Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปข้อหารือปัญหากฎหมายประจำเดือนมีนาคม 2

สรุปข้อหารือปัญหากฎหมายประจำเดือนมีนาคม 2

Description: สรุปข้อหารือปัญหากฎหมายประจำเดือนมีนาคม 2

Search

Read the Text Version

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ขอ้ หารือ การขึ้นทะเบียนและการอนุญาตเป็นผู้ให้บริการตามกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียน และการอนุญาตเรื่องให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ หน่วยงานทห่ี ารอื หนว่ ยงานรฐั หนว่ ยงานท่ตี อบ กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ประเด็นข้อหารอื ประเด็นท่ี ๑ กรณีนิติบุคคลซ่ึงเป็นสถาบนั การศึกษาได้ย่ืนคาขออนญุ าตเป็นผใู้ ห้บริการ ตรวจวัดและวิเคราะหร์ ะดับความเขม้ ข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานทท่ี างาน และสถานทเ่ี ก็บ รักษาสารเคมีอันตราย มีวัตถุประสงค์ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและท้องถ่ิน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ในการให้บริการของนิติบุคคลที่กาหนดในกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริม ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ หรือไม่ อยา่ งไร ประเด็นท่ี ๒ กรณีนิติบุคคลที่ย่ืนคาขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการฝึกอบรมความปลอดภัย ในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้าสาหรับลกู จ้างซ่ึงปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั ไฟฟ้า ไดม้ กี ารแต่งต้ังบคุ ลากรตามกฎกระทรวง การขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๑ คน และแต่งต้ังวิทยากร จานวน ๑ คน ซ่ึงเป็นบุคคลเดียวกัน สามารถกระทาได้หรอื ไม่ อยา่ งไร ประเด็นที่ ๓ กรณีที่มีการยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตหรือใบสาคัญแก่บุคคล ผูข้ อขึ้นทะเบยี นหรือนติ ิบุคคลผขู้ อรบั ใบอนุญาตซ่ึงประกอบวิชาชพี ในประเภทงานทจ่ี ะใหบ้ ริการที่มีใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพหรือหลักฐานรับรองในลักษณะเดียวกัน และได้มีการชาระค่าธรรมเนียมในการขอรับ การอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าวแลว้ สามารถยกเว้นการเรียกสาเนาหลักฐานการชาระค่าธรรมเนียมดังกล่าว เปน็ เอกสารหลกั ฐานประกอบการพิจารณาคาขอ ตามความเหน็ ของสภา ว ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร ข้อเท็จจริง ๑. ประเด็นที่ ๑ กรณีนิติบุคคลซ่ึงเป็นสถาบันการศึกษาได้ยื่นคาขออนุญาต เป็นผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทางาน และสถานท่ีเกบ็ รกั ษาสารเคมีอนั ตราย มีวตั ถุประสงค์ใหบ้ ริการทางวิชาการแกส่ ังคมและทอ้ งถ่ิน สอดคลอ้ งกับ วตั ถุประสงค์ในการให้บริการของนิติบุคคลทก่ี าหนดในกฎกระทรวงการข้ึนทะเบียนและการอนุญาตให้บริการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ หรือไม่ อย่างไร มีข้อเท็จจริงดังน้ี ๑.๑ ศูนย์ A มหาวิทยาลัย ก ตั้งอยู่จังหวัด B ได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาต เป็นผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทางาน และสถานที่เกบ็ รักษาสารเคมอี นั ตราย ๑

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ๑.๒ มหาวิทยาลัย ก มวี ัตถุประสงค์ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั ก พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖ ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพช้ันสูง มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพขั้นสูง สร้างบัณฑิต วิจัย บริการทางวิชาการแก่สังคมและท้องถิ่น ริเริ่ม ปรับปรุง ถ่ายทอด และพัฒนาองค์ความรู้ในด้านที่มคี วามเช่ยี วชาญ และทานุบารุงศลิ ปะและวัฒนธรรมและมาตรา ๑๓ มหาวิทยาลัยมีอานาจหน้าที่กระทาการต่าง ๆ ภายใต้วัตถุประสงค์ตามท่ีระบุไว้ในมาตรา ๖ อานาจหน้าที่เช่นว่าน้ีให้รวมถึง (๑) ซื้อ ขาย จ้าง รับจ้าง สร้าง จัดหา โอน รับโอน เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซ้ือ แลกเปลี่ยน และจาหน่าย หรือทานิติกรรมใด ๆ เพ่ือประโยชน์แก่กิจการของมหาวิทยาลัย ตลอดจนถือกรรมสิทธิ์มีสิทธิครอบครอง มีสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา หรือมีทรัพย์สินต่าง ๆ ในทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลัยและจาหน่ายทรัพย์สินท้ังภายในและภายนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับเงินหรือทรัพย์สิน ทีม่ ผี ู้อุทศิ ให้ ๑.๓ ประกาศสถาบัน ก เรื่อง จัดต้งั ศูนย์ A สถาบนั ก โดยไดจ้ ดั ตง้ั ศูนย์ A สถาบนั ก เพ่ือเป็นศูนย์รวมในการศึกษาวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นศูนย์รวมการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามของนักศึกษา การวิเคราะห์คุณภาพส่ิงแวดล้อม รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือเครือข่ายข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อมอันจะเป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม และมุ่งหวังให้ส่ิงแวดล้อมในเมืองดี ทง้ั นี้ ให้อยใู่ นการกากับและดแู ลของอธิการบดี ๑.๔ ประกาศสถาบัน ก เรื่องแก้ไขและเพ่ิมเติมประกาศสถาบัน ก เร่ือง จัดต้ังศูนย์ A สถาบัน ก โดยศนู ย์ A สถาบัน ก มีภารกิจในการศึกษาวจิ ัยทางด้านส่ิงแวดล้อม เป็นศูนย์รวมการฝึกปฏิบัติงาน ภาคสนามของนักศึกษา การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม การสอบเทียบเคร่ืองมือวัด รวมท้ังเป็นศูนย์กลาง ในการประสานความร่วมมือเครือข่ายข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม แต่เน่ืองด้วยประกาศสถาบัน ก มีข้อผิดพลาด เน่ืองจากการพิมพ์ และการตรวจทานทาให้ข้อความ “การสอบเทียบเครื่องมือวัด” ตกไป จึงให้แก้ไข และเพมิ่ เติม “การสอบเทียบเครอ่ื งมอื วดั ” ลงในประกาศจัดตั้งศนู ย์ A สถาบัน ก ดงั กล่าวเพ่ิมเติม ๒. ประเด็นท่ี ๒ กรณีนิติบุคคลท่ีย่ืนคาขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการฝึกอบรม ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้าสาหรับลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า ได้มีการแต่งต้ังบุคลากร ตามกฎกระทรวงการข้ึนทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๑ คน และแต่งตั้งวิทยากร จานวน ๑ คน ซง่ึ เปน็ บุคคลเดียวกนั สามารถกระทาได้หรือไม่ อย่างไร มขี อ้ เทจ็ จริง ดงั นี้ ๒.๑ บริษัท จ จากัด มีสานักงานตั้งอยู่จังหวัด B ได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาต เป็นผใู้ ห้บริการฝึกอบรมความปลอดภยั ในการทางานเก่ียวกับไฟฟา้ สาหรบั ลกู จ้างซ่ึงปฏิบตั งิ านเกย่ี วกบั ไฟฟา้ ๒.๒ บริษัทฯ ได้แต่งตั้ง นาย อ เป็นบุคลากรซ่ึงมีคุณสมบัติตามกฎกระทรวง การขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ๒

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๘ (๖) ปฏิบัติหน้าท่ีบริหารจัดการการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางาน เกี่ยวกับไฟฟ้า และได้แต่งตั้งนาย อ เป็นวิทยากรประจาหน่วยงานฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางาน เกี่ยวกับไฟฟ้า ซึ่งนาย อ มีคุณสมบัติเป็นวิทยากรตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า สาหรับลูกจ้าง ซ่ึงปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๘ โดยนาย อ เป็นวิทยากร บรรยายหัวข้อวิชา (๑) กฎหมายความปลอดภัยในการทางานเก่ียวกับไฟฟ้า และความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับไฟฟ้า (๒) สาเหตุ และการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า และอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล (๓) การให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น ๓. ประเด็นท่ี ๓ กรณีที่มีการยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตหรือใบสาคัญแก่บุคคล ผขู้ อข้ึนทะเบยี นหรือนติ บิ ุคคลผู้ขอรับใบอนุญาตซึ่งประกอบวชิ าชีพในประเภทงานที่จะใหบ้ ริการท่ีมีใบอนญุ าต ประกอบวิชาชีพหรือหลักฐานรับรองในลักษณะเดียวกัน และได้มีการชาระค่าธรรมเนียมในการขอรับ การอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าวแล้ว สามารถยกเว้นการเรียกสาเนาหลกั ฐานการชาระค่าธรรมเนียมดังกล่าว เป็นเอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาคาขอ ตามความเห็นของสภา ว ได้หรอื ไม่ อย่างไร ขอ้ กฎหมาย ๑. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๙ บุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสี่ยง รวมท้ังจัดฝึกอบรมหรือให้คาปรึกษาเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ จะตอ้ งขน้ึ ทะเบียนต่อสานกั ความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน คุณสมบัติของผู้ขอข้ึนทะเบียน การขึ้นทะเบียน การออกใบแทนการข้ึนทะเบียน การเพิกถอนทะเบียน การกาหนดค่าบริการ และวิธีการให้บริการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขทกี่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๑ นิติบุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรองประเมินความเส่ียง รวมท้ังจัดฝึกอบรมหรือให้คาปรึกษาเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานท่ีกาหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ จะต้องได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี คุณสมบัติของผู้ขออนุญาต การขออนุญาต การอนุญาต การขอต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบอนุญาต การพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต การกาหนดค่าบริการ และวิธีการให้บริการ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขทก่ี าหนดในกฎกระทรวง ๓

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ๒. กฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๗ ผู้ประสงค์จะขอข้ึนทะเบียนเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มอี ายไุ ม่ตา่ กวา่ ยีส่ ิบปี (๓) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือด้านอื่น ในสาขาท่ีเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (๔) ไมเ่ ปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ (๕) ไม่เคยถกู เพิกถอนการขนึ้ ทะเบียนในประเภททีข่ อขนึ้ ทะเบียน เว้นแต่พ้นกาหนด สามปีนบั แต่วนั ท่ถี กู เพกิ ถอน (๖) ไม่เคยเป็นผู้กระทาการแทนนิติบุคคลซ่ึงถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภท ทีข่ ออนุญาต เวน้ แตพ่ ้นกาหนดหา้ ปีนบั แตว่ ันทีถ่ กู เพกิ ถอน ข้อ ๘ นิติบุคคลซึ่งประสงค์จะขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานตอ้ งมีคุณสมบัติ ดังต่อไปน้ี (๑) เปน็ นิติบุคคลตามกฎหมายไทย (๒) มีวัตถุประสงคใ์ นการให้บรกิ ารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทางาน (๓) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขออนุญาต เว้นแต่พ้นกาหนดสามปี นับแตว่ นั ทีถ่ ูกเพิกถอน (๔) ผู้กระทาการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยถูกเพิกถอนการข้ึนทะเบียนในประเภท ท่ีขอขึ้นทะเบยี นตามขอ้ ๗ (๕) เว้นแต่พน้ กาหนดสามปนี ับแตว่ ันท่ถี ูกเพิกถอน (๕) ผู้กระทาการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยเป็นผู้กระทาการแทนนิติบุคคล ซึ่งถูกเพกิ ถอนใบอนญุ าตในประเภทท่ขี ออนญุ าต เว้นแตพ่ น้ กาหนดห้าปนี บั แต่วันท่ถี ูกเพิกถอน (๖) มีบุคลากรซึ่งสาเร็จการศกึ ษาไม่ต่ากวา่ ปริญญาตรหี รือเทียบเท่าทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือด้านอื่น ในสาขาที่เก่ียวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตามประเภทของงานท่ีขออนุญาต ข้อ ๙ ผู้ขอข้ึนทะเบียนหรือขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ต้องจดั ให้มีอปุ กรณ์และสถานทสี่ าหรับการตรวจวดั ตรวจสอบ ๔

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ทดสอบ รบั รอง ประเมนิ ความเส่ียง และจดั ฝกึ อบรมหรือใหค้ าปรึกษาเพื่อส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานท่ีกาหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ ตามประเภท ของงานที่ขอขน้ึ ทะเบียนหรือขออนุญาต ข้อ ๒๔ ให้กาหนดคา่ ธรรมเนยี ม ดงั ต่อไปนี้ (๑) ใบอนญุ าต ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (๒) ใบสาคัญ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๓) ใบแทนใบอนุญาต ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท (๔) ใบแทนใบสาคญั ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๕) การตอ่ อายใุ บอนญุ าต คร้ังละเทา่ กับคา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าต ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมตามวรรคหน่ึงแก่บุคคลผู้ขอขึ้นทะเบียนหรือนิติบุคคล ผู้ขอรับใบอนุญาตซ่ึงประกอบวิชาชีพในประเภทงานท่ีจะให้บริการที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ หรือหลักฐานรับรองในลักษณะเดียวกัน และได้มีการชาระค่าธรรมเนียมในการขอรับการอนุญาต ประกอบวชิ าชีพดังกลา่ วแลว้ ๓. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานเกี่ยวกับไฟฟา้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๔ ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมให้กับลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการทางานอย่างปลอดภัยตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขที่อธบิ ดปี ระกาศกาหนด ตอบข้อหารอื ประเด็นที่ ๑ มหาวิทยาลัย ก ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาได้ย่ืนคาขออนุญาต เป็นผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทางาน และสถานท่ีเกบ็ รกั ษาสารเคมีอันตราย มีวตั ถุประสงค์ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและท้องถิ่น สอดคล้องกับ วตั ถุประสงค์ในการใหบ้ ริการของนิติบุคคลทีก่ าหนดในกฎกระทรวงการข้ึนทะเบียนและการอนุญาตให้บริการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ หรือไม่ อย่างไร เห็นว่า มหาวิทยาลัย ก มีฐานะเป็นนิติบุคคล จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ก พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยมหาวิทยาลัยฯ ได้จัดตั้งศูนย์ A มีภารกิจในการศึกษาวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมและการวิเคราะห์ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และมีการเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงถือได้ว่ามหาวิทยาลัย ก เป็นนิติบุคคลท่ีมีวัตถุประสงค์ในการให้บริการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตามกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตฯ ข้อ ๘ (๒) แล้ว มหาวิทยาลัย ก จึงสามารถย่ืนคาขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้น ของสารเคมีอนั ตรายในบรรยากาศของสถานที่ทางานฯ ได้ ๕

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ประเด็นท่ี ๒ นิติบุคคลท่ียื่นคาขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการฝึกอบรมความปลอดภัย ในการทางานเกี่ยวกบั ไฟฟ้าสาหรับลูกจ้างซ่งึ ปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วกบั ไฟฟ้า ไดม้ กี ารแต่งต้ังบคุ ลากรตามกฎกระทรวง การข้ึนทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๑ คน และแต่งตั้งวิทยากร จานวน ๑ คน ซึ่งเป็นบุคคลเดียวกัน จะสามารถกระทาได้หรือไม่ อย่างไร เห็นว่า บุคลากรตามกฎกระทรวงการข้ึนทะเบียนและการอนุญาต ให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๘ (๖) และวิทยากรตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้าสาหรับลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า ลงวันท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ มิได้จากัดว่าจะต้องเป็นคนละบุคคลกัน ดังนั้น หากบุคคลดังกล่าว มีคุณสมบัติเป็นบุคลากรตามกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตฯ ข้อ ๘ (๖) และมีคุณสมบัติ เป็นวิทยากรตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานฯ ข้อ ๕ ด้วย ก็สามารถแต่งต้ังบุคคลดังกล่าว ให้เป็นบคุ ลากรและทาหนา้ ท่ีเปน็ วิทยากรได้ ประเด็นท่ี ๓ กรณียกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตหรือใบสาคัญแก่บุคคล ผู้ขอข้ึนทะเบียนหรือนิติบุคคลผู้ขอรับใบอนุญาตซ่ึงประกอบวิชาชีพในประเภทงานท่ีจะให้บริการ ท่ีมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพหรือหลักฐานรับรองในลักษณะเดียวกัน และได้มีการชาระค่าธรรมเนียม ในการขอรับการอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าวแล้ว สามารถยกเว้นการเรียกสาเนาหลักฐาน ก า ร ช า ร ะ ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ดั ง ก ล่ า ว เ ป็ น เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ค า ข อ ต า ม ค ว า ม เ ห็ น ของสภา ว ได้หรือไม่ อย่างไร เห็นว่าตามกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริม ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ขอ้ ๒๔ วรรคสอง กาหนดยกเว้น ค่าธรรมเนียมแก่บุคคลผู้ขอขึ้นทะเบียนหรือนิติบุคคลผู้ขอรับใบอนุญาตซึ่งประกอบวิชาชีพในประเภทงาน ที่จะให้บริการท่ีมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพหรือหลักฐานรับรองในลักษณะเดียวกัน และได้มีการชาระ ค่าธรรมเนียมในการขอรับการอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าวแล้ว บุคคลและนิติบุคคลผู้มีคุณสมบัติ ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. ๒๕๐๕ ย่อมได้มีการชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตฯ ตามท่ีบัญญัติไว้ท้ายพระราชบัญญัติน้ี แล้ว และบุคคล และนิติบุคคลผู้มีคุณสมบัติได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติ วิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ย่อมได้มีการชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตฯ ตามที่บัญญัติไว้ท้ายพระราชบัญญัติ ดังกล่าวแล้วเช่นเดียวกัน เห็นได้ว่าการได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพประเภทต่าง ๆ ย่อมเป็นหลักฐาน ของหน่วยงานรัฐในการรับรองสิทธิของบุคคลว่าบุคคลน้ันเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ ตามท่ีได้รับอนุญาตและได้มีการชาระค่าธรรมเนียมตามที่กฎหมายกาหนดแล้ว การขอสาเนาเอกสาร การชาระค่าธรรมเนียมฯ เพื่อประกอบการพิจารณาคาขอข้ึนทะเบียนตามกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียน ๖

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) และการอนุญาตฯ จึงไม่มคี วามจาเปน็ ท่ตี อ้ งขอสาเนาหลักฐานการชาระคา่ ธรรมเนียมมาประกอบการพจิ ารณา อีกก็ได้ ดังน้ัน เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกแก่เอกชนและไม่เป็นการสร้างภาระข้ันตอนแก่เอกชน ผู้ย่ืนคาขอเกินสมควร กองความปลอดภัยแรงงานก็อาจกาหนดแนวทางยกเว้นการเรียกสาเนาหลักฐาน การชาระค่าธรรมเนียม หรืออาจใช้หลักฐานอื่นมาประกอบการพิจารณาคาขอข้ึนทะเบียนตามกฎกระทรวง การข้ึนทะเบียนและการอนุญาตฯ ได้ หมายเหตุ อ้างอิงข้อหารือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กองนิติการ ท่ี รง ๐๕๐๕/๗๙๕ ลงวนั ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๕ -------------------------------------------------- สอบถามรายละเอยี ดเพิม่ เติมท่ี กลุม่ งานที่ปรึกษากฎหมาย นติ กิ รรมและสัญญา กองนติ กิ าร กรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน อาคารกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานชนั้ ๑๒ ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๙๒ , โทรสาร ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๘๕ ๗

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ข้อหารือ การจัดใหม้ ีคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน และเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ในกรณีท่ีมีลูกจ้างของหลายบริษัททางานอยู่ภายใน สถานทต่ี ้ังเดยี วกนั หนว่ ยงานที่หารอื บรษิ ทั จากัด หนว่ ยงานทต่ี อบ กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน ประเด็นขอ้ หารือ ประเด็นที่ ๑ บริษัท ม จากัด บริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด มีลูกจ้างทางานอยู่ ภายในท่ีตั้งเดียวกัน จะจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของแตล่ ะบริษทั แยกจากกันหรือไม่ ประเด็นที่ ๒ บริษัท ม จากัด บริษัท อ จากัดและบริษัท จ จากัด มีลูกจ้างทางานอยู่ ภายใต้ทีต่ ้ังเดียวกัน จะต้องจัดใหม้ ีเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับวชิ าชพี ประจาทุกบริษัทหรือไม่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ๑. บริษัท ม จากัดประกอบกิจการผลิตอาหาร มีสานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัด B ปจั จบุ นั มลี ูกจา้ งจานวน ๘๖ คน ๒. บริษัท ม จากัด ได้ทาสัญญาจ้างทาของกับบริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด โดยจ่ายค่าจ้างเป็นช้ินงานและกาหนดเป็นแผนงานให้ทั้ง ๒ บริษัท ทางานให้ได้เป้าหมาย โดยบริษัท ม จากัด ไม่ได้ตรวจสอบหรือกาหนดวิธีการทางานให้ บริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด ดูแลรับผิดชอบลูกจ้าง ของตนเอง ๓. บริษัท อ ประกอบกิจการผลิตอาหาร มีสานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัด S ปัจจบุ นั มีลูกจ้างจานวน ๒๖๗ คน ๔. บริษัท จ ประกอบกิจการรับเหมาแรงงาน มีสานักงานแห่งใหญ่ต้ังอยู่จังหวัด P ปจั จุบันมลี กู จ้างจานวน ๓๖๓ คน ๕. ลูกจ้างของบริษัท ม จากัด บริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด ทางานอยู่ ภายในสถานประกอบกิจการและท่ีต้ังเดียวกันคือ สานักงานสาขาของบริษัท ม จากัด ซึ่งตั้งอยู่จังหวัด A และทางานในลักษณะเดียวกัน โดยบริษัท ม จากัด เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการและดูแลพื้นท่ี ในการผลิต อาคารโรงงาน วสั ดุ อุปกรณ์และเคร่อื งจกั ร ขอ้ กฎหมาย ๑. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตินี้ ฯลฯ ๑

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และให้หมายความรวมถึงผู้ประกอบกิจการซึ่งยอมให้บุคคลหน่ึงบุคคลใดมาทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่ หรือในสถานประกอบกิจการ ไม่ว่าการทางานหรือการทาผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหน่ึงส่วนใดหรือทั้งหมด ในกระบวนการผลติ หรือธุรกจิ ในความรบั ผดิ ชอบของผู้ประกอบกจิ การน้นั หรือไมก่ ต็ าม “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้ หมายความรวมถึงผู้ซ่ึงได้รับความยินยอมให้ทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการ ของนายจ้างไมว่ า่ จะเรียกชอื่ อยา่ งไรก็ตาม ฯลฯ “สถานประกอบกิจการ” หมายความว่า หน่วยงานแต่ละแห่งของนายจ้างท่ีมีลูกจ้าง ทางานอยใู่ นหน่วยงาน ฯลฯ มาตรา ๑๓ ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขทกี่ าหนดในกฎกระทรวง ฯลฯ มาตรา ๒๓ ให้ผู้รับเหมาช้ันต้นและผู้รับเหมาช่วงตามกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองแรงงานมีหน้าท่ีดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของลูกจ้างเช่นเดยี วกบั นายจา้ ง ฯลฯ ๒. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ขอ้ ๑ กฎกระทรวงนใี้ ห้ใชบ้ ังคบั แก่กจิ การหรือสถานประกอบกิจการ ดงั ตอ่ ไปนี้ ฯลฯ (๒) การทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่งดัดแปลง แปรสภาพ ทาให้เสีย หรือทาลายซ่ึงวัตถุหรือทรัพย์สิน รวมท้ังการต่อเรือ การให้กาเนิด แปลง และจ่ายไฟฟ้าหรอื พลังงานอยา่ งอนื่ ฯลฯ ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๑) ที่มีลูกจ้างต้ังแต่ สองคนขึ้นไปและสถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๒) ถึง (๕) ท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่หนึ่งร้อยคนข้ึนไป ๒

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) แต่งต้ังลูกจ้างเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๑๗ ประจาสถานประกอบกจิ การอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ คน เพ่อื ปฏิบตั ิงานเฉพาะดา้ นความปลอดภยั ฯลฯ ข้อ ๒๓ สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคนข้ึนไป ให้นายจ้างจัดให้มี คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีกฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ หรือภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้าง ครบหา้ สบิ คน โดยมีองค์ประกอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปแต่ไม่ถึงหน่ึงร้อยคน ให้มีกรรมการไม่น้อยกว่าห้าคน ประกอบด้วย นายจ้างหรือผแู้ ทนนายจ้างระดับบริหาร เปน็ ประธานกรรมการ ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาหน่ึงคนและผู้แทนลูกจ้างสองคน เป็นกรรมการ โดยมีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ ขั้นสูงหรือระดับวชิ าชพี เปน็ กรรมการและเลขานุการ (๒) สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างตั้งแต่หนึ่งร้อยคนขึ้นไปแต่ไม่ถึงห้าร้อยคน ให้มกี รรมการไม่น้อยกว่าเจด็ คน ประกอบด้วย นายจา้ งหรือผ้แู ทนนายจ้างระดับบรหิ าร เปน็ ประธานกรรมการ ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาสองคนและผู้แทนลูกจ้างสามคน เป็นกรรมการ โดยมีเจ้าห น้าที่ ความปลอดภยั ในการทางานระดับวิชาชีพ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร (๓) สถานประกอบกจิ การท่มี ีลูกจ้างต้ังแตห่ ้ารอ้ ยคนข้นึ ไป ให้มกี รรมการไม่นอ้ ยกว่า สิบเอ็ดคน ประกอบด้วย นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนนายจ้าง ระดับบังคับบัญชาส่ีคนและผู้แทนลูกจ้างห้าคน เป็นกรรมการ โดยมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร ฯลฯ ตอบขอ้ หารอื ประเด็นที่ ๑ บริษัท ม จากัด บริษัท อ จากัดและบริษัท จ จากัด มีลูกจ้างทางาน อยู่ภายในที่ต้ังเดียวกัน จะจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานของแต่ละบริษัทแยกจากกันหรือไม่ เห็นว่า พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๔ ให้นิยามคาว่า “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความรวมถึง ผู้ประกอบกิจการซึ่งยอมให้ บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการไม่ว่าการทางาน ห รื อ ก า ร ท า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ น้ั น จ ะ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ส่ ว น ใ ด ห รื อ ท้ั ง ห ม ด ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ห รื อ ธุ ร กิ จ ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการน้ันหรือไม่ก็ตาม และคาว่า “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้าง ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความรวมถึง ผู้ซึ่งได้รับความยินยอมให้ทางาน หรือทาผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการของนายจ้างไม่ว่าจะเรียกช่ืออย่างไรก็ตาม ๓

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าบริษัท ม จากัด ประกอบกิจการผลิตอาหาร มีลูกจ้างจานวน ๘๖ คน ได้ทาสัญญาว่าจ้าง บริษัท อ จากัด ซึ่งประกอบกิจการผลิตอาหาร ให้ร่วมกันผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ในสถานประกอบกิจการของบริษัท ม จากัด ใช้เคร่ืองจักรและอุปกรณ์การทางานหลักของบริษัท ม จากัด โดยบริษัท อ จากัด ส่งลูกจ้างเข้ามาทางานในสถานประกอบกิจการของบริษัท ม จากัด จานวน ๒๖๗ คน นอกจากนี้ บริษัท ม จากัด ยังได้ทาสัญญาว่าจ้างบริษัท จ จากัด ซึ่งประกอบกิจการรับเหมาแรงงาน ให้ส่งลูกจ้างเข้ามาทางานในกระบวนการผลิต จานวน ๓๖๓ คน ลูกจ้างของบริษัท อ จากัด และลูกจ้าง ของบริษัท จ จากัด ท่ีเข้ามาทางานในสถานประกอบกิจการของบริษัท ม จากัด จึงเป็นผู้ซึ่งได้รบั ความยินยอม ให้ทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการของบริษัท ม จากัดจึงถือเป็น “ลูกจ้าง” ของบริษัท ม จากัด ตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ดงั น้ัน การนับจานวนลูกจ้างท้ังหมดในสถานประกอบกิจการจึงต้องนับรวมลกู จ้าง ของทง้ั สองบริษทั เปน็ ลกู จา้ งของบรษิ ัท ม จากัด ดว้ ย รวมลูกจา้ งทัง้ หมดจานวน ๗๑๖ คน ประเด็นพิจารณาต่อมา กรณีท่ีสถานประกอบกิจการจะต้องจัดให้มีคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของแต่ละบริษัทแยกจากกันหรือไม่ เห็นว่า บริษัท ม จากัด ประกอบกิจการผลิตอาหาร จึงเป็นสถานประกอบกิจการท่ีต้องอยู่ภายใต้ บังคับตามข้อ ๑ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ เมื่อนับรวมลูกจ้างท้ังหมด ในสถานประกอบกิจการ มีลูกจา้ งทง้ั หมดจานวน ๗๑๖ คน บริษัท ม เจ้าของสถานประกอบกิจการ จึงตอ้ งจัด ให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ ตามขอ้ ๒๓ แหง่ กฎกระทรวงฯ จานวน ๑ คณะ โดยบริษทั ม จากดั สามารถแต่งตัง้ ผู้แทนนายจ้างและเลอื กตั้ง ผู้แทนลูกจ้างระดับปฏิบัติการจากบริษัท อ จากัดและบริษัท จ จากัด เป็นคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ได้ อย่างไรก็ตาม เพ่ือความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง บริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด จะจัดให้มี คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ของตนเองเพิ่มเตมิ จากบริษัท ม จากัด หรือไมก่ ไ็ ด้ ประเด็นที่ ๒ บริษัท ม จากัด บริษัท อ จากัดและบริษัท จ จากัด มีลูกจ้างทางาน อยู่ภายใต้ที่ต้ังเดียวกัน จะต้องจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพประจา ทุกบริษัทหรือไม่ เห็นว่า บริษัท ม จากัด ประกอบกิจการผลิตอาหารประเภทนม ซ่ึงเป็นกิจการ ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๑ (๒) เมื่อบริษัท ม จากัด มีลูกจ้างครบตามจานวน ที่กฎกระทรวงฯ กาหนดจึงต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ของสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกฎหมายกาหนด ส่วนบริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด ซ่ึงเป็นนายจ้าง ได้ส่งลูกจ้างเข้าไปทางานในกระบวนการผลิตในสถานประกอบกิจการ ๔

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ของบริษัท ม จากัด จึงเข้าข่ายอยู่ภายใต้บังคับของกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าท่ี ความปลอดภัยด้วย เม่ือบริษัท อ จากัด และบริษัท จ จากัด มีจานวนลูกจ้างทางานในสถานประกอบกิจการ ครบจานวนตามที่กฎกระทรวงฯ กาหนด จึงต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ประจาสถานประกอบกจิ การเพอ่ื ดูแลความปลอดภัยในการทางานใหก้ ับลูกจ้างของตนเองดว้ ย หมายเหตุ อ้างอิงข้อหารือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กองนิติการ ที่ รง ๐๕๐๕/๘๒๑ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๕ -------------------------------------------------- สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เติมท่ี กล่มุ งานท่ีปรกึ ษากฎหมาย นติ กิ รรมและสัญญา กองนิตกิ าร กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน อาคารกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานชนั้ ๑๒ ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๙๒ , โทรสาร ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๘๕ ๕

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ข้อหารอื การเปลี่ยนชอ่ื สหภาพแรงงาน หนว่ ยงานที่หารอื หนว่ ยงานรัฐ หน่วยงานทีต่ อบ กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน ประเด็นขอ้ หารอื การจดั ทาประกาศนายทะเบยี น เรือ่ ง การเปล่ียนชอื่ สหภาพแรงงาน ข้อเท็จจรงิ ๑. สหภาพแรงงาน อ. แห่งประเทศไทย ได้ยื่นคาขอจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหภาพแรงงาน ตามมติที่ประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๕๑ ต่อนายทะเบียนสานักงานทะเบียน ประจาจังหวัด A และภายใต้ข้อบังคับสหภาพแรงงานฯ สหภาพแรงงาน อ. แห่งประเทศไทย เปลี่ยนช่ือเป็น สหภาพแรงงาน ช. แห่งประเทศไทย ซึ่งนายทะเบียนสานักงานทะเบียนประจาจังหวัดฯ ได้รับจดทะเบียน แก้ไขเพิ่ มเติมข้อบั งคับสห ภ าพ แรงงานฯ เมื่อปี ๒๕ ๕ ๑ แต่ไม่ได้จัดท าประกาศนายทะเบียน เรื่อง การเปล่ียนช่อื สหภาพแรงงาน ๒. จังหวัด A หารือถึงการปฏิบัติและข้ันตอนในการจัดทาประกาศนายทะเบียน ในกรณีที่นายทะเบียนได้รับจดทะเบียนแก้ไขข้อบังคับแล้ว แต่ไม่ได้จัดทาประกาศนายทะเบียน เรื่อง การเปล่ียนชื่อสหภาพแรงงาน โดยมีประเด็นการหารือว่า นายทะเบียนสานักงานทะเบียน ประจาจังหวัด A สามารถจัดทาประกาศนายทะเบียน เร่ือง การเปลี่ยนชื่อสหภาพแรงงาน และให้มีผล นบั แตว่ นั ทน่ี ายทะเบยี นไดร้ บั จดทะเบียนแกไ้ ขข้อบังคับไดห้ รือไม่ อยา่ งไร ๓. จังหวัด A โดยสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด A มีความเห็นว่า เม่ือนายทะเบียนได้จดทะเบียนข้อบังคับกรณีท่ีมีการเปล่ียนชื่อสหภาพแรงงานแล้ว แต่ยังไม่ได้ จัดทาประกาศนายทะเบียน เรื่อง การเปล่ียนช่ือสหภาพแรงงาน นายทะเบียนสามารถที่จะจัดทาประกาศ นายทะเบียน เร่ือง การเปล่ียนชื่อสหภาพแรงงาน และให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่นายทะเบียนได้รับ จดทะเบียนข้อบังคบั ตามคูม่ ือปฏิบตั งิ านด้านแรงงานสมั พนั ธ์ ฉบบั กสร. ๗/๒๕๕๖ ขอ้ กฎหมาย ๑. พระราชบญั ญตั ิแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙๐ ข้อบงั คับของสหภาพแรงงานอย่างนอ้ ยต้องมขี ้อความ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ช่อื ซึ่งตอ้ งมีคาวา่ “สหภาพแรงงาน” กากับไว้กับชื่อน้นั ด้วย ฯลฯ มาตรา ๙๑ เมอื่ นายทะเบียนไดร้ ับคาขอพรอ้ มทง้ั ร่างขอ้ บังคบั แล้ว เหน็ วา่ ผู้ยื่นคาขอ มีคุณสมบัติถูกต้องตามมาตรา ๘๘ ข้อบังคับถูกต้องตามมาตรา ๙๐ และวัตถุท่ีประสงค์ถูกต้อง ตามมาตรา ๘๖ วรรคสอง และไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียน และออกใบสาคัญแสดงการจดทะเบียนแก่สหภาพแรงงานน้นั ๑

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ถ้านายทะเบียนเห็นว่าคาขอหรือร่างข้อบังคับไม่ถูกต้องตามวรรคหนึ่ง ให้มีคาส่ัง ให้แก้ไขเพิ่ มเติมให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไขเพ่ิ มเติมถูกต้องแล้วให้ รับจดทะเบียนและออกใบสาคัญ แสดงการจดทะเบยี นแกส่ หภาพแรงงานน้นั ฯลฯ มาตรา ๙๒ ให้นายทะเบยี นประกาศการจดทะเบียนสหภาพแรงงานในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๙๔ การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของสหภาพแรงงานจะกระทาได้โดยมติของ ทป่ี ระชมุ ใหญแ่ ละตอ้ งนาไปจดทะเบยี นภายในสิบสวี่ ันนับแต่วันทที่ ่ปี ระชุมใหญล่ งมติ การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับตามวรรคหน่ึง จะมีผลใช้บังคับต่อเมื่อนายทะเบียน ได้รับจดทะเบียนแล้ว ใหน้ ามาตรา ๙๑ มาใชบ้ งั คบั แกก่ ารขอแก้ไขเพิม่ เตมิ ข้อบงั คบั โดยอนุโลม มาตรา ๑๐๓ สหภาพแรงงานจะกระทาการดังต่อไปน้ีได้กแ็ ต่โดยมติของที่ประชุมใหญ่ (๑) แก้ไขเพิ่มเตมิ ขอ้ บงั คบั ฯลฯ ๒. พระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๔๓ คาส่ังทางปกครองท่ีมีข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อยนั้น เจ้าหนา้ ทีอ่ าจแก้ไขเพมิ่ เติมไดเ้ สมอ ในการแก้ไขเพ่ิมเติมคาส่ังทางปกครองตามวรรคหน่ึงให้แจ้งให้ผู้เก่ียวข้องทราบ ตามควรแก่กรณี ในการน้ี เจ้าหน้าที่อาจเรียกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดส่งคาสั่งทางปกครอง เอกสารหรือวัตถุอื่นใด ที่ได้จดั ทาขึ้นเนือ่ งในการมคี าส่ังทางปกครองดังกล่าวมาเพ่ือการแก้ไขเพิม่ เติมได้ ๓. คู่มอื ปฏิบัติงานด้านแรงงานสมั พนั ธ์ (สาหรับเจา้ หน้าท่)ี การจดทะเบียนข้อบงั คับ ฯลฯ ๒. การพจิ ารณาตรวจสอบ ฯลฯ ค. ในกรณีจดทะเบียนแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ข้อบังคับ ตรวจสอบว่าขอ้ บังคับทีม่ ีการแก้ไข เพิ่มเติมน้ันถูกต้องตรงกบั ท่ีมีอยใู่ นรายงานการประชุมใหญ่ และมีข้อความขัดตอ่ กฎหมายและความสงบเรียบร้อย ของประชาชนหรอื ไม่ ในกรณีท่ีไมข่ ดั ใหเ้ สนอจดทะเบยี นตอ่ ไป ในกรณีข้อบังคับท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมมีท้ังส่วนที่ขัดต่อกฎหมายและส่วนที่ไม่ขัด ต่อกฎหมายใหเ้ สนอนายทะเบียนรบั จดทะเบียน และมีคาสั่งให้แก้ไขขอ้ ความส่วนท่ไี ม่ขดั ตอ่ กฎหมายให้ถูกตอ้ ง ๒

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) พร้อมแจ้งสิทธิอุทธรณ์ให้องค์การลูกจ้างองค์การนายจ้างทราบ เม่ือได้ประชุมใหญ่แก้ไขถูกต้องแล้ว จึงเสนอจดทะเบียน ในกรณีทีข่ ้อความท่ีแก้ไขเพิ่มเติมไม่ขดั ต่อกฎหมายแต่ไม่เหมาะสม ให้ทาหนังสือ ช้ีแจงแนะนาให้ผู้ยื่นคาขอทบทวนการแก้ไขเพิ่มเติมน้ัน หากผู้ย่ืนคาขอยังคงยืนยันท่ี จะให้เป็นไปตาม ที่ไดม้ มี ตไิ ปแล้วก็ใหเ้ สนอนายทะเบยี นรบั จดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับนนั้ เน่ืองจากข้อบังคับที่นายทะเบียนเคยรับจดทะเบียนไว้แล้วนั้น อาจมีข้อความ ขัดต่อกฎหมายได้ เนื่องจากแนวการตีความที่เปลี่ยนแปลงไปหรือด้วยเหตุอ่ืนก็ตาม ดังนั้น เจ้าหน้าท่ี จึงควรตรวจสอบความถูกต้องของข้อบังคับในส่วนที่ไม่ได้ขอแก้ไขเพ่ิมเติมด้วย ในกรณีท่ีข้อความเดิม ขัดต่อกฎหมายหรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้พิจารณาเสนอนายทะเบียนสั่งให้องค์การลูกจ้าง องค์การนายจ้างแก้ไขเพ่มิ เตมิ ข้อบังคบั ให้ถกู ต้องในการประชุมใหญ่คร้งั ต่อไปด้วย ในกรณีมีการแก้ไขเปล่ียนแปลงชื่อองค์การนายจ้างลูกจ้าง ให้จัดทาประกาศ น า ย ท ะ เบี ย น ส า นั ก ง า น ท ะ เบี ย น ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด พ ร้ อ ม กั บ ใบ ส า คั ญ แ ส ด ง ก า ร จ ด ท ะ เบี ย น ข้ อ บั ง คั บ เพ่อื นาสง่ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาดว้ ย ตอบขอ้ หารอื ตามมาตรา ๙๔ แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ บัญญัติว่า การแก้ไขเพ่มิ เตมิ ข้อบังคับของสหภาพแรงงานจะกระทาได้โดยมติของที่ประชุมใหญ่และต้องนาไปจดทะเบียน ภายในสิบส่ีวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่ ลงมติ ซึ่งการแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบังคับจะมีผลใช้บังคับ ต่อเมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนแล้ว และมาตรา ๑๐๓ บัญญัติว่า สหภาพแรงงานจะกระทาการ ดังต่อไปน้ีได้ก็แต่โดยมติของท่ีประชุมใหญ่ (๑) แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ฯลฯ ข้อบังคับสหภาพแรงงาน ช. แห่งประเทศไทย ข้อ ๑๖ การประชุมใหญ่ต้องมีสมาชิกฯ ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของสมาชิกฯ ทั้งหมด ตามทะเบียนเข้าประชุมจึงจะครบองค์ประชุม และข้อ ๒๐ กิจการดังต่อไปนี้จะกระทาได้โดย ท่ีประชุมใหญ่เท่านั้น (๕) การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ฯลฯ ประกอบข้อ ๔๔ วรรคสอง เมื่อแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว ประธานกรรมการต้องนาไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียนจังหวัดภายใน ๑๔ วันนับแต่วันที่ท่ีประชุมใหญ่ลงมติ เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า สหภาพแรงงานฯ ได้จัดประชุมใหญ่สามัญประจาปี ครั้งท่ี xx/๒๕๕๑ เมื่อปี ๒๕๕๑ เพื่อแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับสหภาพแรงงานฯ โดยในการประชุมมีสมาชิกเข้าประชุม จานวน ๒,๓๐๒ คน จากสมาชกิ ท้งั หมดตามทะเบียน จานวน ๒,๕๖๕ คน จงึ จะครบองค์ประชมุ ตามข้อบังคับของสหภาพแรงงานฯ ขอ้ ๑๖ และขอ้ ๒๐ เมื่อประธานกรรมการสหภาพแรงงานฯ ในขณะนั้น ไดย้ ื่นคาขอจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบังคับของสหภาพแรงงานฯ ซ่ึงอยู่ภายในระยะเวลา ๑๔ วันนับแต่วันท่ีท่ีประชุมใหญ่ ลงมติ จึงเป็นไปตามมาตรา ๙๔ มาตรา ๑๐๓ ประกอบมาตรา ๙๑ แหง่ พระราชบญั ญัติแรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ และข้อบังคับสหภาพแรงงานฯ ข้อ ๔๔ วรรคสอง เมื่อนายทะเบียนสานักงานทะเบียนประจาจังหวัด A ได้รับจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับสหภาพแรงงานฯ และออกใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ๓

ขอ้ หารือกฎหมายแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน (Department of Labour Protection and Welfare) ข้อบังคับสหภาพแรงงาน อ. แห่งประเทศไทย กรณีขอแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับสหภาพแรงงานฯ ตามข้อ ๑ การเปลี่ยนแปลงชื่อสหภาพแรงงาน จากเดิม “สหภาพแรงงาน อ. แห่งประเทศไทย” เปลี่ยนเป็น “ สหภาพแรงงาน ช. แห่งประเทศไทย” จึงมีผลใช้บังคับนับแต่วันท่ีนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนแล้ว ซึ่งการจัดทาประกาศการจดทะเบียนสหภาพแรงงานฯ ในราชกิจจานุเบกษา ตามมาตรา ๙๒ แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นเรื่องที่กฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เนื่องจากเป็นเรื่องท่ีมีความสาคัญกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตลอดจนความเป็นอยู่ ของประชาชนอย่างกวา้ งขวาง นายทะเบียนฯ จึงสามารถจดั ทาประกาศดังกลา่ ว เพ่ือใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายได้ โดยไม่จาต้องย้อนไปถึงวันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียน เนื่องจากไม่มีผลในทางกฎหมายแต่ประการใด จึงเห็นควรให้นายทะเบียนสานักงานทะเบียนประจาจังหวัด A จัดทาประกาศดังกล่าวพร้อมแนบใบสาคัญ แสดงการจดทะเบียนข้อบังคบั สหภาพแรงงานฯ เพือ่ นาส่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป หมายเหตุ อ้างอิงข้อหารือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กองนิติการ ท่ี รง ๐๕๐๕/๘๘๙ ลงวนั ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๕ -------------------------------------------------- สอบถามรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ที่ กลุ่มงานทป่ี รกึ ษากฎหมาย นิตกิ รรมและสญั ญา กองนิติการ กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน อาคารกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานช้ัน ๑๒ ถนนมติ รไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๙๒ , โทรสาร ๐ ๒๖๖๐ ๒๐๘๕ ๔