Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CDD KM2563

CDD KM2563

Published by wathhpl1710, 2020-05-09 03:37:37

Description: CDD KM2563

Search

Read the Text Version

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี 2565

แบบบันทึกองค์ความรรู้ ะดับหน่วยงาน ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนยะลา สถาบันการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชอื่ องค์ความรู้ องค์กรแห่งนวตั กรรมการบรหิ ารงานภายใตส้ ถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลง 2. ช่ือเจ้าของความรู้ ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจัดการความรู้ (องค์ความรู้บ่งช้ี)  หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ขี ีดสมรรถนะสูง 4. ท่มี าและความสาคัญในการจัดทาองคค์ วามรู้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) กาหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศที่ พัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” มียุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” เพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณาการบนทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมี ระบบภูมิคุ้มกันที่ดี สอดคล้องกับภูมิสังคม การพัฒนาทุกด้าน มีดุลยภาพ ท้ังมิติเศรษฐกิจ สังคมและระบบ นเิ วศน์ มีความสอดรบั เก้อื กลู และพงึ่ พาอาศัยกันและกนั นโยบายรัฐบาล กาหนดนโยบายเร่งด่วน เรื่องที่ 10 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน และ ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 – 2564 กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคง และ ชุมชนพึ่งตนเองได้ภายในปี พ.ศ.2565” โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นท่ี 4 คือ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีด สมรรถนะสงู คาส่ังการจัดโครงสร้างส่วนราชการและการแบง่ งานภายในกรมการพัฒนาชุมชน และคาสง่ั การจัดตง้ั ส่วน ราชการภายในของกรมการพัฒนาชุมชน กาหนดให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา อยู่ภายใต้ส่วนราชการ ภายในของกรมพัฒนาชุมชน คือ สถาบันการพัฒนาชุมชน โดยเป็นสถาบันแห่งความเป็นเลิศ 1 ใน 11 แห่ง กล่าวคือ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา เป็น สถาบันการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ยะลา มีหน้าท่ี รับผิดชอบเกี่ยวกับศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเฉพาะพื้นที่ งานสนับสนุน การจัดการความรู้ พัฒนาแหล่ง เรียนรู้ และห้องปฏิบัติการทางสังคม งานฝึกอบรมและบริการงานฝึกอบรมท่ีเหมาะสมเฉพาะพ้ืนท่ี ให้บริการ ทางวิชาการ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาชุมชน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา สะสม และเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการเฉพาะด้านเศรษฐกิจพอเพียง และด้านการประยุกต์ใช้ ศาสตร์พระราชาในการขับเคล่ือนงานในพื้นที่ แสวงหาความร่วมมือและบูรณาการกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาคีทุกภาคส่วนในการพัฒนาองค์ความรดู้ ้านเศรษฐกิจพอเพียง และปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องตามท่ี ไดร้ ับมอบหมาย

-2- 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดับข้ันตอน (อธบิ ายโดยละเอียด) กระบวนการบริหารงานองค์กรแห่งนวตั กรรมให้ประสิทธิภาพภายใต้สถานการณท์ ่เี ปลี่ยนแปลง ดงั น้ี 5.1. ด้านการวางแผน (Planning) ผู้นาองค์กรสมัยใหม่ควรมีวิสัยทัศน์ขององค์กรที่ชัดเจน ส่ือสาร สาระสาคัญและวัตถุประสงค์ขององค์กรออกไปได้อย่างแข็งแกร่ง เพื่อช้ีนาเป้าหมายขององค์กรได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ภายใต้สภาวะท่ีหลากหลายของบุคลากร อันได้แก่ อายุ เพศ เช้ือชาติ ศาสนา การศึกษา ทักษะ ทศั นคติ ประสบการณ์ ความคิด ความชอบ ความสนใจในขณะเดยี วกันก็สามารถเข้าใจ และสนับสนุนบุคลากร ทุกระดับในการขับเคลื่อนความหลากหลายมาสร้างโอกาสเพื่อเชื่อมโยงกับการทางาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ รว่ มกันขององคก์ รวัตถุประสงค์ทช่ี ัดเจน และ เป้าหมายท่ีเห็นพอ้ งต้องกนั เพื่อใช้เปน็ แนวทางการปฏิบตั ิงาน ท่ี ตอ้ งการทาให้องคก์ รบรรลผุ ลสาเร็จทคี่ าดหวังไวใ้ นการดาเนินงานให้เป็นไปตามภารกิจขององค์การ 5.1.1การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ทีด่ ี โดยผนู้ าและสมาชิกภายในทีม มีส่วนรว่ มในการกาหนดหนา้ ที่ ความ รบั ผิดชอบ และวัตถุประสงคร์ ว่ มกนั ควรกาหนดจดุ มงุ่ หมายไว้ใหช้ ดั เจนท่ผี ลงานมากกวา่ การกระทา * ประโยชน์ของการกาหนดวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ใช้เปน็ เคร่ืองมือในการรวม พลงั ในการทางาน และใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื วดั ความสาเร็จหรอื ความลม้ เหลวในงาน * คณุ ลกั ษณะของวัตถุประสงค์ทีด่ ี คอื เขียนเปน็ ลายลักษณ์อักษร เข้าใจงา่ ย สามารถปฏบิ ัติได้จริง ไม่ ขัดต่อขอ้ บังคบั และ นโยบายอื่น ๆ ในหน่วยงาน 5.1.2. ความเปิดเผยต่อกัน และ การเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหา เป็น่ส่ิงสาคัญต่อการทางานเป็นทีม ท่ีมี ประสทิ ธิภาพสมาชิกจะต้องการแสดงความคิดเหน็ อย่างเปดิ เผย ตรงไปตรงมา แก้ปญั หาอย่างเตม็ ใจและจริงใจ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันและทางานรว่ มกันเป็นอย่างดี โดยมกี ารเรียนร้เู กี่ยวกับบุคคลอ่ืนในด้านความต้องการ ความคาดหวัง ความชอบหรือไม่ชอบ ความรู้ความสามารถความสนใจความถนัด จุดเด่นจุดด้อยและอารมณ์ รวมท้ังความรูส้ กึ ความสนใจนสิ ยั ใจคอ 5.1.3. การสนับสนุนและความไว้วางใจต่อกัน สมาชิกในทีมจะต้องไว้วางใจ ซึ่งกันและกัน โดยแต่ละ คนมีเสรีภาพ แสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา โดยไม่ต้องกลัวว่าได้รับผลร้ายที่จะมีต่อเน่ืองมา ภายหลงั สามารถทาใหเ้ กิดการเปิดเผยต่อกัน และกลา้ ท่จี ะเผชิญหนา้ เพ่อื แก้ปัญหาต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 5.1.4. ความร่วมมือและการให้ความขัดแย้งในทางสร้างสรรค์ ผู้นากลุ่มหรือทีมจะต้องทางานอย่าง หนกั ในอันที่จะทาใหเ้ กิดความร่วมมือดังน้ี 5.1.4.1 การสร้างความร่วมมือกับบุคคลอ่ืน ในการสร้างความร่วมมือเพื่อความเข้าใจซึ่งกัน และกัน และ มีบุคคลอยู่สองฝ่ายคือ ผู้ขอความร่วมมือ และ ผู้ให้ความร่วมมือ ความร่วมมือจะเกิดขึ้นได้เมือ ฝ่ายผู้ให้เต็มใจและยินดีจะให้ความร่วมมือ เหตุผลท่ีทาให้ขาดความร่วมมือไม่ช่วยเหลือกัน คือ การขัด ผลประโยชน์ ไม่อยากให้คนอื่นได้ดีกว่า สัมพันธภาพไม่ดี วัตถปุ ระสงค์ของท้ังสองฝ่ายไม่ตรงกัน ไม่เห็นด้วยกัน วิธีทางานขาดความพร้อมท่ีจะร่วมมือ หรืองานท่ีขอความร่วมมือนั้นเสี่ยงภัยมากเกินไป หรือเพราะความไม่ รบั ผิดชอบต่อผลงานส่วนรวม 5.1.4.2 การขัดแย้ง หมายถึง ความไม่ลงรอยกันตามความคิด หรือ การกระทาท่ีเกิดข้ึน ระหว่างสองคนขึ้นไปหรอื ระหวา่ งกลมุ่ โดยมลี กั ษณะที่ไมส่ อดคล้อง ขัดแยง้ ขัดขวาง ไมถ่ กู กนั จึงทาให้

-3- ความคิดหรือการทากิจกรรมร่วมกันน้ันเสียหาย หรือดาเนินไปได้ยากไม่ราบร่ืน ทาให้การทางานเป็นทีมลดลง นับเป็นปญั หา อปุ สรรคท่ีสาคัญยง่ิ 5.1.4.3 วิธีแก้ความขัดแย้ง การแก้ความขัดแย้งเป็นเรื่องของทักษะเฉพาะบุคคล การ แก้ปัญหาความขัดแยง้ ในการทางานเป็นทีม ควรใช้วธิ ีการแก้ปัญหารว่ มกนั ไม่พูดในลักษณะที่แปลความหรอื มุ่ง ตัดสินความไม่พูดในเชิงวิเคราะห์ไม่พูดในลักษณะที่แสดงตนเหนือกว่าผู้อื่น หรือไม่พูดในลักษณะท่ีทาให้ผู้อื่น เจ็บปวดเสียหน้า อับอาย เจ็บใจ หรือการพยายามพูดหาประเด็นความขัดแย้ง ไม่กล่าวโจมตีว่าใครผิดใครถูก (มาเรียม จอหวัง .2563) 5.2. การจัดการองค์กร (Organizing) การจัดการองค์กรนี้เริ่มต้ังแต่การกาหนดโครงสร้างองค์กร กาหนดตาแหนง่ งาน จัดสรรทรัพยากรบคุ คลเพ่ือลงในตาแหนง่ งานต่างๆ รวมถึงจดั ระบบระเบียบในการทางาน ทั้งหมดด้วย ส่ิงท่ีต้องคานึงถึงในการจัดโครงสร้างองค์กรน้ันก็คือการแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจน ไม่ทางาน ทับซ้อนกัน และต้องทางานประสานกันให้ราบร่ืนได้ด้วย ครอบคลุมการทางานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหางานที่มี ประสิทธิภาพนั้นทุกคนควรจะคิดถึงงานหรือคิอถึงผลงานเป็นอันดับแรก ควรมีความเข้าใจในจุดมุ่งหมายของ การทางานเป็นอย่างดี จุดมุ่งหมายที่ชัดเจนถือเป็นหัวใจสาคัญด้วยเหตุนี้ จุดมุ่งหมายควรต้องมีความชัดเจน และ สมาชิกทุกคนมคี วามเข้าใจอย่างดีเพราะจะนาไปสู่แนวทางในการทางานว่าต้องทาอย่างไร จึงจะบรรลุตาม เป้าหมายของงาน ให้ได้ผลของงานออกมาได้อย่างดีที่สุด การตัดสินใจส่ังการเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานของ การบริหารงาน ผู้บริหารหรือผู้นาทีมเป็นบุคคลสาคัญในการที่จะมีส่วนในการตัดสินใจ วิธีการท่ีผู้บริหารใช้ใน การตัดสินใจหลายวธิ คี อื ผู้บริหารตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหา โดยไม่ต้องซักถามคนอ่ืน หรือ ผ้บู ริหารจะรบั ฟังความ คิดเห็นก่อนตัดสินใจ อาจจะมอบหมายการตัดสินใจให้คนใดคนหน่ึงหรือกลุ่มย่อม ที่เห็นว่าเหมาะสมเทคนิค และ แนวทางการทางานสคู่ วามสาเร็จดงั น้ี (มณฑิรา จทุ อง.2563) - การตดิ ต่อและประสานงานกับผทู้ ่ไี ดร้ บั มอบหมายหรอื ผู้ท่เี ก่ียวข้อง - การวางแผนการทางานทเ่ี ป็นระบบและการทางานท่เี ป็นข้ันตอน - การตดิ ตามและประเมินผลอย่างต่อเนือ่ ง 5.3. การบริหารบุคคลกรภายในองค์กร (Staffing) การบริหารจัดการบุคลากรน้ันเร่ิมตั้งแต่การคัด สรรบุคลากรท่ีมคี ุณภาพและเหมาะสมเพ่ือจัดสรรให้ทางานในตาแหน่งต่างๆ ขององค์กร ผู้อานวยการศูนย์ฯทา หน้าที่เป็นผู้ชี้แนะประเด็นที่สาคัญ ในการทางานตามบทบาทของบุคคลากร คือการแบ่งงานกระจายงานให้ สมาชิกทุกกลุ่มตามความรู้ ความสามารถสาหรับสมาชิกของทีมงานที่ได้รับการคัดเลือก ต้องพร้อมที่จะทา หน้าท่ีให้เหมาะสมกับงานท่ีได้รับมอบหมายโดยการให้การสนับสนุนนาทีมให้ประสบผลสาเร็จ ส่งเสริมให้มี บรรยากาศที่ดีในการทางานเป็นทีม มีการพัฒนาบุคลากรและทีมงาน การทางานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ พยายามท่ีจะรวบรวมทักษะต่าง ๆของแต่ละคน การพัฒนาบุคคลากรในองค์กรมักจะมองในเรื่องทักษะและ ความรู้ท่ีแต่ละคนมีอยู่แล้ว ก็ทาการฝึกอบรมพัฒนาคนให้มีความสามารถสูงข้ึนอันจะมีผลดีในการทางาน เช่นการถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง เทคนิคการเป็นวิทยากรฐานการเรียนรู้ (อภิเชษฐ เกิดมี.2563) , การเป็นวิทยากรมืออาชีพ (วีรกิตต์ิ เพชรโชติ.2563) , เทคนิคการเป็นพิธีกรมือใหม่ พิชิตใจตัวเอง (สภุ านี เซ่งทอง.2563) , ศนู ย์ฝกึ อบรมประชาชน “โคก หนอง นา โมเดล” (กติ ติ ปานแก้ว.2563) เปน็ ตน้

-4- 5.4.การอานวยการ (Directing) การตรวจสอบทบทวนผลงานและวิธีในการทางาน ทีมงานท่ีดีไม่ เพียงแต่ดูจากลักษณะของทีมและบทบาทท่ีมีอยู่ในองค์กรเท่านน้ั แต่ต้องดูวิธีการท่ีทางานด้วยการทบทวนงาน แนะนาให้ทีมงานได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่ทารู้จักคิด การได้รับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ แต่ละคน หรือ ของทมี การสนับสนุนงานด้านสง่ิ อานวยความสะดวก การบรกิ าร ตา่ งๆเช่น กระบวนการจัดทา ประมาณการเพ่ือของบประมาณ (ศราวุธ จิรฉัตรเจริญ.2563) เทคนิคกระบวนการเบิกจ่ายเงินในระบบ GMIFIS Web Online (ณัฐธิตา ปัญญะ.2563) ,ลดขยะ ลดภาระ (เฉลมิ พร ทองคา.2563) 5.5. การควบคุม (Controlling) การควบคุมน้ีก็คือการบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและ ระยะเวลาที่วางไว้ การควบคุมน้ีตัง้ แต่การควบคุมทรพั ยกร ไปจนถึงบุคลากร ให้การปฎิบัติการทุกอย่างมีความ ราบรื่น และดาเนินการตามแผนการได้สาเร็จ ทั้งยังตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ด้วย การควบคุมนี้นอกจาก การส่ังการ กาหนดการ บังคับการแล้ว ก็ยังรวมถึงการแนะนา ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการ ทางาน การบริหารจัดการแบบประเมินออนไลน์ “ให้มีประสิทธิภาพ ประหยัด ไม่มีค่าใช้จ่าย” ผ่านโปรแกรม Google From (อุทัยพันธ์ สิงห์แก้ว.2563) และยังมีการรายผลอีกรูปแบบหนึ่งโดยการใช้ ภาพถ่ายในการรายงานเพื่อให้เห็นถงึ สถานการณ์ในการรายงานผล เทคนิคการเล่าเร่ืองราวด้วยภาพถ่ายจาก Smart phone (สรรณชยั ตั้งพานทอง.2563) 5.6. สถานการณ์การเปลีย่ นแปลง ผลกระทบจากสภานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงอันมาสามารถควบคุม ได้ เช่นสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ท่ีเกิดข้ึนท่ัวโลกในขณะนี้ เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้กับงาน เช่น การประชุมทางไกล เพ่ือการปฏิบัติงานด้วย “Application Zoom”(วรนาฏ นุ่นสุวรรณ.2563) , work from home ด้วยแอปพลิเคช่ัน ASANA (มนกันต์ โล้วเจริญงาม.2563) หรือแม้กระท้ังเรื่องของการบริหารให้ความ ชว่ ยเหลือหรือสนับสนุนเยียวยาหรือรณรงค์ภายใต้สถานการณ์โรคระบาด Quick Win ปลกู ผักหมุนเวียน 90 วนั มีผกั ให้กินตลอด (ศริ ิกลุ คา้ ชู.2563) ,เทคนคิ การทาหนา้ กากปอ้ งกันโรค (สิริพร สลี าภรณ์.2563) 6. เทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนยะลา กาหนดวสิ ยั ทัศน์ “เป็นศนู ยก์ ลางการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียงที่มี มาตรฐานในพน้ื ทภี่ าคใต้” โดยมปี ระเด็นยทุ ธศาสตร์ 1. การพฒั นางานวจิ ยั และการพฒั นาองค์ความรู้ในงานพฒั นาชุมชน 2. เสริมสร้างการฝึกอบรมและพฒั นาหลักสูตรที่มมี าตรฐาน 3. การพฒั นาความเป็นเลิศดา้ นวิชาการ มีพันธกิจ ดงั นี้ 1. การพัฒนาความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการในด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ัย พฒั นาและสร้างองค์ความรู้ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ เร่ืองการพัฒนาชุมชนเฉพาะพ้ืนที่ 3. พัฒนาบุคลากรให้เปน็ ผู้เชีย่ วชาญด้านการฝกึ อบรม และเป็นองค์กรมาตรฐานในการให้คาปรกึ ษาด้านการ พฒั นาชุมชน 4. พัฒนาศูนยก์ ารเรยี นร้ใู นงานพฒั นาชมุ ชนเชงิ พ้นื ท่ี

-5- ในการดาเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ขา้ งตน้ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา กาหนดการแปลงยุทธศาสตร์ ส่กู ารปฏิบัติภายในองค์กร และให้บุคลากรดาเนินการจัดการความรู้รายบุคคลตามกรอบยุทธศาสตรฯ์ ทกี่ าหนด พร้อมทั้งจัดเวทีจัดการความรู้ของบุคลากรร่วมกัน ภายในหน่วยงาน ภายใต้โครงการ Show and share องค์ ความรรู้ ายบุคคลเพ่ือยกระดับการทางานศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนยะลา ให้มีขดี สมรรถนะสงู และขับเคลือ่ น การดาเนินงานด้านการจัดการความรู้ สอดคล้องต่อการขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2563 ทาให้ค้นพบองคค์ วามรู้วิธีการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice) ที่เก่ียวข้องและเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร จานวน 2 ชุดความรู้ โดยมีการจัดเก็บ รวบรวมองค์ความรู้ เผยแพร่ แกส่ าธารณะผ่านเว็บไซต์ของศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา จานวน 15 เรื่อง 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปัญหา 1. บุคลากรของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา เปน็ บคุ ลากรบรรจใุ หม่ทเี่ พิ่งเขา้ รับราชการ หรือเปล่ยี น สายงาน ทาใหป้ ระสบปัญหาในการทางานทตี่ ้องอาศัยทักษะอาชีพ 2. สภาวการณข์ องโรคระบาด และการประกาศเคอร์ฟวิ ในพ้ืนที่ ทาให้การทางานของบุคลากรมีความ ยากลาบาก แนวทางแก้ไขปญั หา 1. บคุ ลากรได้ศึกษาหาความร้แู ละประสบการณ์จากองค์ความรขู้ องร่นุ พี่ และทดลองปฏบิ ัติตาม จงึ ได้ถอด องค์ความรูท้ ีเ่ หมาะสมกับตนเอง เพื่อใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน 2. บุคลากรของศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา ศกึ ษาหาความรแู้ ละถ่ายทอดองคค์ วามรู้ของตนเองผา่ น ส่ือออนไลน์ เกิดการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกับเครือขา่ ย 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ 1. พฒั นาศักยภาพของบุคลากรในองค์กรมีขดี สมรรถนะสูงขึน้ 2. เสรมิ สร้างศกั ยภาพการทางานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา ใหมสี มรรถนะสงู ข้ึน สามารถ ปฏิบัตงิ านไดต้ ามกรอบการทางานทีก่ าหนดได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. ภายใตส้ ถานการณท์ เ่ี ปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก การเมือง เศรฐกิจ วกิ ฤติ ยงั สามารถบรหิ ารจดั การ องค์กรได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

แบบบันทึกองค์ความร้รู ายบุคคล ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา สถาบันการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชอ่ื องคค์ วามรู้ การบรหิ ารจัดการ แบบประเมนิ ออนไลน์ “ประหยัด ไมม่ ีคา่ ใชจ้ ่าย ให้มีประสิทธิภาพ” ผ่านโปรแกรม Google Form 2. ช่ือเจา้ ของความรู้ นายอุทยั พนั ธ์ สงิ ห์แกว้ ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบุคคล (พนักงานราชการ) 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจัดการความรู้  หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรคช์ ุมชนพึ่งตนเองได้  หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดลุ  หมวดที่ 3 เสรมิ สร้างทนุ ชมุ ชนใหม้ ีธรรมาภบิ าล  หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองคก์ รให้มขี ดี สมรรถนะสงู 4. ท่ีมาและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) ในอดีตที่ผ่านมาเจ้าของความรู้ได้รบั ผิดชอบและมีคาส่ังศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลาไดร้ ับแต่งตั้ง เป็นเจ้าหน้าที่โครงการในการฝึกอบรมแต่ละคร้ัง และให้มีหน้าท่ีออกแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผล โครงการ การให้บริการด้านต่างๆ จัดให้ผู้เข้าอบรมประเมินตามแบบและสรุปผลการประเมินส่งให้ผู้จัดการ โครงการ เพือ่ บรรจใุ นเอกสารสรุปผลโครงการ โดยการฝึกอบรมแต่ละคร้ัง จะต้องออกแบบแบบประเมินรายวิชาหรือโครงการ จัดทา และพิมพ์ เอกสารแบบสอบถามเหลา่ นี้ดว้ ยมือ และเม่ือส้นิ สุด กระบวนการอบรมในวันสุดทา้ ยในการประเมินผลโครงการ จะตอ้ งมกี ารบริหารจัดการแบบประเมนิ แก่ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม เจ้าของความรู้ต้องชี้แจงรายละเอยี ดการกรอก แบบประเมินให้ผู้เข้าฝึกอบรมเข้าใจ แล้วให้ผู้เข้าฝึกอบรมกรอกแบบประเมิน ซึ่งมีขั้นตอน และเวลาใน กระบวนการการบริหารจัดการแบบประเมินจานวนมากในแต่ละคร้ัง เจ้าของความรู้จึงเล็งเห็นว่า การนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน มีส่วนช่วยให้การ ประมวลผล รวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล สามารถลดข้ันตอน บรหิ ารจัดการไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ซ่ึงปัจจุบันผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีการใช้ Smart Phone และมีบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตส่วนตัวอยู่ แล้ว ทาให้การอานวยความสะดวกในการกรอกและตอบข้อมูลย้อนกลับมาสู่ผู้จัดการโครงการหรือเจ้าของ ความรู้เอง เป็นไปได้โดยง่าย ที่สาคัญไม่มีค่าใช้จ่ายและก้าวไปสู่ความทันสมัยให้กับผู้เข้ารับการอบรม สร้าง ความพงึ พอใจสูงสุดใหก้ บั ผ้เู ข้ารบั การอบรม โดยใชบ้ รกิ ารจาก Google Form ซง่ึ เปน็ Web Application ซง่ึ ผู้ เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีบัญชีการลงช่ือเข้าใช้ (Log in) กับ Application Google อยู่แล้ว โดยท่ีไม่ต้องเสีย

ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ ได้รับข้อมูล รวดเร็ว และถูกต้องจากผู้เข้าอบรมโดยตรง สามารถเก็บข้อมูลป้องกัน การสญู หายและความผดิ พลาดของขอ้ มูลได้ด้วย 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับข้นั ตอน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) การบริหารจัดการแบบประเมินออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google form ให้มีประสิทธิภาพ นั้นก่อนการ ที่จะเข้าไปใช้งาน Google form ได้ ต้องมีบัญชี Google เม่ือมีบัญชีของ Google พร้อมใช้งานแล้ว สามารถ เข้าสู่ระบบเพื่อเร่ิมต้นใช้งานไดท้ ี่ โดยใช้โปรแกรมเอกสารกูเก้ิล (Google form) หรือใช้ช่องทางจาก URL ได้ที่ https://docs.google.com/forms กรอกชือ่ บญั ชีผู้ใช้และรหสั ผ่าน แตส่ าหรับเจ้าของความรู้ ลงช่ือเข้าใชห้ รือ ผกู บญั ชไี วก้ ับ Google ตลอดเวลา จงึ สามารถเขา้ โปรแกรมเอกสารกเู กิล้ (Google form) โดยอตั โนมตั ิ เมื่อลงช่ือเข้าใช้งานเรียบร้อยแล้วจะเข้าสู่หน้าสร้างแบบฟอร์ม สามารถเลือกจากต้นแบบท่ีมีให้เลือก เริ่มต้น ได้แก่ ฟอร์มข้อเสนอแนะ ฟอร์มเชิญร่วมงาน ฟอร์มข้อมูลติดต่อ แบบสอบถาม ฟอร์มลงทะเบียนซื้อ สินค้า และอ่ืนๆ หรือเลือกสร้างใหม่ด้วยตนเองท้ังหมดก็ได้ ในกรณีน้ีเจ้าของความรู้จะเร่ิมต้นจากแบบฟอร์ม เปล่า ท่ีจะสร้างคาถามให้ตอบโดยกดสร้างแบบฟอร์มเปล่าใหม่ (Start a new Blank form) จากน้ันจะเข้าสู่ หน้าเร่ิมต้นแบบฟอร์มเปล่า จะมีแถบเครื่องมือและเมนูหลักๆ 2 ส่วน ได้แก่ แถบเมนูด้านบน (ส่วนใหญ่จะถูก ใช้ทาหลังจากสร้างแบบฟอร์มเสร็จ) และแถบเครื่องมือด้านข้าง (แถบเคร่ืองมือน้ีมีไว้สาหรับสร้างคาถามต่างๆ ในแบบฟอรม์ ) ซง่ึ มขี ั้นตอนการใช้งานง่าย ไมย่ ่งุ ยาก อีกทั้งสามารถตรวจสอบข้อมูลผลลัพธ์ การตอบกลับจากผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้ตอบแบบฟอร์ม หลังจากที่ได้ส่งและเผยแพร่แบบฟอร์มให้ผู้เข้าอบรมได้ทาการกรอกแบบประเมินและส่งข้อมูลกลับมายัง เจ้าของความรู้แล้ว เจ้าของความรู้สามารถกลับมาตรวจสอบผลลัพธ์ข้อมูล การตอบกลับได้จากผลสรุปโดย เลือกเข้าท่ีแบบฟอร์มท่ีต้องการตรวจสอบแล้วคลิกหวั ข้อการตอบกลับ (Responses) 6. เทคนิคในการปฏิบัตงิ าน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) แนวคิดหลัก (Main idea) คือ การจัดทาแบบประเมินออนไลน์บนเว็บไซต์ โดยใช้โปรแกรมเอกสาร กูเกิ้ล (Google form) สามารถทางานได้หลากหลาย อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ และสามารถนาข้อมูลของแบบ ประเมินที่ได้ในรูปแบบของไฟล์เอกสารไปใช้งานในเร่ืองอื่นได้ ตัวอย่างเช่น ไฟล์ Excell (.xls) เป็นต้น แทนที่ เจ้าของความรู้ต้องออกแบบ จัดทา และพิมพ์แบบประเมินเหล่านี้ด้วยมือ จึงทาให้ได้เทคนิคหรือเป้าหมาย คอื ความเร็ว ความถูกต้อง มีประสิทธภิ าพ และประหยดั เจ้าของความรู้ไดจ้ าแนกแยกรายละเอยี ดในการปฏิบัตงิ านแต่ละเปา้ หมายได้ดงั นี้ 1) ความเร็ว (Speed) การบริหารจัดการแบบประเมินออนไลน์ผ่านโปรแกรมเอกสารกูเกิล้ สามารถใช้ในการออกแบบ จัดทา พิมพ์แบบประเมนิ และสรปุ ผลแบบประเมิน สามารถทาข้ันตอนเหลา่ น้ไี ด้โดยโปรแกรมเอกสารกเู ก้ิล (Google form) ซง่ึ ไม่ต้องทาขัน้ ตอนเหล่านด้ี ว้ ยมืออีกต่อไป ทาใหเ้ พิม่ ความเร็วในการทางาน 2) ความถูกต้อง (Correctness)

การบริหารจดั การแบบประเมนิ ออนไลนผ์ า่ นโปรแกรมเอกสารกูเกล้ิ สามารถจัดทาผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการ กรอกข้อมูลในแบบประเมิน โดยสามารถเก็บในรูปของงานเอกสาร (Worksheet) ได้ทันที ตัวอย่างเช่น ไฟล์ Excell (.xls) เป็นต้น ไฟลท์ ี่ไดส้ ามารถเก็บขอ้ มลู ได้อย่างถูกต้อง สามารถเชือ่ มตอ่ กบั Microsoft Excel ทนั ที 3) มีประสทิ ธิภาพ (Performance) การบริหารจดั การแบบประเมินออนไลน์ผา่ นโปรแกรมเอกสารกูเก้ิล สามารถลดขนั้ ตอนทีส่ ารวจข้อมูล ต้องกรอกข้อมูลต่างๆ ของแบบประเมินแบบเดิมท่ีเป็นเอกสารลงในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อหาค่าเฉล่ีย(ˉx ) การประมวลผลข้อมลู เหล่าน้ี โดยโปรแกรมเอกสารกูเก้ิลทางานในส่วนนีแ้ ทน และขอ้ มูลบนโปรแกรมเอกสารกู เกิล้ สามารถทาการประมวลผลทางสติถิหาคา่ เฉลยี่ แบบงา่ ยได้ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือบนโปรแกรมนี้ ทาให้การบริหาร แบบประเมนิ ออนไลนน์ ม้ี ีประสิทธิภาพดี 4) ประหยดั (Cheap) การบริหารจัดการแบบประเมนิ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรมเอกสารกูเก้ิลทาให้ประหยัด เกบ็ ข้อมูลในระบบ ออนไลน์ ไม่ต้องใชง้ บประมาณในการจัดทาหรือจดั ซือ้ เน่อื งจากโปรแกรมกูเก้ิลสามารถใชง้ านได้ฟรี 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแก้ไขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอียด) ปัญหา ในการฝึกอบรมแตล่ ะครั้ง ซึ่งอาจมีปัญหาในการจดั เก็บ การขนย้าย การคัดลอก การกรอกขอ้ มูลต่างๆ และการประมวลผลจากแบบฟอรม์ ที่ผู้เขา้ อบรมไดก้ รอก รวมถงึ งบประมาณในการจดั ซือ้ กระดาษ อีกทั้งเกิดปัญหาการสรุปผลโครงการท่ีไม่มีประสิทธิผล ใช้เวลาในกระบวนการประเมินผลโครงการ หลายกระบวนการและหลายข้ันตอน ทาให้เกิดปัญหา คือเจ้าของความรู้ต้องจัดทาแบบสอบถามโดยต้อง ออกแบบแบบประเมิน แล้วจัดทาแบบประเมนิ และส่งพิมพ์ แบบประเมิน หลงั จากนั้น ต้องทาการกรอกข้อมูล ในแบบประเมินและรวบรวมผลลัพธค์ ่าเฉล่ีย สรุปผลแบบประเมินเหล่าน้ีดว้ ยมอื ของเจา้ ของความรู้เอง ซ่ึงมีข้ัน หลายตอนที่ยุ่งยาก ส่งผลให้เสียเวลา ใช้เอกสารเป็นจานวนมาก ส้ินเปลืองทรัพยากรมนุษย์ในการดาเนินการ เรื่องเหลา่ น้มี าก ปญั หาสาคัญของการบริหารจดั การแบบประเมนิ ออนไลน์ผ่านโปรแกรมเอกสารกเู กิ้ล (Google form) อาจไม่สามารถใช้งานได้ หากจานวนผู้เข้าอบรมจานวนมาก ทาให้ไม่สามารถเข้าใช้งานได้ เนื่องจากระบบ เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตมีจานวนไม่เพียงพอ แนวทางแก้ไขปญั หา การบริหารจัดการแบบประเมินออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Form ให้มปี ระสิทธิภาพ โดยเจ้าของ ความรู้ ใช้โปรแกรมเอกสารกเู กลิ้ (Google form) ในการจดั ทาแบบประเมินออนไลน์ สามารถแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งปัจจุบันผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีการใช้ Smart Phone และมีบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ส่วนตวั อยู่แลว้ สามารถเข้าใช้งานได้ง่าย แก้ปัญหาระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ มจี านวนไมเ่ พียงพอ

ทาให้ปัญหาท่ีพบการบริหารจัดการแบบประเมินออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Form ให้เกิดมี ประสิทธิภาพ อานวยความสะดวกในการกรอกและตอบข้อมูลย้อนกลับมาสู่ผู้จัดการโครงการหรือเจ้าของ ความรู้เอง เป็นไปได้โดยง่าย 8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ (อธบิ ายโดยละเอยี ด) 1) เพม่ิ ความทนั สมัยของการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ เช่น ใช้ฟังก์ช่ันการทางานแบบใหม่ในการ พัฒนาการบรหิ ารแบบประเมินออนไลน์ฯ เพ่ือให้ทางานได้ดีมากข้ึน จัดทาหน้าจอติดตอ่ ผู้ใช้ (User interface) ใหใ้ ช้งานไดง้ ่ายขน้ึ และสวยงามมากขึน้ เป็นต้น 2) เพิ่มความเร็วในการทางานของการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ เช่น เพิ่มความเร็วการเชื่อมต่อ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต นาฟังก์ชั่นใหม่ของโปรแกรมเอกสารกูเกิ้ล (Google doc) ท่ีทางานอย่างถูกต้อง ทางาน รวดเร็ว และมีประสิทธภิ าพการทางานสูงมาใช้งานในการบรหิ ารแบบประเมนิ ออนไลนฯ์ เป็นตน้ 3) เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการทางานของการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ เช่น เพ่ิมจานวนงานท่ีทาให้ มากข้ึน โดยปรับให้ฟังก์ชั่นของโปรแกรมเอกสารกูเก้ิลของการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ สามารถสารวจ แบบประเมนิ และสรุปผลการประเมินแบบพรอ้ มกันได้ เปน็ ต้น 4) เพิ่มความสะดวกในการใช้งานการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ เช่น ทาสคริปต์เพื่อสั่งการให้ ฟงั ก์ช่ันการทางานของโปรแกรมเอกสารกูเกิ้ลสามารถ ทางานท้ังหมดทตี่ ้องการได้ภายในคร้งั เดยี ว เปน็ ตน้ 5) เพ่ิมสมรรถะให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา ในการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการ อาคารห้องประชุม อาคารหอ้ งพัก โรงครัวอาหาร เพ่ือเกดิ ความพงึ พอใจแกผ่ ู้ใช้บริการ 6) เพิ่มเติมเรื่องอ่ืนๆ ในการบริหารแบบประเมินออนไลน์ฯ เช่น ผู้ปฏิบัติงานสามารถสั่งการ ทางาน การบรหิ ารแบบประเมนิ ออนไลน์ฯ ผ่านทางโทรศพั ทม์ อื ถือได้ เปน็ ต้น การบริหารจัดการ แบบประเมินออนไลน์ “ให้มีประสิทธิภาพ ประหยัด ไม่มีคา่ ใช้จ่าย” ผา่ นโปรแกรม Google Form น้ี จะเห็นได้ว่าทุกท่านสามารถนามาประยุกค์ใช้ในการทางาน การอบรม การประเมินความพึง พอใจ เป็นต้น ได้ง่าย มีความถูกต้อง สมบูรณ์ และเก็บไฟล์ไว้ในระบบออนไลน์ สามารถนาข้อมูลของแบบ ประเมินท่ีได้ในรูปแบบของไฟล์เอกสารไปใช้งานในเร่ืองอ่ืน สถานที่อ่ืนๆได้ ตัวอย่างเช่น ไฟล์เอ็กเซล (.XLS) ไฟล์เวิร์ด (.DOC) เป็นต้น โปรแกรมน้ีมีประโยชน์มากคือ เจ้าของความรู้สามารถพัฒนาแบบประเมินใช้กับ โครงการอื่นๆ หรือแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการด้านต่างๆของศพช.ยะลา ได้ง่าย รวดเร็ว และประหยัด ไมม่ คี า่ ใช้จา่ ย



แบบบันทึกองคค์ วามรรู้ ายบุคคล ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 1. ช่ือองค์ความรู้ การพัฒนาทีมงาน 2. ชื่อเจ้าของความรู้ นางมาเรียม จอหวงั ตาแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจัดการความรู้ (องคค์ วามรู้บ่งชี้) หมวดที่ 1 สรา้ งสรรคช์ มุ ชนพ่งึ ตนเองได้ หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตวั อยา่ งสมดลุ หมวดท่ี 3 เสรมิ สรา้ งทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภิบาล  หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ขี ีดสมรรถนะสูง 4. ที่มาและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ ในการดาเนินงานขององค์กร ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกาหนดไว้อย่างมีประสทิ ธภิ าพนั้น ทุกคน ในองคก์ รต้องรู้สึกวา่ ตนอย่ใู น \"ทมี \" เดยี วกนั และรว่ มแรง ร่วมใจ สาเรจ็ รว่ มกัน ผูบ้ ริหารจึงต้องสรา้ งทมี งานข้ึน ในองคก์ รและกระตุน้ ให้ทุกคนมีความรสู้ ึกว่าเปน็ ผมู้ ีสว่ นรว่ มในฐานะท่เี ปน็ สว่ นหน่ึงของทีม สุนันทา เลาหนันท์ (2542: 64) ได้ให้ความสาคัญในการสร้างทีมงานขององค์การต่าง ๆ เพ่ือให้การทางาน ให้สาเร็จ ตามเป้าหมาย กล่าวคือ การทางานเป็นทีมมีความสาคัญต่อการทางานในองค์การเป็นอย่างมาก ไม่ เพยี งแต่ทมี งานจะชว่ ยทาให้ วัตถปุ ระสงค์ของหน่วยงานบรรลุเปา้ หมาย เท่านน้ั แตท่ ีมงานยังเป็นองค์ประกอบ ท่ีมีอิทธิพล ต่อบรรยากาศการทางานของ หน่วยงานนั้นอีก ด้วย ท้ังนี้หน่วยงานมีความจาเป็นท่ีจะต้องสร้าง ทีมงานด้วยเหตผุ ลตอ่ ไป นีค้ ือ 1. งานบางอยา่ งไมส่ ามารถทาสาเร็จเพียงคนเดียวได้ 2. หน่วยงานมคี วามเรง่ ดว่ นทต่ี อ้ งการระดมบคุ ลากรเพอื่ ปฏิบัตงิ านใหส้ าเร็จทันเวลาตามทก่ี าหนด 3. งานบางอย่างตอ้ งอาศยั ความรคู้ วามสามารถ และความเชยี่ วชาญจากหลายฝ่าย 4. งานบางอย่างเป็นงานท่ีมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบต้องการความร่วมมืออย่างจริงจังจากทุกฝ่ายท่ี เกยี่ วขอ้ ง 5. เปน็ งานทีต่ อ้ งการความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรคเ์ พอ่ื แสวงหาแนวทาง วิธกี ารและเป้าหมายใหมๆ่ 6. หน่วยงานต้องการสร้างบรรยากาศของความสามัคคีใหเ้ กิดข้ึน การพัฒนาทีมงาน คือ กระบวนการเพิ่มความสามารถ ศักยภาพให้กับสมาชิก สามารถลดปัญ หาและ อปุ สรรคในการทางานรว่ มกัน เพ่ือไปสคู่ วามสาเร็จตามเปา้ หมายของ หนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

-2- 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดับขั้นตอน (อธิบายโดยละเอียด) กระบวนการทางานเป็นทมี ่ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ ดังนี้ 1. วตั ถุประสงค์ที่ชดั เจน และ เป้าหมายท่ีเห็นพ้องต้องกัน เพ่อื ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน ทต่ี ้องการทา ใหอ้ งค์กรบรรลุผลสาเร็จทคี่ าดหวังไว้ในการดาเนนิ งานให้เป็นไปตามภารกจิ ขององค์การ * การกาหนดวัตถุประสงค์ที่ดี โดยผู้นาและสมาชิกภายในทีม มีส่วนร่วมในการกาหนดหน้าที่ ความ รับผดิ ชอบ และวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกัน ควรกาหนดจดุ มงุ่ หมายไว้ให้ชัดเจนทีผ่ ลงานมากกวา่ การกระทา * ประโยชน์ของการกาหนดวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบัติ ใช้เป็นเครื่องมือในการรวมพลัง ในการทางาน และใช้เปน็ เครอื่ งมือวัดความสาเรจ็ หรือความล้มเหลวในงาน * คุณลักษณะของวัตถุประสงค์ท่ีดี คือ เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติได้จริง ไม่ขัด ต่อขอ้ บงั คบั และ นโยบายอ่ืน ๆ ในหนว่ ยงาน 2. ความเปิดเผยต่อกัน และ การเผชิญหน้าเพ่ือแก้ปัญหา เป็น่สิ่งสาคัญต่อการทางานเป็นทีม ที่มี ประสิทธิภาพสมาชิกจะต้องการแสดงความคิดเหน็ อย่างเปิดเผย ตรงไปตรงมา แก้ปญั หาอย่างเต็มใจและจริงใจ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกันและทางานร่วมกันเป็นอย่างดี โดยมกี ารเรียนร้เู ก่ียวกับบุคคลอ่ืนในด้านความต้องการ ความคาดหวัง ความชอบหรือไม่ชอบ ความรู้ความสามารถความสนใจความถนัด จุดเด่นจุดด้อยและอารมณ์ รวมทัง้ ความรสู้ ึกความสนใจนิสยั ใจคอ 3. การสนับสนุนและความไว้วางใจต่อกัน สมาชิกในทีมจะต้องไว้วางใจ ซ่ึงกันและกัน โดยแต่ละคนมี เสรีภาพ แสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา โดยไม่ต้องกลัวว่าได้รับผลร้ายที่จะมีต่อเนื่องมา ภายหลัง สามารถทาให้เกดิ การเปดิ เผยตอ่ กนั และกล้าทจี่ ะเผชญิ หนา้ เพอ่ื แกป้ ญั หาต่าง ๆ ได้เปน็ อย่างดี 4. ความร่วมมือและการให้ความขัดแย้งในทางสร้างสรรค์ ผู้นากลุ่มหรือทีมจะต้องทางานอย่างหนักในอันที่ จะทาใหเ้ กดิ ความร่วมมือดังนี้ 4.1 การสร้างความร่วมมือกับบุคคลอื่น ในการสร้างความร่วมมือเพื่อความเข้าใจซึ่งกันและกัน และ มี บุคคลอยู่สองฝ่ายคือ ผู้ขอความร่วมมือ และ ผู้ให้ความร่วมมือ ความร่วมมือจะเกิดขึ้นได้เมือฝ่ายผู้ให้เต็มใจ และยินดีจะให้ความร่วมมือ เหตุผลที่ทาให้ขาดความร่วมมือไม่ช่วยเหลือกัน คือ การขัดผลประโยชน์ ไม่อยาก ให้คนอื่นได้ดีกว่า สัมพันธภาพไม่ดี วัตถุประสงค์ของท้ังสองฝ่ายไม่ตรงกัน ไม่เห็นด้วยกันวิธีทางานขาดความ พร้อมท่ีจะร่วมมือ หรืองานที่ขอความร่วมมือนั้นเสี่ยงภัยมากเกินไป หรือเพราะความไม่รับผิดชอบต่อผลงาน ส่วนรวม 4.2 การขัดแยง้ หมายถึง ความไมล่ งรอยกันตามความคิด หรือ การกระทาทเ่ี กิดขน้ึ ระหว่างสองคนขึ้นไป หรือระหวา่ งกล่มุ โดยมีลักษณะท่ีไม่สอดคล้อง ขัดแยง้ ขัดขวาง ไมถ่ ูกกนั จึงทาใหค้ วามคิดหรือการทากจิ กรรม ร่วมกันน้ันเสียหาย หรือดาเนินไปได้ยากไม่ราบร่ืน ทาให้การทางานเป็นทีมลดลง นับเป็นปัญหา อุปสรรคที่ สาคญั ย่ิง - สาเหตขุ องความขัดแย้ง ผลประโยชน์ขดั กัน - ความคดิ ไมต่ รงกัน หรือ องคก์ รขดั แยง้ กนั - ความรคู้ วามสามารถตา่ งกนั ทาใหม้ ลี กั ษณะการทางานตา่ งกัน

-3- - การเรยี นร้ตู า่ งกัน ประสบการณท์ ี่มีมาไม่เหมอื นกัน - เป้าหมายต่างกัน 4.3 วิธีแก้ความขัดแย้ง การแก้ความขัดแย้งเป็นเร่ืองของทักษะเฉพาะบุคคล การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ในการทางานเป็นทีม ควรใช้วิธีการแก้ปัญหาร่วมกันไม่พูดในลักษณะที่แปลความหรือมุ่งตัดสินความไม่พูดใน เชิงวิเคราะห์ไม่พูดในลักษณะท่ีแสดงตนเหนือกว่าผู้อืน่ หรือไม่พูดในลักษณะท่ีทาให้ผู้อื่นเจ็บปวด เสียหน้า อับ อาย เจ็บใจ หรอื การพยายามพดู หาประเดน็ ความขดั แย้ง ไม่กล่าวโจมตวี ่าใครผิดใครถูก 5. กระบวนการทางาน และการตัดสินใจที่ถูกต้องและเหมาะสม งานที่มีประสิทธิภาพน้ันทุกคนควรจะ คิดถึงงานหรือคิอถึงผลงานเป็นอันดับแรก ต่อมาควรวางแผนว่าทาอย่างไรงานจึงจะออกมาดีได้ดังท่ีเรา ต้องการ อย่างไรก็ตามก่อนที่จะตัดสินใจนั้นจุดมุ่งหมายควรจะมีความขัดแย้งและสมาชิกทุกคน ควรมีความ เข้าใจในจุดมุ่งหมายของการทางานเป็นอย่างดี จุดมุ่งหมายท่ีชัดเจนถือเป็นหัวใจสาคัญด้วยเหตุน้ี จุดมุ่งหมาย ควรต้องมีความชัดเจน และ สมาชกิ ทุกคนมีความเขา้ ใจอย่างดเี พราะจะนาไปสูแ่ นวทางในการทางานว่าต้องทา อยา่ งไร จงึ จะบรรลุตามเปา้ หมายของงาน ให้ไดผ้ ลของงานออกมาได้อย่างดีทสี่ ุด การตดั สินใจส่งั การเปน็ กระบวนการข้ันพื้นฐานของการบริหารงาน ผู้บริหารหรือผู้นาทีมเป็นบุคคลสาคัญในการที่จะมีส่วนในการ ตดั สนิ ใจ วิธกี ารท่ผี ู้บริหารใช้ในการตดั สินใจหลายวิธคี ือ ผู้บริหารตดั สนิ ใจเพื่อแก้ปัญหา โดยไม่ตอ้ งซักถามคน อ่ืน หรือ ผู้บริหารจะรับฟังความคิดเห็นก่อนตัดสินใจ กล่าวคือ ผู้บริหารยังคงตัดสินใจด้วยตนเองแต่ข้ึนอยู่กับ ความคิดเเห็นและข้อมูลอ่ืนๆ ท่ีผู้บริหารได้รับมาจากสมาชิกของทีม บางคร้ังผู้บริหารอาจจะตัดสินใจร่วมกับ ทีมงานท่ีคัดเลือกมา โดยท่ีผู้บริหารนาเอาปัญหาให้ทีมงานอภิปราย แล้วให้ทีมงานตัดสินใจหรือ ทมี งาน อาจจะมอบหมายการตัดสินใจให้คนใดคนหนึ่งหรอื กลมุ่ ยอ่ ม ทเ่ี ห็นวา่ เหมาะสมก็ได้ ขน้ั ตอนในการตัดสนิ ใจที่มีประสทิ ธ์ภิ าพ ประกอบด้วยข้นั ตอนท่ีสาคัญ 4 ขั้นตอน คอื 1. ทาความเขา้ ใจอยา่ งชัดเจนในเหตผุ ล สาหรบั การตดั สินใจ 2. วิเคราะหล์ ักษณะของปัญหาทจี่ ะตัดสินใจ 3. ตรวจสอบทางเลอื กตา่ ง ๆ ในการแก้ปัญหาโดยพจิ ารณาถงึ ผลทอี่ าจเกิดตามมาดว้ ย 4. การนาเองผลการตดั สินใจไปปฏบิ ัติ 6. ภาวะผนู้ าท่ีเหมาะสม ผนู้ า หรือ หวั หน้าทีมควรทาหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะประเด็นที่สาคัญ ในการทางานตาม บทบาทของผู้นา คือการแบ่งงานกระจายงานให้สมาชิกทุกกลุ่มตาาความรู้ ความสามารถสาหรับสมาชิกของ ทมี งานที่ได้รับการคดั เลือกให้เปน็ ผ้นู า ตอ้ งพร้อมทจี่ ะทาหน้าทีใ่ ห้เหมาะสมกับงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายโดยการให้ การสนับสนุนนาทีมให้ประสบผลสาเร็จ ส่งเสริมให้มีบรรยากาศท่ีดีในการทางานเป็นทีม มีการพัฒนาบุคลากร และทมี งาน 7. การตรวจสอบทบทวนผลงานและวิธีในการทางาน ทีมงานท่ีดีไม่เพียงแต่ดูจากลักษณะของทีมและ บทบาทท่ีมีอยู่ในองค์กรเท่าน้ัน แต่ต้องดูวิธีการท่ีทางานด้วยการทบทวนงาน แนะนาให้ทีมงานได้เรียนรู้จาก ประสบการณท์ ีท่ ารจู้ กั คิด การได้รับขอ้ มูลป้อนกลบั เก่ยี วกับการปฏบิ ตั งิ านของแต่ละคน หรอื ของทีม

-4- 8. การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีมท่ีมีประสิทธิภาพพยายามที่จะรวบรวมทักษะต่าง ๆของแต่ละคน การพัฒนาบคุ คลากรในองคก์ รมักจะมองในเร่ืองทักษะและความรู้ที่แตล่ ะคนมอี ยแู่ ล้ว ก็ทาการฝึกอบรมพัฒนา คนใหม้ คี วามสามารถสูงขึน้ อันจะมผี ลดใี นการทางาน 6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน 1. ตอ้ งเพมิ่ โอกาสในการประสบความสาเร็จ เลอื กคนให้เหมาะกับงาน มอบหมายงาน ทาให้เค้ารวู้ ่าทุกคน ต่างเป็นฟันเฟืองท่ีสาคัญทม่ี ผี ลตอ่ ความสาเรจ็ ของงานด้วยกันทั้งสิน้ 2. ต้องแบง่ งานใหช้ ัดเจน ช้แี จงวตั ถุประสงค์ของทีมใหช้ ัดเจน 3. ต้องจัดการกับทีม ควรมีหลกั เกณฑ์วดั ความสาเร็จของสมาชิกแต่ละคน เพื่อให้สามารถปรบั ปรุงสมาชิกได้ 4. ต้องใหค้ าติชมและแนะนา สง่ิ ท่ีสาคัญ คือ การให้ รับฟัง และแบ่งปนั ข้อมลู (feedback) ตดิ ตามแนะนา ในเชิงสรา้ งสรรคเ์ สมอ 7. ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา ปัญหา 1. เจ้าหนา้ ทผี่ ้ปู ฏิบตั ิมนี ้อย ไมส่ อดคล้องกบั ปริมาณงาน 2. ทมี งานเกิดความเครียด ในห้วงเวลาท่ีจากัด ต้องการความสาเร็จภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว ในขณะที่ กระบวนงานเยอะ แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ศึกษาศกั ยภาพของทีมงาน ใชค้ นใหเ้ หมาะสมกับงาน 2. ศึกษาสาระสาคัญของงานที่ได้รบั อยา่ งละเอียด สรุปสาระสาคัญ ข้นั ตอนการปฏบิ ัติ ตัวช้วี ัดท่ตี ้องการ และถา่ ยทอดให้ทีมงานพร้อมสื่อ เครอ่ื งมอื ในการทางานอย่างเพยี งพอ ติดตามถามไถ่อย่างใกลช้ ดิ เพือ่ ทจี่ ะสามารถแก้ไขปญั หาไดท้ ันที ไม่ควรใช้อารมณ์ไปกดดนั ในการทางาน อาจทาให้เกิดความเครียด เพ่มิ ขึ้น 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ การสรา้ งทีมงานทีเ่ ข้มแข็ง จะเปน็ การสนบั สนุนการพัฒนาทางความคิดและการทางาน ทาใหง้ าน ประสบผลสาเร็จ ดว้ ยความสขุ ของสมาชิกทุกคน -------------------------------

แบบบนั ทึกองค์ความรูร้ ายบุคคล ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบันการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ช่อื องคค์ วามรู้ บริการด้วยใจ 2. ช่อื เจา้ ขององค์ความรู้ นางสาวมณฑิรา จุทอง นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 3. หมวดองค์ความรทู้ ่ีบ่งชี้ เสรมิ สร้างองค์กรใหม้ ีขีดสมรรถนะสงู 4. ที่มาและเปา้ หมายของการจดั การความรู้ ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา เป็นหนว่ ยงานทดี่ าเนนิ งานเกี่ยวกบั การฝึกอบรมใหแ้ ก่บุคลากรของ กรมการพัฒนาชมุ ชน ผนู้ าชุมชน กลุ่มองค์กรตา่ ง ๆ ซึ่งได้ใหบ้ ริการดา้ นการฝึกอบรม เพอื่ ให้ความรดู้ า้ นวิชาการ รวมถงึ การฝกึ ปฏิบัติ นอกจากนยี้ ังให้บรกิ ารดา้ นอาคาร อาหารและท่ีพกั เพอื่ เปน็ การอานวยความสะดวกให้แก่ ผูท้ ่เี ข้ามารบั การฝึกอบรมและยงั รวมถึงบุคคลภายนอกทเ่ี ข้ามาขอรบั บริการ ซึ่งการบรหิ ารจดั การในด้านตา่ ง ๆ มีความสาคัญท่ีจะต้องมีการวางแผนงานเกย่ี วกับการบริการที่ดี เพ่ือให้ผ้รู บั บริการจะมีความประทับใจและมคี วาม พึงพอใจ และอยากท่จี ะกลับเข้ามารบั บริการของศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลาอีก 5. วิธกี าร/ขัน้ ตอนการจดั การความรู้ 5.1 การจดั ทาแผนงานและตารางการปฎิบตั งิ านเกีย่ วกับการบริการท่ีดี 5.2 แต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีเพ่ือควบคุมงานให้เป็นไปตามที่ไดร้ ับมอบหมาย 5.3 การมอบหมายงานหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบโดยมีการติดตามผลการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหนา้ ทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมาย 5.4 มกี ารบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานและการประเมนิ ผลการบริการ เพอื่ ทราบถึงผลการปฎิบตั ิงานและ นาไปปรับปรุง เพ่ือพฒั นางานใหด้ ีขนึ้ 5.5 ประชุมร่วมกนั เพ่ือสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานและผลการประเมนิ เพ่ือปรบั ปรุงและวางแผนสาหรับการ พฒั นางานต่อไป 6. ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากการจดั การความรู้ 6.1 เทคนิคและแนวทางการทางาน - การติดตอ่ และประสานงานกบั ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมายหรอื ผู้ทีเ่ กย่ี วข้อง - การวางแผนการทางานทเี่ ป็นระบบและการทางานทเ่ี ป็นขั้นตอน - การตดิ ตามและประเมินผลอยา่ งต่อเนอ่ื ง 6.2 ขอ้ พึงระวัง (ถ้าม)ี

-2- - เมือ่ ทราบถึงปญั หาต่าง ๆ จะต้องรีบแก้ไขให้ทนั ท่วงที เพราะการบรกิ ารท่ดี ีจะต้องทาให้ผู้มารบั บริการ เกดิ ความพงึ พอใจและประทับใจให้มากทสี่ ดุ และจะตอ้ งรู้ว่ากลมุ่ ผ้มู ารบั บรกิ ารเป็นกลุ่มที่ตอ้ งใหบ้ ริการแบบใดท่ี เกดิ ความพึงพอใจมากทสี่ ุด 6.3 ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ - การทางานที่ติดตามงานอยา่ งสมา่ เสมอของเจา้ หนา้ ทท่ี ่ีได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบงาน - เมอ่ื เกิดปัญหาจะต้องมีการแก้ไขปญั หาได้ตรงกับความต้องการของลูกค้าใหม้ ากท่ีสดุ - การบริการจะต้องใหล้ ูกคา้ เกิดความพึงพอใจสงู สุด 6.4 ปัญหาและวธิ กี ารแก้ไข - ผู้มารบั บรกิ ารบางทา่ นต้องการการบริการทีร่ วดเรว็ ทันท่วงที แต่เจ้าหนา้ ทีม่ จี านวนน้อย ทาให้เกิด ความไม่พอใจในบางคร้งั วิธีการแก้ไขปญั หาคือการอธบิ ายให้ผู้มารับบริการเข้าใจดว้ ยคาพูดท่ีไพเราะและหน้าตา ยิ้มแยม้ 6.5 ผลลัพธจ์ ากการแกป้ ัญหาและการพัฒนาเร่ืองนั้น - ทาให้ผมู้ ารับบรกิ ารกลบั มาใช้บริการอีก - มีการประชาสัมพันธใ์ ห้กับบคุ คลอน่ื ทราบและมีความสนใจทจี่ ะเขา้ มารับบริการ *************************

แบบบนั ทึกองค์ความรรู้ ายบุคคล ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา สถาบันการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชื่อองคค์ วามรู้……............เทคนคิ การเปน็ วิทยากรฐานเรียนรู้...................................................………... 2. ชือ่ เจา้ ของความรู้…...................นายอภิเชษฐ เกดิ มี...............................……………………………………… 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจัดการความรู้ (องค์ความรู้บง่ ชี้) หมวดที่ 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ หมวดที่ 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดลุ หมวดท่ี 3 เสริมสรา้ งทนุ ชมุ ชนใหม้ ีธรรมาภบิ าล หมวดที่ 4 เสริมสร้างองค์กรให้มขี ดี สมรรถนะสงู 4. ทม่ี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอยี ด) จากสภาพในปจั จบุ นั สภาวะทางเศรษฐกจิ การเมือง และสงั คมของประเทศเปลีย่ นแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ทาใหพ้ ฒั นาการด้านตา่ ง ๆ ของประเทศรุดหนา้ พร้อมท้ังเกิดปัญหาที่เน่ืองมาจากการพัฒนาทสี่ ลับ ซบั ซอ้ นเพิ่มเติมข้นึ คู่ขนานกนั ไป การเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมที่จะรับมือกับปัญหาตา่ ง ๆ อยา่ งรเู้ ทา่ ทัน จงึ ตกเป็นภาระหนา้ ทีข่ องการจัดการฝกึ อบรมอย่างปฏิเสธไม่ได้ นอกจากการรับการศกึ ษาจากหลกั สูตรปกติของ สถาบนั การศึกษาต่าง ๆ แล้ว การจดั การฝึกอบรมกเ็ ป็นอกี วิถที างหน่งึ ของการจัดการเรียนรู้ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ด้วยเหตนุ ว้ี ิทยากรท่ีดีจงึ ควรใสใ่ จกับกระบวนการฝกึ อบรมทง้ั ระบบ ทั้งนเี้ พ่ือให้สามารถนาความร้คู วามเข้าใจไป ใชไ้ ด้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ การพัฒนาและฝึกอบรม “คน” กาลังเข้าสู่ยุคทอง เพราะ ทุกองค์การเริม่ มองเห็นแล้วว่าทรพั ยากรประเภทอนื่ นั้น ไม่ใชส่ งิ่ ทีส่ ร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันที่แท้จริง และยัง่ ยืนเหมือนกบั ทรพั ยากรมนษุ ย์ ในอดีตที่ผ่านมาองค์การมกั จะเอาแรงงาน เงินทนุ หรือเทคโนโลยีมาเป็น เครอ่ื งมือในการสรา้ งความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขัน แต่เคร่ืองมือเหลา่ นั้นก็ค่อยๆ ลดความสาคญั ลงไปเรอ่ื ยๆ ตามกระแสของการเปล่ียนแปลงของโลก ในขณะที่การใหค้ วามสาคญั กบั “คน” นน้ั กลับเพม่ิ มากข้ึนเป็นทวคี ูณ ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา กาลงั อยู่ในชว่ งการปรบั บทบาททสี่ าคัญให้เปน็ ศนู ย์ฝกึ อบรม ประชาชน ที่มกี ารดาเนินกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มฐี านเรยี นรตู้ ่างๆ มากมาย ท่ีพรอ้ มให้บรกิ ารแกผ่ ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม หรือผู้สนใจอืน่ ๆ เพอื่ ให้การดาเนินกิจกรรมดงั กล่าวฯ เกิด ประสิทธภิ าพสงู สุด จงึ จาเปน็ ตอ้ งมีการเตรียมวิทยากรประจาฐานเรยี นร้ตู ่างๆ และจาเป็นอยา่ งย่ิงที่บุคลากรของ ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนยะลาเอง ต้องทาหนา้ ที่เปน็ วิทยากร แตท่ งั้ นตี้ ้องอาศัยการพัฒนาตัวเองของบุคลากร ทจ่ี ะสามารถถ่ายทอดเรื่องราว องคค์ วามรู้ ในฐานเรียนรู้แก่ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และ สง่ ผลให้ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนยะลาเป็นแหล่งเรียนร้ทู ่ีมีคณุ ภาพต่อไป

-2- 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับข้นั ตอน (อธิบายโดยละเอยี ด) การเรยี นรผู้ า่ นฐานเรยี นรู้ คอื ตอ้ งการให้ผเู้ ขา้ อบรมสามารถปฏบิ ตั ิได้จรงิ จากองคค์ วามรู้ในฐานนั้นๆ หรอื หากผู้เขา้ อบรมมีความรู้ หรอื ทกั ษะน้ันอยู่แลว้ กส็ ามารถนาไปปรบั ใช้ หรือพฒั นาต่อยอดจากความรูท้ ี่ได้รับ ดังนัน้ การท่ผี ้เู ข้าอบรมจะได้รับความรหู้ รอื เกดิ ทักษะตามท่ีวิทยากรตอ้ งการถ่ายทอด คอื เขา้ ใจในเน้ือหาอย่าง ชัดเจน การลงมือปฏบิ ัติจรงิ ผ่านกระบวนการการเรยี นรู้ ดังน้ีผู้ทีท่ าหน้าที่เป็นวทิ ยากรประจาฐานฯ ต้องมีวิธีการ ถ่ายทอดสาระเนื้อหาในการฝึกอบรม ดังนี้ 1.มีความเข้าใจเนอ้ื หาท่จี ะถ่ายทอดอยา่ งลึกซึ้ง จาเป็นอยา่ งยิ่งท่วี ทิ ยากรต้องรูแ้ ละเข้าในเนอื้ หาหรือ ความรใู้ นฐานเรยี นรูน้ น้ั ๆ อย่างถ่องแทแ้ ละชัดเจน รวู้ ่าต้องการใหผ้ เู้ ขา้ อบรมทราบ หรือเขา้ ใจอะไร 2.สร้างและใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการถา่ ยทอด การถา่ ยทอดความรู้ทจี่ ะทาใหผ้ ้เู ข้าอบรมเกิดทักษะ ไม่ สามารถสรา้ งจากการฟงั เท่าน้ัน เพราะทักษะจะเกิดเม่อื ไดเ้ หน็ หรือลงมือปฏิบัติ เพราะฉะน้ันวทิ ยากรต้องมี กระบวนการถา่ ยทอดที่หลากหลาย เช่น การสาธติ การใหป้ ฏิบัตจิ ริง 3.จัดกระบวนการเรียนรู้ ต้องเขา้ ใจกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม เข้าใจถึงความสนใจ ความถนดั หรือความชอบ,วยั ,เพศ,อายุ เพือ่ ชว่ ยในการจดั กระบวนการเรียนรไู้ ด้อยา่ งเหมาะสม และตรงกับความ ต้องการของกล่มุ เป้าหมาย นั่นคอื ต้องเข้าใจจิตวทิ ยาพ้นื ฐานการเรียนรูข้ องผเู้ ข้าอบรม เช่น 3.1 ผ้อู บรมรู้สกึ ถูกกระตุ้นมากถ้าได้เรยี นสง่ิ ท่ีตนต้องการและสนใจ 3.2 การได้เรียนรู้เพ่อื ชีวิต อาศัยชีวิตจรงิ ที่สอดคล้อง 3.3 ผอู้ บรมเรยี นรู้ได้ดีในสง่ิ ท่ีสอดคล้องกบั ประสบการณ์ของตนเอง 3.4 บางคร้ังผู้อบรมตอ้ งการกาหนดจุดประสงค์และวิธกี ารเรียนรูข้ องตน 3.5 ผูเ้ ขา้ อบรมกลุ่มผูใ้ หญ่ จะมคี วามแตกตา่ งระหว่างบุคคลสงู 4.ต้องรู้วิธีการผลิต การใช้ การประเมนิ สอื่ ประกอบ ส่วนนี้มีความสาคัญเชน่ กันเพราะ การถา่ ยทอดโดย ผ่านสอ่ื จะสร้างความสนใจ และจะส่งผลตอ่ การสร้างความเขา้ ใจในเนื้อหาทวี่ ทิ ยากรต้องการถา่ ยทอด ปจั จบุ ันส่อื การเรียนรู้มีอยู่มากมายและสามารถหาได้งา่ ย ไมว่ ่าจะเปน็ แผน่ พับ แผ่นพลิก สื่อวดี ที ัศน์ ฯลฯ แต่จะใหด้ ที ี่สดุ มี ประสทิ ธภิ าพทีส่ ุด คือสอื่ จากการจัดทาของตัววทิ ยากรเอง เพราะจะมีความชดั เจนและเข้าใจในตัวสอื่ นนั่ ๆเปน็ อยา่ งดี แต่ต้องมกี ารทดลองใชส้ อื่ นน้ั ๆ เพื่อประเมินวา่ สื่อทีใ่ ชจ้ ะสามารถสรา้ งความร้/ู เข้าใจ แกผ่ ูเ้ ขา้ อบรมได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพแค่ไหน นอกจากส่อื แล้ว วสั ด/ุ อปุ กรณ์ประกอบการสาธิตก็ต้องเตรียมให้พร้อม หากต้องมี การสาธิตหรือ ลงมือปฏบิ ัติจรงิ 5.การเตรยี มแผนการฝกึ อบรม การเปน็ วทิ ยากรฐานเรยี นรู้ จาเปน็ ต้องมีการเตรียมแผนการสอนท่ีดี กระชับ สามารถถา่ ยทอดความรู้ จนทาให้ผเู้ ขา้ อบรมเกิดทักษะแล้วนาไปประยุกต์ใช้ได้จริง อาจมขี น้ั ตอนดังน้ี 5.1 วทิ ยากร กระตุ้นความสนใจสปู่ ระเด็นที่เราต้องการจะถ่ายทอด หรอื สรา้ งความตระหนกั ความจาเป็น สภาพปัญหาท่ีเกิด/ประสบอยู่ เพอ่ื ทาใหเ้ กดิ แนวคดิ รว่ มทีจ่ ะหาทางออก หรือจดั การปัญหานั้นๆ วิทยากร อาจใชส้ อ่ื ทเ่ี ตรียมไวป้ ระกอบ เพ่ือความน่าสนใจ

-3- 5.2 วทิ ยากรนาเสนอองค์ความรใู้ นฐานเรยี นรู้ ใหผ้ ู้เข้าอบรมไดเ้ ห็นวา่ หากทากิจกรรมแบบน้ี แลว้ จะได้อะไร จะชว่ ยแก้ปัญหาอะไร หรอื จะเกิดการพัฒนาอะไร (ให้เหน็ สอดคล้องกับ 5.1) โดยวิทยากรอธิบาย การทา เพื่อใหผ้ ู้เข้าอบรมทราบส้นั ๆ กระชบั 5.3 สาธติ หรือ ลงมือปฏบิ ตั ิ เพื่อให้ผู้ปฏบิ ัติได้ปฏบิ ัติเองจริงๆ เพื่อใหเ้ กิดทกั ษะ ตามข้อ 5.2 อาจจะทาเป็นรายคน หรือรวมกลมุ่ ช่วยกันทาตามกิจกรรมท่ีวทิ ยากรเตรยี มไว้ อาจจะให้ลองทาซ้าๆ หากมเี วลา พอ 5.4 การสรุปผลการเรยี นรูจ้ ากกจิ กรรม อาจจะใหผ้ ้เู ขา้ อบรมสรุปเปน็ รายคน หรือตวั แทนกลุ่ม สรปุ ถงึ สงิ่ ที่ไดจ้ ากกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ในฐาน ทงั้ ความรู้และทักษะทีเ่ กดิ จาการเรยี นรู้ เพือ่ วทิ ยากรจะ สามารถประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้ วา่ กจิ กรรมน้นั ประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่วี างไวม้ ากนอ้ ยแคไ่ หน 5.5 วิทยากรทบทวนสั้นๆ อีกรอบ หรอื เพ่ิมเติม จากสิ่งท่ีเห็นในชว่ งเวลาทล่ี งมอื ปฏิบตั ิจริง 6. เทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน (อธบิ ายโดยละเอียด) เทคนคิ การเปน็ วทิ ยากรฐานเรียนรู้ 1. วทิ ยากรตอ้ งมีความเขา้ ใจในกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่ม เอาใจใส่กับกระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ใหค้ วามสาคัญกับการมีส่วนรว่ ม และยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ไม่เป็นเผดจ็ การ เพ่ือให้เกิดการปรับ มมุ มองร่วมกนั 2. วทิ ยากรตอ้ งให้ความสาคัญกบั กระบวนการสือ่ สารแบบ 2 ทาง สนับสนนุ ให้ผ้เู ขา้ อบรมเปิดใจกว้างใน การเรยี นรู้และรับสิง่ ใหมๆ่ เปิดเผย และไม่มีอคติ เพราะพนื้ ฐานของผู้เข้าอบรมแตกต่างกันทงั้ ความรู้ และทกั ษะ ด้ังเดิม 3. วิทยากรมวี ธิ คี ดิ แบบองค์รวมไม่แยกส่วน และสามารถจัดใหม้ กี ารให้ขอ้ มูลย้อนกลับ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ ไมต่ ิดกรอบ พร้อมที่จะขยาย ปรบั หรือเปลยี่ นแบบแผนทางความคดิ และมีความรบั ผดิ ชอบสงู เพ่ือ สร้างบรรยากาศการเรียนรูท้ ด่ี ี แตไ่ มเ่ สียสาระตามที่ต้งั เป้าไว้ 4. วทิ ยากรต้องอารมณด์ ี สมาธดิ ี ใจเย็น ไมต่ ื่นตระหนกง่าย ไม่ฉนุ เฉียว ไมเ่ อาแต่ใจตัวเอง มคี วาม เทคนคิ การสร้างกระบวนการเรยี นรู้ ความมุ่งหวังผลของการเรยี นรู้ในฐานเรียนรู้ ไมไ่ ดห้ วังเพยี งแคผ่ ้เู ข้าอบรมเกดิ ความรู้แต่วทิ ยากรตอ้ งการ เห็นความเปล่ยี นแปลง อย่างอน่ื จากตวั ผ้เู ข้าอบรม ไม่วา่ ความคิดและพฤติกรรมของผู้เขา้ อบรม จาแนกได้ดังนี้ 1. ตอ้ งการให้เกิดความรู้ (Knowledge) บางคนอาจไม่เคยเรยี นรู้ หรอื มีประสบการณ์มาก่อน 2. ตอ้ งการให้เกดิ ความเข้าใจ (Understand) เหน็ ประโยชน์ ความสาคญั หรือขอ้ ดีมากข้ึน 3. ตอ้ งการใหเ้ กิดทักษะโดยการใหล้ งมอื ปฏิบตั ิจริง (Skill) สามารถทาได้ เกดิ ความชานาญ 4. ตอ้ งการใหเ้ กิดทัศนคติ (Attitude) มีมมุ มองเชิงบวก ความคดิ การพัฒนาเพมิ่ หรือนาไปเผยแพร่ ขยายผล

-4- ดงั น้นั การเรียนรู้ในลักษณะน้ี จะได้ผลต้องอาศยั เทคนคิ ที่มากกว่าการสอนให้จา อาจมีเทคนิคการสรา้ ง กระบวนการเรียนรู้ ดงั น้ี 1.สร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ทเ่ี ปน็ กันเอง ง่ายๆ สบายๆ ไม่ติดกรอบ หรอื หลกั วิชาการมาก เกนิ ไป ร้จู ักการยดื หยุ่น/ปรับเปลย่ี น ใหเ้ หมาะสม 2.การเลือกใช้สื่อการเรยี นรู้ท่ีน่าสนใจและโดนใจ ใช้เร่ืองราวใหมๆ่ ที่ทันสมัย กระทบกระเทอื น ความรสู้ ึก 3.ใหท้ ดลองทาและลงมือทา มากกวา่ การบรรยายหรอื สอนแนะ วิทยากรเปน็ เพยี งผู้กระตนุ้ หรืออานวยความสะดวกในการเรียนรขู้ องผเู้ ข้าอบรม 4.ใหบ้ ทบาทความสาคญั กับกลมุ่ ผู้เข้าอบรม มากกว่าตวั วทิ ยากร 5.เปดิ โอกาสในการแลกเปลีย่ นเติมเตม็ องค์ความรู้ ในฐานเรยี นรนู้ ัน้ ๆ เพราะผู้เข้าอบรมอาจจะ มพี ้ืนฐาน หรือประสบการณ์มาแลว้ แต่ต้องไมม่ ีการสรปุ ถกู ผิด 7. ปัญหาท่ีพบและแนวทางการแก้ไขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอียด) ปญั หา/แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1.การเรียนร้ลู ักษณะแบบน้ีหากจานวนสมาชกิ มากเกินไปมักไมป่ ระสบความสาเรจ็ แนวทางแกไ้ ข : วทิ ยากรตอ้ งแบง่ กลุ่มผู้เข้าอบรม ใหม้ จี านวนท่ีเหมาะสมกบั การเรียนรู้ 2.ขาดความสนใจจากผู้เขา้ อบรมบางคน หรือไม่ไดค้ วามร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข : วิทยากรต้องเปน็ นักกระตนุ้ สรา้ งความสนใจ หรอื มอบบทบาทหน้าที่ในกระบวนการ เรยี นรู้ 3.การแสดงความคดิ แยง้ หากผู้เขา้ อบรมมฐี านความรู้หรือมีประสบการณ์อยูแ่ ล้ว แนวทางแกไ้ ข : วทิ ยากรต้องช้แี จงเบอ้ื งตน้ เพราะเทคนิค/วิธกี ารปฏิบตั ิ ในเร่อื งเดยี วกนั อาจจะมีวิธีท่ี แตกตา่ งออกไป ตามความถนัดหรอื ความเหมาะสมของแตล่ ะคน 4.วิทยากรมักจะห่วงความครบถ้วนของเนื้อหา อาจใช้เวลาในการใหค้ วามร้มู ากกว่าการเพ่ิมทักษะแกผ่ ู้ เข้าอบรม แนวทางแก้ไข : วทิ ยากรต้องมีการเตรยี มตัวที่ดี จัดกระบวนการเรยี นรู้ท่เี หมาะสม และไม่หลงประเดน็ ท่ีมงุ่ หวงั ใหผ้ ้เู ข้าอบรมเกดิ ทักษะให้มากทส่ี ุด 8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) 1.สรา้ งวทิ ยากรมืออาชีพประจาฐานเรยี นรู้ ทาให้สง่ ผลถงึ จุดมงุ่ หมายทจ่ี ะทาใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรม มที ักษะ เพมิ่ ขนึ้ จากกระบวนการเรียนรู้ 2.ฐานเรยี นรู้สามารถเปน็ จุดเรียนรทู้ ่เี กิดประโยชน์มากขึ้น ไม่ใช่แค่เพียงมีฐานเรียนรู้ แต่สามารถเป็นท่ี เพ่ิมทักษะแก่ผู้อบรม หรือผสู้ นใจได้

-5- 3.การลงมือปฏิบตั ิจรงิ ของบุคลากรทจี่ ะเป็นวทิ ยากร สามารถเพ่ิมความชานาญในตัวเองได้ เกดิ ความ มั่นใจ และให้ความสาคัญในการเปน็ วทิ ยากร 4.การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของบุคลากร จากผทู้ ี่มีความสามารถกว่าถา่ ยทอดแก่ผดู้ ้อยประสบการณ์ เป็น การพฒั นาคนขององค์กรท่ีมปี ระสิทธิภาพ ***********************************

แบบบนั ทึกองค์ความรู้รายบุคคล ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบันการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชอ่ื องคค์ วามรู้ ศูนยฝ์ กึ อบรมประชาชน “โคก หนอง นา โมเดล” 2. ช่อื เจ้าของความรู้ นายกติ ติ ปานแก้ว 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจัดการความรู้ หมวดท่ี 1 สร้างสรรค์ชุมชนพึง่ ตนเองได้ หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดลุ หมวดท่ี 3 เสริมสร้างทุนชมุ ชนใหม้ ธี รรมาภิบาล หมวดท่ี 4 เสรมิ สร้างองคก์ รใหม้ ขี ดี สมรรถนะสูง 4. ที่มาและความสาคญั ในการจดั ทาองคค์ วามรู้ (อธบิ ายโดยละเอยี ด) กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 -2564 ใน ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง กลยุทธ์เสริมสร้างศักยภาพองค์กรเพ่ือยกระดับงาน พฒั นาชุมชนสอู่ งคก์ รทันสมัย งานมีคณุ ภาพ ซ่งึ ถือวา่ เป็นปจั จยั สาคญั อีกปัจจยั หนึ่งที่จะขับเคลื่อนและส่งผลให้ บรรลวุ ิสัยทัศน์ของกรมการพัฒนาชุมชน “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพงึ่ ตนเองได้ภายในปี 2565” ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนมีหน้าที่ในการยกระดับและพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพให้เป็นศูนย์ฝึกอบรม ประชาชนที่เป็นเลศิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”รวมถงึ ให้บริการประชาชน ผู้นาชุมชนและหน่วยงานภายใน/ภายนอก ทั้งในด้านการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในทุกๆ ด้าน ทุกระดับ ทุกพื้นท่ี ส่งผลให้การขับเคล่ือนงานของกรมการพัฒนาชุมชนมีประสิทธิภาพ บรรลุตาม วิสัยทัศน์ของกรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทากิจกรรมยกระดับและพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสู่การ เป็นศนู ยฝ์ ึกอบรมประชาชนท่ีเป็นเลิศตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “โคก หนอง นา โมเดล”ขนึ้ 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดับขัน้ ตอน (อธิบายโดยละเอยี ด) เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นปรัชญาทช่ี ้ีถึงแนวทางปฏบิ ัติหรือวธิ กี าร และผลของการกระทาบนพ้ืนฐานความ สมดุล นาไปสูการพัฒนาท่ีย่ังยืนและก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตนที่มีการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ที่ผ่านมาไดมี ความพยายามขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประชาชน ซึ่งสงผลตอการ กาหนดนโยบายกลยุทธในการขับเคลอื่ นการนอมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่นความพอประมาณเปนเรื่อง การวิเคราะหความสมดุลกับศักยภาพของตน มีเหตุผลเปนแนวปฏิบัติที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของทฤษฎี มีภูมิคุ มกันเปนการบริหารความเสี่ยง ความรูจาเปนตองเขาใจในทฤษฎี/องคความรูที่เก่ียวของ และ คุณธรรมต้ังอยู บนฐานของจริยธรรม “ไมเบยี ดเบยี น” ซงึ่ มลี าดบั ข้นั ตอนดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 จัดทากรอบแผนยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์ฝึกอบรมประชาชนที่เป็นเลิศตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล” โดยมีวสิ ยั ทศั น์ เป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของ

-2- เศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”วิถีชีวิตมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างย่ังยืน เป้าหมายศูนย์ ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน มีพันธกิจ ศกึ ษาวิจัยพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในงานพัฒนาชุมชน สนับสนุนการจัดการความรู้ สร้างความสุขมวลรวมชุมชน เกิดความสมานฉันท์อย่างยั่งยืน และมีประเด็น ยุทธศาสตร์ ศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพคน สร้างโอกาส สร้างนวัตกรรม พัฒนาหลักสูตร และส่งเสริมความเปน็ เลศิ ด้านวิชาการ ปรับสมดลุ บนคณุ ภาพชีวติ ทย่ี ัง่ ยืน ข้ันตอนที่ 2 วิเคราะห์ศักยภาพพ้ืนที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพ่ือพัฒนาเตรียมความพร้อมในการ เป็นศูนย์ฝึกอบรมประชาชนที่เป็นเลิศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”ตาม สภาพภูมิสังคมบนความหลากหลายทางพาหุวัฒนธรรมจัดทาฐานข้อมูลชุมชน/แหล่งเรียนรู้/องค์ความรู้(ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”) และสารวจความต้องการในการจัดทาหลักสูตร ด้านเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนากระบวนการฝึกอบรม เสริมสร้างศักยภาพองค์กร(ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน) บคุ ลากรสคู่ วามเป็นเลศิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล” ข้ันตอนที่ 3 สร้างมาตรฐานและกระบวนการการฝึกอบรมเป็นที่ยอมรับ สร้างความร่วมมือ (Cooperation) กับภาคีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียง และบูรณาการหลักสูตรกับสถาบันการศึกษา (Memorandum of Understanding: MOU) พัฒนาศักยภาพคนสู่การเป็นศูนย์ฝึกอบรมประชาชนท่ีเป็นเลิศ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “โคก หนอง นา โมเดล” 6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน (อธบิ ายโดยละเอียด) ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนต้องยกระดบั และพัฒนาเพ่ิมประสทิ ธิภาพให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมประชาชนที่ เป็นเลิศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”ซ่ึงในการพัฒนามิได้มีแบบอย่าง ตายตัวตามตาราหากแต่ต้องเปน็ ไปตามสภาพภูมิสงั คม ที่มีความหลากหลายทางพหุวัฒนธรรมในขณะเดียวกัน ก็ต้องเขา้ ใจในการเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลกทีเ่ กิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วตามอทิ ธิพลของกระแสโลกาภิวัฒนค์ วบคู่ไป กบั การพยายามหาแนวทางหรือวิธีการท่ีจะดารงชีวิตตามหลักการพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงให้ดาเนินไปได้ อย่างสมดุลและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในยุคโลกาภิวัฒน์โดยอาศัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล”เป็นตัวสร้างภูมิคุ้มกันผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนต่อตนเอง ครอบครัวชุมชน เพื่อไม่ให้ กระแสเหล่าน้ันมาทาลายเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมชมุ ชนจนตอ้ งล่มสลายไป 7. ปญั หาท่พี บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (อธิบายโดยละเอียด) ปญั หา เกษตรทฤษฎีใหม่ตามลักษณะภูมิสังคมในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และความหลากหลายทาง พหวุ ัฒนธรรม ประชาชนยงั มีความเขา้ ใจเกษตรทฤษฎีใหม่ในรูปแบบ “โคก หนอง นา” น้อย จึงทาใหก้ ารขยาย ผลไปสู่พื้นท่ีทาได้ไมด่ ีเท่าทคี่ วร อีกท้ังยังขาดเครือข่ายชาวบ้านที่นาแนวคิดการปรับประยุกต์ ทฤษฎีใหม่ สู่การ ปฏิบตั ิตามภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ทเ่ี หมาะสมกับภูมิสังคม

-3- แนวทางแกไ้ ขปัญหา รณรงค์ใหป้ ระชาชนและเครือข่ายได้มาศึกษาพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ณ ศูนยศ์ ึกษา และพัฒนาชุมชน เพื่อไดเ้ ป็นแนวทาง พลังการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการผลติ จาก การปลกู พืชเชิงเดีย่ วมาเปน็ แบบทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” เป็นแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนเครือข่าย การนาศาสตร์พระราชา ร่วมกบั ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาสู่การออกแบบพน้ื ที่ 1 พื้นที่ จานวนกี่ไรก่ ็ได้ใหส้ ามารถเก็บน้าฝนในพ้ืนท่นี ้ัน ๆ ไว้ ให้ได้ท้ัง 100 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยตอ้ งมีการคานวณปริมาณน้าฝนท่ีตกลงมา การจัดการ ดิน น้า ป่า มาใชเ้ พื่อฟน้ื ฟู ระบบนิเวศ การปลูกแฝก และป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง สว่ นภมู ิปัญญาท้องถ่นิ นั้น นาดินทขี่ ุดจากหนอง มาทาเป็นโคก ขุดหนอง คลองไส้ไก่ คดโค้งเพ่ือเป็นที่อยู่อาศัยของปลา เพิ่มความชุ่มชื้นในพ้ืนที่ ยกหัวคนั นาสูง เพื่อกกั เก็บน้าฝนและป้องกันน้าทว่ มและมุง่ สู่ความ “มั่นคง ม่ังคัง่ ยง่ั ยนื ” ตอ่ ไป 6. ประโยชน์ขององค์ความรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) 6.1 ผู้บริหารสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางการบริหารโครงการและแก้ไขปรับปรุง เพ่ือพัฒนาการ ดาเนินงานโครงการให้มีประสิทธิภาพบนความหลากหลายทางพหุวัฒนธรรมและเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ซ่ึงจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ไปสู่ความ “ม่ันคง ม่ังคงั่ ยง่ั ยืน” 6.2 ประชาชนได้รับประโยชน์ เนื่องจากเป็นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นาโมเดล” ม่ันคง ม่งั คง่ั ยง่ั ยืน 6.3 ผู้ปฏิบัติงาน ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสามารถใช้เป็นบทเรียนหรือแน วทางในการ ปฏิบัตงิ าน เพ่อื ยกระดบั สู่การเพิ่มประสิทธิภาพศนู ย์ฝึกอบรมประชาชนตอ่ ไป

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้รายบุคคล ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบนั การพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชือ่ องคค์ วามรู้……..เทคนคิ การทาหนา้ กากปอ้ งกันเชื้อโรค……….........................................................………. 2. ชือ่ เจ้าของความรู้…............นางสาวสริ ิพร สลี าภรณ์ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ…………………. 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจดั การความรู้ หมวดที่ 1 สรา้ งสรรคช์ ุมชนพึ่งตนเองได้ หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดลุ หมวดที่ 3 เสรมิ สร้างทนุ ชมุ ชนใหม้ ธี รรมาภิบาล หมวดที่ 4 เสรมิ สร้างองค์กรให้มขี ดี สมรรถนะสงู 4. ที่มาและความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ทเ่ี กิดขึน้ ทั่วโลกในขณะน้ี \"หนา้ กากอนามยั \" เปน็ สิง่ จาเป็นในวิถี ชีวติ ช่วงปัจจุบนั แตป่ ัญหาที่เกดิ ข้นึ คือการขาดแคลนหนา้ กากอนามยั ประเทศไทยเองก็ประสบกับปัญหานี้อย่างหนักจนถึง ขัน้ บุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลหลายแหง่ ไมม่ ี \"หนา้ กากอนามยั \" ใชง้ าน จนทาใหภ้ าคประชาชนรณรงค์และ ร่วมมอบหนา้ กากอนามยั ทางการแพทย์ใหแ้ กโ่ รงพยาบาลทขี่ าดแคลน และสนบั สนุนให้คนท่ีไม่ปว่ ยหันมาใช้หนา้ กากผา้ ทดแทน ที่ผ่านมาพบวา่ มีทง้ั ประชาชนและตวั แทนจากหลายหนว่ ยงาน ออกมาแชรว์ ธิ ี DIY หนา้ กากผา้ ผา่ นช่องทาง โซเชยี ลมีเดียมากมาย ซงึ่ ก็เป็นการใช้ผา้ หลากหลายชนดิ ตามแตจ่ ะหาไดม้ าทา \"หน้ากากผ้า\" ใช้ไปก่อน แตบ่ างคนก็ยังไม่ แน่ใจวา่ ผ้าชนิดน้ันๆ จะมปี ระสิทธภิ าพในการป้องกนั การแพร่กระจายของ COVID-19 (จากละอองฝอยที่มีเชือ้ ไวรัส ปะปนอยู่) ได้จริงหรือเปลา่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ทาการศึกษาวิจัยชนดิ ของผ้าตา่ งๆ ทนี่ ่าจะมีความเหมาะสมในการนามาใช้ ทา \"หนา้ กากผ้า\" เพือ่ ป้องกันการระบาดของโรค โควดิ -19 โดยได้ผลวิจัยออกมาพบวา่ “หนา้ กากผ้ามสั ลนิ ” มี ประสิทธภิ าพมากที่สดุ ถือเปน็ อกี หนึ่งหนา้ กากทางเลือกทส่ี ามารถใช้ป้องกันความเส่ียงได้ ผา้ มัสลนิ นม้ี ีลกั ษณะเปน็ อยา่ งไร และมีคุณสมบตั โิ ดดเดน่ กว่าผ้าชนดิ อยา่ งไร

-2- 1. ผ้ามัสลนิ คืออะไร ? ผา้ มัสลินผลิตจากใยฝา้ ย 100% มสั ลินเปน็ ช่อื เรียกกล่มุ ผ้าฝ้ายลายขัดกลมุ่ ใหญ่ๆ ทีม่ ีคุณภาพและน้าหนักผ้า ระดบั ต่างๆ ผา้ ชนิดนี้ผลติ ออกจาหน่ายในลักษณะเป็นผ้าขาว ผ้ายอ้ มสี พิมพ์ดอก ใชต้ ดั เป็นเสื้อช้นั ใน ผา้ กันเปอื้ น ผ้าซับ ใน ผา้ เช็ดหน้า ผ้าปทู นี่ อน ปลอกหมอน เป็นต้น 2. ผ้ามัสลนิ มีคณุ สมบัติโดดเดน่ สาหรบั คุณสมบัติพน้ื ฐานของผ้ามัสลนิ น้นั มคี วามโดดเด่นในแง่ดหี ลายอย่าง เชน่ เป็นผ้าเนือ้ ละเอียด ระบาย อากาศดี แหง้ เรว็ นา้ หนักเบา ไม่ระคายเคืองต่อผวิ หนัง เปน็ เส้นใยธรรมชาติ 100% ใหค้ วามรู้สกึ สบาย ลักษณะของผ้าจะ มคี วามลื่นพอประมาณ เน้ือผ้าเป็นขนและแข็ง มีความแข็งแรงทนทานต่อการซกั 3. วิจยั พบ \"ผ้ามัสลนิ \" กนั ละอองนา้ ได้ดที ส่ี ดุ ! กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไดท้ ดสอบประสทิ ธิภาพของผา้ ชนิดตา่ งๆ เพ่ือคน้ หาว่าผ้าชนิดใดเหมาะท่ีสดุ ทีจ่ ะ นามาใช้ทดแทน \"หน้ากากอนามยั ทางการแพทย์\" ได้ดี โดยทดสอบ 3 วธิ ี คือ ส่องดว้ ยกล้องจุลทรรศน์เพือ่ ศึกษาเส้นใยผ้า ในการกนั อนุภาค ทดสอบการเปน็ ขุยดว้ ยวธิ กี ารซกั และทดสอบประสทิ ธภิ าพการซมึ ผา่ นของละอองนา้ หลงั จากการ ทดสอบพบวา่ ผา้ มสั ลินมคี วามเหมาะสมในการนามาใชท้ าหนา้ กากผ้ามากกว่าผ้าชนิดอื่น เน่ืองจากมปี ระสทิ ธภิ าพในการ กันละอองนา้ ได้ดีทส่ี ดุ เส้นใยผา้ สามารถกันอนภุ าคเล็กๆ (เชน่ ละอองฝอย) ไดด้ กี ว่าผ้าชนิดอืน่ และสามารถนามาใช้งาน ได้หลายคร้ัง 4. เปรยี บเทียบผ้ามัสลนิ VS ผา้ ชนดิ อ่ืนๆ 4.1 เม่ือนาผ้ามสั ลนิ มาเปรยี บเทยี บกบั ผ้าฝา้ ยดบิ ผา้ นาโน ผ้ายืด และผา้ สาลู ในเรอื่ งของการป้องกนั อนภุ าค ขนาดเลก็ โดยการทดสอบผ่านการสอ่ งกล้องจุลทรรศน์ พบวา่ ผ้าฝ้ายดิบ ผา้ ฝ้ายมสั ลิน และผา้ นาโน เมื่อนาผ้ามา ประกอบกัน 2 ชัน้ และส่องด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์เสน้ ใยผา้ สามารถกนั อนภุ าคเลก็ ๆ ได้ใกลเ้ คยี งกับ \"หนา้ กากอนามัยทาง การแพทย\"์ 4.2 เมื่อนาผ้ามัสลินมาเปรยี บเทียบกับผ้าชนิดอน่ื ๆ เหมอื นขา้ งต้น ในเร่ืองของการปอ้ งกันการซมึ ผา่ นของน้า พบวา่ ผา้ สาลูและผ้ามสั ลินสามารถกันนา้ ได้ดี 4.3 เมอ่ื นาผา้ มสั ลินมาเปรยี บเทียบกับผา้ ชนิดอ่ืนๆ เหมือนข้างต้น ในเร่ืองของการซกั ทาความสะอาด พบว่าผา้ นาโนซกั ไดป้ ระมาณ 10 ครั้ง เสน้ ใยก็ก็เริ่มเสื่อมสภาพ สว่ นผ้าฝา้ ยดิบซักได้ประมาณ 100 คร้งั และผา้ มัสลนิ พบว่า สามารถซกั ซา้ ได้มากถงึ 100 ครง้ั โดยท่คี ุณสมบัติของผ้ายังดอี ยู่ 4.4 เมือ่ นาผ้ามสั ลินมาเปรียบเทยี บกบั ผา้ ชนิดอ่ืนๆ เหมือนข้างตน้ ในเรื่องของประสิทธภิ าพการต้านการซึมผา่ น ของละอองนา้ พบวา่ ผ้ามัสลนิ กบั ผา้ สาลูมีคุณสมบัติใกลเ้ คยี งกนั แต่ประสิทธิภาพในการกักอนภุ าคเสน้ ใย ผ้ามัสลนิ จะกัก นา้ ไดด้ กี วา่ และความยดื หลังการซกั จะนอ้ ยกว่าผ้าสาลู

-3- 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขน้ั ตอน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) วสั ดอุ ุปกรณ์ - ผ้าสาลูกว้าง 6.5 น้วิ ยาว 7 นว้ิ จานวน 2 ชิน้ - ยางยดื ยาว 7 น้วิ จานวน 2 ชนิ้ - ไม้บรรทดั - กรรไกร - ดินสอ - ดา้ ย - เขม็ - เข็มหมุด วธิ ีทา 1. พบั ผา้ ตามแนวยาวลงมาครง่ึ หนึง่ กรดี ใหเ้ ป็นรอย แล้วคลอี่ อกเหมือนเดิม 2. จบั จบี ทวิสชนกันตรงกลาง แล้วใช้เข็มหมุดปักไว้ใหแ้ น่น 3. กลับผ้าช้ินหนึ่งใหด้ ้านนอกหงายขึ้น 4. วางยางยดื ลงไปท้ังสองฝง่ั กะขนาดใหเ้ กยี่ วหูได้พอดี แล้วใชเ้ ขม็ หมุดปักไว้ให้อยู่ตัว 5. นาผา้ อีกช้ินมาวางทับ โดยใหห้ นั ดา้ นนอกชนกนั แล้วใชเ้ ขม็ หมดุ ปักไวอ้ ีกคร้ัง

-4- 6. นาดินสอและไม้บรรทัดมาขดี เสน้ เป็นแนวทจ่ี ะเย็บ โดยกะระยะใหห้ ่างจากขอบประมาณครึง่ เซนติเมตร 7. เยบ็ ตามรอยเกือบทัว่ ทง้ั ผา้ แต่ให้เวน้ ชอ่ งว่างไว้เลก็ น้อย 8. กลับตะเขบ็ เอาผา้ ออกมาตรงช่องที่เวน้ ไว้ 9. เย็บปดิ ช่องที่เวน้ ไว้ แลว้ จดั แต่งทรงใหเ้ รียบร้อย 6. เทคนิคในการปฏบิ ัตงิ าน (อธบิ ายโดยละเอียด) 6.1 การเย็บหนา้ กากผา้ เปน็ การเยบ็ มือ สามารถทาได้ทัง้ ผู้หญิงและผชู้ าย 6.2 แต่ทีส่ าคัญคอื การมแี บบหรอื แพทเทิร์นไมต่ ้องวาดแบบใหม่ ให้ทาบวดั บนเนื้อผ้าได้จะสะดวก รวดเรว็ 6.3 การเย็บมือใชเ้ ทคนิด การเยบ็ ผา้ ดน้ ถอยหลงั ปักตามแนวรอยกดลกู กลงิ้ ท่ีปรากฏบนเนอื้ ผา้ อย่างไรก็ตามการใส่ \"หนา้ กากผ้า\" แนะนาใหซ้ ักและตากแหง้ ทุกวัน ไม่ใช้มือสมั ผัสหน้ากากขณะสวมใส่ และ การปอ้ งกนั ตนเองให้ห่างไกลจากโรค COVID-19 ไม่ใช่แค่การสวมใส่หน้ากากผา้ เม่อื ตอ้ งอยใู่ นทชี่ มุ ชนแออดั เท่านนั้ แต่ จะตอ้ งควบคู่ไปกบั การกนิ ร้อน ใชช้ ้อนกลาง ลา้ งมือบอ่ ยๆ ใหค้ รบถ้วนด้วย 7. ปัญหาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (อธิบายโดยละเอียด) ผ้ามสั ลินควรซักให้เหมาะสม กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ มีคาแนะนาในการใช้หน้ากากผ้ามสั ลินเพ่ิมเติม คือ 7.1 หากตอ้ งการซักดว้ ยมือ ให้ซักโดยการขยเ้ี บาๆ ห้ามขย้ีรนุ แรงหรอื ใช้แปรงขดั 7.2 แต่ถ้าจะซกั เครอื่ ง ให้ซักโดยการใส่ถงุ แยกซัก ใชโ้ หมดถนอมผา้ ทนี่ า้ เย็นไมเ่ กิน 30 องศาเซลเซียส 7.3 หา้ มใช้นา้ ยาปรบั ผ้านมุ่ ห้ามฟอกขาว ห้ามซกั ด้วยนา้ ร้อน หา้ มอบ/ป่ันแห้ง ห้ามใช้นา้ ยารีดผา้ เรียบ 7.4 จากนน้ั นามาตากบนราวด้วยการพาดเท่านั้น ไม่แนะนาใหใ้ ชก้ ารหนีบผ้า กรณีจาเป็นต้องปนั่ เเห้งใหใ้ ชร้ ะบบ ลมเยน็ เทา่ นัน้ หา้ มใชล้ มร้อน 7.5 เมอ่ื หนา้ กากแห้งแลว้ สามารถรีดด้วยไฟอ่อน โดยจดั เรยี งผ้าใหเ้ รยี บและวางผา้ ฝ้ายทบั ดา้ นบนก่อนแลว้ จึงรดี ทบั ไมแ่ นะนาให้วางเตารดี สมั ผัสโดยตรง เนอื่ งจากการปล่อยไฟท่ีไม่สม่าเสมอผ่านโลหะเตารีดจะทาลายเนื้อผา้ ได้ 7.6 การใส่ \"หน้ากากผา้ \" แนะนาให้ซักและตากแห้งทกุ วัน ไมใ่ ช้มือสมั ผสั หนา้ กากขณะสวมใส่ และการป้องกัน ตนเองให้ห่างไกลจากโรค COVID-19 ไม่ใชแ่ ค่การสวมใส่หนา้ กากผา้ เม่ือต้องอยู่ในทีช่ มุ ชนแออัดเทา่ นน้ั แตจ่ ะต้องควบคู่ ไปกับการกินร้อน ใช้ช้อนกลาง ล้างมอื บ่อยๆ 8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) ในช่วงท่หี นา้ กากอนามยั ขาดตลาด สามารถทาหน้ากากอนามัยใชแ้ ทนได้ สามารถทาเองได้ง่าย ๆ ไว้ป้องกัน ตัวเองเม่ือตอ้ งออกไปในพนื้ ทเ่ี สยี่ ง ชว่ งที่ Covid 19 กาลงั ระบาด และหนา้ กากผ้ายังสามารถนากลับมาซักใชซ้ า้ ได้หลาย รอบ ทง้ั ชว่ ยประหยดั ได้อีกดว้ ย แต่อย่างไรกต็ ามเพื่อเพม่ิ ความปลอดภยั ก็ควรสวมหนา้ กากอนามยั ใหถ้ ูกตอ้ ง โดยการใช้ ผา้ ครอบปิดทั้งปาก จมูก และคาง รวมถึง การปฏบิ ตั ิตวั ในการรบั ประทานอาหารทุกครัง้ ให้กินร้อน ใชช้ อ้ นกลาง และ ลา้ งมือบ่อย ๆ ………………………………………………………………………………………………….

แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบคุ คล ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนยะลา สถาบนั การพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ช่ือองค์ความรู้ “การเป็นวทิ ยากรมืออาชพี ” 2. ช่อื เจ้าของความรู้ นายวีรกติ ต์ิ เพชรโชติ 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจดั การความรู้  หมวดที่ ๑ สรา้ งสรรคช์ ุมชนพง่ึ ตนเองได้  หมวดที่ 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดลุ  หมวดท่ี 3 เสรมิ สร้างทุนชุมชนใหม้ ธี รรมาภบิ าล หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ีขีดสมรรถนะสงู 4. ทีม่ าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้ จดุ แรกส่กู ารเป็นวทิ ยากรนัน้ สาคัญเปน็ อยา่ งมาก เพราะวิทยากรคือ ผทู้ เี่ ปน็ ต้นแบบทด่ี ถี ูกต้อง ผ้ทู ่ีให้ ความรทู้ เ่ี หมาะสมในการนาเสนอ ผทู้ ีท่ าใหผ้ ู้เข้าอบรมมองเหน็ ทางเลือกและโอกาส ซ่งึ ส่ิงเหล่าน้จี าเปน็ ตอ้ งมี แผนการเรยี นรู้และฝึกฝนอยา่ งถูกต้อง ให้กับผทู้ ่ีจะกา้ วไปสู่การเปน็ วิทยากรมืออาชีพ ได้อย่างเข้าใจและเข้าถึง ในเนอ้ื แท้ของการเป็นวทิ ยากร วทิ ยากร คอื ผทู้ ีท่ าหน้าทเ่ี ปน็ ตวั แทนสาคัญท่จี ะทาให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรม เกิดความรคู้ วามเข้าใจ เกดิ ทักษะ เกิดทศั นคตทิ ดี่ ีเกย่ี วกับเรื่องท่ีอบรม จนกระทงั่ ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรูแ้ ละสามารถจุดประกาย ความคิด หรอื ผูเ้ ขา้ สัมมนาเกิดการเปลย่ี นแปลงทัศนคติ หรอื พฤติกรรมต่าง ๆ เป็นไปตามวัตถุประสงคข์ อง เรือ่ งหรอื วชิ านั้น ๆ ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา เปน็ ศูนย์ท่ีมีบทบาทภารกิจหน้าที่ในการขับเคลอื่ นงานและพัฒนา เปน็ ศนู ยท์ ี่มีการฝึกอบรมที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน เพอ่ื เป็นทีร่ องรับความต้องการการใชบ้ รกิ ารของ หนว่ ยงานภาครัฐ และภาคประชาชน โดยทว่ั ไป ทั้งทางด้านการฝกึ อบรม ด้านวชิ าการ ดา้ นสถานท่ี และ บริการต่าง ๆ ซ่งึ การฝกึ อบรมในแต่ละคร้ัง หรอื แตล่ ะโครงการ และกิจกรรม จาเปน็ จะต้องมวี ทิ ยากรทีจ่ ะต้อง ถา่ ยทอดความรู้ บรรยายความรู้ และแลกเปลย่ี นความรู้ การเป็นวทิ ยากรมือท่ีดแี ละมปี ระสทิ ธิภาพนนั้ จะต้อง เป็นผู้มคี วามรคู้ วามสามารถ ทักษะ เทคนิคตา่ ง ๆ ในหลายดา้ น เชน่ การพดู การสือ่ สาร ท่าทางบุคลกิ ภาพ และการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ และสามารถดึงความสนใจของผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมใหอ้ ยู่กับเน้ือหาวชิ า มีการ วางแผนท่ดี ี มีความจรงิ ตงั้ ใจให้ความรู้ มคี วามเชื่อม่ันตนเอง มีไหวพริบปฏิภาณ มีลีลาแบบฉบบั เปน็ ของ ตนเอง ให้ผูเ้ ขา้ สัมมนามสี ว่ นร่วมในการบรรยาย มบี ุคลิกภาพการแตง่ กายโดดเด่น 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดบั ขน้ั ตอน การเป็นวทิ ยากรทด่ี ีคงไม่ง่ายอยา่ งท่ีคดิ การทาหน้าท่ีเปน็ วิทยากรมีความจาเปน็ ต้องอาศัยการพดู การ สอื่ สารเปน็ อยา่ งมาก ถา้ ไม่ได้รับการฝึกฝนอบรมเป็นอยา่ งดกี ท็ าหนา้ ทีว่ ิทยากรได้ไม่สาเรจ็ ดังน้ัน การเปน็ วทิ ยากรทีด่ ีและมปี ระสิทธิภาพ จะต้องเป็นผู้มีความร้คู วามสามารถ ทกั ษะ เทคนคิ ต่าง ๆ วิธีการเตรยี มตัวและ พัฒนาตนเอง สามารถทาไดห้ ลายวิธี คอื

-2- 1. การหาขอ้ มลู รายละเอยี ดของเรือ่ งทจ่ี ะถ่ายทอด โดยวิธตื ่าง ๆ เชน่ อ่านตาราหลาย ๆ ประเภท ฟงั จากคนอืน่ เลา่ หรอื ฟังจากเทปวทิ ยุ ศกึ ษาจาก วดิ ี ทศั น์ รายการโทรทศั น์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการเปน็ วิทยากรมืออาชพี 2. สะสมข้อมูลตา่ ง ๆ โดยจดั เก็บเปน็ ระบบหรือแบ่งเป็นประเภท เช่น ประเภทเพลง ประเภท คาขวัญ คากลอน สุภาษิต คาคม คาพงั เพย และคาประพันธต์ า่ ง ๆ ประเภทคาซน ภาษาหกั มุม (คิดสวนทาง เพื่อใหผ้ ู้ฟงั ฮา) ลกู เลน่ เปน็ ชุด หรือประเภทนิทานสน้ั ๆ ประเภทเชาว์ เช่น คาถามอะไรเอ่ย ฯลฯ ประเภทเกม หรอื กิจกรรม 3. ศกึ ษาข้อมูลแตล่ ะประเภท พยายามจบั ประเด็นและหักมุมนาเขา้ ในเร่ืองทจ่ี ะเสนอให้ได้ 4. หักเล่า ใหเ้ พอ่ื นหรือคนฟงั ในวงเลก็ ๆ ก่อนโดยคานงึ ถึง การเริม่ เลา่ ให้เดก็ ฟังและขยายวง ถงึ ผ้ใู หญ่ ต้องพยายามหกั มุมตอนทา้ ยให้ได้ ฝกึ การใช้น้าเสียงลีลาหรือกริ ยิ าทา่ ทางประกอบการเลา่ เรื่องสนกุ ตลกตื่นเตน้ แทรกเร่อื งกจิ กรรมต่าง ๆ 5. มีมนุษย์สมั พนั ธ์ที่ดี บุคลิกภาพดี ย้ิมแย้มแจ่มใส่ดี เป็นกันเอง ทาให้มีเสน่หร์ าศดี ี สามารถ ดงึ ดดู ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมตั้งใจฟังอยา่ งตั้งใจ และสรา้ งบรรยากาศท่ีดี มีไหวพรบิ ปฏิภาณ สามารถแก้ไข เหตกุ ารณเ์ ฉพาะหน้าได้ดี 6. เทคนคิ ในการปฏิบตั ิงาน การเปน็ วทิ ยากรมืออาชพี เป็นผู้ทที่ าหน้าท่ถี ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะตา่ ง ๆ ตลอดจน ทัศนคติท่ีดใี นการปฏบิ ตั งิ าน เพือ่ กลับใหไ้ ปทางานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ฝกึ ฝน เพ่ือให้ทราบถงึ หลกั การ วธิ ีการเกี่ยวกบั การเปน็ วทิ ยากรมอื อาชีพ เพอ่ื ให้ถา่ ยแบบการฝกึ อบรมกับผเู้ ขา้ อบรมรับได้ การเปน็ วิทยากรมือ อาชพี ต้องฝึกพดู ศึกษาวธิ กี าร และดาเนินการฝึกอบรมให้บรรลเุ ป้าหมาย ทกี่ าหนดได้อย่างประสทิ ธิภาพ 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปัญหา บคุ ลิกภาพ เพราะบุคลิกภาพของแตล่ ะบคุ คลจะแตกตา่ งกัน ตนื่ เตน้ ความประหมา่ กริ ยิ า ท่าทาง ไมม่ ่นั ใจตัวอง แนวทางแกไ้ ขปญั หา แก้ไขปญั หาดว้ ยการฝึกฝน หรือฝกึ ซ้อมตนเองบ่อย ๆ และควบคมุ ตนเอง โดย ฝึกฝนตนเองกับตูก้ ระจก หรือไปเปน็ วทิ ยากรกบั กลมุ่ ชุมชนเล็ก เพอ่ื พฒั นาใหเ้ กิดทักษะ ก้าวไปเปน็ วิทยากร มืออาชพี ต่อไป 8. ประโยขนข์ ององค์ความรู้ สามารถทาใหเ้ กิดการพฒั นาตนเอง โดยหาความรู้เพ่มิ เติมใหม่ ๆ อยู่เสมอ และสามารถนาไปปรับใช้ กับตนเอง และคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์มากย่งิ ข้นึ มสี มาธดิ ขี ึน้ เรียนรูจ้ ากผูเ้ ขา้ ฝึกอบร รอบคอบและเปน็ ระบบ ***********************************************



แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบุคคล ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา สถาบันการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ช่ือองค์ความรู้ Quick Win ปลกู ผักหมุนเวียน 90 วนั มีผักให้กนิ ตลอด 2. ช่ือเจ้าของความรู้ นางสาวศริ กิ ุล คา้ ชู 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจัดการความรู้ (องค์ความรู้บ่งช้ี)  หมวดที่ 1 สรา้ งสรรคช์ ุมชนพ่งึ ตนเองได้ หมวดที่ 2 ส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตัวอย่างสมดลุ หมวดที่ 3 เสรมิ สรา้ งทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภบิ าล หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ขี ดี สมรรถนะสงู 4. ทมี่ าและความสาคัญในการจัดทาองค์ความรู้ (อธิบายโดยละเอียด) ทา่ มกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สังคมไทยและสงั คมโลกกา้ ลังเผชญิ อยู่ใน ขณะนี หน่ึงในความวิตกกังวลของผ้คู นคือประเด็นของความปลอดภยั ในสขุ อนามัยและเศรษฐกิจ กรมการ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้เร่งขับเคลือ่ นโครงการแผนปฏบิ ตั ิการ 90 วนั “ปลูกผักสวนครัว เพื่อ สร้างความมน่ั คงทางอาหาร” การมภี มู คิ ุม้ กนั จากสถานการณ์ วิกฤติตา่ ง ๆ จากภายนอก โดยสง่ เสริมสนับสนนุ ให้ครอบครวั มีความเข้มแข็งจากภายในก่อน ให้พ่ึงพาตนเองไดก้ ่อน พฒั นาชุมชนจึงไดร้ ณรงคท์ งั ปลูกผักสวน ครัวรัวกนิ ได้ และทา้ การเกษตรตามหลกั ทฤษฎใี หม่ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รัชการที่ 9 6. เทคนคิ ในการปฏิบตั ิงาน (อธบิ ายโดยละเอียด) การเริ่มต้นปลูกผัก ขนั แรกการเลอื กชนดิ ของผกั ท่ีปลกู นนั ก็สา้ คญั โดยเจ้าของบา้ นควรเลือกปลกู ชนดิ ทีต่ นเองและสมาชิกในครอบครัวรบั ประทาน นอกเหนือจากพชื ผักทีร่ บั ประทานในชีวติ ประจ้าวนั เป็นประจ้า อาทิ ผกั ชี กะเพรา โหระพา ตะไคร้ มะนาว มะกรดู พรกิ เป็นตน้ ซ่งึ ผักเหลา่ นสี ามารถปลกู ในกระถางไดด้ ว้ ย การปลกู ผักสวนครวั รอบบา้ นไมไ่ ด้เพ่งิ มใี นเมืองไทย แตต่ ามรูปแบบวถิ เี กษตรในพืนท่ตี ่างจงั หวัดลว้ นแตน่ ยิ ม ปลูกอย่รู อบบา้ นมาช้านาน แต่ส้าหรับชุมชนเมืองซ่งึ มีพืนที่จา้ กดั เร่ิมมองหาลทู่ างในการปลูกผักจนเกิดทฤษฎี ใหม่ เกษตรคนเมือง ที่สอดรับกบั ไลฟ์สไตล์คนยุคใหมเ่ ปน็ อยา่ งดี แตห่ ากอยากปลูกผักใหม้ ที านทัง 90 วันนัน สามารถเลือกชนดิ ของผกั ที่มีอายกุ ารเกบ็ เก่ยี ว ดงั นี 3 - 4 วัน ได้แก่ ถว่ั งอก 7 - 10 วัน ไดแ้ ก่ ต้นอ่อนผักบ้งุ ต้นอ่อนทานตะวัน เห็ดนางฟา้ ฯลฯ 14 - 30 วัน ได้แก่ ผกั บงุ้ ต้นหอม.ผกั โขมเขียว โขมแดง ผกั ชี ฯลฯ 35 - 45 วนั ไดแ้ ก่ คะน้า กวางต้งุ ขึนฉ่าย ผกั กาดหอม แตงกวา สะระแหน่ โหระพา ผักปลงั ฯลฯ 45 -65 วัน ได้แก่ มะเขือ ถั่วฝกั ยาว พรกิ ขหี นู บวบ แตงโม มะเขอื เทศ เรดโอ้ค ฯลฯ 70 - 90 วัน ได้แก่ มะระ กระเพรา ขิง ข่า ผดั กาดขาว สลดั แก้ว พรกิ ชฟี ้า ชะพลู ฯลฯ

-2- 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (อธบิ ายโดยละเอียด) ปญั หา 1. ปลกู แลว้ ไม่มคี นกนิ 2. ปลูกแลว้ กินไม่ทัน 3. ปลกู แล้วผักไม่สวย 4. เมลด็ พันธ์ทุ ป่ี ลกู ไมส่ มบูรณ์ 5. ปลกู ผดิ วิธี แนวทางแก้ไขปญั หา 1. เลอื กชนดิ ของผักท่ปี ลูก โดยเลือกปลกู ชนดิ ที่ตนเองและคนในครอบครวั ชอบกิน 2. ผกั ทป่ี ลูกควรค้านึงปริมาณการปลูกต่อสมาชกิ ในครอบครวั 3. ควรค้านงึ ช่วงทเ่ี หมาะสมในการปลูกพชื ผกั เช่น - ชว่ งเดือนกมุ ภาพนั ธ์ – เมษายน ผักทคี่ วรปลกู ได้แก่ ผักชี หอม ผกั บ้งุ จีน ผกั กาดหัว ถวั่ ฝักยาว แตงกวา มะระ ผกั กาด เขียวปลี ผกั กาดขาว - พฤษภาคม – กรกฎาคม ผักที่ควรปลูก ได้แก่ ผกั คะน้า กยุ ชา่ ย บวบเหล่ียม หอมแดง - สงิ หาคม – ตุลาคม (ปลายฝน) ผกั ที่ควรปลกู ได้แก่ กะหล่้าปี แตงกวา ผกั ชลี าว ผักโขม กยุ ชา่ ย ผักกาดขาว ผกั กาดหอม พริก มะเขือเปราะ มะเขอื ยาว - ปลกู ได้ทังปี ไดแ้ ก่ ผักสวนครัวต่าง ๆ เช่น ขิง ขา่ ตะไคร้ โหระพา แมงลัก กระเพรา มะเขือ ผักชี กวางตุ้ง ผักกาดหอม ฯลฯ 4. การปลกู ผกั ดว้ ยเมลด็ พนั ธ์ุที่ดจี ะช่วยให้คมุ้ ค่าไมเ่ สยี เวลา ผกั บางชนดิ ไมส่ ามารถเก็บพันธุ์ ไว้ได้ ดงั นันควรเลือกซือ หรือหาจากร้านท่ีไวใ้ จได้ หากซอื จากร้านคา้ ควรเลอื กควรตรวจสภาพของซอง หรือ กระป๋อง ดเู ปอร์เซน็ ต์ความงอก วนั ท่บี รรจุเมล็ดพนั ธุ์ และวันเสื่อมอายขุ องเมล็ดพนั ธุ์ หากเปน็ เมล็ดพันธุ์ท่เี ก็บ เองควรเกบ็ ในซองมซี ิปล็อค เกบ็ ในกล่องแล้วน้าไปใสใ่ นต้เู ย็นหอ้ งธรรมดา 5. การปลูกผกั วธิ ปี ลูกมหี ลายประเภท แบ่งออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ 4 ประเภท ดงั นี 5.1 ประเภทท่ีตอ้ งเพาะเมล็ดกอ่ นแล้วจึงยา้ ยปลูก เป็นพืชท่เี มล็ดมรี าคาแพงและขนาด เลก็ การดแู ลรักษาระยะกล้าต้องการความพิถีพิถันมากกว่าพืชอน่ื ได้แก่ กะหลา้่ ปลี ผกั กาดขาวปลี มะเขือเทศ พริก ผักสลดั เปน็ ตน้ 5.2 ประเภททีห่ วา่ นเมลด็ ลงในแปลงได้เลย ไดแ้ ก่ ผักชี ผกั กาดเขยี วกวางตุง้ ผักกาด คะน้า ผกั ประเภทนี มีอายุสนั โตเรว็ ระยะปลูกถ่ี เมลด็ หาง่ายและราคาถูก แบ่งเปน็ 2 วิธี คือ (1) การหว่านเมลด็ ให้กระจายทั่วทังแปลงแลว้ ใช้ป๋ยุ คอกหรือป๋ยุ หมักโรยทบั บางๆ คลุมด้วยฟางหรือหญ้าแหง้ สะอาดบาง ๆ รดน้าด้วยบวั ฝอยละเอยี ดใหช้ ุม่ และทัว่ ถึง เม่ือต้นกลา้ งอก มใี บจรงิ ประมาณ 1 - 2 ใบ ให้เริ่มถอนแยก เลือกต้นอ่อนแอไม่สมบูรณ์และเบยี ดชิดแน่นออก พรอ้ มกบั จดั ระยะปลกู ให้ เหมาะสม

-3- (2) การโรยเปน็ แถว วิธนี ี ประหยัดเมลด็ พันธไุ์ ด้มากกว่าวธิ ีหวา่ น การโรยเมล็ดให้ เป็นแถวลกึ 0.5 - 1.0 ซม. ควรให้เมล็ดในแถวหา่ งกนั พอสมควร เมอื่ ตน้ กล้างอกควรเริ่มถอนแยก ต้นท่อี ่อนแอ ไม่สมบรู ณ์ และเบยี ดกันออกเสยี 5.3 ประเภททใ่ี ช้ปลูกเป็นหลุม ไดแ้ ก่ พวกท่ีมีเมลด็ โต ได้แก่ ถ่วั ฝักยาว ถ่วั ลนั เตา กระเจ๊ียบ เขียว มะระ แตงโม แตงกวา ฟักทอง ผักกาดหัว เป็นตน้ วธิ ปี ลูกใหห้ ยอดเมล็ด โดยตรงในแปลง หลมุ ละ 2 - 3 เมลด็ ลึกลงไปในดนิ ประมาณ 1.2 - 2.5 ซม. กลบดว้ ยดินละเอียดท่ี ผสมปยุ๋ หมัก ปยุ๋ คอก เม่ือตน้ กลา้ มีใบจริง ประมาณ 2 ใบ ใหถ้ อนตน้ ท่ีอ่อนแอทิงเหลือไว้เพียงหลุม ละ 1 ตน้ 5.4 ประเภทท่ใี ชส้ ว่ นตา่ ง ๆ ตน้ รากและหวั ปลกู ไดแ้ ก่ หอม กระเทียม กระชาย ขิง ข่า ตะไคร้ กระเพรา โหระพา เป็นตน้ 6. การปลูกผักในกระถาง ตอ้ งพิจารณาความลกึ ของกระถางเป็นหลัก ควรเลือกชนิดของ ผกั ทมี่ ี ระบบรากตืนหรือลึกปานกลาง กระถางหรอื ภาชนะปลูก ควรมคี วามลกึ อย่างน้อย 30 เซนตเิ มตร หากเป็นผกั ที่ มรี ะบบรากลึก หรอื ผกั ประเภทหัวก็ใหม้ ีความลึกมากกวา่ นี หรือประมาณ 50 เซนติเมตร กระถางพลาสติก เกบ็ น้าไวไ้ ด้นาน น้าหนักเบา สะดวกในการเคล่อื นย้าย ส่วน กระถางดนิ เผามีการระบายอากาศดีกวา่ แต่ดนิ จะ แหง้ เรว็ ท้าให้ต้องรดนา้ บอ่ ยขึนและมีน้าหนักมาก เคล่ือนยา้ ยไม่สะดวก แต่มีความสวยงาม การปลกู ผักใน กระถางควรใชจ้ านรองกระถาง แลว้ หลอ่ น้า ไว้ เพอ่ื ชว่ ยให้ดินในกระถางมีความชมุ่ ชืนอยูต่ ลอดเวลา ช่วย แกป้ ัญหาผกั ขาดน้า เมื่อไมส่ ามารถรด น้าได้ทุกวนั 8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) 8.1 มีผกั กนิ ตลอดระยะเวลา 90 วัน 8.2 ไดก้ นิ ผกั สดที่ดตี ่อสขุ ภาพ 8.3 ได้ท้ากจิ กรรมรว่ มกบั สมาชิกในครอบครวั 8.4 ไม่ต้องกังวลกับยาฆา่ แมลง 8.5 ประหยัดค่าใชจ้ ่าย 8.6 ทา้ ให้เรามคี วามสุข

แบบบนั ทกึ องค์ความรูร้ ายบุคคล ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชอื่ องคค์ วามรู้……..…(Work from Home) ด้วย แอปพลเิ คชัน่ ASANA ……………………………………………. 2. ช่ือเจา้ ของความรู้…............นางสาวมนกนั ต์ โลว้ เจริญงาม.................…………………………………………………. 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ หมวดที่ 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพ่งึ ตนเองได้ หมวดที่ 2 ส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตัวอย่างสมดลุ หมวดที่ 3 เสรมิ สรา้ งทุนชุมชนให้มธี รรมาภิบาล หมวดท่ี 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรใหม้ ีขดี สมรรถนะสูง 4. ที่มาและความสาคญั ในการจดั ทาองค์ความรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิท-19) ท่ีกาลังแพร่ระบาด อยู่ในขณะน้ี ส่งผลทาให้การทางานและการติดต่อประสานงานค่อนข้างยากลาบากเพราะเส่ียงต่อการติดเชื้อ ไวรัสและการแพร่กระจาย จากการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 17 มี.ค.ที่ผ่านมา มีมติให้ทุกหน่วยงาน พิจารณามาตรการเหล่ือมเวลาทางาน และทางานที่บ้าน และส่งเสริมให้ใช้ระบบอินเตอร์เน็ต เช่น ประชุม ทางไกล โดยให้หน่วยงานราชการทุกหน่วยทาแผนทางานจากบ้าน (Work from Home) พ่ือลดความแออัด ของคน ลดการเดินทาง และลดการแพรเ่ ช้ือไวรสั โควิด-19 เพื่อเป็นการระงับยบั ย้ังไม่ให้มีการแพร่ระบาดอย่าง รุนแรงมากขึ้น และสามารถทางานได้ต่อเนื่อง จึงได้หาวิธีการทางานท่ีสามารถทางานร่วมกันได้โดยไม่ต้อง รวมกลุม่ ด้วยแอปพลเิ คชั่น ทีม่ ีช่อื วา่ “ASANA” 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขน้ั ตอน (อธิบายโดยละเอียด) Asana เป็นแอปพลิเคช่ันบนมือถือท่ีออกแบบมาเพื่อช่วยให้ทีมติดตามผลงาน กันได้ง่ายและ สะดวกสบายขึ้นด้วยคุณสมบัติท่ีน่าสนใจ และ Asana ยังช่วยให้การจัดการและติดตามผลงานโครงการ เป็นเรื่องง่าย ต่อเน่ือง ไม่ซับซ้อน และประหยัดเวลาในการทางานอีกด้วย คุณสมบัติการทางานของ แอปพลเิ คช่นั Asana โดยสงั เขป มีดังนี้

-2- 1. สรา้ งงานของตัวคุณเองหรือมอบหมายงานให้กบั เพือ่ นร่วมทมี 2. สรา้ งโครงการทีต่ ้องทา, การประชมุ , หรอื โครงการอนื่ ๆ ทีต่ ้องทาร่วมกบั ทมี 3. แบ่งงานออกเปน็ ชน้ิ เล็ก ๆ หรือแบง่ งานระหว่างคนหลาย ๆ คน ภายในงานหลัก 4. ตัง้ วันเร่มิ ต้นของงานและวันทีค่ รบกาหนดเพ่ือให้การทางานเสร็จทนั เวลา 5. แสดงความคิดเหน็ โดยตรงกับงานเพื่อชีแ้ จงว่าต้องทาอะไรบา้ ง สามารถกล่าวขอบคณุ หรอื โหวต ให้กับงานทช่ี ่ืนชอบได้ 6. รายงานความคบื หนา้ ของโครงการเพ่ือทมี สามารถดาเนินการในส่วนท่ีเกีย่ วข้องต่อไปได้ 7. สนทนาและดโู ครงการท้งั หมดของทมี ในทเ่ี ดียว 8. วางแผนแตล่ ะวันของคุณด้วยการจัดลาดับความสาคัญรายการส่ิงทตี่ ้องทาก่อน-หลงั 9. ช่วยให้คน้ หางานท่ีตอ้ งการได้อยา่ งรวดเร็ว 10. ตรวจสอบความคบื หน้าเก่ียวกับโครงการทง้ั หมดท่ีคุณสนใจและสามารถกาหนดรูปแบบได้ 11. ดูรายการงานตา่ ง ๆ ในปฏิทินเพ่ือให้ได้ภาพทช่ี ัดเจนวา่ งานทาไปถงึ ข้ันตอนไหนและถึงกาหนด เมื่อไหร่ 12. คน้ หาไฟลท์ ค่ี ุณตอ้ งการได้อยา่ งรวดเรว็ หรือดมู ุมมองแกลเลอรขี องสง่ิ ท่ีแนบมากบั โครงการ 13. กาหนดเจา้ ของงานท่ชี ดั เจนเพ่อื ให้ทกุ คนรู้วา่ ใครเป็นผู้รับผดิ ชอบ และงานอยู่ในขน้ั ตอนไหน 6. เทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน (อธิบายโดยละเอียด) ทางานรว่ มกับทีม (Work together with your team) การติดตามงานใน Asana ทุกคนในทีมจะรู้ว่าใครกาลังทาอะไร เมื่อไหร่ ดังนั้นการทางาน จึงมีความชัดเจนในขอบเขตความรับผิดชอบ และยังสามารถเชิญเพื่อนร่วมทีมให้เข้ามาร่วมงานกับทีม ท่ีสรา้ งไวแ้ ลว้ ได้ดว้ ย เทคนิคทีช่ ว่ ยให้การเรม่ิ ตน้ ทางานรว่ มกนั และตดิ ตามผลงานของทมี ง่ายข้ึน เชน่ 1. มอบหมายการทางานร่วมกัน คือ การมอบหมายงานให้กับตัวเองและเพ่ือนร่วมทีมลองใช้งาน และมอบหมายงานให้กับคนในทีม (แม้ว่าจะยังไม่ได้ใช้ Asana ก็ตาม) ให้รายละเอียดและข้อมูลที่พวกเขา ตอ้ งการในการทางานใหเ้ สร็จสมบูรณ์ 2. เพ่ิมผู้ติดตาม คือ ตั้งให้ผู้ทม่ี ีส่วนร่วมเป็นผตู้ ิดตามงานเพื่อให้พวกเขาสามารถเห็นการทางานใน Task,การสนทนาเกีย่ วกบั งานนัน้ , และรับแจ้งเกยี่ วกบั ความคบื หน้า สามารถเพิม่ / ลบผู้ติดตามได้ 3. แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั งาน คอื สามารถแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั งานด้วยการถามคาถาม, ตอบเพ่ือนร่วมทีม, หรือใหข้ ้อมูลเพิ่มเตมิ และข้อมูลเชงิ ลึก, แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั งานท่ีสร้างข้ึนเพ่อื ให้เห็น การอัพเดทเกย่ี วกับงานนนั้

-3- 4. @ mention คือ พิมพ์ @ ในความคิดเห็นหรือคาอธิบายเพื่อพูดถึงเพื่อนร่วมทีมและสร้างการ เชือ่ มโยงโดยตรงกบั บทสนทนางานหรอื โครงการตา่ งๆ 5. ตรวจสอบกล่องขาเข้าของฉัน คือ กล่องขาเข้าของฉนั เป็นศูนยแ์ จง้ เตือนในขณะที่คุณและเพื่อน ร่วมทีมมีการอัพเดตและทางานเสร็จสมบูรณ์จะเห็นการแจ้งเตือนปรากฏในกล่องขาเข้าของฉันสาหรับงานท่ี กาลังติดตาม จะเห็นจุดสีส้มปรากฏหมายความว่ามีการแจ้งเตือนใหม่ ทาให้เห็นการทางานได้เลยโดยไม่ต้อง ทวงถามหรือเร่งรดั การทางานของเพื่อนรว่ มทีม 7. ปัญหาที่พบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอียด) ปัญหา โปรแกรมการทางานของแอปพลเิ คชั่น Asana นน้ั คณุ สมบตั ิและแอปพลเิ คชันการใชง้ านมีลูกเลน่ คอ่ นข้างเยอะ มรี ายละเอยี ดหลากหลายให้เลือกใชง้ าน แนวทางแกไ้ ขปญั หา ศึกษาข้อมูลคุณสมบตั ิและวธิ ีการใช้ใหล้ ะเอียดเพื่อความสะดวกในการใชง้ านใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด 6. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) 1. สามารถทางานทไ่ี หนก็ไดเ้ พ่อื ป้องกนั การแพร่กระจายของเชอ้ื ไวรสั โควทิ -19 2. สง่ เสริมมาตรการลดโลกร้อน ลดการใช้กระดาษ 3. สะดวกในการประสานงานและการทางานเปน็ ทีม 4. ประหยดั เวลา และคา่ ใช้จ่าย 5. ค้นหาข้อมูลได้งา่ ย

แบบบนั ทกึ องค์ความรู้รายบุคคล ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนยะลา สถาบนั การพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1.การจัดการความรู้เรอ่ื ง เทคนคิ กระบวนการเบิกจ่ายเงนิ ใน ระบบ GFMIS Web Online 2.ช่ือเจา้ ของความรู้ นางณัฐธติ า ปัญญะ ตาแหน่ง เจา้ พนักงานการเงนิ และบัญชชี านาญงาน 3.ขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ (องคค์ วามรู้บ่งช้ี)  หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองค์กรใหม้ ีขีดสมรรถนะสูง 4.ท่ีมาและความสาคัญในการจดั ทาองคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) จากการทางานที่ผ่านมา ต้ังแต่เร่ิมบรรจุเข้ารับราชการเม่ือปี พ.ศ.2549 จนถึงปัจจุบัน นับ รวมระยะเวลาในการเข้ารับราชการทั้งส้ิน 13 ปี ได้พบกับการเปล่ียนแปลงในระบบราชการมากมาย แต่ก็ ทางานผ่านมาด้วยความราบรื่น ด้วยความประทับใจหลายๆ ส่ิง ความไว้วางใจ ความเชื่อใจ ได้พบกับเพ่ือน ร่วมงานที่มีความเอื้ออาทรต่อกัน ให้ความรักความเห็นใจซ่ึงกันและกันเป็นส่วนมาก จึงทาให้การทางานของ เราประสบผลสาเรจ็ จนถึงวนั น้ี ไดว้ างระบบการทางานเพื่อใหก้ ารทางานง่ายขึ้น ถา่ ยทอดให้บุคคลอื่นสามารถ ปฏิบัติงานตามขึ้นตอนได้ ทาให้ลดขึ้นตอนการทางานราชการให้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน และสามารถให้บุคคล ท่ีเกย่ี วข้องนาขั้นตอนการทางานดงั กล่าวไปปรับใช้กับตนเองได้ งานการเงินและบัญชี เป็นหมวดงานที่ต้องตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของเอกสาร เบิกจ่ายทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นน การจัดประชุม อบรม การจัดทาโครงการ การเบิกค่าใช้จ่ายในการไป ราชการ การประชุม/อบรม ซึ่งในปจั จบุ นั มีเจา้ หน้าที่ในหนว่ ยงานมาติดต่อประสานงานใน เรื่องเอกสารที่ใช้ใน การจัดประชุม อัตราการเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายต่าง ๆในโครงการ และในปัจจุบัน มีเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบหรือทา โครงการเพ่มิ มากข้ึนตามกลุ่มภารกจิ ใหมห่ ลายคน และมหี ลายคน ท่ยี งั ไมท่ ราบหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ เอกสารการ เบกิ จ่าย ทถ่ี กู ตอ้ ง หรือ ไม่ทราบรายละเอยี ดท่ีถูกต้อง ตรงตาม หลกั เกณฑ์วธิ กี ารเบิกจ่าย เน่อื งจาก เจ้าหน้าท่ี งานการเงินมีภาระงานเฉพาะบุคคล ซ่ึงแตกต่างกนั ไป เชน่ การทาเงินเดือน การเบิกจา่ ยค่ารกั ษา ฯลฯ ซ่ึงอาจ ทาให้เจ้าหน้าทห่ี นว่ ยงานอื่นทมี่ าติดตอ่ ประสานงานอาจ ไมไ่ ด้รบั ข้อมลู ที่ถกู ต้อง ครบถว้ น หรือได้รายละเอียด ทลี่ า่ ช้า อาจทาให้เกิดความ ไม่พงึ พอใจต่อผู้ทีม่ าประสานงานได้ ดังนั้น งานการเงินฯ จึงจะจัดทาขั้นตอน การเบิกจ่ายเงินงบประมาณข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทาง ในการทางานและเพื่อให้เจ้าหน้าท่ีในสังกัดได้ทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานการเงิน เพ่ีอได้เตรียมการ จดั เตรยี มเอกสารทเ่ี กยี่ วข้องตามระยะเวลาทก่ี าหนด เพื่อให้เกิดประโยชนต์ ่อทางราชการมากท่ีสดุ 5.รปู แบบ กระบวนการ ลาดับข้ีนตอน (อธิบายโดยละเอียด) การบวนการจัดทาและเบิกจ่ายเงินผ่านระบบ GFMIS Web Online

ระหวา่ งวัน (วันที่ 1) -2- ไมถ่ ูกต้อง สง่ คืนเอกสารขอเบิกเพอื่ ให้ผู้มสี ิทธิแกไ้ ขใหถ้ กู ต้อง เจา้ หน้าที่ รบั เอกสารขอเบิกจากผู้มีสิทธิ การเงิน จดั ทาทะเบียนคุมฎกี าการเบกิ ตรวจสอบเอกสารขอเบิก (Pass Book) เจ้าหน้าทีก่ ารเงนิ ตรวจสอบเอกสารทะเบยี น บนั ทกึ ขออนมุ ตั ผิ ูม้ อี านาจ ให้ผมู้ สี ทิ ธิแก้ไขให้ถกู ต้อง เบิกเงินตามใบสาคญั คมุ ฎกี า (Pass Book) ตรวจสอบเอกสารทะเบยี น วเิ คราะห์เลอื กใช้เอกสารขอเบิกเงิน ในระบบ GFMIS Web Online (ขบ) คุมฎกี า (Pass Book) Run Payment เรียกรายงานการขอเบกิ เงินคล เจ้าหน้าที่การเงิน คลงั และบันทกึ เพื่อเสนออนมุ ตั ิ วนั ถัดไป (วันท่ี 2) บันทกึ ทะเบยี นคมุ ฎกี าเบกิ จ่าย และทะเบียนคุมงบประมาณ เจ้าหน้าทก่ี ารเงิน เจ้าหน้าท่กี ารเงิน ไมถ่ กู ตอ้ ง ดาเนินการกลับรายการ เจ้าหน้าท่กี ารเงนิ เอกสารขอเบกิ (ขบ) ตรวจสอบการตง้ั เบกิ ถูกต้อง เสนอผ้มู ีอานาจอนุมตั หิ น.อก/ไดร้ ับ มอบหมาย (อนมุ ัติ อม.1) เสนอผ้มู ีอานาจอนุมัติ กรมบัญชกี ลางอนุมตั ริ ายการ หวั หนา้ สว่ นราชการ (อนุมัติ อม.2) Run Payment เรียกรายการติดตาม ตามรายการขอตง้ั เบิกลงเลขฎกี า สถานะการเบิกประจาวนั โอนจา่ ย KTB Corporate Online เรยี ก Statement ธ.กรงุ ไทย เรียก Statement ธ.กรงุ ไทย จา่ ยใหผ้ ูม้ สี ิทธิ์ บันทกึ รายการขอจ่าย (ขจ.05)

-2- 6.เทคนิคในการปฏิบัตงิ าน (อธิบายโดยละเอียด) 1.การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณแต่ละครัง้ ต้องทาการตรวจสอบหลกั ฐาน ให้เป็นไปตามระเบียบ ขอ้ กฎหมาย มตคิ รม. ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องทุกครั้ง 2.หลกั ฐานใบสาคญั ในการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณตอ้ งมคี วามถกู ต้อง ครบถว้ นสมบรู ณ์ และ ตอ้ งตรวจสอบอย่างเคร่งครดั ก่อนทาการเบิกจา่ ยทุกครัง้ หากผดิ พลาดไมค่ รบถว้ นส่งคืนผมู้ สี ทิ ธ์เิ บิกให้แก้ไข/ ส่งเอกสารเพิ่มเติม 3.การบนั ทึกข้อมลู เบิกจา่ ยในระบบ GMIS สิ่งท่สี าคญั รหสั งบประมาณ ศูนย์ตน้ ทนุ และรหัส กิจกรรมหลกั ท่ีกรอกลงในแบบฟอร์มขอเบิกต้องใสใ่ ห้ถกู ต้อง เพราะถ้าไม่ถูกตอ้ งจะเกดิ ปัญหาการเบิกจา่ ยใน ตอนสิ้นปีงบประมาณ 4. กรณเี มอื่ พบขอ้ ผดิ ให้รีบติดต่อคลังจังหวดั ฯ หรอื บางกรณีคลงั ไมส่ ามารถแก้ได้ต้องติดตอ่ ผู้ดูแลการเบกิ จ่ายในระบบ GFMIS ของกรมฯ โดยด่วน 5. การตั้งช่ือไฟล์ เพื่อใหง้ ่ายต่อการคน้ หา คอื ใสป่ ระเภท ขบ.และตามด้วยศูนยต์ น้ ทนุ วันเดอื นปที ส่ี ง่ เข้าระบบและเลขท่ฎี ีกา ตัวอย่างเชน่ ขบ021500400024530719345 ไม่ต้องเว้นวรรค 7.ปัญหาทพ่ี บและแนวทางการแก้ไขปัญหา (อธิบายโดยละเอียด) ปญั หาที่พบ ปัญหาเก่ยี วกับการบนั ทึกข้อมูล รหสั งบประมาณ ศูนย์ต้นทุนและรหัสกิจกรรมหลัก ทก่ี รอกลงในแบบฟอร์มคลาดเคลอื่ น ไมต่ รงกบั แบบ ง 241 การโอนจัดสรรงบประมาณ ทาให้เกิดปญั หาตอน สิ้นปีงบประมาณ แนวทางการแก้ไขปญั หา ในการเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS ทกุ ครง้ั เพ่ือความถูกต้อง แมน่ ยา ชดั เจน ไมม่ ี ข้อผดิ พลาดจะดาเนินการตรวจสอบข้อมูล รหัสงบประมาณ ศนู ยต์ น้ ทนุ และรหสั กจิ กรรมหลกั กับแบบ ง 241 การโอนจดั สรรงบประมาณทุกคร้ัง 8.ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ เรอ่ื งกระบวนการเบกิ จ่ายเงนิ ในระบบ GFMIS Web Online ครงั้ นที้ า ใหผ้ ้บู รหิ ารได้รู้ถึงขน้ึ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ของเจ้าหนา้ ทีก่ ารเงิน และสามารถนาไปประกอบการควบคุมความเสยี่ งของ หนว่ ยงาน ในเรอื่ งการเบิกจา่ ยเงนิ ทาให้สามารถตรวจสอบ ควบคุม การทางานไมใ่ หเ้ กิดการทจุ รติ ในเรื่องการเงนิ ที่สาคญั สามารถตรวบสอบการทางานไดอ้ ยา่ งละเอียด

แบบบันทกึ องคค์ วามรู้รายบคุ คล ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนยะลา สถาบันการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชื่อองคค์ วามรู้ การประชุมทางไกลเพื่อการปฏิบตั ิงาน ดว้ ย “Application Zoom” 2. ช่อื เจา้ ของความรู้ นางสาววรนาฏ นนุ่ สุวรรณ 3. ขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ หมวดท่ี 1 สร้างสรรค์ชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ หมวดที่ 2 สง่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดลุ หมวดท่ี 3 เสริมสร้างทุนชุมชนใหม้ ีธรรมาภบิ าล หมวดที่ 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรใหม้ ีขีดสมรรถนะสงู 4. ท่มี าและความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ (อธบิ ายโดยละเอยี ด) เน่ืองจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้น ท้ังนี้รัฐบาลได้กาหนดมาตรการป้องกันและสกัดก้ันการแพร่ขยายของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยให้ปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด และคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เม่ือวนั ท่ี 17 มีนาคม 2563 มีมตริ ับทราบแนวทางการให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานนอกสถานที่ต้ัง ของส่วนราชการ กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสานักงาน ก.พ. โดยให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณากาหนดแนวทาง ในการปฏิบัติงานนอก สถานท่ีตั้งหรือกาหนดวิธีปฏิบัติราชการแบบยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมในแต่ละกรณี ทั้งน้ีให้คานึงถึง คุณภาพชีวิตและความปลอดภัยของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีและไม่ส่งผลกระทบหรือเกิดความเสียหายต่อ ประสิทธภิ าพประสทิ ธิผลในการบริหารราชการและการบริการประชาชน เพื่อให้การปฏิบัติมีความยืดหยุ่น คล่องตัวและเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการให้เป็น ตามเป้าหมาย ผลผลิต และตัวชี้วัด ท้ังนี้ คานึงถึงคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยของบุคลากร ป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเพ่ิมระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ในการปฏิบัตงิ าน จึงได้คัดเลือกเครื่องมอื ในการปฏิบัติงานใหส้ อดคลอ้ งสถานการณ์ดังกล่าว ผ่าน ระบบ Online ไดแ้ ก่ Application Zoom 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดบั ขนั้ ตอน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) 1. เขา้ ไปทีเ่ วบ็ ไซต์ https://zoom.us

2. กดสมัครสมาชิก โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อเข้าใช้งานซ่ึงสามารถใช้ Gmail หรือ Facebook ลงทะเบยี นเขา้ ใช้งานได้ 3. เมื่อเข้าระบบแล้วจะพบกับหน้านี้ (ภาพด้านล่าง) จากน้ันหากต้องการเริ่มประชุม กดที่ Meetings > Schedule a New Meeting 4. กรอกข้อมูลที่ต้องการให้เรียบร้อย จากน้ันกด Save แล้วเราจะได้ Meeting ID ขึ้นมา นาเลขนี้ไปให้แก่คนที่คุณต้องการประชุมด้วย และในทางกลับกันในกรณีเป็นฝ่ายต้องเข้าร่วมประชุม หากคุณ ได้เลข Meeting ID สามารถนาไปใส่ตรง Join a Meeting ไดเ้ ลย

หมายเหตุ : ในการใช้โปรแกรมครั้งแรก เมื่อกด Start การประชุม โปรแกรมบนเว็บไซต์ปรากฏหน้า ดาวน์โหลดตัว Application สาหรับอุปกรณ์น้ันๆ(ภาพด้านล่าง) เพ่ือการใช้งานที่ง่ายและสะดวกขึ้น โดย สามารถดาวน์โหลดได้ท่ี https://google.zoom.us/download#client_4meeting ซ่ึงเมื่อเกิดการประชุม ครง้ั ต่อไป สามารถจดั การสรา้ งไดจ้ ากตรงนี้

6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน (อธบิ ายโดยละเอยี ด) (1) ประสิทธภิ าพของการทางานผา่ นระบบ Application Zoom (1.1) สามารถ Share Screen รว่ มกันได้ (1.2) สามารถ Record เก็บไว้ได้ พอจบประชุม zoom กจ็ ะแยกเซฟไฟล์ให้ดว้ ย เชน่ ไฟล์คลปิ ไฟลเ์ สียง เป็น mpeg, mp3 โดยอัตโนมัติและหากประชมุ หลายคน zoom กส็ ามารถแยกไฟล์ เสยี งใหเ้ ป็นคน ๆ ได้อีกด้วย (1.3) สามารถ Chat ได้ (1.4) เขา้ ร่วมประชุมไดถ้ งึ 100 คน (1.5) ประหยัดตน้ ทุนในการปฏบิ ตั งิ าน (2) คณุ ธรรมในการทางานเปน็ ทีม (Team Work) (2.1) ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา หรือทีมงานต้องประกอบไปด้วยความ ปรารถนาดี ความมุ่งหวังดี ต่องานที่ปฏิบัติและทีมงานท่ีปฏิบัติงานน้ัน แสดงออกซ่ึงความชื่นชมยินดีเม่ืองาน สาเร็จและวางใจหรือคุณธรรมให้เป็นกลาง เมื่องานนั้นเกิดปัญหาหรืออุปสรรคเพื่อให้เกิดสติและดาเนินการ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานน้ันใหส้ าเร็จลุล่วงเป็นไปดว้ ยดี (2.2) ผู้ปฏิบัติงานหรือทีมงาน มีความชอบ ขยัน หมั่นเพียร รับผิดชอบในงาน ตนเองอย่างเต็มกาลังความสามารถ ประกอบกับต้องหม่ันทบทวนตรึกตรอง ดูแลเอาใจใส่งานนั้นอย่าง สมา่ เสมอ ท้ังงานท่ปี ฏบิ ัติและทีมงานที่ปฏบิ ัติ 7. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไขปญั หา (อธิบายโดยละเอยี ด) สัญญาณ Internet แต่ละสถานทห่ี รือเครือข่ายไม่เสถยี ร แนวทางแก้ไข : เมื่อต้องการประชุมควรตรวจสอบหรือซ้ือแพคเกจเพ่ิม เพ่ือให้เกิด ประสิทธภิ าพในการประชมุ หรอื ปฏิบัติงาน 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ (อธิบายโดยละเอยี ด) สามารถทางานในสถานที่ต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และ ปอ้ งกนั การติดเชือ้ จากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) *******************************************

แบบบนั ทึกองค์ความรู้รายบุคคล 1. ช่ือองคค์ วามรู้ การเล่าเร่ืองราวดว้ ยภาพถา่ ยจาก Smart Phone 2. ช่ือเจ้าของความรู้ นายสรรณชัย ต้ังพานทอง เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชานาญงาน 3. ขอบเขตและเป้าหมายการจัดการความรู้ (องค์ความรู้บ่งช้)ี หมวดที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนพง่ึ ตนเองได้ หมวดท่ี ๒ ส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดลุ หมวดท่ี ๓ เสริมสรา้ งทนุ ชมุ ชนให้มีธรรมาภบิ าล √ หมวดที่ ๔ เสริมสรา้ งองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสูง 4. ทมี่ าและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ (อธบิ ายโดยละเอยี ด) การสื่อสารในยุคดิจิทัล การถ่ายภาพเป็นความนิยมของผู้ใช้งานสมาร์ทโฟนในการบันทึกภาพเพ่ือ ประโยชน์ในการทางานและชีวิตส่วนตัว และในการที่จะเล่าเรื่องราวด้วยภาพถ่ายจาก Smart Phone ด้วย จานวนการใช้งานกล้องสมารท์ โฟน มีสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง บริษัทผู้ผลิต ก็เเข่งขันท่ีจะพัฒนากล้องมือถือให้ใช้ ง่าย เเละมีคุณภาพของภาพที่สูงข้ึน ชดเชยเเสง ถ่ายภาพในที่มืดได้ดีขึ้น กันส่ันในตัว บางรุ่นมีเลนส์สี่ตัวโหมด โบเก้ โหมดแนวตัง้ เซลฟ่ี AI และฟิลเตอร์ให้เลอื กอย่างมากมาย ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลาได้มีภารกิจท่ีหลากหลาย ในการถา่ ยภาพ เพอื่ รายงานความก้าวหน้า และสร้างแรงบันดาลใจ จากมุมมองของภาพ เหมือนอยู่ในเหตุการณ์จริงได้ หลายครั้งที่เมื่อบุคคลสาคัญมา เยี่ยมชมในการทากจิ กรรมของศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนยะลาอาจจะไดภ้ าพทต่ี ้องการเพียงเเคค่ รั้งเดียว หรอื เเค่ช่วงเวลาเดียว สถานท่ีเดียวกัน เเสงก็จะให้อารมณ์ท่ีต่างกัน หรือการที่จะต้องอดทนหาจังหวะการถ่ายภาพ เพื่อใหไ้ ดภ้ าพทด่ี ที ส่ี ุดสามารถสื่อสารเรื่องราวได้ครบถ้วน 5. รปู แบบ กระบวนการ ลาดับขนั้ ตอน (อธิบายโดยละเอยี ด) ก่อนการถ่ายภาพควรมกี ารเตรียมตรวจเช็คอปุ กรณ์อยู่เสมอ เชน่ สภาพเลนสห์ น้ากลอ้ ง แบตเตอรี่ และ การ์ดหนว่ ยความจาเป็น เพ่ือให้มคี วามพร้อมก่อนการถ่ายภาพจรงิ 5.1 ตรวจเชค็ กล้องมือถือให้พร้อม 5.2 ตรวจปริมาณแบตเตอรี่ หากใกล้หมดใหร้ บี ชาร์ตเพราะการใชง้ านกล้องจะทาใหส้ นิ้ เปลืองพลงั งาน มากกว่าการใชง้ านแบบปกติ 5.3 เลือกโหมดการถา่ ยภาพที่เหมาะกบั การใช้งาน

6. เทคนิคในการปฏิบตั งิ าน (อธบิ ายโดยละเอียด) การถ่ายภาพให้สามารถเลา่ เรื่องราวได้น้นั องค์ประกอบภาพเปน็ เรอื่ งท่ีสาคัญมาก เพ่ือทาใหส้ อ่ื อารมณ์ ของภาพได้ เช่น แสง เงา สว่ นประกอบ จุดเด่น ความคมชดั การเบลอภาพ สี ต่างๆโดยมเี ทคนิคดังนี้ 6.1 ไมไ่ กลเกนิ ไป : ในการถ่ายภาพควร Focus วัตถุทีจ่ ะถา่ ยไม่ไกลเกินไป เพ่อื จะได้รูปคน รปู วัตถุ ที่ เราตอ้ งการจะสื่อใหท้ ราบว่าเปน็ ภาพอะไร ทาอะไร ทไี่ หน 6.2 ไม่บัง : ก่อนถ่ายภาพควรสารวจหน้ากล้องทุกครั้ง เปิดหน้ากล้องหรือยัง หรือขณะท่ีถ่ายภาพนิ้ว มอื ไม่ควรบงั หนา้ กล้อง 6.3 ไม่มืด : หากถา่ ยภาพในทมี่ แี สงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ เราควรเปิด Flash ตามความเหมาะสม 6.5 ไม่เอียง : การถ่ายภาพคน หรือสถาปัตยกรรม ไม่ควรเอียงกล้องถ่ายภาพ แต่ควรถ่ายแบบตงั้ ตรง ตามท่เี รามองเหน็ กอ่ นถ่าย 6.6 ไม่น้อย : การถ่ายภาพคน หรือวัตถุ ไม่ควรถ่ายเพียงนิดเดียว ควรถ่ายให้เต็มวัตถุน้ัน เพ่ือจะได้รู้ วา่ วตั ถนุ ้ันคอื อะไร ถ้าเป็นภาพคนจะได้ทราบใครทาอะไร ที่ไหน 6.7 ไม่เบลอ : เราควร Focus วตั ถทุ ่ีจะถา่ ยภาพ เพ่ือเลา่ เร่ืองส่อื ให้คนดูทราบวา่ เราจะเลา่ เร่อื งอะไร 6.8 ไม่ซ้าย/ไม่ขวา : ในการถ่ายภาพไม่ควรหนักด้านซ้าย หรือด้านขวามากเกินไป ควรจัดภาพให้ สมดุล ภาพจะออกมาสวยงาม 6.9 อย่ากระพรบิ ตา : ขณะถ่ายภาพควรสารวจด้วยว่าคนทีเ่ ราถ่ายกระพรบิ ตาหรือไม่ 9.10 ไม่ใกล้เกินไป : ไมค่ วรถา่ ยภาพวัตถทุ ี่ต้องการใกลเ้ กนิ ไป เพยี งถ่ายให้ร้วู ่าวตั ถนุ ัน้ คือภาพอะไร 6.11 ไม่รก : การถ่ายภาพควรพิจารณาว่าส่ิงท่ีต้ัง หรือวาง น้ันมีส่วนเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีเราจะถ่ายเพ่ือ เลา่ เร่ืองนั้นหรือไม่ 6.12 ถ่ายในระดบั สายตา : ควรถ่ายภาพให้พอดกี บั วตั ถนุ ้ัน เพอื่ บอกเล่าเรอื่ งในส่ิงทเี่ รามองเหน็ 6.13 ไมแ่ บ่งแยก : ภาพทถี่ ่ายไม่ถ่ายแบง่ แยกเปน็ ส่วน เพราะจะทาให้ไม่รวู้ า่ วตั ถทุ ี่ถ่ายนั้นคืออะไร 6.14 ไม่ถ่ายภาพหมู่ : ในการถ่ายภาพหมู่ควรจัดให้กระจาย โดยจัดสัดส่วนของภาพ เพื่อให้มองเห็น ทกุ คน 6.15 ไมถ่ า่ ยเทา้ : ควรจัดระดบั กลอ้ งไมส่ งู หรือต่าเกินไป เพื่อได้ภาพครบทกุ ส่วนตามต้องการ 6.16 ไมส่ ั่น : ไมค่ วรถ่ายภาพมอื เดยี ว ควรจบั กล้องสองมอื โดยใชน้ ิว้ โปง้ กด Shutter 6.17 ไม่เงา : หลีกเลย่ี งเงาตกกระทบภาพ ขณะถ่ายภาพไม่ควรหันหลงั ให้แสง 6.18 ดูเพื่อนด้วย : ควรดคู วามพร้อมของเพอื่ นก่อนถ่ายภาพ 6.19 เป็นธรรมชาติ : ควรตกแตง่ ภาพหลังถา่ ยให้เปน็ ตามธรรมชาติ

6.20 ไมแ่ ตก : ควรเลอื กภาพถา่ ยท่ีคมชัด 6.21 ไม่เปิดFlash : การเปิด Flash ถ่ายภาพบางครั้งก็ไม่สามารถเล่าเร่ืองได้ เพราะแสงของ Flash จะสะทอ้ นเข้ามา เชน่ การถ่ายภาพกบั กระจกในหอ้ งนา้ เป็นต้น 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอียด) 7.1 ปญั หา 7.1.1 สขี องภาพไมม่ จี ดุ เด่น 7.1.2 ภาพไมส่ มดุล 7.2 แนวทางแก้ไขปัญหา 7.2.1 การเน้นสีเป็นการเน้นจุดเด่นให้เห็นเด่นชัดจริง ๆ เน่ืองจาก จุดเด่นน้ันมีความสาคัญ ในเรื่องน้าหนักของสี เช่น จุดเด่นมีน้าหนกั สีเข้ม ก็ควรให้วางอยูใ่ นท่ีท่ีมีพ้ืนสอี ่อน ในทางกลับกัน หากจุดเด่นมี สีอ่อน กค็ วรจดั ใหอ้ ย่ใู นพ้ืนท่ีทีม่ ีสีเข้มกว่า การถา่ ยรูปคนทแ่ี ตง่ ชุดเขียวอยู่บนพ้นื หญ้าสเี ขยี ว ยอ่ มจะทาให้ไม่ได้ ผลดใี นการเน้นสี เพราะสที ้ังสองมนี ้าหนักสใี กล้เคยี งกัน ไมว่ ่าจะถ่ายเป็นภาพสหี รือภาพขาวดาก็ตาม การเนน้ สี ย่อมจะไม่เดน่ 7.2.1 ความสมดุลในการจัดองค์ประกอบภาพน้ัน คือการจัดวางสิ่งต่าง ๆ ในภาพให้มีความ สมดุลกนั โดยมิให้ด้านใดดา้ นหนึง่ ของภาพหนกั กว่าอกี ด้านหนง่ึ ไม่ว่าจะเป็นดา้ นซา้ ย - ขวา หรอื ด้านบน - ล่าง หากวางสว่ นสาคญั ต่าง ๆ ให้เหมาะสม จะทาให้ความสมดุลในองคป์ ระกอบสวยงามดีขนึ้ 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ (อธิบายโดยละเอียด) (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) สามารถจัดองค์ประกอบภาพได้ดีข้ึน เพราะภาพถา่ ยที่ดีไม่ใช่เป็นเพียงภาพทร่ี ับแสงได้พอดีและเห็นส่ิง ต่าง ๆ ในภาพได้ชัดเจนเท่าน้ัน แต่ต้องเป็น ภาพที่มีเร่ืองราวน่าสนใจ มีมุมการถ่ายภาพหรือจัดองค์ประกอบ ภาพที่ดี สร้างความสวยงามแก่ภาพให้สามารถ ดึงดูดความสนใจจากผู้ท่ีพบเห็นได้ หรือสามารถโน้มน้าวจิตใจ ให้เกิดความรู้สกึ คลอ้ ยตาม เห็นจรงิ เห็นจงั กบั เรื่องราวและความงามของภาพนัน้

แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบคุ คล ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน สถาบันการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1. ชื่อองคค์ วามรู้ แยกขยะ ลดภาระ 2. ชื่อเจ้าของความรู้ นางสาวเฉลมิ พร ทองคา เจ้าพนักงานธรุ การปฏบิ ตั ิงาน 3. องค์ความรู้ที่บ่งช้ี  หมวดที่ 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพ่ึงตนเองได้  หมวดที่ 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดุล  หมวดท่ี 3 เสรมิ สร้างทนุ ชมุ ชนให้มธี รรมาภบิ าล  หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสูง 4. ที่มาและความสาคญั ในการจดั ทาองคค์ วามรู้ (อธบิ ายโดยละเอยี ด) สภาพแวดล้อมปัจจุบันโลกของเรามีขยะเพิ่มมากขึ้นทุกวัน การจัดการขยะที่ไม่ถูกวิธี ไม่มี ประสทิ ธิภาพ ไมต่ ระหนักถงึ ผลเสียที่จะตามมา เราทาใหบ้ ้านของเรา สถานท่ีทางานของเราสะอาด แตเ่ ราผลัก ภาระให้สงิ่ แวดล้อม และโดยเฉพาะสถานที่ทมี่ ีผู้คนรวมกันอยู่มากๆ จะเปน็ ท่ีสะสมขยะอย่างดี สถานทีท่ างาน เป็นอีกสถานท่ีหนึ่งที่มีขยะจานวนมากตามจานวนบุคลากร ด้วยลักษณะงาน งานเอกสาร หนังสือราชการเป็น หนังสือท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เน่ืองจากอาจเป็นเอกสารทางการเงิน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ เมื่อ เกิดความผิดพลาดที่ต้องแก้ไข สิ่งที่ตามมาคือ ขยะ กระดาษต่างๆ ท่ีเราไม่ได้ใช้แล้ว ทั้งเกิดจากการแก้ไข การ ส่งเอกสารซ้าซ้อนจากหลายที่มา แตเ่ นื้อหาเปน็ เนือ้ หาเดียวกนั และขยะมลู ฝอยอ่ืนๆ 5. ปญั หาทพี่ บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (อธบิ ายโดยละเอียด) 1. ไมแ่ ยกประเภทขยะ 2. แหล่งพาหะนาโรค 3. บรรจุภัณฑ์ 4. ทาให้สนิ้ เปลืองงบประมาณ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1. การแยกประเภทขยะ - ถังสีฟ้า รองรับขยะทย่ี อ่ ยสลายไม่ได้ รีไซเคิลยาก แต่ไม่เป็นพษิ เช่น พลาสตกิ ห่อลูกอม ซองบะหมสี่ าเร็จรปู ถุงพลาสตกิ เปอื้ นเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอลย์ เป้อื นอาหาร - ถงั สีเขยี ว รองรบั ขยะท่ีเนา่ เสยี และยอ่ ยสลายไดเ้ รว็ สามารถนามาหมักทาป๋ยุ ได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้

-2- - ถังสีเหลือง รองรับขยะท่ีสามารถนามา Recycle หรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ - ถังสีเทา – ส้ม รองรับขยะท่ีมีอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออ เซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋อง ยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสา อันตรายตา่ ง ๆ 2. ควรทงิ้ ขยะทุกวนั เพราะ ขยะมลู ฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหลง่ เพาะพันธข์ุ องหนแู ละ แมลงวนั พาหะนาโรคติดต่อทาใหม้ ผี ลกระทบตอ่ สุขภาพอนามยั ของบุคลากร และอาจสง่ ผล ให้เกิดความเสียต่อหนงั สือราชการได้ 3. การปฏเิ สธหรอื หลกี เลี่ยงสิง่ ของหรือบรรจุภณั ฑ์ทจี่ ะสรา้ งปญั หาขยะรวมทั้งเป็นมลพษิ ต่อ สิ่งแวดล้อม เชน่ กล่องโฟม รณรงคใ์ ช้กล่องโฟมที่ทามาจากชานอ้อย การเลือกใช้สินค้าชนดิ เตมิ ซ่งึ ใชบ้ รรจุภัณฑ์น้อยชนิ้ กว่า ขยะก็น้อยกวา่ ด้วย การเลือกใชส้ ินค้าที่สามารถสง่ คืนบรรจุ ภณั ฑก์ ลบั สู่ผ้ผู ลิตได้ เช่น ขวดเคร่ืองดื่มประเภทตา่ ง การนาบรรจุภัณฑใ์ ช้แลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ เชน่ ใช้ถุงผ้าไปชอ๊ ปปิ้งแทนถุงก๊อบแก๊บ 4. นากระดาษที่ใช้ไปหนา้ เดยี ว นากลบั มา Recycle ใช้ใหค้ รบ 2 หน้า เช่น ทากระดาษโน๊ต 6. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ (อธิบายโดยละเอียด) 1.ชว่ ยลดปรมิ าณขยะในสานักงาน เพราะเม่ือแยกวัสดสุ ่วนทย่ี งั มปี ระโยชน์ เชน่ แก้ว กระดาษ พลาสตกิ แกว้ โลหะ ฯลฯ จะเหลือขยะจริงๆ เพ่ือนาไปกาจัดน้อยลง 2. ประหยัดงบประมาณท่ีใช้เพ่อื การกาจดั ขยะ 3. ช่วยลดการส้ินเปลอื งพลงั งานและทรัพยากร ด้วยการนาวัสดปุ ระเภท แกว้ กระดาษ โลหะ พลาสตกิ ฯลฯ ไป Recycle หมนุ เวียนใชใ้ หม่ ซ่ึงบางอยา่ งสามารถขายได้ชว่ ยเพ่มิ รายได้เลก็ ๆ น้อยๆ เข้ากระเป๋าด้วย 4. ชว่ ยรักษาสิ่งแวดล้อมเกดิ มลพิษต่อโลกน้อยลง ชว่ ยลดการเกิดภัยธรรมชาตทิ ร่ี ุนแรงลง 7. เทคนคิ ในการปฏบิ ตั ิงาน (อธบิ ายโดยละเอียด) 1. ประชาสมั พันธ์ให้บคุ ลากรในองค์กร ตระหนักถงึ ความสาคัญของการคดั แยกขยะ 2. ช่ังและบนั ทึกปริมาณของขยะในแตล่ ะวัน เพ่ือนามาประเมินและดาเนินการในส่วนอ่ืน ต่อไป 3. ใชป้ ิน่ โตหรอื ภาชนะทส่ี ามารถนากลบั มาใช้ซา้ ได้ แทนการใช้กล่องโฟมหรอื ถุงพลาสติกใน การบรรจอุ าหาร ใช้แกว้ นา้ แทนการใชแ้ กว้ พลาสติก เพ่ือลดภาวะโลกรอ้ น 4. ก่อนจะพิมพ์หนังสือราชการ ตรวจความเรยี บรอ้ ยใหล้ ะเอียดถี่ถว้ นก่อนพิมพเ์ อกสาร เพื่อ การประหยดั กระดาษ 5. ใช้หน้าทสี่ องของกระดาษ Recycle ในกรณที ี่งานนัน้ ไม่มคี วามสาคญั หรือตดั ทากระดาษ โน๊ต ************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook