก เลเยอร (Layer) โดยเก็บประวัติการทาํ งานและรายละเอยี ดการตกแตงภาพ เอาไว เพ่ือ งา ยตอการแกไ ขในภายหลงั จดุ เดน 1. มกี ารบันทกึ แบบแยกเลเยอรแ ละเกบ็ ประวตั กิ ารทาํ งานทุกขัน้ ตอน 2. สามารถนําไฟลภ าพมาแกไ ขไดในภายหลัง จดุ ดอย 1. ไฟลภาพมขี นาดใหญเม่อื เทยี บกับไฟลภาพประเภทอ่นื 2. ไมสามาร ถเปิดใชง านในโปรแกรมอ่นื ได

ภาพกราฟิก (Graphics) ภาพกราฟิกหรือภาพน่ิง(Still Image) เป็นภาพท่ไี มม กี าร เคล่ือนไหว เชน ภาพถา ย ภาพวาด และภาพลายเสน เป็นตน ภาพนิ่งนับวา มีบทบาทตอ ระบบงานมลั ติมีเดยี เป็นส่อื ในการนําเสนอท่ีดี เน่ืองจากมีรูปแบบทน่ี าสนใจ สามารถส่อื ความหมายไดกวางกวาขอ ความหรือตัวอักษร ภาพจะใหผ ลในเชิงการเรียนรหู รือรบั รูดว ยการมองเห็น ไดดกี วา นอกจากนี้ยังสามารถถา ยทอดความหมายไดลึก ซ่ึงมากกวา ขอความหรือตวั อักษรเพราะขอ ความหรอื ตวั อกั ษรจะมีขอ จาํ กดั ทางดา นความแตกตา งของแตละภาษา แตภ าพนัน้ สามารถส่อื ความหมายไดกบั ทกุ ชนชาติ ภาพ น่ิงมักจะแสดงอยบู นส่ือชนิดตา งๆ เชน โทรทศั น หนังสือพมิ พห รอื วารสารวชิ าการ เป็นตน

ประเภทของการเกดิ ภาพกราฟิก 1. ภาพกราฟิกท่ีไดจากการสรางดว ยโปรแกรม คอมพวิ เตอร เชน Adobe Photoshop ภาพกราฟิกที่ไดจ ากการสแกนดว ยสแกนเนอรภ าพกราฟิก สามารถแบงไดเป็ น 1. ภาพบติ แมพ (Bitmap) เป็นภาพที่มีการเก็บขอ มูลแบบพกิ เซล หรือจดุ เล็กๆ ท่แี สดงคา สี ดงั นัน้ ภาพหน่ึงๆ จึงเกดิ จากจุดเลก็ ๆ หลายๆ จดุ ประกอบกนั ทาํ ใหร ูปภาพแตล ะภาพใชห นวยความจํามากในการจดั เก็บ ขนาดของไฟลขอมลู จะมขี นาดใหญ เม่ือจะนํามาใช จึงมีเทคนิค การบีบอัดขอมูล ฟอรแ มตของภาพบติ แมพทร่ี จู ักกันดี ไดแ ก .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF โปแกรมทใ่ี ชส รางภา พบติ แมพ เชน Adobe Photoshop

ภาพเวกเตอร (Vector) ภาพเวกเตอรเ ป็นภาพทีส่ รางดวยสวนประกอบของเสน ลักษณะตา งๆ และคณุ สมบตั เิ กย่ี วกบั สขี องเสน นัน้ ๆ ซ่ึงสรา ง จากการคํานวณทางคณิตศาสตร เชน ภาพของคน กจ็ ะถกู สรางดวยจดุ ของเสนหลายๆ จดุ เป็นลกั ษณะของโครงราง (Outline) และสีของคนกเ็ กดิ จากสีของเสนโครงรา งนัน้ ๆ กบั พ้นื ทผี่ วิ ภายในนัน่ เอง เม่ือมีการแกไ ขภาพ กจ็ ะเป็นการ แกไ ขคณุ สมบตั ขิ องเสน เม่อื เราขยายภาพจะไมท ําใหภาพ ไมส ญู เสยี ความละเอียดเหมอื นภาพบิตแมพ ภาพแบบเวก เตอร ท่เี รารจู ักกนั ดคี อื ภาพทเ่ี ป็นคลปิ อารต (Clipart) ของ Microsoft Office นัน่ เอง ภาพเหลา นี้จะเป็นภาพที่เป็น ฟอรแมต .WMF นอกจากนี้คุณจะสามารถพบภาพฟอรแ มต นี้ไดกบั ภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator และ Macromedia Freehand

ภาพเคล่อื นไหว (Animation) ภาพเคล่ือนไหว หมายถงึ ภาพกราฟิกท่มี ีการเคล่ือนไหวเพ่อื แสดงขัน้ ตอนหรือปรากฏ การณตา งๆ ที่เกิดข้ึนอยางตอเน่ือง เชน การเคล่อื นท่ีของอะตอมในโมเลกุล หรอื การเคล่ือนท่ีของ ลูกสูบของเคร่อื งยนต เป็นตน ทงั้ นี้เพ่อื สรา งสรรคจ นิ ตนาการ ใหเกดิ แรงจงู ใจจากผูชม การผลติ ภาพเคล่อื นไหวจะตอ งใช โปรแกรมท่มี คี ุณสมบัตเิ ฉพาะทางซ่งึ อาจมปี ัญหาเกดิ ข้นึ อยูบ าง เกย่ี วกบั ขนาดของไฟลท่ีตอ งใชพ ้ืนท่ใี นการจดั เกบ็ มากกวา ภาพ น่ิงหลายเทา

เสียง (Sound) เสยี งเป็นองคประกอบหน่ึงทสี่ าํ คัญของมัลตมิ ีเดีย โดย จะถูกจัดเก็บอยูใ นรูปของสัญญาณดจิ ติ อลซ่งึ สามารถเลน ซ้าํ กลับไป กลบั มาได โดยใชโ ปรแกรมทีอ่ อกแบบมาโดยเฉพาะสาํ หรบั ทํางาน ดา นเสียง หากในงานมลั ติมเี ดยี มกี ารใชเ สยี งท่เี ราใจและสอดคลอ ง กับเน้ือหาในการนําเสนอ จะชวยใหร ะบบมลั ติมเี ดียนัน้ เกิดความ สมบรู ณแบบมากยิง่ ข้นึ นอกจากนี้ ยงั ชวยสรางความนาสนใจและ นาตดิ ตามในเร่ืองราวตา งๆ ไดเป็นอยางดี ทงั้ นี้เน่ืองจากเสยี งมี อิทธพิ ลตอผใู ชม ากกวา ขอความหรือภาพนิ่ง ซ่ึงจะชวยใหเ กิด บรรยากาศทีน่ าสนใจในการรับรูท างหู โดยอาศยั จะนําเสนอในรปู ของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสยี งบรรยาย หรอื เสยี ง พากย เป็นตน ดังนัน้ เสียงจงึ เป็นองคป ระกอบทจี่ าํ เป็นสําหรบั มัลติมเี ดยี ซ่ึงสามารถนําเขาเสียงผานทางไมโครโฟน แผน ซีดี ดีวดี ี เทป และวิทยุ เป็นตน ลกั ษณะของเสียง ประกอบดว ย

1. คล่นื เสียงแบบออดโิ อ (Audio) ซ่ึงมีฟอรแ มตเป็น .WAV, .AU การบันทึกจะบนั ทึกตามลกู คล่ืนเสยี ง โดยมกี ารแปลง สญั ญาณเสยี งทีเ่ ป็นอนาลอ็ กใหเ ป็นสญั ญาณดิจิทลั ไฟล ประเภทนี้จะใชเ น้ือท่ีในการจดั เก็บมาก ทาํ ใหไ ฟลม ีขนาด ใหญ 2. MIDI (Musical Instrument Digital Interface) เป็นรปู แบบของเสียงท่แี ทนเคร่อื งดนตรชี นิดตา งๆ สามารถเก็บ ขอ มลู และใหว งจรอิเล็กทรอนิกส สรางเสยี งตามตัวโน ต เสมอื นการเลน ของเคร่ืองเลนดนตรนี ัน้ ๆ

การบนั ทึกขอ มูลเสยี งดว ยคอมพิวเตอร เสียงที่ทาํ งานผา นคอมพิวเตอร เป็นสัญญาณดิจติ อล ซ่งึ มี 2 รปู แบบคอื 1. Sound Data เป็นเสยี งจากทมี่ ีการแปลงจากสัญญาณเสยี งท่เี ป็นสญั ญาณ อนาลอ็ ก เป็นสญั ญาณ ดจิ ทิ ัล โดยจะมีการบันทึกตัวอยางคล่ืน (Sample) ใหอ ยูทีใ่ ดท่ีหน่ึงในชวงของเสียงนัน้ ๆ และการ บันทกึ ตวั อยางคล่นื เรียงกนั เป็นจํานวนมาก เพ่อื ใหมีคณุ ภาพที่ ดี ก็จะทําใหขนาดของไฟลโตตามไปดว ย ตัวอยางของ Sound Data คอื ไฟลเ สยี งท่เี กดิ จากการอัดเสยี งจริงๆ เขาไปใน คอมพิวเตอร ดว ยโปรแกรมบนั ทกึ เสยี ง เชน โปรแกรม Sound Recorder ซ่ึงเป็นโปรแกรมบันทึกเสียงที่ใหมาพรอ มกับ Microsoft Windows อยใู น Accessories -->Entertainment->Sound Recorder เสียงทไ่ี ดจากการใช โปรแกรมนี้จะเป็นคล่ืนเสียงแบบออดิโอ ทีม่ ีนามสกลุ ของไฟล เป็น .WAV 2. Synthesize Sound เป็นเสยี งทเี่ กดิ จากตวั วิเคราะหเ สยี ง ที่เรยี กวา MIDI โดยเม่ือ ตัวโน ตทํางาน คําสัง่ MIDI จะถูกสง ไปยัง Synthesize Chip เพ่ือทาํ การแยกเสยี งวา เป็นเสียงดนตรชี นิดใด ขนาดไฟล MIDI จะมีขนาดเล็ก เน่ืองจากเกบ็ คาํ สงั่ ในรูปแบบงายๆ

วิชากราฟกและการนาํ เสนอ โดย เด็กหญงิ นันทิญา นาเจรญิ ม.3/5 เด็กหญงิ พนดิ า พทุ ธรักษา ม.3/5 เด็กหญงิ พรนัชชา ภญิ โญยง ม.3/5 เด็กหญงิ รฐั ติกาญจน กาญจนกุล ม.3/5 เดก็ หญงิ วราภรณ อันธริ ส ม.3/5 เด็กหญิง ศศิกานต โพธ์ิทกั ษ ม.3/5 เสนอ ครูสิรนิ ันท ขันยศ โรงเรยี นนยิ มศิลปอนสุ รณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook