Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CDD KM2563

CDD KM2563

Published by wathhpl1710, 2020-05-09 03:37:37

Description: CDD KM2563

Search

Read the Text Version

แบบบนั ทึกองคค์ วามรูร้ ายบคุ คล ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชื่อองค์ความรู้ กระบวนการการจดั ทาประมาณการเพอ่ื ของบประมาณ 2. ช่อื เจา้ ของความรู้ นายศราวุธ จริ ฉตั รเจรญิ 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรค์ชุมชนพง่ึ ตนเองได้ หมวดที่ 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดุล หมวดที่ 3 เสรมิ สร้างทุนชมุ ชนใหม้ ธี รรมาภบิ าล หมวดที่ 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง 4. ท่ีมาและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) - การจดั ทาประมาณการ เพือ่ นางบประมาณพฒั นาหน่วยงานเพอื่ บริการประชาชน - กระบวนการจัดทาประมาณการงานก่อสร้างต่าง ต้องมีท่ีมา และเกิดจากความรู้ และ กระบวนการข้ันตอนการทพงาน จะสร้างความเข้าใจในหน่วยงาน และเป็นผู้ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นผู้ ประมาณการงาน ทีเ่ ปน็ ธรรม และโปรง่ ใส 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขน้ั ตอน (อธิบายโดยละเอียด) 5.1. ถอดแบบ หาประมาณการ ปริมาณวัสดุ 5.2. หาราคาวสั ดุ 5.3. หาราคาคา่ แรงอิงจากหลักเกณฑก์ ารคานวณราคาจากคณะกรรมการราคากลาง 5.4. หาค่า F โดยการอนิ เทรคูเรตตามราคาคิดค่าอานวยการ/ค่าควบคุมงานตาม พรบ.ค่า ควบคมุ งานการก่อสรา้ ง 5.5. จดั ทารปู เล่มโดยมที ตี่ ง้ั ปรมิ าณงาน ระยะทางจากท่ีอ้างองิ รายการถอดวสั ดุ ท่มี าราคา รายการคานวณ อนื่ ๆ 6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) 6.1 ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ หาพ้ืนที่ และวัสดุ เช่น เหล็ก DD12 = 0.888 kg/m โดย ต้องซื้อเป็นหนว่ ยกโิ ลกรมั หรอื เปน็ ตนั 6.2 แปลงหน่วยจากท่ีถอดเป็น m3 = ft3 หรือแปลผันไปตามความนิยมในการซ้ือ 6.3 แปลงหน่วยนิ้วที่ถอดไม้ เปน็ ft3 = m3 6.4 สรปุ แปลงหนว่ ยท้งั หมดในรปู แบบ ปร.4 และปร.5 และรปู เล่มประมาณการ

-2- 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (อธิบายโดยละเอยี ด) 7.1 ปญั หา 7.1.1 บคุ ลากร ขาดความร้คู วามเขา้ ในในงาน 7.1.2 ไม่มบี ุคลากรทีจ่ ะสอนงาน 7.1.3 ขาดบคุ ลากรที่เป็นผ้บู งั คบั บญั ชาในสายงานชา่ ง ทาให้ไมเ่ ขา้ ใจงาน 7.1.4 บคุ ลากรช่างน้อยเกนิ ไป 7.1.5 บคุ ลากรขาดกาลังใจในการปฏิบตั ิงาน เนื่องจากสภาพแวดลอ้ มไม่เอ้อื อานวย 7.2 แนวทางแก้ไขปัญหา 7.2.1 จดั อบรมด้านชา่ ง 7.2.2 จัดอบรม การประมาณการ 7.2.3 มีสายงานชา่ งให้เตบิ โตเปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยได้ 7.2.4 สร้างขวัญและกาลงั ใจใหบ้ คุ ลากร 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ (อธิบายโดยละเอยี ด) 8.1 ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน และประมาณการ อย่างถกู ต้องและเป็นธรรมท้ังหนว่ ยงานและ ผู้ประกอบการ 8.2 ใชเ้ ปน็ แนวทางตามหลักธรรมาภิบาลในการปฏบิ ตั ิงาน *******************************************

แบบบันทกึ องคค์ วามรู้รายบคุ คล ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 1. ช่ือองคค์ วามรู้ เทคนคิ การเป็นพธิ กี รมือใหม่ พชิ ติ ใจตัวเอง 2. ชอื่ เจา้ ของความรู้ นางสาวสภุ านี เซง่ ทอง ตาแหนง่ นักทรพั ยากรบุคคล 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ (องคค์ วามรูบ้ ง่ ช้ี) หมวดที่ 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพงึ่ ตนเองได้ หมวดท่ี 2 ส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดลุ หมวดที่ 3 เสริมสรา้ งทุนชุมชนให้มธี รรมาภิบาล √ หมวดที่ 4 เสรมิ สรา้ งองคก์ รให้มีขีดสมรรถนะสงู 4. ที่มาและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอยี ด) กลุ่มงานวิชาการและงานวิจัย เป็นกลุ่มงานท่ีรับหน้าท่ีการจัดกิจกรรมโครงการและมีการฝึกอบรม บุคลากรบ่อยคร้ัง นอกจากต้องมคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นวชิ าการแล้ว บุคคลกรที่ทางานต้องรบั หน้าทีก่ ารเปน็ พิธกี รอกี ด้วย พธิ ีกรคือ บคุ ลากรท่ีจะตอ้ งพูดโดยใชค้ วามสามารถเฉพาะตนจากการฝึกฝนและศึกษา จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมทีจ่ ะตอ้ งรับผิดชอบ จะต้องมีการเตรยี มตัวเตรยี มใจก่อนจะเป็นการเร่ิมต้นที่จะทาหน้าที่ ในการเป็นพิธกี รในกิจกรรมตา่ ง ๆ พิธีกรเป็นคนสร้างความเขา้ ใจในข้อมูล ต่อเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ตอ่ กิจกรรมต่าง ๆ ของข้อเท็จจริง ให้ทัศนะ ในโอกาสท่ีจะต้องปฏิบัติในแต่ละสถานการณ์ ในแต่ละกิจกรรม พิธีกร จะถูก กลา่ วถึงมากในกรณที ่ีเป็นทางการ หากพูดผดิ ก็จะทาใหเ้ สอ่ื มเสยี แก่ตนเองและองค์กร และถา้ หากทาดพี ูดดี กจ็ ะมีสงา่ ราศีแก่ตนเองเช่นกัน ดังสุภาษิต ของสุนทรภทู่ ี่ว่า“ถงึ บางพดู พูดดีเปน็ ศรศี กั ดิ์ มคี นรักรสถอ้ ยอร่อยจิต แม้พูดช่ัวตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดอยู่ที่พูดให้ถูกทาง” ดังน้ัน คนที่เป็นพิธีกรที่ดี มีความสามารถจะต้องมี การฝกึ ฝนเรียนร้ใู นหลกั การ กลยุทธใ์ นการพดู คยุ ต่าง ๆ ดังน้ี เช่น • เตรียมพรอ้ ม • ซอ้ มดี • มีสงา่ • หน้าตาสขุ ุม • ทกั ทปี่ ระชุมอย่าวกวน • เรม่ิ ตน้ ให้โน้มน้าว /เรอื่ งราวใหก้ ระชบั ...

-2- • เร่อื งราวให้กระชับ • จับตาที่ผู้ฟัง • เสียงดังแต่พอดี • ทา่ ทใี หอ้ อ่ นนอ้ ม สาหรับใครก็ตามทยี่ ังไมเ่ คยเร่ิมต้น และไม่รวู้ ่าจะเริ่มต้นอย่างไรองคค์ วามรู้น้ีมีเทคนิค วิธีการง่ายๆท่ีสร้างความ มัน่ ใจไดไ้ มย่ าก เหมาะสาหรับพธิ ีกรมือใหมท่ ุกท่าน 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดบั ขัน้ ตอน (อธิบายโดยละเอียด) 5.1. ก่อนการดาเนินหนา้ ที่พิธกี ร 5.1.1 ศึกษาข้อมูล / วิเคราะห์สถานการณ์ วัตถุประสงค์ของกิจกรรม รายการท่ีกาหนดไว้ เพ่ือทราบจุดประสงคแ์ ละการทาหนา้ ที่พธิ ีกรไม่นอกประเด็น 5.1.2 เตรียมเน้ือหาและคาพูด เร่ิมต้นอย่างไร มุขตลก ขาขัน แทรกอย่างไร คาคม ลูกเล่น จุดเดน่ ท่คี วรกล่าวถึง ต้องเตรียมค้นคว้าศกึ ษาจากผู้รบั ผดิ ชอบกิจกรรมให้พรอ้ ม 5.1.3 ต้องมีการฝกึ ซ้อมไม่วา่ จะซ้อมหลอกหรือซ้อมจรงิ ต้องมีการฝกึ ซ้อม 5.1.4 ศกึ ษาสถานท่จี ัดงานหรือพธิ ที ่ีกาหนดไว้ลว่ งหน้า เช่นห้องประชุม หรือลานโล่ง 5.1.5 เตรียมเสอื้ ผา้ และชดุ การแตง่ กาย อย่างเหมาะสมกบั กจิ กรรม เชน่ งานพิธี งานกีฬา 5.2.ระหวา่ งการดาเนนิ หนา้ ที่พิธกี ร 5.2.1. เริ่มกิจกรรม / งาน / พธิ ี / รายการ 5.2.1.1. กล่าวทกั ทาย ตอ้ นรบั เชญิ ประธาน และ ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมเข้าสู่งาน 5.2.1.2. เชญิ เข้าส่พู ิธี ดาเนนิ รายการต่าง ๆ 5.2.1.2. เชิญ เปดิ งาน 5.2.2. อธิบายให้ข้อมูลแก่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น แจ้งกาหนดการ และแจ้งรายละเอียดของ รายการ ลาดับข้ันตอน ขอ้ มูลเกี่ยวกับการติดต่อสอบถามหากเกิดปัญหาระหวา่ งการเข้าร่วมกจิ กรรม สิทธิ และ หน้าที่ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมน้ันๆ ท่ีพัก ท่ีรับประทานอาหาร สถานท่ีละหมาด สถานท่ีพักผ่อนอื่นๆ บริเวณ พิเศษท่มี อี นั ตราย เปน็ ตน้ /5.2.3 เช่ือมโยงกิจกรรม...

-3- 5.2.3. เชือ่ มโยงกจิ กรรม / งาน / พธิ ี / รายการตา่ ง ๆ เชน่ 5.2.3.1. กลา่ วเชื่อมโยงเหตุการณ์ตามลาดับ 5.2.3.2. แจ้งให้ทราบเม่อื มีการเปลี่ยนแปลงกาหนดการ 5.2.3.3. ประชาสัมพันธ์ 5.2.4. เติมช่องว่างและแก้ปญั หาเฉพาะหน้าในงานพธิ ีต่าง ๆ เช่น 5.2.4.1. กลา่ วชแี้ จงกรณีบคุ คลสาคัญไมส่ ามารถมาช่วยงานพิธตี ่าง ๆ ได้ 5.2.4.2. กลา่ วทาความเขา้ ใจกรณีต้องเปล่ยี นแปลง 5.2.4.3. ประเมินสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นตลอดเวลาท่ีมีกิจกรรม สือค้นหาสาเหตุ ประสานงานผเู้ กีย่ วข้องหรือผ้รู ับผดิ ชอบกจิ กรรมเพือ่ ชี้แจง เพอื่ ลดความตึดเครียด 5.3. หลังการดาเนนิ หน้าทพ่ี ิธกี ร ประเมินภาพรวมของการดาเนินกิจกรรมโดยการทา AAR ( After action review) เพื่อ วิเคราะห์ว่าเกิดเหตุอะไร สาเหตุของการเกิด และจะสามารถดาเนินการใหด้ ีกวา่ เดิมไดอ้ ยา่ งไร โดยเอาบทเรียน จากความสาเร็จและความล้มเหลวของการรับหน้าที่การเป็นพิธีกรนี้ เพ่ือนามาซ่ึงการพัฒนาหรือการปรับปรุง การเปน็ พิธกี รในครัง้ ตอ่ ไป เป็นรูปแบบของกลุ่ม หรือบุคคลกไ็ ด้ 6. เทคนิคในการปฏิบัตงิ าน (อธบิ ายโดยละเอียด) การสรา้ งความม่ันใจเปน็ สิ่งที่มีความสาคญั อยา่ งมาก และเราสามารถสร้างความมั่นใจไดด้ ังน้ี 6.1. อย่าคาดหวัง : หากเรามีความคาดหวังว่าการพูด หรือการเป็นพิธีกรต้องสมบูรณ์แบบ และไม่มี ข้อผิดพลาดเลย จะยิ่งทาให้เรากดดันตัวเอง และเม่ือเกิดความผิดพลาดในสถานการณ์จริงเราจะควบคุม ความรสู้ ึกผดิ หวังไมไ่ ด้ 6.2. การเตรีมตัว : ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรมือใหม่หรือพิธีกรมืออาชีพ จะต้องเตรยี มตัวก่อนทาหน้าที่เสมอ เช่นการพูดช่ืองาน ช่ือกิจกรรม/โครงการ ช่ือวิทยากร ชื่อรายวิชา ต่างๆย่ิงเตรียมตัวดี ก็จะยิ่งทาให้เราม่ันใจ และลดขอ้ ผิดพลาดได้ 6.3. การให้กาลังใจตัวเอง : ต้องบอกกับตัวเองว่าเราทาได้ เราต้องม่ันใจ เรามีความพร้อม เราคือคน เก่งคนหน่ึงที่สามารถทาหน้าที่น้ีได้ และต้องเต็มท่ีไปกับหน้าที่ของตัวเอง ซ่ึงการให้กาลังใจตัวเองเป็นสิ่งสาคัญ มากกบั การเป็นพิธีกรมือใหม่ /6.4 คาคมไม้ตาย...

-4- 6.4. คาคมไม้ตาย : การเตรียมคาคม บทกลอน หรือมุกตลก เพ่ือการสร้างบรรยากาศ เม่ือเราเห็น รอยยม้ิ ของผู้ฟงั เราจะยิ่งม่ันใจมากข้นึ 7. ปญั หาทพี่ บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา (อธิบายโดยละเอียด) 7.1 ปัญหา 7.1.1. การพูดผิด เช่นช่อื งาน ชื่อวทิ ยากร 7.1.2. เสยี งส่ันระหวา่ งการพดู 7.1.3. ผูฟ้ งั ไมใ่ ห้ความรว่ มมือ 7.2 แนวทางแก้ไขปัญหา 7.2.1 หากพูดผิดแล้วรตู้ ัวเองในขณะนั้นควรขออภัย แลว้ แก้ไขส่วนทผ่ี ิดให้ถกู ตอ้ ง โดยไมต่ ้อง ยกมือไหว้ หรือชะงักอยู่นาน พยายามทาให้เกิดความล่ืนไหล ควบคุมสีหน้าและแววตาให้มั่นใจอยู่เสมอ และ ควรฝึกซอ้ มให้มากขึ้นเพื่อลดข้อผดิ พลาดในครงั้ ตอ่ ไป 7.2.2. เสียงส่ันเกิดท่ีเกิดจากความประหม่า พยายามอย่าสบตาผู้ฟัง หลบสายตาแล้วหายใจ เขา้ ลกึ ๆ ค่อยๆพดู ใหช้ า้ และชดั เจนเพ่ือลดความตื่นเตน้ 7.2.3. พยายามหามุกตลก คาคม หรือต้ังคาตามไม่วิชาการในการและเดินไมค์ให้ผู้เข้าร่วมได้ แสดงความคดิ เห็น และยมิ้ แยม้ อย่เู สมอ 8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) 8.1 เพ่ือให้ผู้ท่ีรับหน้าท่ีการเป็นพิธีกรมือใหม่ได้ เสริมสร้างความมั่นใจ มีการเตรียมตัวให้พร้อมและ สามารถทาหน้าทีไ่ ด้ดี พชิ ติ ใจผฟู้ ังมากขน้ึ 8.2 เพ่ือพัฒนาการทางานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนยะลาใหม้ ีขดี สมรรถนะทีส่ ูงข้นึ Scan ZapCode

-5-

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook