Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SIDM Annual report 2020

SIDM Annual report 2020

Published by nursewc328, 2021-08-19 14:39:19

Description: SIDM Annual report 2020

Search

Read the Text Version

Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University SIRIRAJ DIABETES CENTER OF EXCELLENCE 2020 ANNUAL REPORT 02 419 9568-9 [email protected] www.facebook/sidmcenter

Siriraj Diabetes Center of Excellence

สารบัญ สารจากผูบ้ รหิ าร…………………………….……………………..……………….……………………………...1 Message from CEO การพัฒนาต่อเน่อื งของศูนยเ์ บาหวานศริ ิราช ในช่วงเวลา 2561 – 2563…....................3 Progression of SiDM during 2018 - 2020 การให้ความรูแ้ ละสร้างทักษะการดแู ลตนเองสาหรบั ผู้เปน็ เบาหวาน…………..……….…….8 Diabetes Self- Management Education and Support โครงการ การใหค้ าปรกึ ษาเบาหวานทางโทรศพั ท์….……………………………………………….10 DM Call Center Service การตรวจคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นเบาหวาน และการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวาน……………………………………………………………………..…12 Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry โครงการตรวจติดตามระดบั นาตาลในเลือดหลงั คลอด และเสริมสร้างทักษะการดแู ลตนเองสาหรับผเู้ ปน็ เบาหวานขณะตังครรภ์…….…..……….16 GDM holistic care, Postpartum phase การใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยเี บาหวาน………………………………………………………………………….17 Diabetes Technology Service โครงการสนบั สนุนการตรวจระดบั นาตาลในเลอื ดดว้ ยตัวเอง…………………………………...18 Self-Monitoring of Blood Glucose Support Project ค่ายเบาหวานสาหรับผู้เป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2 และกจิ กรรมเพ่อื นช่วยเพ่อื นดแู ลเบาหวาน…………………………………………………………….19 Diabetes Camp for People with Type 2 Diabetes and Self-Help Group Support โครงการให้ความรแู้ ละพัฒนาทักษะการดแู ลตนเอง เพ่ือป้องกันโรคเบาหวานสาหรบั กลมุ่ เสย่ี ง รุ่น 8……………………….……………………….……21 Diabetes Prevention Education and Skill Developing Program for Self-care In People at Risk VIII กิจกรรมวันเบาหวานโลก ประจาปี 2562 - 2563………………………….…………….…………22 World Diabetes Day 2019 – 2020

สารบญั แผนการดาเนินงานโครงการค่ายกีฬาผเู้ ปน็ เบาหวานศริ ิราช………..……….…………………24 Sport Camp หลักสตู รประกาศนียบัตรผู้ใหค้ วามรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล…….………………………………..………..……………………….25 Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital ส่ือการสอนสาหรบั ผ้เู ป็นเบาหวาน Siriraj DM Interactive Tool …………........………38 Workshop “How to be a smart diabetes educator” ……………..…………..…….39 ทมี ดูเเลเท้าเบาหวานสหสาขาศิริราช………………………………………….………………………….43 Siriraj Interdisciplinary Diabetic Lower Extremity Care Team (SIDILECT) Publication and Presentation……………………….………………………………………...….…44 โครงการวจิ ัยทศ่ี ูนยเ์ บาหวานศิริราชมีส่วนร่วมและอยู่ระหว่างดาเนินการ………………..47 Ongoing Research Project at Siriraj Diabetes Center of Excellence Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting 2014 – 2020……………………………………………………………..48 เยยี่ มชมศูนยเ์ บาหวานศริ ริ าช………………………………………………………………………………..49 Visited SiDM 2019-2020 ความรว่ มมือภายในประเทศ (National Collaboration) เครอื ขา่ ยบริบาลและการลงทะเบียนเบาหวานชนดิ ที่ 1 และเบาหวานวนิ ิจฉัยกอ่ นอายุ 30 ปี ประเทศไทย ..…………………….……..…………….51 (T1DDAR CN) ประชมุ โครงการพัฒนาอาหารและแพลตฟอรม์ เพอื่ สขุ ภาพ…………………………..……52 รายชื่อคณะทางานศนู ยเ์ บาหวานศิรริ าช………………..…………………..………………………….53 Siriraj Diabetes Center of Excellence Working Group

สารจากผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ให้การดูแลรักษาผู้เป็นเบาหวานและผู้ท่ีมี ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานเป็นจานวนมากในทุกปี โดย ต้ังแต่เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2561 ได้เปิดสานักงานศูนย์ เบาหวานศิริราชอย่างเป็นทางการ จนถึงวันน้ีครบ 2 ปี โดยเป็น การทางานรว่ มกนั ของผ้เู ชีย่ วชาญด้านเบาหวานทุกดา้ นท้งั งานการ บริการ งานการเรียนการสอน และงานการวิจัย เพ่ือประโยชน์ สูงสุดแก่ผู้เป็นเบาหวาน เพ่ือมุ่งสู่ความยั่งยืนในการให้บริการ รักษาพยาบาล ด้วยการบูรณาการร่วมกันแบบสหสาขาวิชา มี สัมพันธภาพเช่ือมโยงกับหน่วยงานภายนอกทั้งในประเทศ และ ตา่ งประเทศ นาไปสกู่ ารได้รับรองจากสมาพนั ธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation, IDF) ให้การรับรองในด้าน IDF centre of excellence in diabetes care and IDF centre of excellence in education ในปี 2018 และได้รวมเป็นฉบับเดียวกันเป็น IDF centre of excellence in diabetes care ในปี 2020 (valid until December 2021) และในปีนี้โรงพยาบาลศิริราชได้วางนโยบาย จะเข้ารับการรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ สาหรับระบบการดูแล รักษาในคลินิกเบาหวานของสถานพยาบาล เพ่อื เป็นโรงพยาบาลนาร่องในการรับรองที่จะเกิดข้ึนในปี 2564 น้ี จึงได้มีการ ทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์โครงสร้าง ให้สอดคล้องมากข้ึน รวมท้ังกาหนดขอบเขตของการนาเสนอเพื่อการรับรอง ประกอบด้วย การดูแลผู้ป่วยเบาหวานในภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คลินิกเบาหวานและคลินิกดูแลสุขภาพต่อเนื่อง ภาควิชา อายุรศาสตร์ เบาหวานกบั การตัง้ ครรภ์ ภาควชิ าสูตศิ าสตร์-นรเี วชวทิ ยา รวมท้ังการเช่ือมโยงในการส่งต่อผู้ป่วยท่ีมีปัญหา ตา และเท้าเบาหวาน ของภาควิชาจักษุวิทยาและภาควิชาเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ซ่ึงเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน เพอ่ื เป้าหมายให้กับผู้ป่วยและครอบครัว สามารถดูแลตนเองได้ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเฉพาะบุคคล มีสุขภาวะที่ดีและป้องกัน ภาวะแทรกซอ้ นในระยะยาวได้เพ่ิมข้นึ “ผมขอยินดใี นความก้าวหนา้ ของทมี เบาหวานศริ ิราช และสนบั สนนุ ให้พฒั นาดาเนินต่อไป” รศ.นพ.วศิ ษิ ฎ์ วามวาณชิ ย์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช 1

สารจากรองผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช ศู น ย์ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ เ บ า ห ว า น ศิ ริ ร า ช ไ ด้ มี ก า ร บูรณาการการทางานร่วมกับหน่วยงานภายใน ในท้ัง 3 พันธกิจ ได้แก่ ทีมงานวิจัย Siriraj Center of Research Excellence for Diabetes and Obesity Research (SiCORE-DO), ทมี การเรียนการสอน (Certified diabetes educator Program Faculty of Medicine Siriraj Hospital) และการศึกษาหลังปริญญา, ทีมการให้บริการ (Siriraj Collaborative Framework for Diabetes Care; SCFD), สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควิชา อายุรศาสตร์ สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู ภาควชิ า สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา และภาควิชาอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ฝ่ายการพยาบาล ฝ่ายโภชนาการ และฝ่ายเภสัชกรรม เ พ่ื อ บู ร ณ า ก า ร ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ผู้ ป่ ว ย เ บ า ห ว า น แ บ บ education center โดยมีผ้ปู ่วยเป็นศูนยก์ ลาง นอกจากน้ีเรายังได้ริเร่ิมโครงการร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อนาความรู้และเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมา ประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบครบวงจร เช่น โครงการแพลตฟอร์มอาหารเพ่ือสุขภาพร่วมกับบริษัท เบทาโกร จากัด และ บริษัท มีมีล จากัด ในการพัฒนานวัตกรรมอาหารและการออกแบบการบริการสุขภาพที่ เขา้ ถงึ ง่าย สาหรบั ผู้ทม่ี ีความเส่ยี งทจ่ี ะเปน็ เบาหวาน และผู้เป็นเบาหวาน ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของตนเอง ไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน โดยมีหน่วย Valued Driven Care Unit สนับสนุน ซ่ึงคาดว่าจะมีผลิตภัณฑ์ ออกใหบ้ รกิ ารประชาชนภายในปี 2564 การทางานร่วมกันกบั ทงั หนว่ ยงานภายในและภายนอกนัน เพื่อเป็นการบูรณาการแผนกลยุทธ์ต่างๆ ของ ศนู ย์เบาหวานศิริราช นาไปสู่การวิจัยและนวัตกรรมต่างๆ เพ่ือเป้าหมายผู้เป็นเบาหวานสามารถดารงชีวิตได้ อยา่ งมีสุขภาวะและบรรลเุ ปา้ หมายทางการแพทย์ รศ.นพ.เชดิ ชยั นพมณจี ารสั เลิศ รองผูอ้ านวยการโรงพยาบาลศิริราช ผู้กากับ/บริหารศูนย์เบาหวาน 2

การพฒั นาตอ่ เนื่องของศูนยเ์ บาหวานศิรริ าช ในชว่ งเวลา 2561 – 2563 Progression of Siriraj Diabetes Center of Excellence during 2018 - 2020 จุดเปล่ียนท่ีสาคัญของศูนย์เบาหวานศิริราชเริ่ม 3. ดา้ นการบรกิ าร (Collaborative service) ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2557 คณะผู้บริหารด้านสนับสนุนการ เป็นการเชื่อมโยงการบริการของแต่ละปัญหาในผู้ป่วย พัฒนาระบบของงานวิจัยได้อนุมัติ โครงการประสานความ เบาหวานท่ีมารับบริการในศิริราช ให้ได้รับการรักษา ตาม ร่วมมอื เพือ่ การดูแลผูเ้ ปน็ เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราช แนวทางมาตรฐาน โดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง และ พยาบาล (Siriraj Collaborative Framework for ให้บริการ ดา้ นการจัดการตนเองเรื่องเบาหวาน (Diabetes Diabetes Care) เพื่อช่วยให้มีการประสานความร่วมมือของ self-management education and supports: แพทย์ผู้เชี่ยวชาญภาควิชาต่างๆ ฝ่ายการพยาบาล ฝ่าย DSMES) แบบ Continuing education เพ่ือนาไปสู่ โภชนาการ ฝ่ายเภสัชกรรมและบุคลากรจากหน่วยงานท่ี ผลลัพธ์ ใหผ้ ้ปู ่วยมีสุขภาวะ และผลการรักษาทเี่ หมาะสม เชี่ยวชาญด้านเบาหวานของโรงพยาบาลศิริราชขึ้น ทาให้มี draft service pathway อีกทั้งยังทาให้เกิดการรวมกลุ่มวิจัย ทมี Siriraj Collaborative Framework for Diabetes Care ด้านเบาหวานที่เป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ มีกิจกรรม Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting ปีละ คร้ัง และเร่ิมทาการลงทะเบียนผู้เป็นเบาหวานในศูนย์ เบาหวานศิริราช ทาให้มีข้อมูลผู้เป็นเบาหวานได้รับการคัด กรองภาวะแทรกซ้อนเรอ้ื รังจากเบาหวานครบถ้วนขึ้น และยัง เป็นฐานข้อมูลของผู้เป็นเบาหวานสาหรับการวิจัยในอนาคต และได้ออกแบบเป้าหมายการรวมกนั ท้งั 3 พนั ธกิจ ได้แก่ 1. ด้านการเรียนการสอน (Education) ประชุม 1st Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting เปน็ การจัดการเรียนการสอนแบบองค์รวม เก่ียวกับเบาหวาน หลกั สูตรประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล นอกเหนือจากที่ได้เรียนรู้จากแต่ละภาควิชาฯ ให้เกิดความ เข้าใจร่วมกันในบริบทของผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางนาไปสู่ (Certified Diabetes Educator Program, Faculty Of Medicine Siriraj Hospital) ความสามารถในการกากับ บริบาล ผู้เป็นเบาหวานและ ครอบครัว ให้สามารถจัดการตนเองเรื่องเบาหวานอย่างมี สุขภาวะ ได้แก่ นักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจาบ้าน นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องและ ผลิตบุคลากร ผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน (Certified Diabetes Educator) เป็นต้น 2. ด้านการวจิ ัย (Collaborative research) เป็นการบรหิ ารจัดการสนบั สนนุ ใหม้ ฐี านข้อมลู ผปู้ ว่ ยเบาหวาน และเช่ือมโยงทีมผู้เชี่ยวชาญด้านเบาหวานในศิริราช ก่อเกิด การวิจัยร่วมกันท้ังด้านบริการ คลินิก พรีคลินิก basic science education และอื่นๆที่เก่ียวข้องทุกด้าน เพ่ือ ประโยชนใ์ นการพฒั นาด้านเบาหวานตอ่ ไป 3

การพฒั นาตอ่ เน่อื งของศูนยเ์ บาหวานศิริราช ในชว่ งเวลา 2561 – 2563 Progression of SiDM during 2018 - 2020 ท้งั นพี้ ันธกิจทั้ง 3 ด้าน เมื่อดาเนินการ วิสัยทัศน์ : (ปพี .ศ.2560 - 2563) ไปสู่ผลลัพธ์ท่ีก่อให้เกิดประโยชน์แก่ ผู้ป่วยและครอบครัว การศึกษา “ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เป็นเบาหวานดารงชวี ิตอยา่ งมสี ุขภาวะ” เ พิ่ ม เ ติ ม ใ น ด้ า น ค ว า ม คุ้ ม ค่ า คุ้มประโยชน์ นาไปสู่การประยุกต์ใช้ พันธกิจ : (ปพี .ศ.2560-2563) ให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็นผู้นา ด้านเบาหวานในระดับประเทศ และ “บรู ณาการงานวิจัยการแพทย์คลินิกและวิทยาศาสตร์ AEC แ ล ะ ไ ด้ มี ก า ร ว า ง แ ผ น ด้ า น พ้ืนฐาน เผยแพร่ความรู้สู่บุคลากรด้านสาธารณสุข เช่ือมโยง นโยบายของศูนย์เบาหวานศิริราช แ ล ะ ส ร้ า ง ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ผู้ เ ป็ น เ บ า ห ว า น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ส ห เป็น Strategic plan – Balanced สาขาวิชาท่ีมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า สามารถนาไป scorecard ในการพัฒนาระยะ 5 - 10 ประยุกต์ใช้ได้จริงอย่างสอดคล้องกับบริบทของประเทศ ปีน้ี และได้ กาหนด พันธกิจ วิสัยทัศน์ รวมทั้ง ผลิตรูปแบบการให้ความรู้และบุคลากรผู้ให้ความรู้ โครงสรา้ ง ดังนี้ ด้านเบาหวาน (diabetes educator) ท่ีมีความรู้และทักษะ ในการส่งเสริมสนับสนุน (empower) ผู้เป็นเบาหวานให้ สามารถดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งมีสุขภาวะ” ทั้งนศี้ นู ย์เบาหวานศิริราช ได้เปิดสานักงานใหม่เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2561 ตั้งอยู่ที่ ตึกหอพัก พยาบาล 1 ชั้น 1 เป็นสานักงานแห่งแรกท่ีมีการบริการ และการสอน Diabetes self - management education and support (DSMES) แบบครบวงจร มีการแบ่งห้องอย่างเป็นสัดส่วนดังรายละเอียดใน หนังสือ ก้าวสู่ความเป็นเลิศศูนย์เบาหวานศิริราช พิมพ์พร้อมกับวันเปิดสานักงานศูนย์เบาหวาน และ คลนิ กิ ศูนย์เบาหวานเมือ่ วนั ที่ 14 พฤศจกิ ายน 2561 4

การพฒั นาต่อเนอื่ งของศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช ในชว่ งเวลา 2561 – 2563 Progression of SiDM during 2018 - 2020 ใน ด้ าน ก าร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ Siriraj Interdisciplinary Diabetes Lower Extremity Care Team (SIDiLECT) หนว่ ยงานภายในประเทศและนานาชาติ ได้แก่ กรมการ T1DDAR CN แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สานักงานหลักประกัน สุขภาพแหง่ ชาติ ในการพฒั นาการดแู ลผูเ้ ปน็ เบาหวานที่มี ปัญหาที่เท้า และรศ.พญ.กุลภา ศรีสวัสดิ์ หัวหน้าทีม Siriraj Interdisciplinary Diabetes Lower Extremity Care Team (SIDiLECT) ได้มีโอกาสทางานร่วมกับทีม ผู้เ ชี่ย วชาญ นานาชาติ จนได้ รับ เ ลือกเ ป็น Vice President องค์กร D-Foot International ต้ังแต่ปี 2019-2021 ในการพฒั นาบรบิ าลผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 โดยแพทย์ผู้เช่ียวชาญของคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาลไดร้ ว่ มเป็นคณะกรรมการของคณะทางานข้างต้น และเปน็ สานกั งานของการบรหิ ารจดั การเครือขา่ ยบริบาล เเละการลงทะเบียนเบาหวานชนิดท่ี 1 เเละเบาหวาน วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ประเทศไทย (T1DDAR CN) ได้มี การทางานต่อเน่อื ง และเมอื่ เดอื นมิถนุ ายน 2563 สมาคม โรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ ได้ดาเนินการขอทุนวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.) โดย ศ.คลินิก พญ. สภุ าวดี ลิขติ มาศกลุ รศ.พญ.จรี ันดา สนั ติประภพ เป็น 2 ใน 6 ของคณะผู้วจิ ัยหลกั ทมี SiCORE-DO นอกจากน้ียังมีการประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานในต่างประเทศในด้านการวิจัย เช่น ทีม SiCORE-DO มคี วามรว่ มมือดา้ นการวิจัยโมเลกุลกับสถาบัน การแพทย์ และสถาบันวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา, อิตาลี, อังกฤษ และญี่ปุ่น เป็นต้น ทีม DM Registry มีการร่วมประสานการทางานกับทีมวิจัย SWEET registry ของ International Societry of Pediatric and Adolescent Diabetes (ISPAD) สมาคม เบาหวานเด็กและวยั ร่นุ นานาชาติ ลงทะเบียนติดตามผู้ป่วย เบาหวานที่วินิจฉัยในเด็กและวัยรุ่นและติดตามต่อเนื่อง ขณะน้ีกาลังอยู่ในระหว่างการขออนุมัติคณะอนุกรรมการ วิจยั ศิรริ าช 5

การพัฒนาตอ่ เน่อื งของศูนย์เบาหวานศริ ิราช ในช่วงเวลา 2561 – 2563 Progression of SiDM during 2018 - 2020 การดาเนินการในบริการคลินิกศูน ย์ ดังนัน้ เมือ่ วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ได้มีการประชุม เบาหวาน และอ่ืนๆถึงปัจจุบัน ในปี 2563 ได้มีการ คณะกรรมการดาเนินงานศูนย์เบาหวานศิริราช ดาเนินการทั้งด้านศูนย์ความเลิศของโรงพยาบาล มี เพื่อเตรียมความพร้อม Program Disease Specific การดาเนินการด้าน TQA รวมท้ังการเตรียมความ Certification โรคเบาหวาน และมีความเห็นในเรื่อง พร้อมเพ่ือการรับรองมาตรฐานคลินิกเบาหวาน ท่ี ของ วิสัยทัศน์ พันธกิจ รวมท้ังโครงสร้างองค์กร สมาคมวิชาชีพ และองค์กรของรัฐ รวม 9 แห่ง ดัง ให้สอดคล้องและชัดเจนใหม่รวมทั้งการเช่ียมโยงกับ เอกสารหนังสือเกณฑ์การประเมินตนเองการรับรอง งานด้าน SiCORE-DO และทีมทางานของหน่วยงาน เฉพาะโรค/เฉพาะระบบ (Program and Disease ภาควชิ าท่ีเกีย่ วขอ้ ง ดงั น้ี Specific Certification) สาหรับระบบการดูแลรักษา ในคลินิกเบาหวานของสถานพยาบาล พ.ศ.2563 วสิ ัยทศั น์ (ใหม)่ ปี 2564 เปน็ ตน้ ไป และคู่มือแนวทางการพัฒนาเพื่อมาตรฐานคลินิก “ตน้ แบบการดแู ลเบาหวานของประเทศ เบาหวานของสานกั งานระบบประกันสขุ ภาพแห่งชาติ จึงทาให้มีการทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์ และ เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เปน็ เบาหวานดารงชีวิตอยา่ งมสี ขุ ภาวะ” โครงสร้าง ให้ชัดเจนมากข้ึน โดยท่ีโครงการประสาน ความร่วมมือคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พันธกจิ (ใหม)่ ปี 2564 เป็นตน้ ไป (Siriraj Collaborative Framework for Diabetes Care, SIFDC) ได้จบสิ้นสุดการรับทุนแล้ว หลังเปิด • บรู ณาการการดูแลรักษาผเู้ ป็นเบาหวานใน การให้บริการคลินิกศูนย์เบาหวาน DM registry ได้ ลักษณะสหสาขาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ รวมเข้ามาในงานคลินิก รวมท้ังบุคลากร งานการ มีความคุ้มคา่ และสอดคล้องกับบริบทของ พยาบาล ในภาควิชาตา่ งๆทจ่ี บหลักสูตร Si CDE ได้มี ประเทศไทย การส่งต่อความรู้ในหอผู้ป่วย และหน่วยบริการที่ เก่ียวข้องเป็น ส่วนการดาเนินงาน Siriraj Diabetes • เผยแพร่ความรู้สู่บุคลากรด้านสาธารณสุข Collaborative and Research Meeting Day ที่ ผลิตรูปแบบการให้ความรู้และบุคลากร บุคลากรทุกฝ่ายในศิริราชมาประชุมนาเสนอความ ผู้ให้ความรเู้ บาหวานเพอ่ื ส่งเสริมสนับสนุน คืบหน้าทั้งด้านการบริการ การวิจัย และ Diabetes ผู้เป็นเบาหวานให้สามารถดารงชีวิตได้ Education ในช่วงปลายปีเดือนพฤศจิกายน ปีละ1 อย่างมสี ขุ ภาวะ คร้งั ได้ส่งตอ่ ให้ ทมี SiCORE-DO เป็นผู้ดาเนินการใน การเตรียมและจัดการประชุมต่อเน่ืองมาจนในปีนี้ • บูรณาการงานวิจัยการแพทย์คลินิกและ จัดเป็นครั้งที่ 7 เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2563 วทิ ยาศาสตร์พืนฐาน ประชุม 7th Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting: Nurses Make the Difference 6

การพัฒนาตอ่ เนือ่ งของศูนยเ์ บาหวานศริ ิราช ในชว่ งเวลา 2561 – 2563 Progression of SiDM during 2018 - 2020 โครงสรา้ งองค์กร (ใหม)่ ปี 2564 เปน็ ต้นไป อีกด้านหน่ึงในปีนี้ การได้รับการรับรองเป็น IDF centre of excellence in diabetes care and IDF centre of excellence in education (2018 - Dec 2019) เนอื่ งจากสถานการณ์ Covid-19 ทาง IDF ได้ล่าช้าในการพิจารณาผลงาน และสุดท้ายเมื่อปลายปีคณะกรรมการสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ อนุมัติรับรองต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 2 โดยในครั้งน้ีคณะกรรมการสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติได้ปรับการให้การ รับรองโดยการยกเลกิ การรับรอง IDF centre of excellence in education เฉพาะดา้ น แต่เป็นการรับรอง รวมกนั เปน็ ฉบับเดยี ว เปน็ IDF centre of excellence in diabetes care (valid until December 2021) 7

Diabetes Self – Management Education and Support (DSMES) การให้ความรู้และสร้างทักษะการดูแล ตนเองสาหรับผู้เป็นเบาหวานและญาติ ศูนย์เบาหวานศิริราชให้บริการ การให้ความรู้และ สร้างทักษะการดูแลตนเองสาหรับผู้เป็นเบาหวานและ ญาติ Diabetes Self-Management Education and Support (DSMES) โดยผู้ให้ความรู้เบาหวานจากทีมสห สาขาวชิ าชพี ท่ีผ่านการอบรมในหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) โดยเน้นให้ความรู้ในการ ดูแลตนเองสาหรับผู้เป็นเบาหวานแบบองค์รวมตาม มาตรฐานสากล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานดารงชีวิต ......อยา่.ง.ม..สี .ขุ .ภ.า.ว.ะ.. .............. 8

การใหค้ วามรู้และสร้างทักษะการดูแลตนเองสาหรับผเู้ ป็นเบาหวานและญาติ Diabetes Self-Management Education and Support (DSMES) สถติ ิการให้บรกิ าร DSMES เดอื น ตุลาคม 2562 – เดือนกนั ยายน 2563 Years/ 2019 Dec. Jan. Feb. Mar. Apr. 2020 Jun. Jul. Aug. Sep. Total Month Oct. Nov. May. การให้ความรู้ 326 255 270 273 265 314 120 158 307 265 420 442 3,415 DSMES (ราย/เดอื น) 241 203 194 190 206 237 120 121 234 201 312 331 2,590 85 52 76 83 59 77 - 37 73 64 108 111 825 - ผู้เป็นเบาหวาน - ญาติ เน่ืองจากในช่วงเดือนเมษายน 2563 ท่ีผ่านมา แ ล ะ ไ ด้ ป รั บ เ ป ลี่ ย น รู ป แ บ บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ป็ น ก า ร กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเช้ือไวรัส ให้บริการทางโทรศัพท์ เพ่ือการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โคโรนา 2019 (Covid-19) เป็นโรคอันตรายตาม และมีประสิทธิภาพ และยังเป็นท่ีมาของโครงการ “การ พระราชบญั ญตั โิ รคติดตอ่ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ใน ให้คาปรึกษาเบาหวานทางโทรศัพท์ (DM Call Center การเฝา้ ระวงั ป้องกัน และควบคมุ โรคอันตราย ประกอบ Service)” อกี ดว้ ย กับข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี ซ่ึงกาหนดให้ส่วน ราชการและหน่วยงานของรัฐดาเนินการตามมาตรการ ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด และเพื่อเป็น การเตรียมพร้อมต่อสถานการณ์ ท่ีมีความรุนแรงขึ้น และสอดคล้องกับนโยบายการเว้นระยะห่างทางสังคม หรือ Social distancing จึงได้มีการงดให้บริการผู้ป่วย ในคลินิกในเดือนเมษายนทีผ่ ่านมา 9

โครงการ “การให้คาปรกึ ษาเบาหวานทางโทรศพั ท”์ (DM Call Center Service) ศนู ยเ์ บาหวานศริ ริ าช มีการใหบ้ ริการให้คาปรกึ ษา สื่อสารทางโทรศัพท์ สาหรับผู้ท่ีต้องการความ การจัดการดูแลตนเองด้านเบาหวาน Diabetes ช่วยเหลือในการดูแลเบาหวานเบื้องต้น ได้แก่ self-management education and support ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการดูแลเบาหวาน โภชนาการ (DSMES) จะเห็นไดว้ า่ จากการเก็บข้อมูลจานวนผู้มา ยารักษาเบาหวานทั้งยาเม็ดลดระดับน้าตาลและยา รับบริการตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม ปี ฉีดอินซูลิน รวมถึงการใช้อุปกรณ์การฉีดยา 2562 จานวนผู้รับบริการท่ีรับคาปรึกษา มีจานวน ภาวะแทรกซอ้ นเฉียบพลัน-เรือ้ รังและการแก้ไข การ มากถึง 2,187 คน และมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ ใน ตรวจเลือดที่ปลายนิ้วด้วยตนเองและการแปลผล ปี 2563 เพื่อให้การบริการมีความครอบคลุมและ หรือการติดต่อประสานงานเบื้องต้นกับหน่วยงาน เ ข้ า ถึ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ม า ก ยิ่ ง ข้ึ น ป ร ะ ก อ บ กั บ ต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับเบาหวาน เป็นต้น นอกจากน้ี สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค Covid-19 ท่ัว ยังเป็นการช่ว ยให้ทีมผู้ให้คว ามรู้เบาหว าน โลก เพือ่ ใหก้ ารดาเนินการสอดคล้องกบั นโยบายการ (Certified diabetes educator) ได้พัฒนาทักษะ เว้นระยะห่างทางสังคม หรือ Social distancing และประสบการณ์การให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ ได้มีการนาระบบสอ่ื สารมารว่ มใชใ้ นการบริการตา่ งๆ อกี ทางหนึ่งดว้ ย ทางศนู ยเ์ บาหวานศริ ิราชจึงเพมิ่ ชอ่ งทางการตดิ ต่อ ดาเนนิ การโดย: ทมี Certified diabetes educator (CDE) ทม่ี าปฏิบัติงานใหค้ วามรทู้ ่ีคลนิ กิ ศนู ยเ์ บาหวานศริ ิราช จานวน 4 คนตอ่ วัน 10

โครงการ “การใหค้ าปรึกษาเบาหวานทางโทรศัพท์” DM Call Center Service สถิติการให้บริการ DM Call Center Service เดือนเมษายน – กนั ยายน 2563 เดือน ตดิ ตาม DSMES ติดตามหลังเรียนรู้ โทรสอบถาม รวม (ราย/เดอื น) การฉดี อนิ ซูลิน (ไมม่ นี ดั หมาย) (ราย/เดือน) (ราย/เดอื น) 140 24 Apr. 130 10 - 34 May. 13 11 - 18 Jun. 12 22 - 23 Jul. 2 16 - 27 Aug 3 18 2 266 Sep. 8 14 5 รวม 168 91 7 …………............................................. ประเภทคาถาม/การใหค้ าปรึกษา (กรณโี ทรตดิ ตอ่ สอบถาม) • ความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับเบาหวาน • อาหารและโภชนาการเก่ยี วกบั เบาหวาน • ความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ยารบั ประทานเบาหวาน • ยาอ่ืนๆ โรคท่ัวไป • ปัญหาพฤตกิ รรมการดูแลเบาหวาน • คาถามเกีย่ วกับสขุ ภาพทั่วไป • ความเขา้ ใจยาฉดี อินซลู ิน • ยาอน่ื ๆและผลติ ภณั ฑล์ ดระดับนา้ ตาล • คาถามเก่ยี วกบั การนดั หมาย • คาถามเกี่ยวกบั ญาติ ผู้ดแู ล และครอบครวั 11

การตรวจคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นเบาหวานและ การลงทะเบียนผูเ้ ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry ศูนย์เบาหวานศิริราชให้บริการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนที่จอตา ตรวจคัดกรองปัญหาเท้า เบาหวานประจาปี และมีการบันทึกข้อมูล (DM registry) เพอื่ การติดตามต่อเนื่องของผู้ป่วยในระยะ ยาว นาไปสู่การสร้างฐานข้อมูล big data ในการ พัฒนาการบริบาลผู้เป็นเบาหวานต่อไป ซึ่งระบบ การคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นเบาหวานประกอบด้วย 1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนท่ีจอตา โดยใช้ fundus camera แบบไม่ขยายม่านตา โดยดาเนนิ การรว่ มกบั ภาควิชาจกั ษวุ ิทยา 2. การตรวจคัดกรองปญั หาเท้าเบาหวาน 3. การตรวจสมรรถภาพการไหลเวียนของหลอด เลอื ดแดงสว่ นปลาย (Ankle-brachial index test) 4. การประเมนิ ภาวะแทรกซ้อนเบาหวานที่ไต หากผลการตรวจจอตาและ/หรือเท้าปกติ ทางศูนย์ เบาหวานจะทาการนัดหมายให้ผู้ป่วยมาตรวจคัด กรองอีกคร้ังในปีถัดไป หากพบความผิดปกติจะส่ง ต่อแพทย์เฉพาะทาง สถติ จิ ำนวนผู้ทีม่ ำรบั บรกิ ำรในช่วงท่ผี ำ่ นมำ ตัง้ แต่ เดอื นตุลำคม 2562 ถงึ เดอื นกันยำยน 2563 Years/ 2019 2020 Month Oct. Nov. Dec. Jan. Feb. Mar. Apr. May. Jun. Jul. Aug. Sep. Total การตรวจคัดกรอง 343 258 246 369 392 309 - 79 330 332 441 383 3,482 ปัญหาเทา้ เบาหวาน การตรวจคดั กรอง 140 115 111 134 242 147 - 70 166 146 196 176 1,643 ภาวะแทรกซอ้ นทจี่ อตา การตรวจ ABI 22 15 10 25 29 10 - 1 4 7 24 23 170 *เน่ืองจากสถานการณ์ COVID-19 ศนู ยเ์ บาหวานงดใหบ้ รกิ ารตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นจากเบาหวาน 23/3/2563 – 17/5/2563 12

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวานและการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry นอกจากนี้ผู้ที่มารับบริการจะได้รับรายงานผล ศูนย์เบาหวานศิริราชร่วมกับ สาขาวิชาโรคจอ การตรวจสุขภาพประจาปีกลับไป ซึ่งผู้ป่วย ตา ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริ สามารถนาผลการตรวจฉบับนี้ไปใหแ้ พทย์ที่ทาการ ราชพยาบาล ไดจ้ ัดทาโครงการ “สัปดาห์คัดกรอง รักษาทราบว่าผลการตรวจสุขภาพในปีน้ีเป็น เบาหวานจอตา” ในวนั ที่ 24-28 กุมภาพันธ์ 2563 อย่างไรบ้าง โดยรายงานผลการตรวจสุขภาพ ณ ศูนย์เบาหวานศิริราช เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ประจาปีประกอบด้วย มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และทัศนคติท่ีดีใน การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน 1. ขอ้ มูลสขุ ภาพในวนั ท่ีมารับบริการ โดยจะได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานจอตา 2. ผลการประเมินภาวะแทรกซอ้ นเบาหวาน ได้รับการตรวจเท้า และได้รับความรู้เรื่อง โภชนาการสาหรับผู้เป็นเบาหวาน ทั้งนี้ ทาง ตา ไต เทา้ พรอ้ มคาแนะนา โ ค ร ง ก า ร ไ ด้ เ ชิ ญ ช ว น ผู้ เ ป็ น เ บ า ห ว า น เ ข้ า ร่ ว ม 3. ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ โครงการวิจัย “การศึกษาประสิทธิภาพ และ ความแม่นยาของการคัดกรองเบาหวานจอ ประสาทตาด้วยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อัตโนมัติ ในโรงพยาบาลศิริราช” เพื่อเป็นการ เ ก็ บ ข้ อ มู ล แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม แ ม่ น ย า ข อ ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์อัตโนมัติ โดยในปัจจุบัน ภาควิชาจักษุวิทยาได้พัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์ ภาพแบบอัตโนมัติเสร็จส้ินแล้วและได้นามาใช้เพ่ือ เป็นการคัดกรองภาวะเบาหวานจอตาเบื้องต้น และทาการส่งต่ออยา่ งเหมาะสมต่อไป ปัจจุบันมีการลงทะเบียนผู้เป็นเบาหวานถึง ปัจจุบันมีจานวน 2,748 ราย โดยข้อมูลท่ีเกิดขึ้น จากการลงทะเบียนสามารถนามาช่วยในการ พฒั นาระบบบริการผ้เู ปน็ เบาหวาน และเป็นข้อมูล สาหรับต่อยอดงานวิจัยในอนาคต ทั้งด้าน Basic science, Genetic, Proteomic และด้าน Clinical นาไปสู่การพัฒนาดูแลรักษาผู้ป่วย เบาหวานใหม้ ีคุณภาพชวี ติ ที่ดขี ึ้น 13

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวานและการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry ข้อมูลการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวานครั้งที่ 1 ในแต่ละปี Year 2015 2016 2017 2018 2019 (n=712) (n=350) (n=581) (n=540) (n=565) Clinic, n(%) General Practitioner 709 (99.6) 252 (72) 241 (41.5) 58 (10.7) 27 (4.8) Internal Medicine 2 (0.3) 28 (8) 160 (27.5) 364 (67.4) 385 (68.1) Continuing Care Clinic - 67 (19.1) 156 (26.9) 53 (9.8) 26 (4.6) Diabetes Clinic - 18 (3.3) 31 (5.4) Other - - 5 (0.9) 46 (8.5) 96 (17.1) 66±10 - - Age (years), Mean±SD 63±10.5 59±12 57±14 Female, n (%) 481 (67.6) 225 (64.3) 62±12 301 (55.7) 355 (63) BMI (kg/m2), Mean±SD 26±4.4 26.2±4.2 349 (60.1) 26.4±4.7 27.3±5.0 BMI, n (%) 26.6±4.7 <23 (kg/m2) 184 (25.8) 82 (23.4) 123 (21.2) 112 (20.7) 98 (17.3) 23-24.9 (kg/m2) 161 (22.6) 69 (19.7) 98 (16.9) 109 (20.2) 101 (17.9) 25-29.9 (kg/m2) 238 (33.4) 137 (39.1) 228 (39.2) 195 (36.1) 212 (37.5) ≥ 30 (kg/m2) 123 (17.3) 61 (17.4) 113 (19.4) 95 (17.6) 144 (25.5) Current smoking, n (%) 32 (4.5) 20 (5.7) 31 (5.3) Comorbidity, n (%) 38 (7) 34 (6) Hypertension Dyslipidemia 612 (86) 281 (80.3) 472 (81.8) 390 (72.2) 403 (71.3) Coronary artery disease 654 (91.9) 323 (92.3) 522 (89.8) 462 (85.6) 452 (80.0) Cerebrovascular disease 19 (2.7) 12 (3.4) 31 (5.3) Duration of DM (years), IQR (Q1,Q3) 23 (3.2) 46 (7.9) 38 (7) 45 (8) Type 2 diabetes, n (%) 8.5 (4.4,13.5) 6 (1.7) 6.3 (2.2,13.3) 42 (7.8) 19 (3.3) Type 1 diabetes, n (%) 712 (100%) 7.3 (3.2,12.2) 575 (99) 5.9 (0.8,12.3) 5.7 (1,11.7) 349 (99.7) 532 (98.5) 536 (94.9) SBP (mmHg), Mean±SD - 1 (0.2) 5 (0.9) 22 (4.9) DBP (mmHg), Mean±SD 133±14 - 133±15 133±16 129±15 Fasting plasma glucose (mg/dL), 77±10 133±15 77±11 77±11 72±12 142±42 77±10 142±42 155±62 154±63 Mean±SD 142±42 HbA1c (%), Mean±SD Triglyceride (mg/dL), IQR (Q1,Q3) 7.2±1.3 7.4±1.8 7.6±1.7 8.1±2.2 7.9±2.1 HDL (mg/dL), Mean±SD 117 (85,160) 126 (90,172) 131 (95,179) 126 (93,180) 131 (100,177) LDL (mg/dL), Mean±SD eGFR (ml/min/m2), Mean±SD 55±13 54±16 52±13 50±14 51±14 eGFR, (ml/min/m2), n (%) 100±30 100±34 96±36 97±40 92±37 75±21 78±21 77±24 82±24 86±26 30-59 29-15 157 (22.1) 57 (16.3) 22 (14.1) 73 (13.5) 63 (11.2) <15 4 (0.6) 6 (1.7) 3 (1.9) 12 (2.2) 9 (1.6) 2 (0.3) 5 (0.9) - - - 14

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวานและการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry ขอ้ มูลการลงทะเบียนผเู้ ป็นเบาหวานครง้ั ที่ 1 ในแต่ละปี (ต่อ) Year 2015 2016 2017 2018 2019 (n=712) (n=350) (n=581) (n=540) (n=565) Metabolic control achievement BP < 140/90 mmHg, n (%) 455 (63.9) 225 (64.3) 372 (64.4) 339 (62.8) 421 (74.5) HbA1c, n (%) 195 (27.4) 93 (26.6) 141 (24.3) 94 (17.4) 117 (20.7) <6.5 % 353 (49.6) 166 (47.5) 242 (41.7) 206 (38.1) 233 (41.2) <7 % 311 (43.7) 179 (51.1) 337 (58) 307 (56.9) 345 (61.1) LDL < 100 mg/dL, n (%) Glucose lowering therapy, n (%) 585 (82.2) 295 (84.3) 471 (81.1) 428 (79.3) 461 (81.6) Metformin 486 (68.3) 205 (58.6) 311 (53.5) 275 (50.9) 267 (47.3) Sulfonylurea 136 (19.1) 66 (18.9) 105 (18.1) 107 (19.8) 107 (18.9) Thiazolidinedione 12 (3.4) 39 (6.7) 54 (10) 47 (8.3) DPP4 inhibitor 8 (1.1) 15 (4.3) 21 (3.6) 19 (3.5) 12 (2.1) Alpha-glucosidase inhibitor 39 (5.5) 26 (7.4) 85 (14.6) 120 (22.2) 135 (23.9) Insulin 22 (3.1) No. of oral antidiabetic drug, n (%) 208 (36.8) 1 159 (22.3) 82 (23.4) 162 (27.9) 211 (39.1) 194 (34.3) 2 215 (30.2) 89 (25.4) 143 (24.6) 172 (31.9) 99 (17.5) ≥3 98 (13.7) 42 (12) 61 (10.6) 106 (19.6) ACEI/ARB therapy in patient with HT, n (%) 339 (55.4) 186 (66.2) 319 (67.6) 267 (49.4) 288 (71.4) Statin therapy in patient with DLP, n (%) 555 (84.9) 281 (87) 456 (87.4) 407 (75.4) 402 (88.9) Chronic diabetes complication No. of DR screening within 1 year, n (%) 583 (81.9) 302 (86.3) 495 (85.2) 490 (90.7) 503 (89.0) DR screening, n (%) 67 (11.5) 38 (12.6) 76 (15.4) 68 (12.6) 60 (11.9) Mild to moderate NPDR 15 (2.6) 7 (2.3) 25 (5) 33 (6.2) 14 (2.7) Severe NPDR/PDR 84 (11.8) 158 (45.1) 403 (69.4) 418 (77.4) 447 (79.1) No. of microalbuminuria screening within 1 year, n(%) 17 (20.2) 36 (22.8) 102 (25.3) 93 (17.2) 119 (26.6) Microalbuminuria screening, n (%) 4 (4.8) 3 (1.9) 35 (8.7) 28 (5.2) 28 (6.3) MAU/cr 30-300 712 (100) 350 (100) 581 (100) 540 (100) 565 (100) MAU/Cr > 300 No. of Foot examination within 1 year, n (%) Abnormal monofilament testing, n (%) 43 (6) 11 (3.1) 38 (6.5) 44 (8.1) 34 (6) Amputation, n (%) 2 (0.3) 3 (0.9) 4 (0.7) 6 (1.1) 3 (0.5) 15

โครงการตรวจติดตามระดับนา้ ตาลในเลอื ดหลังคลอดและเสรมิ สรา้ ง ทกั ษะการดแู ลตนเองสาหรบั ผู้เป็นเบาหวานขณะต้ังครรภ์ GDM Holistic Care (Postpartum Phase) โครงการตรวจติดตามระดับนาตาลในเลือดหลัง 2. กิจกรรมการเสริมสร้างทักษะการดูแลตนเอง คลอดและเสริมสร้างทักษะการดูแลตนเองสาหรับผู้ เพื่อลดความเส่ียงในการเกิดโรคเบาหวาน เป็นเบาหวานขณะตังครรภ์ (GDM holistic care, (Group education and counseling) (Postpartum phase) เป็นโครงการท่ีจัดข้ึนโดย ความรว่ มมือของศูนย์เบาหวานศิริราชและภาควิชาสูติ สตรีต้งั ครรภท์ ่ีไดร้ บั การวนิ จิ ฉัยเป็น GDM (ทั้งกลุ่ม ศาสตร์-นรีเวชวิทยา โรงพยาบาลศิริราช เพื่อเป็นการ GDMA1 และ GDMA2) จะได้รับการตรวจ 75 gram ส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานขณะต้ังครรภ์ซ่ึงถือเป็นกลุ่ม oral glucose tolerance test ที่หนว่ ยฝากครรภ์ ตึก ประชากรทมี่ ีความเสีย่ งสูงในการเกิดโรคเบาหวาน เกิด ผู้ป่วยนอกช้ัน 3 หลังคลอดบุตร 6-12 สัปดาห์ ความตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของการตรวจ ภายหลงั ตรวจเลือด ผู้ป่วยจะมารอฟังผลเลือดและเข้า ติดตามระดับน้าตาลในเลือดหลังคลอดรวมถึงเห็น ร่วมกิจกรรมท่ีศูนย์เบาหวานโดยผู้ป่วยจะได้รับความรู้ ความสาคัญของการดูแลตนเองเพ่ือลดความเสี่ยงต่อ และการเสริมสร้างทักษะการดูแลตนเองโดยทีมผู้ให้ การเกดิ โรคเบาหวานในอนาคต ความรู้เบาหวานแบบรายกลุ่ม ซึ่งจะจัดขึ้นทุกวันศุกร์ ช่วงเวลา 10.45 - 12.00 น. บริเวณห้อง Learning กิจกรรมในโครงการที่ศูนย์เบาหวานศิริราชได้ room ศนู ยเ์ บาหวานศิริราช โดยได้เริ่มดาเนินกิจกรรม รว่ มดาเนนิ การมที งั สิน 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ นี้เม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม 2563 ทั้งนี้ ผู้ป่วยจะได้รับการ ตรวจติดตามอย่างต่อเน่ืองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และ 1. กิจกรรมแนะนาความสาคัญและวิธีการตรวจ ห า ก ต ร ว จ พ บ ว่ า เ ข้ า เ ก ณ ฑ์ ก า ร วิ นิ จ ฉั ย เ บ า ห ว า น ติดตามระดับนาตาลหลังคลอด กิจกรรมนี้ จะได้รบั การสง่ ตอ่ พบแพทยต์ ามความเหมาะสม ผู้เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ท่ีคลอดบุตร ณ โรงพยาบาลศิริราช ทุกราย จะได้รับคาแนะนา จานวนผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมที่ 6-12 สปั ดาหห์ ลังคลอด เกี่ยวกับความสาคัญและวิธีการตรวจติดตามระดับ นา้ ตาลหลังคลอดจากทีมผู้ให้ความรู้เบาหวานก่อน Month Oct. Nov. Dec. Total จาหนา่ ยออกจากโรงพยาบาล โดยกิจกรรมนี้จะจัด ข้ึนในวันจันทร์ถึงศุกร์ช่วงเวลา 10.00 น. ผนู้ ดั หมายเข้ารว่ ม 24 30 48 102 และ 14.00 น. บรเิ วณหอ้ ง Learning room ศนู ย์ กิจกรรม (ราย) เบาหวานศิริราช ได้เร่ิมดาเนินกิจกรรมนี้ขึ้นต้ังแต่ วันท่ี 1 กนั ยายน 2563 ผทู้ ่ีมาตามนดั (ราย) 19 19 23 61 16

การให้บริการเทคโนโลยเี บาหวาน Diabetes Technology Service ศูนย์เบาหวานได้เปิดให้บริการทางเทคโนโลยี ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ท ค โ น โ ล ยี เ บ า ห ว า น ณ เบาหวานต้งั แต่เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2561 และได้รับ ศูนย์เบาหวานศิริราช ใหบ้ ริการการตรวจติดตามระดับ การสนับสนุนจากผู้ปกครองของผู้เป็นเบาหวาน ที่มี น้าตาลตอ่ เน่อื ง (Continuous glucose monitoring, ความประสงค์บริจาคและจดั ต้ังกองทุนสนับสนุนการ cgm) ทั้งแบบชนิดแสดงระดับน้าตาล (Real-time ใช้เทคโนโลยีเบาหวานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ cgm) และไมแ่ สดงระดบั น้าตาล (Professional cgm) เป็นเบาหวานให้ดีย่ิงขึ้น จึงเป็นท่ีมาของกองทุน โดยจะให้บริการในวันจันทร์และวันพุธ เวลา 8.30 น. ศิริราชมูลนิธิ กองทุนเพ่ือสนับสนุนด้านเทคโนโลยี ถึง 12.00 น. โดยผู้มารับบริการจะได้รับการทบทวน กั บ เ บ า ห วา น ( D003998) ซึ่ ง จั ด ตั้ ง เม่ื อ 1 3 ความรจู้ ากผู้ให้ความรู้ด้านเบาหวานในหัวข้อท่ีจาเป็น พฤศจิกายน 2562 การเข้ารับบริการ DM ได้แก่ carbohydrate counting ระดับน้าตาลที่ Technology Service จะเป็นการมอบและส่งต่อ เหมาะสม การแก้ไขภาวะน้าตาลต่า การ calibrate โอกาสให้แก่ผู้เป็นเบาหวานอื่นๆต่อไป ให้มีคุณภาพ เคร่ืองตรวจวัดน้าตาล และการปฏิบัติตัวระหว่าง ชีวิตที่ดีร่วมกัน โดยค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นภายหลังหัก ตดิ เครื่อง ค่าบริการโรงพยาบาลจะบริจาคกลับสู่ กองทุนเพื่อ สนับสนนุ ดา้ นเทคโนโลยีกับเบาหวาน สถิตผิ มู้ ารบั บริการติดเคร่ืองมือระดบั น้าตาลตอ่ เน่ือง (Continuous glucose monitoring ) ปี 2561-2563 ระยะเวลา ชนิดไม่แสดงระดับนาตาล ชนดิ แสดงระดับนาตาล รวม (Professional CGM) (Real time CGM) Feb - Dec 2018 10 Jan - Dec 2019 (ราย) (ราย) 17 Jan - Dec 2020 20 10 - 47 Total 6 11 3 17 19 28 17

โครงการสนบั สนุนการตรวจระดบั น้าตาลในเลือดด้วยตวั เอง Self-Monitoring of Blood Glucose Support Project ศนู ย์เบาหวานศิริราช จัดทา “โครงการสนับสนุนการตรวจระดับนาตาลในเลือดด้วยตัวเอง” เพือ่ สง่ เสริมใหผ้ ู้เปน็ เบาหวานมกี ารดูแลตนเองทดี่ ีขนึ้ ลดความเสยี่ งในการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน และเรื้อรัง โดยโครงการฯ จะสนับสนุนแผ่นตรวจน้าตาลแก่ผู้ป่วยท่ีมีปัญหาค่าใช้จ่าย แต่มีความ จาเป็นต้องตรวจติดตามระดับน้าตาลด้วยตนเอง โดยผู้ป่วยจะได้รับ Diabetes self-management education ร่วมด้วย ท้ังน้ีงบประมาณที่ใช้ในการดาเนินการมาจากกองทุนในศิริราชมูลนิธิ คือ กองทุน สนับสนุนการดูแลและการเรียนการสอนด้านเบาหวาน (D004045) โดยกลุ่มเป้าหมายผู้เป็นเบาหวาน ผใู้ หญ่ หรือผเู้ ปน็ เบาหวานขณะตง้ั ครรภท์ มี่ ีความต้งั ใจในการดแู ลตนเองแต่มปี ัญหาดา้ นเศรษฐกจิ โครงการได้เริ่มดาเนนิ การต้ังแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2563 มีผู้เข้าร่วม “โครงการสนับสนุนการ ตรวจระดบั นา้ ตาลในเลือดดว้ ยตวั เอง” มาถงึ ปัจจุบนั รวมท้งั หมดจานวน 21 ราย มีการยืม glucometer 19 เครอื่ ง แผน่ เจาะนา้ ตาล 2,947 แผ่น รายละเอียดจานวนเครื่องตรวจน้าตาลและแผ่นตรวจนา้ ตาลที่ใหก้ ารสนับสนุน เดือน เครอื่ ง glucometer แผน่ เจาะนาตาล (เครอ่ื ง) (แผ่น) Jul. 4 325 Aug. 4 495 Sep. 6 441 Oct. 3 336 Nov. 2 805 Dec. - 545 Total 19 2,947 18

“ค่ายเบาหวานสาหรบั ผเู้ ปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 และกิจกรรมเพอื่ นช่วยเพอื่ นดูแลเบาหวาน” Diabetes Camp for People with Type 2 Diabetes and Self-help Group Support ศูนย์เบาหวานศิริราช ร่วมกับสาขาวิชาต่อมไร้ท่อ และเมตะบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และการพยาบาลป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาล ศิริราชได้จัดการอบรมค่ายเบาหวานชนิดท่ี 2 สาหรับผู้ เป็นเบาหวานอย่างต่อเน่ือง โดยรูปแบบกิจกรรมมีทั้ง ก า ร บ ร ร ย า ย ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ก า ร ฝึ ก เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ทมี วทิ ยากรประกอบไปดว้ ย แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นัก โภชนาการ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า และนักสุขศึกษา ภายหลังจากเขา้ รว่ มการอบรมความรู้ค่ายเบาหวาน ชนิดที่ 2 ได้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือนดูแล เบาหวาน (Self help group) เพื่อเป็นการดูแลอย่าง ต่อเนื่อง โดยทีมวิทยากรสหสาขาวิชาชีพ ที่ผ่าน หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (CDE) เพ่ือให้มีการนา ความรู้ท่ีได้ไปปฏิบัติและกลับมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ประสบการณ์กับเพ่ือนท่ีได้รับการอบรม เกิดแรงจูงใจ และกาลังใจในการดูแลตนเองสามารถปรับเปล่ียน พฤติกรรมเพ่ือควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ใน เกณฑ์ที่เหมาะสมหรือปกติ กระตุ้นให้มีการดูแลควบคุม อย่างสม่าเสมอ ตลอดจนการเรียนรู้ทบทวนการจัดการ เบาหวานด้วยตนเอง ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้มีสุขภาวะ ชะลอการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ต่างๆ ทจี่ ะเกิดขึ้นตามมาภายหลงั ระยะเวลาดาเนินการ  ค่ายเบาหวานชนดิ ท่ี 2: เรมิ่ ดาเนนิ การตัง้ แต่วันที่ 20 มกราคม – 23 พฤศจกิ ายน 2563 (รวม 6 ครั้ง/ปี)  กจิ กรรมเพ่ือนชว่ ยเพื่อนดแู ลเบาหวาน: เรมิ่ ดาเนินการต้งั แตว่ ันที่ 10 กุมภาพันธ์ – 14 ธันวาคม 2563 (รวม 6 คร้ัง/ปี) 19

คา่ ยเบาหวานสาหรับผเู้ ปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 และกิจกรรมเพื่อนช่วยเพ่ือนดูแลเบาหวาน Diabetes Camp for People with Type 2 Diabetes and Self-help Group Support รายละเอยี ดการจัดอบรมในปี 2563  ค่ายเบาหวานชนดิ ที่ 2 มกี ารจัดอบรมทงั้ หมด 3 ครัง้ ดังน้ี 12 ราย • ครั้งท่ี 1 วันที่ 20 มกราคม 2563 มผี ู้เขา้ ร่วมอบรมจานวน 8 ราย • ครั้งท่ี 2 วนั ที่ 21 กันยายน 2563 มีผ้เู ขา้ รว่ มอบรมจานวน 2 ราย • ครั้งที่ 3 วนั ท่ี 23 พฤศจิกายน 2563 มผี ู้เขา้ รว่ มอบรมจานวน  กจิ กรรมเพือ่ นช่วยเพอ่ื นดแู ลเบาหวาน (Self help group) จัดอบรมท้ังหมด 1 คร้งั ดงั น้ี • ครงั้ ที่ 1 วนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563 มผี ้เู ขา้ รว่ มอบรมจานวน 15 ราย หลังจากน้นั ไดง้ ดการจดั กจิ กรรม เน่อื งจากการระบาดของโรคโควดิ -19 จนถึงปจั จบุ นั ปญั หาและอปุ สรรค • กล่มุ วัยทางานทเ่ี ป็นเบาหวานมักจะไมส่ ะดวกเรอื่ งมาอบรมในเวลาราชการ ไม่สามารถลางานได้ หรอื ถ้าลางานจะไม่ไดค้ า่ จา้ ง ทาให้เสยี รายได้ จงึ ไม่สะดวกทจ่ี ะเข้าร่วมอบรม • กลุ่มผู้สูงอายทุ ่เี กษยี ณอายรุ าชการแล้ว บางท่านไม่สะดวกในการเดินทาง ไม่สามารถเดินทางมาเอง ได้ต้องมญี าติพามาสง่ หรอื ไมส่ ะดวกเรื่องค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทาง • ในช่วงทีเ่ กิดการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ศูนยเ์ บาหวานไดม้ กี ารใชม้ าตรการในการเว้นระยะหา่ ง ทางสังคม (Social Distancing) ทาให้ต้องเลื่อนกิจกรรมในช่วงที่มีการระบาดอย่างหนัก ร่วมกับ ผ้ปู ว่ ยมคี วามกงั วลในการเดินทางมาโรงพยาบาลทาใหจ้ านวนผเู้ ขา้ อบรมลดลง 20

โครงการให้ความรแู้ ละพฒั นาทักษะการดแู ลตนเอง เพือ่ ปอ้ งกนั โรคเบาหวานสาหรบั กลุ่มเสยี่ ง รนุ่ 8 Diabetes Prevention Education and Skill Developing Program for Self-care in People at Risk VIII ระยะเวลาการดาเนนิ การ 17 สิงหาคม 2563 – 21 มิถุนายน 2564 โครงการให้ความรู้และพัฒนาทักษะการดูแลตนเองเพื่อ ป้องกันโรคเบาหวานสาหรับกลุ่มเสี่ยง จัดกิจกรรมการบรรยาย ความรู้ โดยอาจารย์แพทย์ และแพทย์ประจาบ้านอายุรศาสตร์ ชั้นปีท่ี 1 ฝึกปฏิบัติการด้านโภชนาการโดยนักโภชนาการ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการออกกาลงั กายนาโดยนักเวชศาสตร์การกีฬา และ การทากิจกรรมกลุ่ม Self-help group โดยทีมพยาบาล ทีม นักสุขศึกษาทาหน้าท่ีประสานงานและช่วยการดาเนินการจัด กิจกรรม ทีมผู้ช่วยพยาบาล จะช่วยการลงทะเบียน โทรศัพท์ ติดตามผูเ้ ข้าอบรม และวัดประเมินร่างกายเบ้ืองต้น กิจกรรมนี้ มุ่งเน้นให้เห็นถึงความสาคัญในการดูแลตนเอง โดยการให้ คาแนะนาในการปฏิบัติตัว การรับประทานอาหาร การออก กาลังกาย และการควบคุมน้าหนักตัวอย่างเหมาะสม รวมท้ังมี ก า ร ติ ด ต า ม อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร เ กิ ด โรคเบาหวาน และปัญหาสุขภาพที่เกิดจากโรคอ้วน ทั้งน้ีในปี 2563 ไดม้ ีการนาสือ่ ออนไลน์ มาใชใ้ นการจัดอบรมมากขน้ึ เพอื่ ลดความเสยี่ งการระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การดาเนนิ การ สรุปจานวนผ้เู ขา้ รว่ มอบรมไดด้ งั นี คน เนื่องด้วยเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา กล่มุ A = A 1/1 จานวน 8 คน 2019 ทาให้การจัดกิจกรรมต้องปฏิบัติตามมาตรการเว้น A 1/2 จานวน 11 คน ระยะหา่ ง (Social Distancing) โดยแบ่งเปน็ 6 กลุม่ คือ กลมุ่ A คน กล่มุ B และ กลุม่ C แตล่ ะกลุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย จานวนผู้ กลมุ่ B = B 1/1 จานวน 4 เข้าอบรมลดลงเหลอื 10-12 คนตอ่ กลมุ่ จากเดิมกลุ่มละ 20-30 B 1/2 จานวน 12 คน คน ซึง่ แต่ละกลุ่มจะต้องมาร่วมทากิจกรรม ท้ังหมด 6 คร้ัง จะ คน มีแพทย์ประจาบ้านปีท่ี 1 มาฝึกประสบการณ์และร่วมทา กลมุ่ C = C 1/1 จานวน 14 กิจกรรมให้ความรู้ ท้ังหมด 51 คน และเพื่อลดระยะเวลาใน C 1/2 จานวน 7 การรวมกล่มุ จะใหผ้ ู้เขา้ รว่ มอบรมดคู ลิปเน้อื หาความรมู้ าก่อนวัน จดั กจิ กรรม และในวันอบรมทมี สหสาขาวชิ าชีพจะพดู คยุ ซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และใช้เวลาทากิจกรรมเพียงครึ่งวันเช้า เทา่ น้นั 21

กจิ กรรมวันเบาหวานโลก World Diabetes Day วนั เบาหวานโลก ประจาปี 2562 World Diabetes Day 2019 หัวข้อการรณรงค์ในวันเบาหวานโลกปี 2562 คือ “เบาหวาน กับครอบครัว (The family and diabetes :Protect your family)” เน่ืองจากโรคเบาหวานมีความเกี่ยวข้องกับครอบครัวอย่าง มาก สมาชิกในครอบครัวตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั โรคเบาหวาน ซึ่งจะเป็นส่วนสาคัญในการช่วยให้สมาชิกในครอบครัวที่เป็นเบาหวาน ดแู ลตนเองได้ดขี ้ึน ท้ังนี้ สมาชิกในครอบครัวถือเปน็ ผูท้ ่มี ีความเสีย่ งทจี่ ะ เป็นโรคเบาหวานมากขึ้นเช่นกัน การปรับเปล่ียนวิถีชีวิตของคนใน ครอบครัว ทาให้เกดิ ผลดที ง้ั ตวั ผู้ปว่ ยและสมาชิกคนอนื่ ในครอบครวั รปู แบบกิจกรรม ศูนย์เบาหวานศิริราชจัด “กิจกรรมวันเบาหวานโลก ปี 2562” ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล รปู แบบการจดั กจิ กรรมประกอบด้วย • การประเมินสุขภาพร่างกายเบ้ืองต้น การตรวจเลือดท่ีปลายนิ้ว และการแปลผลสุขภาพ • เสวนาบนเวทเี รอื่ ง “ปอ้ งกัน เข้าใจ คนยุคใหม่ ไกลเบาหวาน” • การแข่งขันตอบปญั หาดา้ นเบาหวาน • การออกบูธจากหน่วยงาน/ภาควิชาต่างๆ ท้ังภายใน และภายนอก คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล • นิทรรศการความรู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งในคณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล จานวนผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมวันเบาหวานโลก ประจาปี 2562 ระหวา่ งวนั ท่ี 13-15 พฤศจกิ ายน 2562 • วันท่ี 13 พฤศจกิ ายน 2562 จานวน 444 ราย • วนั ท่ี 14 พฤศจกิ ายน 2562 จานวน 353 ราย • วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 จานวน 229 ราย รวมทงั สนิ (3 วนั ) จานวน 1,026 ราย 22

กจิ กรรมวันเบาหวานโลก World Diabetes Day วันเบาหวานโลก ประจาปี 2563 World Diabetes Day 2020 หัวข้อการรณรงค์วันเบาหวานโลก ปี 2563 คือ“พยาบาลกับ เบาหวาน (The Nurse and Diabetes : nurses make the difference)” ในปนี ้ีเนน้ เร่อื ง บทบาทหน้าที่ของพยาบาล โดยมุ่งเน้น เพม่ิ บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้เป็นเบาหวาน เน่ืองจากพยาบาล มีบทบาทสาคัญในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การให้ความรู้ในการ ดูแลตนเอง การส่งเสริม สนับสนุนการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวาน เปน็ ต้น รูปแบบกจิ กรรม ศูนย์เบาหวานศิริราชจัด “กิจกรรมวันเบาหวานโลก ปี 2563” ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล รูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นไปตามนโยบายเว้น ระยะห่าง (Social distancing) โดยมกี จิ กรรม ดงั น้ี • บันทึกเทปโทรทัศน์พิธีเปิดวันเบาหวานโลก โดยท่านคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ออกอากาศ วันที่ 11 พฤศจกิ ายน 2563 • การเสวนาภาคประชาชน โดยการถา่ ยทอดสดผ่านระบบออนไลน์ เรอ่ื ง “ทาเบาหวาน ใหเ้ บาใจ ไปกับ CDE” วันท่ี 12 พฤศจิกายน 2563 • จัดบูธนิทรรศการความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน จากภาควิชาและ หนว่ ยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระหว่างวันท่ี 11-13 พฤศจิกายน 2563 • ร่วมเป็นวิทยากรบรรยาย การประชุมวิชาการฝ่ายการพยาบาล เรื่อง บทบาทของทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้เป็นเบาหวาน วนั ที่ 16 พฤศจกิ ายน 2563 จานวนผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมวันเบาหวานโลก ประจาปี 2563 ในปีนี้ ไมไ่ ดม้ กี ารบนั ทึกจานวนผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมทงั้ หมด ท้งั น้ี มผี ู้ส่งแบบประเมินความพงึ พอใจ งานวนั เบาหวานโลก ประจาปี 2563 จานวน 58 ราย 23

แผนการดาเนนิ งานโครงการ คา่ ยกฬี าผูเ้ ปน็ เบาหวานศิรริ าช (Sport Camp) (เลอ่ื นกจิ กรรมเน่ืองจากการระบาดของไวรสั โคโรนา 2019) หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ: ศูนย์เบาหวานศิริราช การดาเนนิ การ รว่ มกับ สาขาต่อมไร้ทอ่ และเมตาบอลสิ มภาควชิ ากุมาร 1) ทาหนงั สือเอกสารขออนุมัติการจัดกิจกรรม และทา เวชศาสตร์ สาขาต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควิชา เรือ่ งขอใช้สถานท่ี อายุรศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และ 2) ประชุมเตรียมงานทุกเดือน ตั้งแต่เดือนสิงหาคม กายภาพบาบัด และฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาล 2562 ถึงเดือนมีนาคม 2563 และสารวจสถานท่ีจัด ศิรริ าช ค่าย 2 คร้ัง เพ่อื เป็นการเตรยี มความพรอ้ ม 3) ดาเนินการติดต่อประสานงานกับวิทยากรท้ังภายใน กาหนดการ (เดิม): วันที่ 22-26 เมษายน พ.ศ. 2563 และภายนอกคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 4) รับสมัครผู้เข้าค่ายกีฬาสาหรับผู้เป็นเบาหวาน จน สถานที่จัดกิจกรรม (เดิม): โรงแรมศาลายาพาวิล ครบตามจานวนที่กาหนดไว้ เลียน อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม การออกกาลังกายเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ เน่อื งดว้ ยเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส บุคคลมีสุขภาพแข็งแรง ทาให้เด็กเจริญเติบโตสมวัย โคโรนา 2019 (Covid-19) เพื่อลดความเส่ียงการ แต่ในผู้เป็นเบาหวานชนิดท่ี 1 การออกกาลังกายอาจ ระบาดของโรค ท่ีประชุมคณะกรรมการศูนย์ เพิ่มความเส่ยี งตอ่ การเกดิ ภาวะนา้ ตาลในเลอื ดต่า หรือ เบาหวานศิริราช เม่ือวันที่ 20 มีนาคม 2563 มีมติ การเกดิ ภาวะน้าตาลสูงฉุกเฉินในผู้ป่วยที่ควบคุมระดับ เล่อื นการจดั กิจกรรมจนกว่าสถานการณ์จะดขี ้นึ น้าตาลไม่ดี ผู้เป็นเบาหวานจึงจาเป็นต้องมีความรู้ใน การดแู ลตนเองทั้งก่อน ระหว่าง และภายหลังการออก กาลังกาย ในปี 2563 ศูนย์เบาหวานศิริราช มีแผนการจัดทา ค่ายกีฬาผู้เป็นเบาหวานศิริราช (Sport camp) ซ่ึงเปน็ ค่ายสาหรับ ผู้เป็นเบาหวาน ชนิดที่ 1 ที่มีความสนใจในการออกกาลังกาย โดยการ เข้าค่ายเบาหวานในคร้ังน้ี จะช่วยส่งเสริมผู้เป็น เบาหวานชนิดท่ี 1 ให้มที กั ษะและความรู้ สามารถดูแล จัดการตนเองในการเตรียมตัวก่อนออกกาลังกาย ระหวา่ งออกกาลังกาย และหลงั การออกกาลงั กายอยา่ ง ถูกต้องเหมาะสม มีความม่ันใจในการดูแลป้องกันการ เกิดภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน การเกิดภาวะ ระดบั นา้ ตาลในเลือดต่า-สูงได้ คุณสมบตั ผิ ู้เขา้ ค่าย ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 อายุต้ังแต่ 15 ปี ข้ึนไป ทสี่ นใจในการดแู ลตนเอง และการออกกาลงั กาย 24

หลักสูตรประกาศนยี บตั รผู้ให้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน สาหรับการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Diabetes Educator Program, Faculty of รุ่น 4 ปีการศึกษา 2563 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ Medicine Siriraj Hospital) ได้เปิดสอนมาแล้ว ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) 3 รุน่ ตงั้ แตป่ ี 2560 อย่างต่อเนอ่ื งภายใต้งานการศกึ ษา หลักสูตรได้มีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้ ระดับหลังปริญญา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สอดคล้องกับสถานการณ์ ลดจานวนนักศึกษา และได้ มหาวิทยาลัยมหิดล ดาเนินการโดยศูนย์เบาหวานศิริ เปิดการสอนเมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 13 สิงหาคม 2563 ที่ ราช ร่วมกบั สาขาวชิ าตอ่ มไร้ทอ่ ฯ ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ ผา่ นมา ที่ศนู ยเ์ บาหวานศริ ริ าช สาขาวิชาต่อมไร้ท่อฯ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ , ภาควิชาสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล ในปีนี้ มีนักศึกษารุ่น 4 ปีการศึกษา 2563 ฝ่ายเภสัชกรรม และฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาล จานวน 17 คน ประกอบด้วย พยาบาล จานวน 14 คน ศิริราช และมี Mrs. Anne Belton (RN, CDE, MEd) นักสุขศึกษา จานวน 3 คนแบ่งเป็นบุคลากรภายใน จาก The Michener institute of Education at คณะฯ จานวน 13 คน และภายนอกคณะฯ จานวน UHN, Canada ร่วมจัดทาหลักสูตรน้ี โดยศูนย์ 6 ค น โ ด ย ม า จ า ก ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์ เบาหวานศิริราชได้รับการรับรองจาก International มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาล Diabetes Federation (IDF) ให้เป็น IDF Center of ปิยะเวท โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และ Education ในปี 2017 – 2019 และต่ออายุ เป็น IDF โรงพยาบาลธนบุรี 2 Center of Excellence in Diabetes care ในปี 2020 – 2021 หลักสูตรนี้ มุ่งหวังผลิตบุคลากรผู้ให้ความรู้ เบาหวาน (Diabetes Educator) ที่มีความรู้ด้าน เบาหวานขั้นสูง ร่วมกบั ทักษะในการสอน ทกั ษะการฟัง การถ่ายทอด การปรับเปล่ียนพฤติกรรม การเป็นพี่ เลี้ยง (Coaching & Mentoring, Facilitator, Supporter) และช่วยเหลือดูแลผู้เป็นเบาหวานแบบ องค์รวม เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถปรับเปล่ียน พฤติกรรมและมีทัศนคติที่ดีจนนาไปสู่การปรับเปล่ียน พฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น ทั้งนี้ มีผู้สาเร็จการศึกษาแล้ว จานวน 3 รุน่ รวมจานวน 64 คน โดยปฏิบัติงานได้รับ ใบทะเบียนและเข็มวทิ ยฐานะตอ่ เนือ่ ง 25

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital รูปแบบการเรียนการสอนในปี 2563 แบบ New Normal รูปแบบการเรียนการสอนของหลักสูตรฯ ในปีการศึกษาน้ี ได้จัดเป็นรูปแบบการเรียนแบบ ผสมผสาน (Blended learning) ระยะเวลาของ หลักสูตร 1 ปี วันพฤหัสบดีและวันศุกร์ และเนื่องจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร นา 2019 (Covid-19) ทางหลักสูตรฯ ได้ดาเนินการ ปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอนแบบ New Normal โดยปรับวิธีการเรียนแบบออนไลน์ในบาง รายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถยืดหยุ่นเวลาและ สถานที่ในการเรียนให้เข้ากับกลุ่มผู้เรียน ท้ังแบบ Asynchronous learning ผ่านระบบ E-learning ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (SELECx) และ Synchronous learning ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยให้ผู้เรียนร่วมกันพูดคุยอภิปรายและ แสดงความคิดเห็นจากโจทย์ประยุกต์หรือการบ้าน ภายหลังจากการเรียนบรรยาย ร่วมกับการเรียนในช้ัน เรียน ท้ังนี้ การเรียนในช้ันเรียนได้ดาเนินการตามแนว ท า ง ก า ร รั ก ษ า ร ะ ย ะ ห่ า ง ท า ง สั ง ค ม ต า ม ป ร ะ ก า ศ มหาวิทยาลัยมหดิ ล สัดสว่ นกำรเรียนกำรสอน ปกี ำรศึกษำ 2563 จำแนกตำมรูปแบบกำรสอน 18, 18% Synchronous learning 56, 58% 23, 24% Asynchronous learning On-site; Lecture, Discussion, Workshop หมายเหตุ บางรายวชิ ามีการเรยี นการสอนหลายรูปแบบ 26

หลักสูตรประกาศนียบตั รผู้ให้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital รายชอ่ื ผสู้ าเรจ็ การศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล รุน่ ท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 รับประกาศนยี บตั รเมอื่ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2563 ลำดบั รหัสนักศึกษำ ชื่อ – สกลุ ตำแหนง่ / สังกัด / โรงพยำบำล 1 DE6201 นางสาวกานดา เกียรติพฒั นาชัย นักวิชาการโภชนาการ ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช 2 DE6202 นางสาวจรรยา มีมาก พยาบาลวชิ าชีพ งานการพยาบาลอายรุ ศาสตรฯ์ (stroke unit) ตกึ 72 ปี ช้นั 10 ตะวนั ตก โรงพยาบาลศิริราช 3 DE6203 พ.ต.หญิง จริ าพร นโู พนทอง พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลหน่วยต่อมไรท้ อ่ กองกมุ ารเวชกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 4 DE6204 นางสาวชลธิรา เรียงคา อาจารย์พยาบาล ภาควิชาการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล 5 DE6205 นางสาวชญั ธนา ธนะวงศ์ดี พยาบาลวชิ าชีพ งานการพยาบาลตรวจรกั ษาผ้ปู ่วยนอก หนว่ ยพยาบาลด้านปอ้ งกนั โรคฯ โรงพยาบาลศริ ิราช 6 DE6206 นางสาวดาวเรอื ง กศุ ลคมุ้ พยาบาลวชิ าชพี ภาควิชาสตู ศิ าสตรฯ์ IPD หอผูป้ ว่ ย 100 ปี สมเด็จพระศรีฯ 10/1 โรงพยาบาลศริ ิราช 7 DE6207 นางสาวธนพร หลมิ สวาท พยาบาลวชิ าชีพ งานกุมารเวชศาสตร์ อานนั ทมหดิ ล 3 โรงพยาบาลศิริราช 8 DE6209 ร.ต.อ.หญงิ นฤมล พงษพ์ ุฒ พยาบาลวิชาชีพ ฝ่ายการพยาบาลผปู้ ่วยนอก โรงพยาบาลวิภาวดี 9 DE6210 นางสาวปวินา ระวสิ ะญา พยาบาลวิชาชพี งานอายรุ ศาสตร์ ตึกผู้ปว่ ยในชาย โรงพยาบาลกาแพงแสน 10 DE6211 นางสาวพจนรรถ์ รเี รืองชยั นกั วิชาการโภชนาการ ศูนย์เบาหวานศิริราช โรงพยาบาลศิริราช 11 DE6212 นางสาวพไิ ลวรรณ สวุ รรณชน่ื เภสัชกรชานาญการ กลุ่มงานเภสชั กรรม โรงพยาบาลราชวิถี 12 DE6213 นางพมิ พ์นภาณัท ศรดี อนไผ่ นักปฏบิ ตั กิ ารวิจัย สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 13 DE6214 นางสาวรัชนวี รรณ รัตนวงค์ พยาบาลวชิ าชีพ เบาหวาน โรงพยาบาลสมติ เิ วช สุขมุ วทิ 14 DE6215 นางสาววราพร จนั ทรน์ าง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ การพยาบาลอายรุ กรรม โรงพยาบาลราชวถิ ี 15 DE6216 นางสาววราภรณ์ กัณฑวงษ์ เภสัชกร เภสชั กรรมคลนิ ิก โรงพยาบาลศริ ริ าชปิยมหาราชการณุ ย์ 16 DE6217 นางศริ ินทร์ยา สมแสน พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ งานตอ่ มไรท้ อ่ คลินิกอายรุ กรรมเฉพาะทาง สถาบนั สุขภาพเดก็ แห่งชาตฯิ 17 DE6218 นางสาธิมา สรุ ะธรรม ผูช้ ว่ ยอาจารย์ ภาควชิ าการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 18 DE6219 นางสาวสุพตั รา ชรู ตั น์ พยาบาลวิชาชพี งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ฯ หออษั ฎางค์ 11 เหนือ โรงพยาบาลศิรริ าช 19 DE6220 นางสภุ าพร สงวนธามรงค์ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ งานการพยาบาลตรวจรกั ษาผปู้ ่วยนอก หน่วยพยาบาลดา้ นปอ้ งกนั โรคฯ โรงพยาบาลศิรริ าช 20 DE6221 นางสาวสภุ าพร ฮดคา พยาบาลวชิ าชพี งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ฯ หออัษฎางค์ 9 เหนอื โรงพยาบาลศริ ริ าช 21 DE6222 นางอารรี ัตน์ บางพเิ ชษฐ์ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ภาควชิ าสูตศิ าสตรฯ์ หน่วยฝากครรภ์ โรงพยาบาลศิรริ าช 27

หลักสตู รประกาศนยี บตั รผู้ใหค้ วามรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital นวัตกรรมและงานวิจัย ของนกั ศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ใหค้ วามรูเ้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล ร่นุ ที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ชอื่ นวตั กรรม วงลอ้ ร้ทู ันเบาหวานในสตรีตง้ั ครรภ์ (Pre GDM Wheel) ลักษณะ วงล้อให้ความรู้เชงิ รกุ เกย่ี วกบั โรคเบาหวานในสตรีตง้ั ครรภ์ กลุ่มเปา้ หมาย สตรีต้ังครรภท์ ่เี ขา้ รบั การตรวจคัดกรองภาวะเบาหวาน ในขณะต้ังครรภแ์ ละรอผลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จุดประสงค์ เพ่ือพฒั นาส่ือให้ความรู้แกส่ ตรตี ้งั ครรภ์ในการดแู ลตนเอง เกยี่ วกบั ภาวะเบาหวานขณะต้ังครรภ์ ชอ่ื นวัตกรรม สมุดยาเบาหวานคู่ใจ...ฉนั ใชย้ านี้ ลักษณะ คู่มอื การสอนสาหรบั ผเู้ ป็นเบาหวานศึกษาขอ้ มลู ยา ด้วยตนเอง กลุ่มเปา้ หมาย ผู้เป็นเบาหวานรายใหมแ่ ละรายที่ไม่สามารถ ควบคุมระดบั นา้ ตาลในเลอื ดได้ จดุ ประสงค์ เพ่ือพฒั นาคูม่ ือเกยี่ วกบั ยาเบาหวานในผู้เป็น เบาหวานท่ไี ม่สามารถควบคุมระดบั น้าตาลในเลอื ดได้ และ เพือ่ ตดิ ตามแก้ไขปัญหาเก่ยี วกบั การใชย้ าของผู้เป็นเบาหวาน ชือ่ นวัตกรรม นวัตกรรมวาง สอด แล้วกระดกขน้ึ ลง เพื่อสุขภาพนว้ิ เท้า ลักษณะ ส่งิ ประดษิ ฐ์จากไมแ้ ละผ้าขนหนสู าหรบั เชด็ ทาความสะอาดบริเวณ ง่ามนว้ิ เท้า กลมุ่ เปา้ หมาย ผเู้ ปน็ เบาหวานและผูส้ ูงอายทุ ่ไี ม่สะดวกในการกม้ เชด็ เทา้ จดุ ประสงค์ เพื่อปอ้ งกนั การอับชน้ื ทเ่ี ป็นสาเหตุของการเกดิ เช้ือราและแผลที่ เทา้ ในผเู้ ปน็ เบาหวาน และเพ่ือสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมการดูแลผิวหนังท่งี ่ามนว้ิ เทา้ ในผ้เู ป็นเบาหวาน รวมถงึ เพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกใน การทาความสะอาดบรเิ วณงา่ มนิว้ เท้าสาหรับผเู้ ป็นเบาหวาน 28

หลกั สตู รประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital ชอ่ื นวัตกรรม เพราะการฉีดอินซูลนิ ไมน่ ่ากลัวอย่างท่คี ิด (Winny the fear of insulin injection) ลกั ษณะ ส่ือ Animation และปลอกเขม็ ฉีดยาตวั การต์ ูน และแบบประเมิน ความกังวลของผเู้ ป็นเบาหวานอายไุ มเ่ กิน 65 ปี กลุม่ เป้าหมาย ผเู้ ปน็ เบาหวานเดก็ อายุ 5 – 12 ปี และผู้เป็นเบาหวานอายุไม่ เกิน 65 ปี จดุ ประสงค์ เพ่ือลดความกลัวและความกังวล เบ่ยี งเบนความสนใจในการฉีดยา ช่ือนวตั กรรม สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมทางกายสาหรบั ผู้เป็นเบาหวานลกั ษณะ สมุดบนั ทึกการส่งเสริมการดแู ลตนเองของผู้เป็นเบาหวานกลุ่มเป้าหมาย ผูเ้ ป็นเบาหวานท่ีมี BMI>25 kg/m2 หรอื ผู้ท่ีสนใจในเรื่องกิจกรรมทางกาย เพอ่ื ช่วยควบคมุ ระดับน้าตาลในเลือด จุดประสงค์ เพอื่ ใหค้ วามรู้และความเข้าใจในเรื่องกจิ กรรมทางกายแกผ่ ู้ เปน็ เบาหวาน และเพ่อื ใหผ้ ้เู ป็นเบาหวานมีพฤติกรรมดา้ นกจิ กรรมทางกาย อย่างสมา่ เสมอ ช่ือนวตั กรรม High Rotate Late Lipo ลกั ษณะ สือ่ การเลน่ เพือ่ ความเพลดิ เพลิน ชว่ ยลดความกลวั ในการฉดี ยา กลุ่มเปา้ หมาย ผเู้ ป็นเบาหวานเด็กชนิดที่ 1 ทฉี่ ดี ยาอินซลู นิ ด้วยตนเอง ผดู้ ูแลหลกั และพยาบาล/ผู้สอนฉดี ยา จุดประสงค์ เพอื่ เป็นสือ่ การสอนและชว่ ยหมุนเวียนเปล่ยี น ตาแหน่งการฉีดอินซูลินไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเพ่อื ป้องกนั และบรรเทา การเกดิ กอ้ นแขง็ นูนและชว่ ยให้การฉีดยามปี ระสทิ ธิภาพ 29

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผใู้ หค้ วามร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital หัวขอ้ วิจัย การพัฒนาแบบประเมนิ การรแู้ จ้ง-แตกฉาน ดา้ นอาหารและโภชนาการในผูเ้ ปน็ เบาหวาน ลักษณะ แบบประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ กลุ่มเปา้ หมาย ผู้เป็นเบาหวานที่มอี ายุ 15 ปีขึ้นไป จดุ ประสงค์ เพื่อพฒั นาและทดสอบความเที่ยงตรง ความเชอื่ ถือไดข้ องแบบประเมินทใี่ ช้สาหรบั ประเมนิ ระดบั การรู้แจง้ แตกฉานดา้ นอาหารและโภชนาการในผูเ้ ปน็ เบาหวาน หัวขอ้ วจิ ยั ปัจจยั กาหนดการควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดในผูเ้ ปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 ทีฉ่ ีดอินซลู ิน (Determinants of Glycemic control in insulin-treated type 2 diabetes) ลักษณะ งานวิจยั กลมุ่ เปา้ หมาย ผู้เปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 ท่ีฉดี อนิ ซูลิน จดุ ประสงค์ เพ่ือศกึ ษาปจั จัยทานายการควบคุมระดบั น้าตาลในเลอื ดของผู้เปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 ทฉ่ี ีดอนิ ซูลนิ 30

หลกั สตู รประกาศนียบัตรผู้ให้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital พิธีมอบใบทะเบียนและเขม็ วิทยฐานะผูใ้ ห้ความรู้เบาหวาน และพธิ มี อบประกาศนียบัตรแก่ผู้สาเร็จการศึกษาฯ วนั ศุกร์ท่ี 3 กรกฎาคม 2563 พิธีมอบใบทะเบียนและเข็มวิทยฐานะผู้ให้ความรู้ เบาหวาน หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) เมื่อวันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2563 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม101 ช้ัน 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ (SiMR) โดยรองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ถาวรชัย ลิ้มจินดาพร รองคณบดีงาน การศกึ ษาระดับหลงั ปริญญาให้เกยี รติเป็นประธานในพธิ ี นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรฯ รุ่น 1 ปี การศึกษา 2560 และรุ่น 2 ปีการศึกษา 2561 ได้ปฏิบัติ ต่อเน่ือง DSMES และให้การปรกึ ษาแก่ผู้เป็นเบาหวานและ ครอบครัว ผู้ดูแลรายเด่ียวหรือกลุ่มย่อย เพ่ือดารงไว้ซึ่ง ศักยภาพและความชานาญเฉพาะด้าน ตามเกณฑ์ที่ หลักสูตรฯ กาหนด เพื่อลงทะเบียนรับใบทะเบียน วทิ ยฐานะผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน อายุ 5 ปี หรือ 1 ปี ซ่ึงในปี น้ี มีผู้ข้นึ ทะเบียนรับใบวิทยฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวาน อายุ 5 ปี จานวน 9 คน และ อายุ 1 ปี จานวน 19 คน ซ่ึงเพิ่ม จากปีก่อน โดยขณะน้ีมีผู้ลงทะเบียนแล้วรวมท้ังหมด 36 คน (รายชื่อผู้ลงทะเบียนรับใบวิทยฐานะผู้ให้ความรู้ เบาหวาน หน้า 32) และในปีนี้ มีผู้สาเร็จการศึกษาฯ รุ่น 3 ปีการศึกษา 2562 จานวน 21 คน โดยแบ่งเป็น บุคลากรภายในคณะฯ ได้แก่ พยาบาล จานวน 8 คน และนักวิชาการโภชนาการ จานวน 1 คน และบคุ ลากรจากภายนอกคณะฯ จานวน 12 คน ได้แก่ พยาบาลและเภสัชกร จาก โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์, โรงพยาบาลราชวิถี, โรงพยาบาลพระ มงกุฎ , โรงพยาบาลวิภาวดี, โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท, โรงพยาบาลกาแพงแสน และสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี อาจารย์และผู้ช่วยอาจารย์จากคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, และนักปฏิบัติการวิจัย จาก สถาบันโภชนาการมหาวิทยาลัยมหิดล (รายชื่อผู้สาเร็จ การศึกษาหลกั สูตรฯ รนุ่ ท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 หนา้ 27) 31

ทะเบียนผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator ทะเบียนผ้ใู ห้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล (Certified Diabetes Educator) ลาดับ รหสั ช่ือ – สกลุ ตาแหนง่ / สงั กัด / โรงพยาบาล สถานะดารงวิทยฐานะผู้ให้ นกั ศกึ ษำ ความรู้เบาหวาน นกั วชิ าการโภชนาการ 1 CDE6001 นางสาวศรวี รรณ ทองแพง ศูนย์เบาหวานศิรริ าช 5 ปี โรงพยาบาลศิรริ าช (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) 2 CDE6002 นายศราวธุ อุประรัตน์ นักสุขศึกษา 1 ปี ศูนย์เบาหวานศริ ริ าช (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศิริราช 3 CDE6003 นางสาวปรยี ารตั น์ สอนเจริญ นักวิชาการโภชนาการ 5 ปี สังกัดอสิ ระ (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) 4 CDE6005 นางสาวอัมพร รอบครบรุ ี พยาบาลวชิ าชพี 5 ปี งานการพยาบาลสตู ิศาสตรฯ์ หน่วยฝาก (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2568) ครรภ์ โรงพยาบาลศริ ริ าช พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ 5 CDE6006 นางนุจรี ชน่ื ยงค์ งานการพยาบาลสูติศาสตรฯ์ 5 ปี หอผูป้ ่วย 100 ปี สมเด็จพระพระศรี (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) ฯ 10/1 โรงพยาบาลศิริราช พยาบาลวชิ าชพี 6 CDE6007 นางสาวสปุ รญิ ญา พรมมาลุน งานการพยาบาลอายุรศาสตรฯ์ 1 ปี หอผ้ปู ่วยอษั ฎางค์ 10 เหนือ (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศริ ริ าช พยาบาลวิชาชีพ 7 CDE6008 นางกนั ยารัตน์ วงษเ์ หมอื น งานการพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์ 5 ปี หน่วยตรวจโรคกุมารฯ (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) โรงพยาบาลศริ ิราช พยาบาลวชิ าชีพ 8 CDE6009 นางสาวนลินนาฏ ธนบญุ สุทธิ งานการพยาบาลตรวจรักษาผู้ปว่ ยนอก 5 ปี หนว่ ยพยาบาลด้านป้องกนั โรคฯ (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) โรงพยาบาลศิรริ าช พยาบาลวชิ าชพี 9 CDE6010 นางปิยนันท์ เทพรักษ์ งานการพยาบาลตรวจรกั ษาผู้ปว่ ยนอก 5 ปี หน่วยพยาบาลด้านป้องกนั โรคฯ (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) โรงพยาบาลศริ ิราช 32

ทะเบยี นผู้ให้ความร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator ลาดบั รหัส ชื่อ – สกุล ตาแหนง่ / สงั กดั / โรงพยาบาล สถานะดารงวทิ ยฐานะ นักศกึ ษำ ผู้ให้ความรเู้ บาหวาน นกั สุขศกึ ษา 5 ปี (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2568) 10 CDE6011 นายไชยพร พลมณี ศนู ย์เบาหวานศริ ิราช 1 ปี โรงพยาบาลศิรริ าช (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) พยาบาลวิชาชพี 1 ปี (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) 11 CDE6013 นางสาววิลาวรรณ เกตุพันธ์ งานการพยาบาลผูป้ ว่ ยพเิ ศษ หอผปู้ ว่ ยจุฑาธุช 12 1 ปี (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศิริราช 1 ปี พยาบาลวชิ าชพี (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2564) 12 CDE6014 นางสาวอรณุ ี สิงหชาติ งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ฯ 5 ปี หอผูป้ ว่ ยอัษฎางค์ 10 ใต้ (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2568) โรงพยาบาลศิริราช 5 ปี (ก.ค. 2562 – ม.ิ ย. 2567) เภสชั กร 5 ปี 13 CDE6016 นางสาวกัญญา มัชฌมิ าววิ ัฒน์ ฝ่ายเภสัชกรรม (ก.ค. 2562 – มิ.ย. 2567) โรงพยาบาลศิรริ าช 5 ปี (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2568) นกั วิชาการโภชนาการ 14 CDE6017 นางจริยา เอกพนั ฝา่ ยโภชนาการ โรงพยาบาลศิรริ าช นกั วชิ าการโภชนาการ 15 CDE6018 นางสาวสิรมิ า แซต่ งั๊ ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิรริ าช พยาบาลวิชาชีพ 16 CDE6020 นางพจน์มาลยั สังขเ์ สนาะ ผู้ปว่ ยนอก (คลินกิ เบาหวาน) โรงพยาบาลสงฆ์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ 17 CDE6021 นางสาวกรยี าภัทร สเี ขยี ว ศนู ยเ์ บาหวานและต่อมไรท้ อ่ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลพญาไท 3 พยาบาลวิชาชพี 18 CDE6022 นางสาวพชั ราภรณ์ เพชรมงคลกุล หนว่ ยงานผ้ปู ่วยนอก OPD2 (ผปู้ ่วย ประกนั สงั คม) ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลเปาโลโชคชัย 4 33

ทะเบยี นผูใ้ หค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator ลาดบั รหัส ชือ่ – สกลุ ตาแหน่ง / สังกัด / โรงพยาบาล สถานะดารงวิทยฐานะ นกั ศกึ ษา ผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน 19 CDE6101 นางกนกเนตร จงประเสริฐกุล นักวชิ าการโภชนาการ 1 ปี ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิรริ าช (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) 20 CDE6102 นางสาวกมลวรรณ พดั ศรเี รอื ง เภสัชกร 1 ปี ฝ่ายเภสชั กรรม โรงพยาบาลศิรริ าช (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2564) 21 CDE6103 นางสาวจารภุ ณั ฑ์ กุลเสถียร พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ 5 ปี ห้องปรึกษาสุขภาพ (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2568) โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์ 22 CDE6104 นางสาวธิดารตั น์ ไฝ่ทอง พยาบาลวิชาชพี 5 ปี อายุรกรรมเบาหวาน (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2568) โรงพยาบาลศิริราชปิยการณุ ย์ 23 CDE6107 นางสาวปทุมมา สวุ ดษิ ฐ์ งานการพยาบาลผ้ปู ่วยพิเศษ 1 ปี หอผปู้ ่วยวิบุลลักสม์ 3 (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2564) โรงพยาบาลศิรริ าช 24 CDE6109 พยาบาลวชิ าชพี 5 ปี นางสาวแพรวพรรณ นวนกลางดอน งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2568) หอผู้ป่วยเจา้ ฟ้าฯ 6 โรงพยาบาลศิริราช พยาบาลวิชาชพี 25 CDE6110 นางสาวยุวเรศ ทะริ งานการพยาบาลอายรุ กรรม 1 ปี กลุม่ งานพยาบาลผู้ป่วยใน (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลราชวิถี พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ 26 CDE6111 นางเยาวภา พรเวียง งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก 5 ปี กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2568) โรงพยาบาลราชวถิ ี 27 CDE6112 นางสาวรชั ดาพร วานิชพงษ์พันธ์ุ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ 1 ปี คลินิกเบาหวาน – ความดันโลหิตสูง (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลสามพราน พยาบาลวิชาชพี 28 CDE6113 นางสาวรตั นาภรณ์ จงึ เจรญิ สุขย่ิง งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยพเิ ศษ 1 ปี หอผปู้ ่วยเฉลมิ พระเกียรติ 16 (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศริ ริ าช 34

ทะเบียนผใู้ ห้ความร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator ลาดบั รหสั ชื่อ – สกุล ตาแหนง่ / สงั กดั / โรงพยาบาล สถานะดารงวิทยฐานะผ้ใู ห้ นกั ศกึ ษา ความรเู้ บาหวาน พยาบาลวชิ าชีพ 29 CDE6114 นางสาววรนิษฐ์ วุฒิอนนั ต์นิธิ งานการพยาบาลตรวจรกั ษาผปู้ ่วยนอก 1 ปี หนว่ ยผ่าตดั เลก็ ฯ (ก.ค. 2563 – มิ.ย.2564) โรงพยาบาลศิรริ าช 30 CDE6115 นางสาววรศิ รา บญุ ยวง นกั สุขศึกษา 1 ปี ศนู ยเ์ บาหวานศริ ิราช (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศิริราช พยาบาลวิชาชีพ 31 CDE6116 นางสาวสกาย เงินทา งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ 1 ปี หอผู้ปว่ ยอษั ฎางค์ 11 ใต้ (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2564) โรงพยาบาลศิริราช พยาบาลวชิ าชีพ 32 CDE6117 นางสาวสริ ธิ ร อภิชาตมิ ณีกลุ งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ 1 ปี สานกั งานอายรุ ศาสตร์ฯ (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศิรริ าช พยาบาลวิชาชีพ 33 CDE6118 นางสาวสชุ ญั ญา วงศแ์ หวน งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ 1 ปี หอผู้ป่วยอษั ฎางค์ 12 เหนือ (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศริ ริ าช พยาบาลวิชาชีพ งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ 1 ปี 34 CDE6119 นางสาวอรปรยี า สมคั รเขตรการ หน่วยตรวจโรคกมุ าร (ก.ค. 2563 – ม.ิ ย. 2564) (เจา้ ฟ้ามหาจกั รี 1) โรงพยาบาลศิรริ าช พยาบาลวิชาชีพ 35 CDE6120 นางสาวอรวิไล แตง่ พลกรัง งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ฯ 1ปี หอผู้ปว่ ยอษั ฎางค์ 12 ใต้ (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2564) โรงพยาบาลศิรริ าช 36 CDE6121 นางอุบล วรมงคลชัย พยาบาลวชิ าชพี 5 ปี ศนู ย์เบาหวานศริ ิราช (ก.ค. 2563 – มิ.ย. 2568) โรงพยาบาลศิริราช ข้อมูล ณ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2563 35

การต่อยอด นวัตกรรมและวจิ ยั นวัตกรรมของนักศึกษาหลักสตู รประกาศนียบัตรผู้ให้ ความร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ทไ่ี ด้รับการพฒั นาและนามาใช้ การทาวิจัยหรือพัฒนานวัตกรรมด้านเบาหวาน เป็นหนึ่งในรายวิชาของหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้ เบาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล เพอ่ื สง่ เสริมการจัดการตนเองของผ้เู ป็นเบาหวาน หรือพฒั นาเครือ่ งมือ อุปกรณ์ รูปแบบ ระบบการให้ความรู้เบาหวาน โดยนวัตกรรมของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้ เบาหวานฯ ได้รบั การนาไปพฒั นาและนามาใชจ้ ริงท่ศี นู ยเ์ บาหวานศริ ิราชและหน่วยงานตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดังนี้ 1. บอรด์ เกม The adventure of diabetes ท่ีพัฒนาต่อยอดมาจากนวัตกรรม DM Wonder trip (ชือ่ เดิม) นวตั กรรมของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ ความรู้เบาหวานฯ รุ่นท่ี 1 ลักษณะเป็นเกมกระดานที่มีวิธีการ เล่นคล้ายเกมบันไดงูผสมผสานกับ conversation map เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 และผู้เป็นเบาหวานท่ีฉีดยา อินซลู นิ ทม่ี อี ายตุ ้งั แต่ 10 ปี ขนึ้ ไป สามารถเรียนรู้ผ่านการเล่น เกมด้วยตนเองได้ โดยบอร์ดเกมน้ีได้นามาเป็นส่ือการเรียนรู้ คร้ังแรก สาหรับผู้เข้าร่วมค่ายเบาหวานศิริราช ครั้งท่ี 16 เม่ือ วันท่ี 5 เมษายน 2562 …………………………………………………………………..…………………….………………… 2. แบบบันทึกการใหค้ าปรึกษา SiCDE Team นวัตกรรมท่ีพัฒนามาจากแบบบันทึกแนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง ของผู้เป็นเบาหวานศิริราช นวัตกรรมของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้ เบาหวานฯ รุ่นที่ 1 เป็นแบบบันทึกการให้คาปรึกษาของผู้ให้ความรู้เบาหวาน ทีป่ ฏบิ ัตงิ านที่ศูนย์เบาหวานศริ ริ าช เมื่อปี 2561 …………………………………………………………………..…………………….……….………… 3. สอ่ื แผน่ พบั แนวทางการตรวจคัดกรองเทา้ เบาหวานภายใน 3 นาที ของนกั ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ใหค้ วามร้เู บาหวานฯ รุ่นท่ี 2 เพ่ือเปน็ แนวทางการตรวจคัดกรองเทา้ เบาหวาน ลดระยะเวลาในการ ตรวจคัดกรองเท้าเบาหวาน และเป็นข้อมูลพื้นฐานงานบริการและการ วิจัยในอนาคต โดยได้นามาแจกให้กับผู้ท่ีได้รับการตรวจคัดกรองเท้าท่ี ศนู ยเ์ ป็นคร้งั แรกทศี่ นู ยเ์ บาหวานศิรริ าช ใชช้ ว่ งปี 2562 36

การตอ่ ยอดนวัตกรรมและวจิ ยั ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รผูใ้ หค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 4. สมุดจดบนั ทึก Wonderful memo ของนกั ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรผู้ใหค้ วามรู้เบาหวาน รุ่นที่ 2 สมุดบันทึก (Log book) ท่ีช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานชนิด ที่ 1 จดบันทึก ฝึกวินัยในการดูแลตนเอง และสอนให้เข้าใจ สัดส่วนอาหารและการฉีดอินซูลินที่เหมาะสม เพื่อสะดวกใน การติดตามผลการดูแลตนเองที่บ้าน โดยนวัตกรรมนี้ ได้นามา พัฒนาต่อยอดและเผยแพร่ในการประชุมทีมสหสาขาโครงการ นิเทศ กากับ ติดตามการพัฒนา เครือข่ายบริบาลรักษา เบาหวานชนิดท่ี 1 และโครงการลงทะเบียนเบาหวานที่ได้รับ การวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ประเทศไทย (T1DDAR CN) โดย เป็นวิทยากรแลกเปล่ียนประสบการณ์ เม่ือวันท่ี 26 –27 สิงหาคม 2562 และได้จัดพิมพ์ใช้ในโรงพยาบาลเจริญกรุง ประชารักษ์ …………………………………………………………………..…………………….………………… 5. นวตั กรรม Foot care towel ผ้าขนหนูดแู ลเท้าสาหรบั ผู้เป็นเบาหวาน ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้ เบาหวานฯ รุ่นท่ี 2 สาหรับผู้เป็นเบาหวานท่ีต้องการการดูแล และได้รับคาแนะนาในการดูแลเท้า เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานใช้ ผ้าขนหนูดูแลเท้าและส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลเท้า โดยมี บรษิ ทั URGO Medical แจง้ ความประสงค์เสนอสนับสนุนผลิต นวัตกรรมเพ่ือแจกให้กับผู้เป็นเบาหวานได้มีอุปกรณ์ดูแลเท้า ตนเองได้อย่างถูกต้องและครบทุกข้ันตอน โดยขณะนี้อยู่ใน ระหวา่ งดาเนนิ การผลติ 37

ส่อื การสอนสาหรับผู้เปน็ เบาหวาน Siriraj DM Interactive Tool ส่อื การสอนสาหรับผู้เปน็ เบาหวาน Siriraj DM Interactive Tool จัดทาโดย รศ.พญ. ระวีวรรณ เลิศวัฒนารักษ์ และทีมศูนย์เบาหวานศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล จัดจาหน่ายครั้งแรก เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2559 จานวน 800 ชดุ และในปี พ.ศ. 2563 ได้มีการผลิตครั้งท่ี 2 จานวน 650 ชุด โดยมีการปรับปรุงรายละเอียดเรื่องภาพและสี ส่วนรายละเอียดเน้ือหาคงเดิม ส่ือการสอนสาหรับผู้เป็น เบาหวาน 1 กล่องจะประกอบดว้ ย สอ่ื การสอนภาพพลิกชดุ ท่ี 1 มีหัวข้อดงั นี คู่มือการใช้ส่อื บัตรคา 1. ความรทู้ ั่วไปเกี่ยวกบั เบาหวาน 2. การออกกาลังกาย 3. ยาลดนา้ ตาลในเลอื ด 4. การดูแลเทา้ สอื่ การสอนภาพพลกิ ชดุ ที่ 2 มีหวั ขอ้ ดังนี 1. อาหารหมวดตา่ งๆ 2. อาหารหวาน มนั เคม็ 3. ฉลากโภชนาการ 4. หลกั การรบั ประทานอาหาร และในสื่อการสอนสาหรับผู้เป็นเบาหวานเวอร์ชันท่ี 2 น้ี ได้เพ่ิมวีดิโอแนะนาการใช้งานเบื้องต้น สาหรับผู้สอนเพ่ือทาความเข้าใจการใช้งานได้ง่ายขึ้น เทคนิคการใช้งานส่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยสามารถ Scan QR Code เพ่อื ดวู ดี ิโอย้อนหลังได้ 38

Workshop: How to be a Smart Diabetes Educator และการต้อนรับ Visiting Professor Mrs. Anne Belton (Former Vice President of IDF 2008-2015) ท่ีปรึกษา SiCDE และ การพัฒนา Siriraj DSMES Service ศูนย์เบาหวานศิริราช ร่วมกับ ฝ่ายการพยาบาล, ฝ่ายโภชนาการ และหนว่ ยบริหารการจดั การประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล จดั อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพือ่ เพมิ่ ทกั ษะการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการเป็น Diabetes Educator (Workshop “How to be a smart diabetes educator”) โดย Mrs. Anne Belton (BA, CDE, MEd) Certified Diabetes Educator จาก ประเทศแคนาดา และทีมอาจารย์หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้ เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) ระหว่างวันท่ี 19 - 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม 101 ช้ัน 1 ศนู ยว์ จิ ยั การแพทยศ์ ิริราช (SiMR) อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๐ โดยไดร้ บั เกยี รติจาก ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ ประสทิ ธิ์ วฒั นาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ให้เกียรติ เป็นประธานกล่าวเปิดงานในพิธีฯ โดยเนื้อหาการอบรมครั้งนี้มุ่งเน้น พัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ท่ีจาเป็นของผู้ให้ความรู้เบาหวาน เช่น การ ดูแลผ้เู ปน็ เบาหวานแบบองค์รวม การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม การเป็นพ่ีเลย้ี ง (Coaching & Mentoring, Facilitator, Supporter) เป็นต้น ในการจัดอบรมคร้ังน้ี มีบุคลากรเข้าร่วมอบรม จานวน 69 คน จาก 28 โรงพยาบาลท่ัวประเทศ แบ่งเป็นแพทย์ จานวน 2 คน พยาบาล จานวน 49 คน เภสัชกร จานวน 5 คน นักวิชาการโภชนาการ จานวน 8 คน และนักวิชาการสาธารณสขุ นกั สขุ ศึกษา และนักวิทยาศาสตร์ รวมจานวน 5 คน และนักศึกษา SiCDE รุ่น 3 โดยผลการจัดอบรมในคร้ังน้ี บรรลุ วัตถุประสงค์ทุกประการ จากผลการประเมินของ ผู้เข้าร่วมอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ และทักษะในการประเมินและต้ังเป้าหมายการดูแล สุขภาพผู้เปน็ เบาหวาน ได้เรียนรู้เทคนิควิธีการส่ือสาร และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับสหสาขาวิชาชพี ที่หน่วยงานไดต้ ามทค่ี าดหวัง 39

Workshop: How to be a Smart Diabetes Educator ภาพพิธีเปดิ การอบรม Workshop: How to be a Smart Diabetes Educator เมือ่ วนั ที่ 19 กุมภาพนั ธ์ 2563 ภาพอบรม Workshop: How to be a Smart Diabetes Educator ท้งั ภาคบรรยายและภาคปฏบิ ตั กิ ลุ่ม เนื่องจาก ในการจัด Workshop นี้ เกิดขึ้นหลังจาก Mrs. Anne Belton ได้เย่ียมติดตามและรับฟัง ผลการ ศูนยเ์ บาหวานไดเ้ ปิดหลกั สตู รหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ ดาเนินการ ความคืบหน้าของศูนย์ฯ หลักสูตร SiCDE ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (CDE) และ กิจกรรมการให้บริการผู้ป่วยของคลินิกศูนย์ มาแล้ว 3 รุ่น และมีเจตนาเชิญ Mrs. Anne Belton ที่ เบาหวาน รวมทั้ง ให้คาปรึกษาเพ่ิมเติมและยินดีมอบ ปรึกษาหลักสูตรฯ มาต้ังแต่แรกมารับทราบความคืบหน้า หลักการ รวมถึงมอบสื่อการสอนในตารา “How to be ของหลักสูตรฯ และ เย่ียมชมสานักงานศูนย์เบาหวานใหม่ of Patient Education” ของท่านให้กับทีมกรรมการ รวมทั้งคลนิ กิ ศนู ย์เบาหวานที่เป็นหน่วยให้บริการ “DSMES หลักสูตรฯ ในการสอนรุ่นต่อๆ ไป และชื่นชมพร้อมให้ Service & Complications Screening” ของผู้สาเร็จ กาลังใจในการทางานด้าน DSMES แก่ผู้ป่วย ครอบครัว การศกึ ษาหลกั สตู รฯ และขอรบั คาแนะนาเพม่ิ เตมิ ด้วย อนั ที่ และทีมสหสาขาวิชาชีพด้านเบาหวานของศิริราช ท่าน จรงิ ช่วงเวลาเดอื นกมุ ภาพนั ธ์นี้ เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีข่าว กล่าววา่ ไดเ้ ปน็ การเปล่ียนแปลงชัดเจน ต่างจากท่ีท่านมา เร่ืองสถานการณ์การแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ครั้งแรก เมอื่ วันท่ี 28 พฤศจิกายน – 14 ธันวาคม 2559 (Covid-19) ในช่วงแรก ต้องนับว่าเป็นความกรุณาและ และเหน็ ถงึ ความตั้งใจมุ่งมัน่ ของทมี บรหิ ารศูนย์เบาหวาน ความมืออาชีพของ Mrs. Anne Belton ท่ียังยินดีเดินทาง และผู้บริหารศิริราชที่ให้การสนับสนุนทุกด้าน ท้ังน้ี มาประเทศไทยเป็นเวลา 2 สัปดาห์ ระหว่างวันท่ี 9 - 22 ศิริราชได้เชญิ ท่านมาถึง 3 ครัง้ ครง้ั ละ 2 สัปดาห์ กุมภาพันธ์ 2563 (เดินทางกลับประเทศแคนาดาอย่าง ปลอดภัย) 40

WorksWhopo:rHkoswhtoo pbe: aHSomwartoDibabeetaesSEmduacrattor Diabetes Educator ครงั้ แรก เชญิ มาเพือ่ ปรึกษาความเปน็ ไปได้ และให้ ทา่ น และคร้ังนี้เป็นคร้ังที่ 3 ระหว่างวันที่ 9–22 กุมภาพันธ์ เป็นวิทยากร แลกเปล่ียนประสบการณ์ กับผู้แทนผู้บริหาร 2563 ดังรายละเอียดข้างต้น ในครั้งนี้ จึงมีการจัด กระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนสมาคมวิชาชีพ “Special Dinner SiCDE alumni-night” เม่ือค่าวันที่ 20 หัวข้อ How to develop CDE program และ Teaching กุมภาพันธ์ 2563 ณ พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน มีการ method and evaluation in DM หลังจากนั้น งาน แสดงของผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน การศึกษาหลังปริญญา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล (CDE) รุ่น 1,2 และศิษย์ ได้อนุมัติหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน ปจั จบุ นั ร่นุ 3 ผูเ้ ข้าร่วมอบรม บุคลากรศูนย์เบาหวาน และ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes ทมี ผู้บรหิ ารท่เี ก่ียวข้อง Mrs. Anne Belton ได้กล่าวถงึ สิง่ ที่ Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj ท่านได้เห็นความตั้งใจ ความมุ่งม่ัน และการทางานเป็นทีม Hospital) รุ่นแรก ปีการศึกษา 2560 ผู้เรียนเป็นบุคลากร เวิร์คของอาจารย์แพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพของศิริราช ภายในศิริราช 90% และ ได้ประสานให้อาจารย์แพทย์ ว่าจริงจังและมุ่งหวังเพ่ือให้งานด้านนี้เกิดข้ึนจริงๆ เป็นค่า ศิริราช เรียนหลักสูตร Diabetes Educator Graduate คืนท่ี อบอุ่น ประทับใจในมิตรภาพท่ีมตี อ่ กัน Certificate Program The Michener Institute of Education at UHNแบบออนไลน์ 2 ทา่ น ร่วมสังเกตการณ์ เป็น Facilitator หลักสูตร 2 ท่าน ในโครงการเพื่อความ เป็นเลิศด้านการสร้างบุคลากรเฉพาะทางเบาหวาน Diabetes Educator คร้งั ที่ 2 เมอ่ื ระหว่างวันท่ี 18 มกราคม ถึง 2 กุมภาพันธ์ 2561 เชญิ มาเปน็ คณุ ครสู อนในหวั ขอ้ ทกั ษะต่างๆ ท่ีจาเป็น ของ diabetes educator ในหลักสูตร ระยะเวลา 4 วัน ระหว่างวันท่ี 24 - 26 และ 31 มกราคม 2561 ในหัวข้อ Adult Teaching Learning and Behavior Change ท้ัง Lecture และ Workshop โดยอาจารย์แพทยแ์ ละกรรมการ หลักสูตรฯ มาเป็นผู้ช่วยและเรียนรู้กระบวนการเตรียมการ สอนและการสอนร่วมด้วยกัน ถือเป็นกระบวนการ Train the trainer ของอาจารย์แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ ด้านเบาหวานศิรริ าช ทีไ่ ด้รับประสบการณ์ตรงจากท่านโดย ไม่ต้องเดินทางไปต่างประเทศ และ ได้สอบภาคปฏิบัติ นกั ศกึ ษาที่เรยี นออนไลน์ และ Facilitator ทั้ง 4 ท่านด้วย 41

Workshop: How to be a Smart Diabetes Educator เม่ือเดอื นพฤศจิกายน 2563 ปนี ี้ ตามที่ WHO ได้กาหนดเป็น “Year of the Nurse and Midwife” เน่อื งจากปีน้ี เปน็ ปีท่ีคุณพยาบาล Florence Nightingale อายุครบ 200 ปี และได้กาหนด theme การรณรงค์ในวันเบาหวานโลก 2020: “Nurses make the difference” สมาพนั ธพ์ ยาบาลเบาหวานยุโรป : Foundation of European Nurses in Diabetes (FEND) ได้ประกาศยกย่องให้ Mrs. Anne Belton ได้รับรางวัลประจาปี FEND recognition award 2020 ในฐานะ พยาบาลผ้เู ชีย่ วชาญโรคเบาหวานท่ีมสี ว่ นรว่ มสาคญั ในการดแู ลผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน การวจิ ยั และการศึกษา www.fend.org ต่อจากน้ี หลกั สูตรประกาศนยี บตั รผู้ให้ความรู้เบาหวานฯ คณะแพทย์และทมี อาจารย์/วิทยากรหลักสตู ร พร้อมใน การพัฒนาบคุ ลากรเบาหวาน Diabetes Educator (CDE) ร่วมกับ การพัฒนาการบริบาลเบาหวานเพือ่ ใหผ้ ู้เป็นเบาหวานมี ทักษะในการจัดการตนเอง ตามมาตรฐานสากลที่เรียกว่า \"Education intervention\" ด้วยทีมผู้ให้ความรู้แบบ \"Outcome drive\" ในคนไทย Thank you ANNE BELTON, our Mentor 42

ทีมดูเเลเทา้ เบาหวานสหสาขาศิรริ าช Siriraj Interdisciplinary Diabetic Lower Extremity Care Team (SIDiLECT) ทีมดแู ลเทา้ เบาหวานสหสาขาของศิริราช (SIDiLECT) ได้จัดประชุม Interesting DM Foot Case Teleconference ร่วมกับโรงพยาบาลต่างๆ ภายในประเทศเป็นประจาทุก 2 - 3 เดือน โดยภาควชิ าต่างๆ ไดผ้ ลัดเปล่ียนกันเปน็ เจ้าภาพ ในปี 2563 มกี ารจดั ประชุม 3 ครัง้ ดังน้ี ครงั ท่ี 1 วันท่ี 25 ธนั วาคม 2562 เจา้ ภาพ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟ้นื ฟู จานวนผู้เข้าร่วม ประชุม 15 คน โรงพยาบาลที่เข้าร่วม 8 แห่ง ได้ แ ก่ โ ร งพยา บ า ล ร า ชบุ รี , โ ร งพย า บ า ล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ, โรงพยาบาลพหล พล พยุหเสนา, โรงพยาบาลพระพุทธเลิศหล้า, โรงพยาบาลยะลา, โรงพยาบาลรามาธิบดี, โรงพยาบาลวชิระภเู กต็ และโรงพยาบาลแพร่ ครงั ท่ี 2 วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2563 เจ้าภาพ ภาควิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด (ผ่านระบบ Zoom จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม 18 คน) ครังท่ี 3 วันท่ี 24 กันยายน 2563 เจ้าภาพ ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และ กายภาพบาบัด (ผ่านระบบ Zoom จานวน ผูเ้ ขา้ ร่วม 20 คน) ในปี 2563 ตั้งแต่ปี 2562–2564 รศ.พญ.กุลภา ศรีสวัสด์ิ หัวหน้าทีม Siriraj Interdisciplinary Diabetes Lower Extremity Care Team (SIDiLECT) ไ ด้ มี โ อ ก า ส ท า ง า น ร่ ว ม กั บ ที ม ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ นานาชาติ จนได้รับเลือกเป็น Vice President องค์กร D-Foot International 43

Publication and Presentation 2020 Siriraj Center of Research Excellence for Diabetes and Obesity (SiCORE-DO) 1) Sujjitjoon J, Thanyaphon T, Jungtrakoon Thamtarana P, Tangjittipokin W, Yenchitsomanus PT, Plengvidhya N, et al. Defective functions of HNF1A variants on BCL2L1 transactivation and beta-cell growth. Biochem Biophys Res Commun. 2020;529(3):826-33. 2) Plengvidhya N, Tangjittipokin W, Teerawattanapong N, Narkdontri T, Yenchitsomanus PT. HNF1A mutation in a Thai patient with maturity-onset diabetes of the young: A case report World J Diabetes 2019; 10(7): 414-20. 3) Patee K, Saengphatrachai W, Pariwatcharakul P, and Pramyothin P. Prevalence and Determinants of Depression and Psychiatric Disorders Among Thai Obese Patients. Clin Nutr. 2019; 38, S272. 4) Srivanichakorn W, Godsland IF, Washirasaksiri C, Phisalprapa P, Charatcharoenwitthaya P, Pramyothin P, et al. Cardiometabolic risk factors in Thai individuals with prediabetes treated in a high-risk, prevention clinic: Unexpected relationship between high-density lipoprotein cholesterol and glycemia in men. J Diabetes Investig. 2019;10(3):771-9. 5) Nirdnoy N, Sranacharoenpong K, Mayurasakorn K, Surawit A, Pinsawas B, Pongkunakorn T, et al. Development of the Thai semi-food frequency questionnaire (semi-FFQ) for at- risk people of metabolic syndrome. J Public Health (Bevl.). 2020; (DOI: 10.1007/s10389-020- 01444-3). Poster presentation 1) Tangjarusritaratorn T, Kunavisarut T, Tangjittipokin W. Incidence of Hepatocellular Carcinoma in Type 2 Diabetes with Cirrhosis Who Were Treated with Metformin. Diabetes. The American Diabetes Association 2020; DOI: 10.2337/db20-1605-P. 2) Abubakar et al. Impaired dimerization of malate dehydrogenase 2 (MDH2) mutants associated with monogenic diabetes, National Genetics Conference 2019 (NGC2019). 44

Publication and Presentation 2020 Diabetes and Obesity Research in Adult 1) Chuanchaiyakul N, Thongtang N, Rattanaumpawan P. 2304. Incidence and Risk Factors for Herpes Zoster among Diabetes Patients at Siriraj Hospital; Results from a 10-year Cohort. Open Forum Infect Dis. 2019;6(Suppl 2):S789-S. 2) Preechasuk L, Tengtrakulcharoen P, Karaketklang K, Rangsin R, Kunavisarut T. Achievement of Metabolic Goals among Different Health Insurance Schemes in Thai Patients with Type 2 Diabetes Mellitus: a Nationwide Study. Siriraj Medical Journal. 2019;72(1):1-9. 3) Nanditha A, Thomson H, Susairaj P, Srivanichakorn W, Oliver N, Godsland IF, et al. A pragmatic and scalable strategy using mobile technology to promote sustained lifestyle changes to prevent type 2 diabetes in India and the UK: a randomised controlled trial. Diabetologia. 2020;63(3):486-96. 4) Sitasuwan T, Lertwattanarak R. Prediction of type 2 diabetes mellitus using fasting plasma glucose and HbA1c levels among individuals with impaired fasting plasma glucose: a cross-sectional study in Thailand. BMJ open. 2020;10(11):e041269. 5) Thongtang N, Piyapromdee J, Tangkittikasem N, Samaithongcharoen K, Srikanchanawat N, Sriussadaporn S. Efficacy and Safety of Switching from Low-Dose Statin to High-Intensity Statin for Primary Prevention in Type 2 Diabetes: A Randomized Controlled Trial. Diabetes Metab Syndr Obes. 2020 Feb 19;13:423-431. 6) Thongtang N, Tangkittikasem N, Samaithongcharoen K, Piyapromdee J, Srinonprasert V, Sriussadaporn S. Effect of Switching from Low-Dose Simvastatin to High-Dose Atorvastatin on Glucose Homeostasis and Cognitive Function in Type 2 Diabetes. Vasc Health Risk Manag. 2020 Sep 21;16:367-377. Pediatric Diabetes Research Group 1) Dejkhamron P, Santiprabhob J, Likitmaskul S, Deerochanawong C, Rawdaree P, Tharavanij T, Reutrakul S, Kongkanka C, Suprasongsin J, Numbenjapon N, Sahakitrungruang T, Lertwattanarak R Engkakul P, Sriwijitkamol A, Korwutthikulrangsri M, Leelawattana R, Phimphilai M, Potisat S, Khananuraksa P, Nopmaneejumruslers C, Nitiyanant W, Thai Type 1 Diabetes, Diabetes Diagnosed Before Age 30 Years Registry, Care, Network (T1DDAR CN). Type 1 Diabetes management and outcomes: a multicenter study in Thailand. J Diabetes Investig.2020 Aug 19. DOI: 10.1111/jdi.13390. 45

Publication and Presentation 2020 Siriraj Diabetes Center of Excellence 1) Preechasuk L, Santiprabhob J, Sriwijitkamol A, Lertwattanarak R, Srivanichakorn W, Lertbannaphong O, Siriwan C, Sriassadaporn P, Nitiyanant W, Likitmaskul S. Integrated 3 in 1 Siriraj Diabetes School Camp: Views, reflections and lessons learned by participating healthcare professionals. J Diabetes Investig. 2020 Jul;11(4):1018-1019. Poster presentation 1) Thongpaeng S. Dietary intake and physical activity in children and adolescents with and without type 1 diabetes mellitus. The 13th Thailand Congress of Nutrtion (TCN 2019): Nutrition, Behavior and Lifestyle for Well-Being. 1-3 Oct. 2019 นางสาวศรีวรรณ ทองแพง (นักวิชาการโภชนาการ) ได้รับ รางวัล The best poster presentation (clinical nutrition) หัวข้อ “Dietary intake and physical activity in children and adolescents with and without type 1 diabetes mellitus (การศึกษา เปรียบเทียบปริมาณสารอาหารและกิจกรรมทางกาย ระหว่างเด็กและวัยรุ่นเบาหวานชนิดท่ี 1 กับกลุ่ม ควบคุม)” ในการประชุมวิชาการโภชนาการแห่งชาติ คร้ังท่ี 13 “Nutrition, Behavior and Lifestyle for Well- Being” วันที่ 1 – 3 ตุลาคม 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชมุ ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook