Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 4 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย

เล่มที่ 4 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย

Published by Guset User, 2022-08-23 13:21:01

Description: เล่มที่ 4 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย

Search

Read the Text Version

1 รปู แบบการจัดการเรยี น วทิ ยาการคำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสรมิ สร้างสมรรถนะนกั เรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เล่มท่ี 4 เรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั ว่าทีร่ อ้ ยตรชี ยั ยทุ ธ ถนอมวงษ์ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนเทศบาล 5 (กระดาษไทยอนเุ คราะห์) สงั กัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรี กรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

ก คำนำ รูปแบบการจดั การเรยี นวทิ ยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้าง สมรรถนะนักเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยดำเนินการ จดั ทำให้สอดคลอ้ งตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและสามารถเรียนรู้และฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง ถือว่ามีบทบาทต่อการเรียนและการทำงานใน ปัจจุบันเปน็ อย่างมาก เพื่อให้การเรียนการสอนที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพผู้รายงานจึงไดจ้ ัดทำส่อื ชดุ นี้ขึ้นมา ซึ่งหวังว่าจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนโดยตรงเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคแ์ ละมเี จตคติท่ีดีตอ่ การเรียน ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารูปแบบการจัดการเรียนวิทยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 น้ีจะพัฒนาการเรียนของนักเรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาขึน้ ไป ขอขอบพระคณุ นางสาวภริดา บอ่ พืชน์ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล 5 (กระดาษไทยอนเุ คราะห)์ และผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งทุกท่านท่ใี หค้ ำแนะนำในการจดั ทำรูปแบบการจัดการ เรียนวิทยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เลม่ น้ี ว่าท่รี อ้ ยตรีชยั ยุทธ ถนอมวงษ์

ข สารบญั เร่ือง หนา้ คำนำ ...............................................................................................................................ก สารบัญ ............................................................................................................................ข คำชี้แจง ...........................................................................................................................ค คำแนะนำการใช้งานสำหรับครู .......................................................................................ง คำแนะนำการใชง้ านสำหรับนกั เรยี น...............................................................................จ คำแนะนำการใชง้ านสำหรับนกั เรยี น...............................................................................ฉ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ .....................................................................................................1 แบบทดสอบก่อนเรียน ....................................................................................................2 ใบความรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ...............................................4 กิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง รู้ทัน ห่างไกลภัยคกุ คาม....................................................................8 ใบความรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง การป้องกันและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย...........9 กิจกรรมท่ี 2 เรื่อง แผนผังความคิดการป้องกันและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ...........12 ใบความรู้ที่ 3 เร่อื ง จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ........................................13 กจิ กรรมท่ี 3 เรื่อง จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ..........................................16 แบบทดสอบหลงั เรียน.....................................................................................................17 ภาคผนวก .......................................................................................................................19 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน............................................................................................20 เฉลยกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง รู้ทัน หา่ งไกลภัยคกุ คาม............................................................21 เฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง แผนผังความคดิ การป้องกันและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ..22 เฉลยกิจกรรมท่ี 3 เรือ่ ง จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ..................................23 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น.............................................................................................24 บรรณานกุ รม ..................................................................................................................25

ค คำชี้แจง รปู แบบการจัดการเรียนวทิ ยาการคำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะนกั เรียน กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 พัฒนาขึน้ มา เพ่ือแหลง่ ความรู้ของนักเรียน สง่ เสริมใหน้ กั เรียนเข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บใน ชวี ติ จริงอยา่ งเป็นข้ันตอน และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทันและมจี ริยธรรม รูปแบบการจัดการเรียนวิทยาการคำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการ เสริมสร้าง สมรรถนะนกั เรียน กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทั้งหมด 4 เล่ม ดังน้ี เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง การออกแบบและการเขยี นอลั กอริทึม เล่มท่ี 2 เรอ่ื ง การออกแบบและการเขยี นโปรแกรมเบื้องต้น เล่มที่ 3 เรอื่ ง การจดั การข้อมลู สารสนเทศ เลม่ ท่ี 4 เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

ง คำแนะนำการใชง้ านสำหรับครู รปู แบบการจัดการเรยี นวิทยาการคำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการ เสรมิ สร้างสมรรถนะนกั เรียน กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษา ปีท่ี 1 เลม่ ท่ี 4 เรอื่ ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ครูศกึ ษารูปแบบการจัดการเรยี นวทิ ยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบ บูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยม ศกึ ษาปที ี่ 1 เลม่ ที่ 4 เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั เลม่ นี้ใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นการใชง้ าน 2. ครชู ้ีแจงใหน้ ักเรียนเขา้ ใจวิธีการใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนวิทยาการคำนวณดว้ ยแนว ทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนกั เรยี น กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เลม่ ท่ี 4 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย 3. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นทุกครั้งเมอ่ื เร่มิ ใช้รูปแบบการจัดการเรียนวทิ ยาการ คำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการเสรมิ สร้างสมรรถนะนักเรียน กลมุ่ สาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 เลม่ ที่ 4 เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ในแต่ละเล่มและครเู ป็นผู้ตรวจ 4. ครูแนะนำและให้คำปรึกษาขณะนกั เรียนศกึ ษาใบความรู้และฝึกปฏิบัติตามกจิ กรรม ในรูปแบบการจัดการเรียนวทิ ยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้าง สมรรถนะนกั เรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เลม่ ท่ี 4 เร่ือง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย 5. ครูทบทวนความรู้แก่นักเรียนทุกครงั้ กอ่ นหมดเวลาตามท่กี ำหนด 6. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน เมอื่ จบการเรียนรู้ในรูปแบบการจัดการเรียน โดยใชช้ ดุ กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตรอ์ อนไลน์ เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดเชิงออกแบบ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เลม่ ที่ 4 เร่ือง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ งปลอดภัย ในแตล่ ะเลม่ แลว้ ส่งใหค้ รูตรวจ 7. ครปู ระเมนิ นกั เรยี นตามพฤติกรรมการเรียนร้ตู ามสภาพจรงิ พร้อมบนั ทกึ ผลทกุ ครัง้ ครูแจ้งผลการเรยี นกับนักเรียนทุกคร้งั เมื่อทำกิจกรรมการเรียนรู้เรยี บร้อยแล้ว

จ คำแนะนำการใชง้ านสำหรับนกั เรยี น รูปแบบการจัดการเรียนโดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นวทิ ยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนักเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เล่มท่ี 4 เรอื่ ง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. นักเรยี นศึกษาคำแนะนำการใชง้ านรูปแบบการจัดการเรียนวิทยาการคำนวณด้วยแนว ทาง New Normal แบบบรู ณาการเสรมิ สร้างสมรรถนะนกั เรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เลม่ ที่ 4 เรื่อง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เลม่ น้ใี หเ้ ข้าใจกอ่ นการใช้งาน 2. นักเรียนฟงั คำชแี้ จงการใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนวิทยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะนักเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 เลม่ ที่ 4 เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั จากครู ใหเ้ ขา้ ใจวิธีการใช้งานก่อนลงมือศกึ ษาดว้ ยตนเอง 3. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นทุกครง้ั เม่ือเร่ิมใช้รปู แบบการจัดการเรียนวิทยาการ คำนวณดว้ ยแนวทาง New Normal แบบบรู ณาการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะนักเรยี น กล่มุ สาระการ เรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เล่มท่ี 4 เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภัย แล้วส่งให้ครูตรวจ 4. นักเรียนศึกษาเนอ้ื หาสาระจากใบความรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ติ ามตัวอยา่ ง ทำกจิ กรรมดว้ ย ความต้ังใจ โดยมคี รคู อยแนะนำและใหค้ ำปรึกษาเสร็จแลว้ สง่ ใหค้ รตู รวจ 5. นกั เรยี นทบทวนความรู้ทไ่ี ดร้ บั ทุกคร้งั ก่อนหมดเวลา 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนทุกคร้ัง หลังการศึกษารูปแบบการจัดการเรียน วิทยาการคำนวณด้วยแนวทาง New Normal แบบบูรณาการเสริมสร้างสมรรถนะนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เล่มที่ 4 เร่อื ง การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั แล้วส่งใหค้ รูตรวจ

ฉ มาตรฐานและตัวชี้วดั สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชวี ติ จรงิ อย่าง เป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และ การแกป้ ัญหาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม ตัวชี้วดั ว 4.2 ม.1/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ใชส้ อื่ และแหลง่ ข้อมูลตามขอ้ กำหนดและ ขอ้ ตกลง สาระสำคญั 1. ความปลอดภัยของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นการนำระบบรกั ษาความปลอดภัยมาใช้ ร่วมกบั เทคนิคและเครือ่ งมอื ตา่ ง ๆในการปกปอ้ งคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ขอ้ มลู ระบบ เครอื ขา่ ยและการสอื่ สาร 2. ในโลกของอินเทอร์เนต็ ผ้ใู ช้ทุกคนสามารถเป็นผสู้ รา้ งเนื้อหาขอ้ มลู เป็นผ้เู ผยแพร่ข้อมลู ในขณะ เดยี วกันกเ็ ป็นผรู้ ับขอ้ มลู เป็นผู้อ่านขอ้ มูล เป็นผู้แสดงความคดิ เห็น อินเทอรเ์ นต็ จึงเออื้ ให้ เกดิ การส่งผ่านขอ้ มูล ความรู้ ความคดิ ข้อมลู ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบอย่างรวดเรว็ 3. จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื หลกั ศีลธรรมจรรยาที่กำหนดข้ึนเพื่อใช้ เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคมุ การใช้ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ สาระการเรียนรู้ 1. ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ 2. การป้องกันและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย 3. จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

1 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) 1. นักเรยี นอธบิ ายความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศได้ 2. นกั เรียนอธิบายการปอ้ งกันและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัยได้ 3. นกั เรยี นอธิบายจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ ด้านทกั ษะกระบวน (P) 1. การแก้ปญั หา 2. การใหเ้ หตุผล 3. การสือ่ ความหมาย คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) 1. ความรบั ผิดชอบ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เล่มท่ี 4 เรอื่ ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั คำชแ้ี จง ทำเคร่ืองหมาย  ทบั ตัวอกั ษร ก ข ค หรอื ง ตรงกบั อักษรท่ถี กู ท่สี ุด 1. ข้อใดเปน็ ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศทีถ่ กู ต้องมากทส่ี ดุ ก. การนำความรมู้ าประยุกต์ใช้จดั การกับสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ* ข. การนำความร้ทู างวิทยาศาสตรม์ าประยุกตใ์ ช้เพอื่ ให้เปน็ ระบบและรวดเร็ว ค. การนำวทิ ยาศาสตร์มาประยุกตใ์ ชเ้ พอื่ สร้างหรอื จัดการกับสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ ง. การนำความรทู้ างด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกตใ์ ชเ้ พื่อสร้างหรือจัดการกบั สารสนเทศ อย่างเปน็ ระบบ 2. ขอ้ ใดถือว่าเปน็ ภยั แฝงออนไลน์ ก. ปาลนิ ใช้เวลาว่างเล่นโซเชียล จนทำให้สอบไมผ่ ่าน ข. มุตาขายของออนไลน์ ค. สาลีสง่ งานอาจารยท์ างเมล์ ง. นาเดยี แจง้ ข่าวสารใหเ้ พ่ือนโดยใช้ Facebook 3. การทบ่ี ุคคลบุกรกุ ระบบคอมพิวเตอร์ เพอื่ ล็อกเครือ่ งคอมพิวเตอรไ์ มใ่ หส้ ามารถทำงานได้ จัดเป็นภยั คกุ คามต่อระบบคอมพิวเตอร์รูปแบบใด ก. ภยั คกุ คามท่ไี มม่ ีเปา้ หมาย ข. ภัยคกุ คามความเปน็ ส่วนตวั ค. ภัยคุกคามตอ่ ผู้ใชแ้ ละระบบ ง. ภยั คุกคามทสี่ ร้างความรำคาญ 4. โปรแกรมทถ่ี ูกบรรจุเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บข้อมูลเลขทบ่ี ญั ชีธนาคาร หมายเลขบัตร เครดิตคือข้อใด ก. มัลแวร์ ข. ม้าโทรจนั ค. ไวรสั คอมพิวเตอร์ ง. หนอนคอมพวิ เตอร์ 5. ขอ้ ใดคือวธิ ีที่ดีทส่ี ุดในการป้องกันไวรัสทคี่ ุกคามระบบคอมพวิ เตอร์ ก. เปล่ียนฮารด์ แวร์ ข. ลงโปรแกรมใหม่ ค. ลบไฟล์ทีต่ ดิ ไวรสั ง. ตรวจจับไฟลท์ ตี่ ิดไวรสั

3 6. บุคคลใดไมไ่ ด้ทำผดิ จรรยาบรรณในการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ก. อันดาไมพ่ อใจนิชา อันดาจงึ ไปโพสตอ่ วา่ นิชาในเฟซบกุ๊ ของตวั เอง ข. ขุนเขาเปน็ นายจา้ งไดเ้ ปดิ อา่ นอเี มลองคก์ รท่เี ป็นของแตงไทยซงึ่ เปน็ ลูกจ้าง ค. นาวาดาวน์โหลดโปรแกรมจากอนิ เทอรเ์ น็ตเพราะจะไดไ้ มต่ ้องเสียคา่ ลิขสิทธิ์ ง. นำ้ ฝนยมื คอมพวิ เตอรข์ องนำ้ หวาน แลว้ ลมื logout จากไลน์ นำ้ หวานจงึ เปิด อ่านไลน์ของน้ำฝน 7. นกั เรียนได้รบั ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศด้านใดมากทส่ี ดุ ก. ทำใหเ้ รยี นหนังสือได้สนุกยงิ่ ขึน้ ข. ค้นคว้าหาความรไู้ ดส้ ะดวกย่ิงข้นึ ค. ไดร้ บั ความสนุกจากการเล่นเกม ง. ทำให้ทำการบา้ นไดง้ ่าย 8. แนวโน้มของภัยคุกคามในอนาคตนา่ จะเป็นอย่างไรมากทีส่ ุด เพราะเหตใุ ด ก. ลดลง เนอ่ื งจากรัฐมีความเข้มงวดมากขึ้น ข. ลดลง เพราะมีระบบความปลอดภัยสงู จึงไมส่ ามารถบกุ รุกได้ ค. เพมิ่ ขึ้น เพราะระบบความปลอดภยั มจี ดุ อ่อนให้โจมตีมากข้ึน ง. เพิม่ ขึ้น เพราะสามารถดาวนโ์ หลดโปรแกรมจากอนิ เทอร์เน็ตได้ง่าย 9. ข้อใดไมใ่ ชม่ ารยาทในการใช้อินเตอร์เน็ต ก. ไม่ใชข้ อ้ ความหยาบคายในการสง่ ขอ้ ความ ข. ไมใ่ ชภ้ าพทไี่ ม่เหมาะสม ค. ไมค่ วรใช้ตัวอักษรตวั พิมพ์ใหญ่ท้งั หมด ง. ควรเคารพในสิทธสิ ว่ นบุคคลของผูอ้ ่นื 10. ไวรัสคอมพิวเตอร์สง่ ผลกระทบอย่างไรต่อสงั คม ก. เพิม่ จำนวนผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์ ข. เกิดความไมเ่ สมอภาค ค. เพม่ิ ปญั หาส่ิงแวดล้อม ง. เกดิ ความเสียหายแกข่ อ้ มูล

4 ใบความรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ในปจั จบุ ันมกี ารใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งแพรห่ ลาย ดว้ ยประโยชนท์ ่ีหลากหลายในการเข้าถงึ ข้อมลู รวมทั้งการสง่ ข่าวสาร ถงึ กันอยา่ งสะดวกและรวดเรว็ ส่งิ ท่ผี ใู้ ชง้ านจะตอ้ งตระหนกั ถึงใช้ เทคโนโลยสี าสนเทศอย่างปลอดภยั และไม่ละเมดิ หรอื กระทำการใด ๆส่งผลใหผ้ ูอ้ ื่น ได้รบั ความเสยี หาย ดังนั้น ผูใ้ ช้งานตอ้ งใช้สารสนเทศอยา่ ง สรา้ งสรรคแ์ ละเกิดประโยชนส์ งู สดุ ความปลอดภยั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความปลอดภัยของเทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ นโยบาย ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ แลมาตรการทาง เทคนิคที่นำมาใชป้ ้องกันการใชง้ านจากบคุ คลภายนอก การเปล่ียนแปลง การขโมย หรอื ทำความเสยี หาย ตอ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ การนำระบบรกั ษาความปลอดภัยมาใชร้ ่วมกับเทคนิคและเคร่ืองมือตา่ ง ๆ ในการปกปอ้ งคอมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ ข้อมลู ระบบเครอื ขา่ ยและการส่ือสาร มาเพ่ือปอ้ งกนั ภยั คุกคามตา่ ง ๆ ท่เี ขา้ มาสเู่ ทคโนโลยสี ารสนเทศภัยคกุ คามต่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ภัยคุกคามตอ่ ฮารด์ แวร์ เป็นภยั คุกคามที่ทำให้อปุ กรณ์คอมพิวเตอรฮ์ ารด์ แวร์เกดิ การเสียหาย เชน่ ระบบการจ่ายไฟฟ้าเขา้ สคู่ อมพวิ เตอรม์ ีความผิดพลาดทำใหอ้ ุปกรณฮ์ ารด์ แวร์ภายในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เกดิ การชำรุดเสียหายและไมส่ ามารถใชง้ านได้ การลักขโมยหรือการทำลายคอมพิวเตอรฮ์ าร์ดแวร์โดยตรง เป็นต้น 2. ภยั คกุ คามตอ่ ซอฟต์แวร์ เป็นภยั คุกคามทที่ ำให้ซอฟตแ์ วร์ใช้งานไมไ่ ด้ หรือซอฟต์แวร์ทำงาน ผดิ พลาด ทำใหไ้ ด้ผลลัพธท์ ี่ไมถ่ ูกตอ้ งจากการทำงานของซอฟต์แวร์ รวมถงึ การลบ การเปลี่ยนแปลง การแก้ไขกระบวนการทำงานของซอฟต์แวร์ 3. ภยั คกุ คามตอ่ ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร เป็นภยั คุกคามทมี่ ีผลทำให้ระบบของเครอื ข่าย และการส่ือสารขดั ขอ้ ง ไม่สามารถใช้งานระบบครือข่ายและ สื่อสารได้ รวมทั้งการเข้าถึงอุปกรณ์เครือข่ายเพื่อปรับแต่ง และแกไ้ ขการทำงานโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต 4. ภัยคุกคามต่อข้อมูล เป็นภัยคุกคามที่ทำให้ข้อมูล ที่เป็นส่วนตัว หรือเป็นความลับถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับ อนุญาต การเปลี่ยนแปลงแก้ไข ลบ หรือนำข้อมูลใด ๆ ไปใช้ ประโยชนโ์ ดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

5 รูปแบบภยั คุกคามต่อระบบรักษาความปลอดภัยทางคอมพวิ เตอร์ ภยั คกุ คามท่เี กดิ ขึ้นกบั ระบบรกั ษาความปลอดภยั ของคอมพิวเตอร์ แบง่ ออกเปน็ 5 รูปแบบ ดงั น้ี 1. ภยั คกุ คามแก่ระบบ เป็นภยั คกุ คามจากผ้มู ีเจตนารา้ ยเข้ามาทำการปรับเปล่ียน แก้ไขหรอื ลบไฟลข์ ้อมูลสำคัญภายในระบบคอมพิวเตอร์ แลว้ ส่งผลใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ ระบบคอมพวิ เตอร์ ทำให้คอมพวิ เตอรไ์ ม่สามารถใช้งานได้ เช่น แครกเกอรห์ รอื ผทู้ ่ีมคี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ทำการบกุ รกุ ดว้ ยเจตนาร้าย (Cracker) เจาะเขา้ ไปในระบบเพ่อื ลบไฟลร์ ะบบ ปฏิบัติการ เป็นต้น 2. ภัยคกุ คามความเป็นส่วนตวั เปน็ ภยั คกุ คาม ที่แครกเกอร์ (Cracker) เขา้ มาทำการเจาะขอ้ มูลสว่ น บคุ คล หรือตดิ ตามร่องรอยพฤติกรรมของผ้ใู ช้งาน แลว้ สง่ ผลให้เกิดความเสียหายขน้ึ เช่น การใช้โปรแกรมสปาย แวร์ (spyware) ติดต้ังบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของบคุ คล อื่น และสง่ รายงานพฤติกรรมของผ้ใู ช้ผา่ นทางระบบ เครือข่ายหรือทางอีเมลไปยังบริษทั สินค้า เพ่ือใช้เป็น ขอ้ มลู สำหรับสง่ โฆษณา ขายสนิ คา้ ต่อไป เปน็ ต้น 3. ภัยคุกคามตอ่ ผใู้ ช้และระบบ เป็นภัยคกุ คามท่ีสง่ ผลเสียใหแ้ ก่ผ้ใู ชง้ านและเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอยา่ งมาก เช่น การล็อกเคร่อื งคอมพิวเตอรไ์ มใ่ ห้ทำงาน หรอื บังคบั ใหผ้ ู้ใชง้ านปิดเบราวเ์ ซอรข์ ณะ ใชง้ าน เป็นต้น 4. ภยั คกุ คามท่ีไม่มีเปา้ หมาย เปน็ ภัยคกุ คามทีไ่ มม่ เี ป้าหมายแนน่ อน เพยี งต้องการสร้างจดุ สนใจ โดยไม่กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายขึน้ เช่น สง่ ขอ้ ความหรืออึเมลรบกวนผ้ใู ช้งานในระบบหลาย ๆ คน ในลักษณะทเ่ี รียกวา่ สแปม (Spam) เปน็ ตน้ 5. ภยั คุกคามทส่ี รา้ งความรำคาญ โดยปราศจากความเสยี หายท่ีจะเกดิ ขนึ้ เชน่ โปรแกรมเปล่ยี นการ ตง้ั ค่าคณุ ลักษณะในการทำงานของเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ ห้ดา่ งไปจากท่เี คยกำหนดไว้โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

6 รูปแบบภยั คกุ คามด้านขอ้ มลู ในคอมพิวเตอร์ 1. มลั แวร์ (Malware) คอื โปรแกรมท่ีถูกสร้างขน้ึ มาเพือ่ ประสงคร์ ้ายตอ่ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ มลั แวรจ์ ะขโมยข้อมูลหรือพยายามทำให้เครอ่ื งทต่ี ิดตั้งชอฟตแ์ วรเ์ กิดความเสยี หาย 2. ไวรสั คอมพิวเตอร์ (Computer virus) คอื โปรแกรมชนิดหนึง่ ท่มี คี วามสามารถในการสำเนา ตัวเองเข้าไปแพร่เช้อื ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เพอ่ื ทำลายข้อมูล และยังสามารถแพร่ระบาดเข้าสรู่ ะบบ คอมพวิ เตอร์อนื่ ๆ 3. หนอนคอมพวิ เตอร์ (Computer worm) คือ โปรแกรมที่ ถกู สร้างขน้ึ แลว้ แพรก่ ระจายผ่านระบบ เน็ตเวิร์ก หรืออินเทอร์เนต็ ผ่านชอ่ งโหว่ของระบบ ปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื สร้าง ความเสยี หาย ลบไฟล์ สร้างไฟล์ หรอื ขโมยข้อมูล โดยส่วน ใหญ่แล้วหนอนคอมพวิ เตอร์ จะแพร่กระจายผ่านการสง่ อีเมลทแ่ี นบไฟล์ ซึ่งมหี นอนคอมพิวเตอรอ์ ย่ไู ปยงั ชื่อผตู้ ดิ ตอ่ ของเคร่อื งที่โดนติดต้งั 4. ม้าโทรจนั (Trojan horse) คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทถ่ี ูกบรรจเุ ข้าไปในคอมพวิ เตอร์เพอื่ เกบ็ ข้อมูลหรอื ทำลายขอ้ มูลของคอมพวิ เตอร์เครื่องน้ัน เชน่ ขอ้ มูลชอื่ ผูใ้ ช้ รหัสผ่าน เลขทีบ่ ัญชธี นาคาร หมายเลขบตั รเครดติ ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลอ่นื ๆ 5. สปายแวร์ (Spyware) คอื โปรแกรมทฝ่ี งั ตัวอย่ใู นคอมพวิ เตอรท์ ำใหท้ ราบขอ้ มลู ของผู้ใชง้ าน โดยท่ีเจา้ ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์นน้ั ไมส่ ามารถทราบไดว้ ่ามีการดักดูขอ้ มลู การใชง้ านอยูแ่ ละสปายแวร์ บางตวั สามารถบันทกึ ประวตั กิ ารเขา้ ใชง้ านคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานได้ Social Media หมายถงึ สงั คมออนไลนท์ มี่ ผี ู้ใช้เป็นผู้สอื่ สาร หรอื เขยี นเลา่ เน้อื หาประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวดิ ีโอ ทีร่ ู้ใชเ้ ขยี นขนึ้ เองหรือพบเจอจากสื่อตา่ ง ๆ แลว้ แบ่งปนั ใหก้ บั ผูอ้ ่ืนทอ่ี ยู่ในเครือขา่ ยของ ตนผ่านทางส่ือสงั คมออนไลน์ เช่น Facebook. Line Twitter เปน็ ต้น

7 แนวโน้มของภยั คกุ คามในอนาคต แนวโนม้ ภัยคกุ คามในอนาคตอาจมาในรูปแบบของการแทรกซมึ เขา้ ไปในโปรแกรมประยุกต์ท่ีผู้ใช้ งานได้ทำการดาวน์โหลดจากแอปพลิเคชันสโตร์ของผูใ้ หบ้ ริการ โดยเฉพาะโปรแกรมในกลุม่ ของส่อื สังคม ออนไลน์ เนื่องจากอุปกรณ์พกพารวมถงึ โปรแกรมในกลุ่มของสงั คมออนไลน์นั้นต้องมีการเข้าสู่ระบบการ ทำงานบนอินเทอร์เน็ตตลอดเวลา ซ่ึงอาจจะมกี ารลกั ลอบขโมยขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้ และหากสามารถเข้าไปใน ขอ้ มลู ที่เก็บไว้ในอปุ กรณ์ อาจเชื่อมโยงไปถึงการค้นหาพิกดั สถานทจี่ นทำให้เกดิ อนั ตรายกับตวั ผู้ใช้งานได้ ภัยคุกคามที่เป็นอันตรายในช่วงที่ผ่านมามีหลายประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามสังคมออนไลน์ ซึ่งส่วนใหญ่จะมาในรูปแบบของข้อมูลหรือสารสนเทศ เช่น ข้อมูลปลอม (False Information) สงคราม ขา่ วสาร (Information Warfare) โฆษณาชวนเชอ่ื (Propaganda) และการล้างสมอง (Brin washing) เป็น ต้น การรู้เท่าทันสื่อจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่มนุษย์ในสังคมจะต้องตระหนักและมีวิจารณญาณในการตัดสินใจ เพราะตัวเราล้อมรอบไปด้วยสื่อ และสื่อกม็ ีอิทธพิ ลตอ่ ความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเมื่ออินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงและแพร่กระจายเน้ือหาสื่ออย่างกว้างขวางและรวดเร็ว

8 กิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง รู้ทนั ห่างไกลภัยคกุ คาม คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นพิจารณาสถานการณต์ ่อไปน้ีแลว้ ตอบคำถามใหค้ รอบคลุมทกุ ประเดน็ …ส…ถ…าน…ก…า…รณ……์ท…ี่ 1………………………………………………………………………………………………………………… …ศ…ร…ชัย……ใช…้ช…ีวติ…ป…ร…ะจ…ำ…ว…นั ส…ว่ …น…ให…ญ…่อ…ย…ใู่ น…โ…ล…กอ…อ…น…ไล…น…์ …โด…ย…ใช…้ U…s…e…rn…a…m…e…แ…ล…ะ…P…as…s…w…o…rd…อ…ย…่าง…… …เด…ยี …ว…ก…นั ค…ือ…0…5…1…0…25…5…0…ซ…งึ่ เ…ป…็น…วัน…เ…ดอื…น…ป…ีเก…ิด…ใ…น…ก…าร…L…o…g…in……เข…้า…ระ…บ…บ…S…o…ci…a…l N…e…t…w…or…k…แ…ล…ะ… …ก…าร…ท…ำ…ธุร…ก…ร…รม…อ…อ…น…ไล…น…์ บ…น…อ…ุป…กร…ณ…์เ…ค…รอื่ …ง…มือ…ส…อื่ …ส…าร…แ…ล…ะ…ค…อม…พ…วิ …เต…อ…ร…์โน…้ต…บ…ุ๊ค…โด…ย…ไ…ม่…L…og……ou…t… ………………….. 1. พฤติกรรมใดในสถานการณ์ เป็นการใช้เทคโนโลยที ่เี สี่ยงตอ่ ภัยคุกคาม เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2….…จ…าก…ส…ถ…าน…ก…า…รณ……ข์ า้…ง…ตน้…จ…ะ…เก…ดิ …ผ…ล…กร…ะ…ท…บ…ตอ่…ศ…ร…ชัย…ผ…ูอ้ …น่ื …อ…ย่า…ง…ไร…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..……………………………………………………………… 3. จงเสนอแนวทางในการใชเ้ ทคโนโลยีตามสถานการณ์ข้างต้นอย่างปลอดภัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..………………………………………………………………

9 ใบความรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การปอ้ งกันและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ในยคุ ปัจจบุ นั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร หรือ ICT (Information and Communication Technology) ไดพ้ ัฒนาไปอยา่ งรวดเร็ว ครอบคลมุ เกอื บทกุ พื้นที่ท่ัวโลก เชอ่ื มโยงผู้ใชง้ านในทกุ เพศ ทกุ วยั เข้าดว้ ยกนั โดยสือ่ ICT คือ ส่ือทใี่ ชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การสารสนเทศในการส่อื สาร ถ่ายทอด ข้อมูลความรูต้ า่ ง ๆ จากผู้สง่ สารไปยงั ผู้รับสาร ทำให้การสง่ ผ่านข่าวสารขอ้ มลู จากท่ีหนึ่งไปยงั อกี ที่หนึ่ง ทำไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว ราคาประหยัด สามารถส่งข้อมูลไดห้ ลากหลายรปู แบบ และทำไดด้ ้วยเวลา อันสั้นเพียงเส้ยี ววนิ าที ในโลกของอินเทอร์เน็ต ผ้ใู ช้ทุกคนสามารถเป็นผสู้ รา้ งเน้อื หาข้อมลู เป็นผู้เผยแพรข่ อ้ มูลในขณะ เดียวกนั ก็เปน็ ผู้รบั ข้อมลู เปน็ ผอู้ ่านข้อมลู เป็นผู้แสดงความคิดเหน็ ยกตวั อย่างเช่น เมื่อตง้ั กระทู้แล้วมี คนมาตอบ เป็นต้น อินเทอร์เน็ตจงึ เอือ้ ใหเ้ กดิ การสง่ ผา่ นข้อมลู ความรู้ ความคิดขอ้ มลู ท้งั ดา้ นบวกและ ดา้ นลบอยา่ งรวดเรว็ เนอ่ื งจากเราทำหลายอย่างบนอนิ เทอร์เน็ต ไมว่ ่าจะเปน็ การสบื ค้นขอ้ มลู การอ่านข่าวสารการแสดงความคดิ เห็น การ พดู คุยสนทนา การเรยี กดูและเผยแพร่รูปภาพ คลิปวดิ ีโอต่าง ๆ ซ่ึงหมายความว่า สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ เปดิ โอกาสให้เราเป็นทง้ั ผรู้ บั สาร และผสู้ ่งสาร เป็นทั้งผอู้ ่านและผเู้ ขียน เราจึงต้องเพม่ิ ความระมัดระวงั ไม่ใหส้ ิง่ ทไี่ ดอ้ ่านได้สมั ผสั มามีอทิ ธพิ ลต่อความคดิ ความเชือ่ ของเรา ในขณะเดียวกนั เราต้อง ไม่จงใจเขยี นหรือเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสารท่ีจะทำให้ผู้อ่นื ตกเปน็ เหย่ือโดยรูไ้ ม่เทา่ ทัน วธิ ีการปอ้ งกันและการใช้เทคโนโลยีสารสนทศให้ปลอดภัยจากภยั คุกคามตา่ ง ๆ มีหลายวิธดี ังน้ี - หมัน่ ตรวจสอบ และอัปเดตระบบปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ เวอรช์ ันปจั จุบนั และควรใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ าร และซอฟตแ์ วรท์ ีถ่ กู ลขิ สทิ ธ์ิ - สงั เกตขณะเปิดเคร่ืองว่ามโี ปรแกรมไมพ่ ึงประสงคท์ ำงานขึ้นมาพร้อมกับการเปิดเครอ่ื งหรือไม่ โดยสงั เกตระยะเวลาในการบูตเคร่อื งว่านานผดิ ปกติหรอื ไม่ - ติดตงั้ โปรแกรมปอ้ งกันไวรัสและมกี ารอัปเดตโปรแกรมปอ้ งกนั ไวรัส และฐานข้อมูลไวรัสสมำ่ เสมอ - ตอ้ ง login เขา้ ใชง้ านทุกครัง้ และเมอ่ื ไม่ไดอ้ ย่หู น้าจอคอมพิวเตอรค์ วรลอ็ กหนา้ จอให้อยู่ใน สถานะท่ีต้องใส่ค่า login ใช้งาน

10 - ตดิ ตั้งไฟร์วอลล์ เพ่ือทำหน้าทเ่ี หมือนเปน็ กำแพงในการปอ้ งกันคนทไ่ี มไ่ ด้รบั อนญุ าตไมใ่ หเ้ ขา้ มา ใชง้ านเคร่ืองคอมพวิ เตอร์หรอื ระบบเครือข่าย ซงึ่ ชว่ ยปอ้ งกนั การบกุ รุกของแฮกเกอรแ์ ละแครกเกอร์ - ไม่ควรเขา้ เวบ็ ไซดเ์ สย่ี งภัยเช่น เวบ็ ไซตล์ ามกอนาจารเว็บไซตก์ ารพนัน เว็บไซต์แบบแนบ ไฟล์ .exe เว็บไซตท์ มี่ ีpop-up หลายเพจ เวบ็ ไซต์ท่มี ลี ิงกไ์ ม่ตรงกบั ชอ่ื - ควรแบค็ อัปข้อมลู ไวใ้ นอุปกรณ์หนว่ ยความจำอ่ืน นอกเหนือจากฮาร์ดดสิ ก์เชน่ flash drive DVD เป็นตน้ - ไม่เปิดเผยขอ้ มลู สว่ นตวั ผา่ นส่ือสงั คมออนไลน์ เช่น เลขทีบ่ ัตรประชาชน ประวัตกิ ารทำงานเบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต แนวโน้มระบบรกั ษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบันมีการพฒั นาและเกิดความเปลี่ยนแปลงข้ึนอย่ตู ลอดเวลา ดังนน้ั ระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจำเป็นและควรได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องตามไปด้วย ระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกรูปแบบได้ ดงั นี้ 1. ระบบรักษาความปลอดภยั สำหรับเคร่ืองผู้ใช้ ระบบทมี่ ไี ว้เพือ่ ปอ้ งกันภัยคกุ คามจากผู้ท่ี ประสงค์ร้ายตอ่ ข้อมลู ส่วนบุคคลที่เปน็ ความลับ รวมไปถึงข้อมูลในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลจากผู้ ท่ีตอ้ งการคุกคามผู้ใช้คอมพวิ เตอร์บนโลกอนิ เทอร์เน็ต 2. ระบบปอ้ งกันการโจรกรรมขอ้ มูล แม้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยอำนวยความสะดวกแก่ ผูใ้ ชง้ าน แต่ก็อาจมีชอ่ งโหว่ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดการโจรกรรมข้อมลู ส่วนบคุ คล เพื่อนำไปทำธรุ กรรมทางการเงิน ตา่ ง ๆ ดังนัน้ ระบบป้องการโจรกรรมขอ้ มูลจึงมี ความจำเปน็ อย่างมากในอนาคต 3. ระบบการเขา้ รหัสข้อมลู การเข้ารหัสขอ้ มลู มี จดุ ประสงค์เพ่อื รกั ษาความลับของขอ้ มูลข้อมูลนน้ั จะถูก เปิดอ่านโดยบคุ คลทีไ่ ดร้ ับอนญุ าตเท่าน้ัน หลักการของ การเข้ารหสั ข้อมูล คือแปลงขอ้ มลู ใหอ้ ยู่ในรปู ของข้อมูลที่ ไม่สามารถอ่านได้โดยตรง โดยข้อมลู จะถูกถอดกลับด้วย กระบวนการถอดรหัส 4. ระบบปอ้ งกนั การเจาะข้อมูล เปน็ การป้องกันการโจมตีจากแฮกเกอร์ (Hacker) โดยแฮกเกอร์ จะหาจุดอ่อนหรอื ช่องโหว่ของระบบ จากนนั้ จะทำการเจาะเข้ามาใน Server และเขา้ มาทำความ เสียหายใหก้ บั ขอ้ มูลแล้วทำการเรยี กค่าไถ่ (Hijacking) เพื่อใหข้ ้อมลู กลบั มาเป็นปกติ 5. ระบบป้องกันแฟม้ ข้อมูลสว่ นบุคคล การคุ้มครองและเกบ็ รักษาข้อมลู ส่วนบุคคลไวเ้ ป็น ความลับโดยทำการเก็บภายในแฟ้มข้อมลู สว่ นบคุ คล เพื่อป้องกันข้อมลู จากผ้ไู ม่ประสงคด์ ี

11 6. ระบบรักษาความปลอดภยั สำหรับเครือข่าย เมอ่ื ต้องการรกั ษาคอมพิวเตอร์บนเครอื ข่ายให้ ปลอดภัย ควรเปิดการปรับปรงุ อัตโนมตั บิ นคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครือ่ ง เช่น วนิ โดวส์ (Windows) สามารถติดตง้ั การปรับปรงุ ท่สี ำคญั ไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ 7. ระบบปอ้ งกันไวรสั เปน็ โปรแกรมท่สี รา้ งขึน้ เพ่ือคอยตรวจจับ ป้องกนั และกำจัดโปรแกรม คุกคามทางคอมพวิ เตอร์หรือซอฟตแ์ วรค์ ุกคามประเภทอื่น ๆ วิธีการปอ้ งกนั การถกู โจรกรรมข้อมูล 1. อปั เดตระบบปฏิบตั กิ ารและโปรแกรมต่าง ๆ โดยเฉพาะโปรแกรม Antivirus ท่ใี ช้งานอย่างสมำ่ เสมอ ไม่ว่าจะเปน็ วนิ โดวสห์ รอื ระบบ ปฏบิ ัติการตัวอ่ืน ๆ เพ่ือไม่ใหเ้ กดิ ช่องโหวท่ ีอ่ าจ จะเออ้ื ใหแ้ ฮกเกอร์ (Hacker) สามารถจาะระบบเขา้ มาได้ 2. ถงึ จะมโี ปรแกรม Antivirus อยแู่ ล้วแต่บางคร้ังกอ็ าจจะมไี วรัสบางตัวท่ีหลดุ รอดเข้ามาได้ วิธีการ ที่ดีทสี่ ุด คอื ควรสแกนอุปกรณ์เกบ็ ข้อมูลทุกครงั้ ไม่วา่ จะเป็นในการ์ดหน่วยความจำ หรอื อปุ กรณ์เกบ็ ขอ้ มูล ต่าง ๆ เช่น Flash Drive กอ่ นนำมาใชง้ านเพือ่ ปอ้ งกนั ไวรัสเขา้ มาทำลายระบบของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 3. ตดิ ตง้ั ระบบรกั ษาความปลอดภัยของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (Firewall) เพ่ือปอ้ งกันการโจมตีจาก แฮกเกอร์ (Hacker) และเป็นการป้องกันการรบั -สง่ ขอ้ มลู ที่ไมต่ ้องการทงั้ จากโปรแกรมสปายแวร์ หรือ โปรแกรมอน่ื ๆ ทีอ่ าจจะเปน็ การเปดิ ชอ่ งโหวในการโจมตไี ดอ้ กี 4.ระมดั ระวงั การเล่นอินเทอรเ์ นต็ เพ่มิ มากขน้ึ โดยเฉพาะเวบ็ ไซตด์ ูภาพยนตร์ ฟังเพลงถ้าเข้าไป อาจจะตดิ ไวรัสหรือโดนโจรกรรมขอ้ มลู โดยไมร่ ู้ตวั เลยดว้ ยซ้ำ 5. ฝกึ ตนเองให้เปน็ คนรอบคอบและจำใหข้ ้นึ ใจว่า ปลอดภยั ไว้ก่อน การให้ข้อมลู สว่ นตวั ท่ีสำคญั บางอย่างผ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ ตอ้ งทำอยา่ งระมดั ระวัง มีอกี วิธกี ารที่จะชว่ ยเพม่ิ ความม่ันใจได้มาก ขึน้ ตวั อยา่ งเช่น การเขา้ รหัสข้อมลู ก่อนส่ง หรือกรอกข้อมลู ในเว็บไซต์ที่เชอื่ ถอื ไดแ้ ละมรี ะบบรกั ษา ความปลอดภัยแน่นหนาเท่านนั้ 6. ติดตามขา่ วสารอยู่เสมอเพ่อื ทจ่ี ะไดร้ ะมดั ระวงั และหาทางป้องกนั ภยั ทอ่ี าจจะเกิดขึ้น กับตนเองตลอดเวลา 7. จดั การสภาพแวดลอ้ มทางอินเทอร์เน็ตให้เปน็ ระบบปดิ มากทีส่ ดุ 8. เปลี่ยนแนวทางการตั้งรหัสผ่านในการเขา้ ถึงระบบต่าง ๆ ท้งั องค์กรใหม้ ีความแขง็ แรงมากขน้ึ โดยจุดประสงค์ คอื การทำให้หัส ผา่ นสามารถคาดเดาไดย้ าก ควรตง้ั รหัสผ่านเพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภัย ดังน้ี - ควรตง้ั รหัสผ่านให้มีความยาว 8 ตัวข้นึ ไป - มีการผสมตวั อักษรทั้งพมิ พใ์ หญ่ และพิมพ์เล็ก - มีการผสมตวั อกั ษรกบั ตัวเลข - ใชอ้ ักขระพิเศษในตวั อักษร

12 กิจกรรมที่ 2 เรอื่ ง แผนผงั ความคดิ การป้องกันและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นแผนผงั ความคิดการปอ้ งกันและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..

13 ใบความรู้ที่ 3 เรือ่ ง จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ จรยิ ธรรม คือ หลักประพฤตปิ ฏิบัติทถ่ี กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั การทำหนา้ ท่ีของบุคคล เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทาง ในการปฏิบตั ติ นอยา่ งสมบูรณ์และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานท่ดี งี ามอนั เปน็ ทย่ี อมรบั ของสังคม จริยธรรมในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ หลักศลี ธรรมจรรยาที่กำหนดข้ึนเพือ่ ใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื ควบคุมการใช้ ระบบคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ เมอื่ พจิ ารณาถึงจริยธรรมเก่ยี วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จะแบ่ง ออกเป็น 4 ประเดน็ ดังน้ี 1. ความเป็นส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวของขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยท่วั ไปจะหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ ตามลำพงั และเป็นสทิ ธทิ ี่เจา้ ของสามารถท่จี ะควบคุมขอ้ มูลของตนเองในการเปิดเผยใหก้ บั ผ้อู นื่ สิทธนิ ใ้ี ช้ได้ ครอบคลุมทง้ั สาระสำคญั สว่ นบุดคล กลมุ่ บคุ คล องคก์ ร และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ 2. ความถูกตอ้ ง ข้อมูลควรไดร้ บั การตรวจสอบความถูกต้องก่อนทจ่ี ะบันทกึ ขอ้ มลู เก็บไวร้ วมถึงการ ปรบั ปรงุ ข้อมูลให้มคี วามทนั สมยั อย่เู สมอ นอกจากนี้ ควรให้สทิ ธแิ กบ่ ุดคลในการเขา้ ไปตรวจสอบความ ถกู ต้องของขอ้ มูลของตนเองได้ 3. ความเป็นเจ้าของ เปน็ กรรมสทิ ธ์ใิ นการถอื ครอง ทรัพย์สิน ซงึ่ อาจเปน็ ทรพั ย์สนิ ทวั่ ไปท่จี บั ต้องได้ เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรอื อาจเป็นทรพั ยส์ ินทางปญั ญาที่จบั ต้อง ไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แตส่ ามารถถา่ ยทอด และบนั ทกึ ลงในสอ่ื ได้ เช่น สิ่งพมิ พ์ ซีดรี อม เป็นตน้ 4. การเขา้ ถงึ ข้อมูล การเข้าใชง้ านโปรแกรมหรือระบบ คอมพวิ เตอร์ มกั จะมีการกำหนดสทิ ธติ ามระดบั ของผูใ้ ชง้ าน ทง้ั น้ี เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั การเข้าไปดำเนินการตา่ ง ๆ กับข้อมลู ของผใู้ ชท้ ี่ไม่มสี ว่ นเกย่ี วข้อง และเปน็ การรกั ษาความลบั ของข้อมลู จรรยาบรรณ์ในการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือกอ่ อาชญากรรมหรือละเมิดสทิ ธิของผอู้ ่นื 2. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์รบกวนผอู้ ืน่ 3. ไม่ทำการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดูไฟลเ์ อกสารของผู้อ่นื ก่อนไดร้ บั อนญุ าต 4. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์ในการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5. ไม่ใช้คอมพวิ เตอรส์ ร้างหลักฐานเท็จ 6. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรใ์ นการคัดลอกโปรแกรมทมี่ ลี ิขสทิ ธิ์ 7. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ในการละเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยตนเองไมม่ ีสทิ ธิ์ 8. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์เพอื่ นำเอาผลงานของผ้อู ่นื มาเปน็ ของตนเอง 9. คำนึงถึงผลของการกระทำทจี่ ะเกิดขึน้ ต่อสังคม 10. ใช้คอมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ า และมารยาท

14 ข้อกำหนดข้อตกลงในการใช้แหล่งขอ้ มูล สารสนเทศถูกสร้างสรรค์ขึ้นมากมายในปัจจุบนั การเข้าถึงสารสนเทศทำได้งา่ ยและสะดวก จึงมกี ารตดั ลอกหรือนำสารสนเทศท่ไี มใ่ ช่ลิขสทิ ธข์ิ องตนไปใช้งานโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต การจัดทำ สญั ญาอนุญาต (Creative Commons : CC) ข้นึ เพื่อใหเ้ จ้าของสารสนเทศไดม้ อบสทิ ธใิ์ นการทำ ซำ้ เผยแพร จัดแสดง ตัดแปลงสารสนเทศของตนใหแ้ กบ่ คุ คลอ่ืนนำไปใช้ได้ Creative Common คือ ชดุ สัญญาอนุญาตแบบเปดิ กวา้ ง หรือสัญญาอนญุ าตใหใ้ ช้งานท่รี วมกนั เป็นชุด โดยมคี วาม เก่ยี วขอ้ งกบั สง่ิ ต่อไปน้ี 1. ลิขสทิ ธ์ิ (Copyright) คือ สิทธ์ขิ องผู้สรา้ ง โดยสทิ ธ์นิ ี้จะรวมไปถงึ ชน้ิ งาน หรือวธิ กี ารซึ่ง หลงั จากมีการเผยแพรแ่ ล้ว ลขิ สทิ ธ์ิจะตกเป็นของผสู้ ร้างโดยอัตโนมตั ิ 2. สิทธบิ ตั ร (Patent) คมุ้ ครอง กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงาน สิทธบิ ตั รจะตา่ งจากลิขสทิ ธ์ิ ที่ตอ้ งย่ืนขอจดสทิ ธิบัตรไปยังกรมทรพั ย์สินทางปญั ญา มขี ั้นตอนด้านเอกสารและค่าใชจ้ า่ ยเกิดข้ึน 3. ทรพั ย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ซ่ึงครอบคลมุ ลิขสทิ ธิ์ สิทธบิ ัตร เครอ่ื งหมาย การคา้ (Trademark) และดวามลบั ทางการค้า (Trade Secret) เปน็ ต้น ปัจจุบันประเทศสว่ นมากจะใช้ระบบกฎหมายด้านทรัพยส์ ิน ทางปญั ญาตามสนธิสญั ญา กรุงเบิร์น ซงึ่ รวมไปถงึ ประเทศไทยด้วย ตามสนธิสัญญากรุงเบริ น์น้ัน ลิขสทิ ธจิ์ ะเปน็ ของผสู้ ร้าง โดยทันทที ่ี เผยแพร่ผลงานนั้นออกไป ความเปน็ เจ้าของสิทธ์เิ กดิ ข้นึ โดยอัตโนมัตใิ นทาง กฎหมายและสทิ ธิน์ ีส้ ามารถสง่ ต่อใหก้ ับผูอ้ ื่นได้ หากต้องการ นำผลงานนัน้ ไปใชง้ านตอ่ ต้องขออนญุ าตเจา้ ของผลงาน มารยาทของผู้ใชส้ ่ือหรือแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ บนอินเทอรเ์ นต็ ในฐานะทเ่ี ราเปน็ บุคคลที่ใช้สือ่ หรอื แหล่งข้อมลู ต่าง ๆ บนอนิ เทอรเ์ น็ต ดงั นั้น เราควรมีมารยาทในการใชส้ ่อื หรอื แหล่งขอ้ มูล - ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูล และขา่ วสารตา่ ง ๆ กอ่ นนำไปเผยแพร่บนเครือข่ายเพื่อให้ ได้ข้อมลู ทีเ่ ป็นจรงิ - ใชภ้ าษาที่สภุ าพและเป็นทางการในการเผยแพร่ขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ - เผยแพร่ขอ้ มลู และข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ไม่ควรนำเสนอข้อมลู - ไม่แชรข์ า่ วสารท่ขี ัดตอ่ ศีลธรรมและจริยธรรมอันดี รวมทัง้ ข้อมูลที่ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหา ยตอ่ ผู้อ่ืน - ควรระบุแหล่งทม่ี า วันเดือนปที ที่ ำการเผยแพร่ขอ้ มูล รวมทง้ั ควรมคี ำแนะนำ และคำอธบิ าย การใชข้ ้อมลู ที่ชดั เจน - ควรระบุข้อมูลขา่ วสารท่ีเผยแพรใหช้ ดั เจนว่าเป็นโฆษณา ความคดิ เหน็ หรือความจรงิ

15 - ไมค่ วรเผยแพร่ข้อมูล ขา่ วสาร หรอื โปรแกรมของผอู้ นื่ กอ่ นไดร้ ับอนญุ าต และไม่ควร แก้ไข เปล่ียนแปลงข้อมลู ของผู้อื่นท่เี ผยแพร่บน เครือข่าย - ไม่ควรเผยแพร่โปรแกรมท่นี ำความเสยี หาย เชน่ ไวรสั คอมพวิ เตอรเ์ ข้าสู่ระบบเครอื ขา่ ยและควร ตรวจสอบแฟ้มขอ้ มลู ข่าวสาร หรือโปรแกรมวา่ ปลอดไวรสั ก่อนเผยแพร่เขา้ สู่ระบบอินเทอร์เนต็ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ความปลอดภัยของเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื นโยบาย ขั้นตอนการปฏิบัติ และมาตรการทาง เทคนิคที่นำมาใช้ป้องกันการใช้งานจากบุคคลภายนอก การเปลี่ยนแปลง การขโมย หรือการทำ ความสียหายต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการนำระบบรักษาความปลอดภัยมาใช้ร่วมกับเทคนิ ค และเครื่องมือต่าง ๆ ในการปกป้องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ระบบเครือข่ายและ การสื่อสาร เพื่อป้องกันภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เข้ามาสู่เทคโนโลยีสารสนเทศ ภัยคุกคามต่อเทคโนโลยี สารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี 1. ภัยคกุ คามต่อฮารด์ แวร์ 2. ภยั คุกคามต่อซอฟต์แวร์ 3. ภยั คุกคามต่อระบบเครอื ข่ายและการส่อื สาร 4. ภยั คกุ คามตอ่ ข้อมูล

16 กจิ กรรมท่ี 3 เรอื่ ง จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ คำชแี้ จง ให้นกั เรียนอ่านสถานการณ์ทีก่ ำหนด แล้วตอบคำถาม ……ม…ิง่ …ข…วัญ…น…ำ…โน…ต้…บ…๊กุ …ไป…ซ…อ่ …ม…ท…รี่ ้า…น…ซ…่อม…ค…อ…ม…พ…ิวเ…ต…อร…์แ…ห…่งเ…ว…ลา…ผ…่าน…ไ…ป…1…ส…ัป…ด…า…ห์…เพ…่ือ…น…ข…อ…งม…่งิ …ขว…ัญ…… ……ไ…ด…้ม…าบ…อ…ก…ก…ับม…่ิง…ข…วญั…ม…ีค…น…น…ำ…ภา…พ…ข…อ…งม…ิง่ …ขว…ญั …ไ…ป…ใช…้แ…อ…บอ…้า…ง…บน…เ…วบ็…ไ…ซ…ต์ห…น…ึ่ง…โด…ย…ไม…ไ่ …ด…้รับ…อ…น…ญุ …า…ต… ……แ…ล…ะ…เม…อ่ื …ม…ง่ิ ข…ว…ัญ…เป…ิด…ด…กู …พ็ …บว…่า…เ…ป…น็ ข…อ…ง…ตน…จ…ร…งิ …จ…งึ ท…ำ…ให…้ม…ิ่ง…ขว…ัญ…ร…ู้ส…กึ ไ…ม…่ด…เี ป…็น…อ…ยา่…ง…ม…าก………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……1…...จากกรณขี องม่ิงขวญั ผู้ทน่ี ำภาพของผู้อืน่ ไปใชแ้ อบอ้างโดยไม่ใด้รับอนญุ าติ ขาดจริยธรรม ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านใด อธบิ ายพรอ้ มให้เหตุผลประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………2……….……………เ……ม………ื่อ……………เ……ก………ดิ……………เ……………ห……ต………กุ……………า……………รณ…………………………ด์ ัง……………ก……………ล……………่าว……………ไ……………อ……………รนิ……………ค……………ว……………ร……แ………ก……………ป้ ……………ญั ……………ห……………า……………อย……….….่า……………ง………ไ……ร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………3…………….………………………ใ…………ห………………น…้…………………ัก………………………เ…………ร……………ยี ………………………น………………………บ…………อ………………………ก……………จ………………………ร………………………ร…………ย……………า………………………บ………………………ร…………ร……………ณ………………………์ใ………………………น…………ก………………………า……………ร………………………ใช………………………้ง…………า……………น………………………เ…………ท………………………ค……………โ………………………น…………โ…………..ล………………………ย………………………ีส……………า…………ร………………………ส……………น………………………เ…………ท………………………ศ……………ม………………………า………………………3…………………………………ข……………้อ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….….……. …………4.…ใ…ห้น…ัก…เ…รีย…น…บ…อ…กม…า…ร…ยา…ท…ข…อ…งผ…้ใู ช…ส้ …ื่อ…ห…รอื…แ…ห…ล…ง่ ข…อ้ …ม…ลู …ตา่…ง…ๆ…บ…น…อ…ิน…เท…อ…ร…์เน…ต็ …ใ…น…ฐา…น…ะ…ทเ่ี…ร…าเ…ป…น็ บุคคลท่ใี ช้ส่อื หรอื แหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ บนอนิ เทอร์เน็ตมา 3 ขอ้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……5.…ภ…ยั …ค…ุก…คา…ม…ต…่อเ…ท…ค…โน…โล…ย…สี …า…รส…น…เท…ศ…แ…บ…ง่ อ…อ…ก…เป…็น…ก…่ีป…ระ…เภ…ท……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

17 แบบทดสอบหลงั เรยี น เล่มท่ี 4 เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั คำชี้แจง ทำเครอ่ื งหมาย  ทับตวั อักษร ก ข ค หรือ ง ตรงกบั อกั ษรทถี่ กู ทส่ี ุด 1. โปรแกรมทถ่ี ูกบรรจุเขา้ คอมพิวเตอร์เพื่อเก็บขอ้ มูลเลขทบี่ ัญชธี นาคาร หมายเลขบตั ร เครดิตคอื ขอ้ ใด ก. มลั แวร์ ข. ม้าโทรจนั ค. ไวรัสคอมพิวเตอร์ ง. หนอนคอมพวิ เตอร์ 2. ขอ้ ใดคอื วธิ ีทด่ี ีทสี่ ุดในการปอ้ งกนั ไวรสั ทีค่ กุ คามระบบคอมพวิ เตอร์ ก. เปล่ียนฮาร์ดแวร์ ข. ลงโปรแกรมใหม่ ค. ลบไฟลท์ ่ีติดไวรัส ง. ตรวจจับไฟล์ทีต่ ิดไวรัส 3. ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกตอ้ งมากทส่ี ุด ก. การนำความรมู้ าประยุกตใ์ ชจ้ ัดการกบั สารสนเทศอย่างเป็นระบบ* ข. การนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ช้เพ่ือใหเ้ ปน็ ระบบและรวดเร็ว ค. การนำวทิ ยาศาสตรม์ าประยุกต์ใช้เพ่ือสร้างหรอื จัดการกับสารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ ง. การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใชเ้ พอื่ สร้างหรอื จดั การกบั สารสนเทศ อยา่ งเปน็ ระบบ 4. ข้อใดถือว่าเป็นภยั แฝงออนไลน์ ก. ปาลินใชเ้ วลาว่างเลน่ โซเชยี ล จนทำให้สอบไม่ผ่าน ข. มตุ าขายของออนไลน์ ค. สาลีส่งงานอาจารย์ทางเมล์ ง. นาเดยี แจง้ ข่าวสารใหเ้ พ่ือนโดยใช้ Facebook 5. การทีบ่ ุคคลบกุ รุกระบบคอมพิวเตอร์ เพือ่ ล็อกเครื่องคอมพิวเตอรไ์ ม่ใหส้ ามารถทำงานได้ จัดเปน็ ภัยคกุ คามต่อระบบคอมพิวเตอร์รูปแบบใด ก. ภัยคุกคามท่ีไมม่ ีเป้าหมาย ข. ภยั คุกคามความเป็นสว่ นตวั ค. ภัยคกุ คามต่อผ้ใู ช้และระบบ ง. ภัยคุกคามทส่ี รา้ งความรำคาญ

18 6. ข้อใดไม่ใชม่ ารยาทในการใช้อนิ เตอร์เนต็ ก. ไมใ่ ชข้ ้อความหยาบคายในการส่งข้อความ ข. ไม่ใชภ้ าพที่ไม่เหมาะสม ค. ไมค่ วรใช้ตัวอกั ษรตวั พิมพใ์ หญท่ ง้ั หมด ง. ควรเคารพในสทิ ธิส่วนบุคคลของผูอ้ ่ืน 7. ไวรสั คอมพิวเตอรส์ ่งผลกระทบอยา่ งไรต่อสังคม ก. เพ่ิมจำนวนผใู้ ช้คอมพิวเตอร์ ข. เกดิ ความไมเ่ สมอภาค ค. เพ่มิ ปัญหาส่งิ แวดล้อม ง. เกิดความเสยี หายแก่ข้อมลู 8. บุคคลใดไมไ่ ดท้ ำผดิ จรรยาบรรณในการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ก. อันดาไม่พอใจนชิ า อนั ดาจึงไปโพสต่อวา่ นิชาในเฟซบกุ๊ ของตัวเอง ข. ขุนเขาเปน็ นายจ้างไดเ้ ปดิ อ่านอีเมลองค์กรทเ่ี ปน็ ของแตงไทยซ่งึ เปน็ ลูกจา้ ง ค. นาวาดาวน์โหลดโปรแกรมจากอินเทอรเ์ นต็ เพราะจะไดไ้ มต่ ้องเสยี ค่าลิขสทิ ธ์ิ ง. นำ้ ฝนยมื คอมพิวเตอรข์ องน้ำหวาน แล้วลมื logout จากไลน์ น้ำหวานจึงเปิด อา่ นไลนข์ องนำ้ ฝน 9. นกั เรยี นได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศด้านใดมากท่สี ุด ก. ทำให้เรียนหนงั สือได้สนกุ ยง่ิ ข้นึ ข. คน้ ควา้ หาความรู้ไดส้ ะดวกยง่ิ ข้นึ ค. ได้รบั ความสนุกจากการเล่นเกม ง. ทำให้ทำการบา้ นไดง้ า่ ย 10. แนวโนม้ ของภยั คกุ คามในอนาคตนา่ จะเปน็ อย่างไรมากที่สุด เพราะเหตุใด ก. ลดลง เนอ่ื งจากรัฐมีความเขม้ งวดมากขึน้ ข. ลดลง เพราะมรี ะบบความปลอดภัยสูงจงึ ไม่สามารถบุกรกุ ได้ ค. เพ่ิมข้ึน เพราะระบบความปลอดภัยมีจดุ อ่อนให้โจมตีมากขน้ึ ง. เพมิ่ ขน้ึ เพราะสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมจากอนิ เทอร์เน็ตได้งา่ ย

19 ภาคผนวก

20 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ข้อ คำตอบ 1. ก 2. ก 3. ค 4. ข 5. ง 6. ก 7. ข 8. ง 9. ค 10. ง

21 เฉลยกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง รทู้ ัน ห่างไกลภัยคกุ คาม คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนพิจารณาสถานการณต์ ่อไปน้ีแลว้ ตอบคำถามใหค้ รอบคลุมทกุ ประเด็น …ส…ถ…าน…ก…า…รณ……ท์ …่ี 1………………………………………………………………………………………………………………… …ศ…ร…ชัย……ใช…้ช…ีวติ…ป…ร…ะจ…ำ…ว…นั ส…่ว…น…ให…ญ…อ่…ย…ใู่ น…โ…ล…กอ…อ…น…ไล…น…์ …โด…ย…ใช…้ U…s…e…rn…a…m…e…แ…ล…ะ…P…as…s…w…o…rd…อ…ย…า่ ง…… …เด…ยี …ว…ก…นั ค…ือ…0…5…1…0…25…5…0…ซ…งึ่ เ…ป…น็ …วัน…เ…ดือ…น…ป…ีเก…ดิ …ใ…น…ก…าร…L…o…g…in……เข…้า…ระ…บ…บ…S…o…ci…a…l N…e…t…w…or…k…แ…ล…ะ… …ก…าร…ท…ำ…ธรุ…ก…ร…รม…อ…อ…น…ไล…น…์ บ…น…อ…ุป…กร…ณ…เ์ …ค…ร่ือ…ง…มือ…ส…ื่อ…ส…าร…แ…ล…ะ…ค…อม…พ…วิ …เต…อ…ร…์โน…้ต…บ…คุ๊ …โด…ย…ไ…ม่…L…og……ou…t… ………………….. 1. พฤตกิ รรมใดในสถานการณ์ เป็นการใช้เทคโนโลยที ี่เสยี่ งต่อภยั คุกคาม เพราะเหตใุ ด …………1….…ก…าร…ใช…้ …U…se…r…แ…ล…ะ …P…as…sw…o…r…d…อ…ย…า่ ง…เด…ยี …ว…กนั……ใน…ก…า…รใ…ช…ร้ ะ…บ…บ…S…o…ci…a…l N…e…t…w…or…k…แ…ล…ะก…า…ร…ทำ… …ธ…รุ ก…ร…ร…มอ…อ…น…ไล…น…์ ซ…่งึ …ถ…้าห…า…ก…โด…น…ข…โม…ย…ไป…ห…ร…อื …ถกู…แ…ฮ…ก…เก…อ…ร์เ…ข้า…โ…จม…ต…ี ก…็จ…ะ…เป…็น…ภ…ัย…ตอ่…เ…รา…อ…า…จ…ส่ง…ผ…ล……… …ก…ระ…ท…บ…ท…้ัง…ทา…ง…รา่…ง…กา…ย…ท…ร…ัพ…ย…์สนิ……แ…ละ…อ…ื่น…ๆ………………………………………………………………………………… …………2….…ต…ัง้ ร…ห…สั …เป…็น…ว…ัน…เด…อื …น…ป…ี ซ…่ึง…คา…ด…เด…า…ได…้ง…่าย……ถ้า…ม…ีบ…ุค…คล…อ…ืน่ …ท…ี่รูข้…้อ…ม…ลู …ใน…ส…ว่ …นน…้ี ……………………….. …………3….…ก…าร…ไม…่ …Lo…g…o…u…t…ร…ะบ…บ……ท…ำใ…ห…้บ…คุ ค…ล…อ…่ืน…สา…ม…า…รถ…เข…้า…ม…าด…ขู …้อ…ม…ูลส…่ว…น…ต…วั …ห…รือ……ท…ำธ…รุ …กร…ร…ม……… …อ…อ…นไ…ล…น…์ ห…ร…ือ…ใช…ช้ …ื่อ…เร…า…ไป…แ…อ…บอ…้า…ง…ใน…ก…าร…ก…ร…ะท…ำ…ค…วา…ม…ผ…ิดไ…ด…้ ……………………………………………………… 2….…จ…าก…ส…ถ…าน…ก…า…รณ……์ข้า…ง…ต้น…จ…ะ…เก…ดิ …ผ…ล…กร…ะ…ท…บ…ตอ่…ศ…ร…ชัย…ผ…ู้อ…น่ื …อ…ยา่…ง…ไร…………………………………………………… ………………………1….……ถ……ูก……คน้……ข……้อ……ม……ลู ……สว่……น……ต……ัว……ไม……่ว……่า……จะ……เ…ป…น็……ช……ื่อ……จ……รงิ……น….…า……ม…ส……ก…ลุ……จ……ร…ิง……เ…บ……อ…ร…โ์……ท……ร…ศ…ัพ……ท……์ …เ…ล…ข……บ……ตั …ร……ป……ร…ะ…ช……า…ช……น…………. …ร…ูป…ถ…่าย…แ…ล…ะ…อ…่นื …ๆ…เ…พ…่ือน…ำ…ไป…ใ…ช…้ป…ระ…โย…ช…น…์ใน…ท…า…งท…ี่ผ…ิด…………………………………………………………………… ……………2.…ถ…ูก…โจ…ร…กร…ร…ม…ขอ้…ม…ูล…ส…่วน…ต…ัว…อ…า…จน…ำ…F…a…c…eb…o…o…k,…l…in…e…, ห…ร…อื …S…o…ci…al…m……ed…ia……อน่ื……ๆ…ท…่เี ป…็น…ข…อ…ง …ป…ก…ร…ณ…์ศ…กั ด…์ิ …ไป…แ…อ…บ…อ้า…ง…เพ…ื่อ…ก…ระ…ท…ำ…คว…า…ม…ผิด……ห…ลอ…ก…ล…วง…ผ…อู้ …ืน่ …คน…ร…้า…ยอ…า…จ…ขโ…ม…ยร…ห…ัส…ผ…า่ น…บ…ญั …ช…ี I…nt…e…rn…e..t …R…a…n…ki…ng…เ…พ…อ่ื …ขโ…ม…ย…เง…ินท…ที่…ำ…ให…้เ…จ้า…ข…อ…งบ…ัญ…ช…สี …ญู …เส…ีย…ท…ร…พั ย…์ …………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..……………………………………………………………… 3. จงเสนอแนวทางในการใช้เทคโนโลยีตามสถานการณข์ า้ งต้นอยา่ งปลอดภัย …………ส…ว่ …นแ…น…ว…ท…าง…ก…าร…ต…ัง้ …รห…สั …ผ…่าน…ท…ปี่ …ล…อ…ดภ…ัย……คว…ร…ต…ั้งร…ห…ัส…ผ่า…น…ต…ง้ั แ…ต…่ ม…คี …ว…าม…ย…า…วอ…ย…า่ …งน…อ้ …ย…8…………… …ต…วั อ…ัก…ษ…ร…หร…อื …ม…าก…ก…ว…่าน…น้ั …ป…ร…ะก…อ…บ…ด…้วย…อ…ัก…ข…ระ…ด…ังต…อ่ …ไ…ปน…ีอ้…ย…า่ …งน…อ้ …ย…2…ใ…น…3……………………………………… …………-…ต…วั อ…กั …ษ…ร…(…a-…z,…A…-Z…)……………………………………………………………………………………………………… …………-…ต…ัวเ…ล…ข…(0…-…9)……………………………………………………………………………………………………………….. …………-…เค…ร…ื่อ…งห…ม…า…ยห…ร…อื …อ…กั ข…ร…ะ…พ…ิเศ…ษ…(…l@…#…5…%…^…&…am……p…:*0……+1…~…=…\\…'0…0:…8&…q…u…o…t;…&#…3…9…:&…lt….&…g…t?…, …… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..………………………………………………………………

22 เฉลยกจิ กรรมท่ี 2 เรือ่ ง แผนผงั ความคดิ การปอ้ งกันและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ คำช้แี จง ให้นักเรยี นเขียนแผนผงั ความคิดการป้องกันและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……….. พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของครูผ้สู อน

23 เฉลยกิจกรรมที่ 3 เรื่อง จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ คำช้แี จง ให้นกั เรยี นอ่านสถานการณ์ท่กี ำหนด แล้วตอบคำถาม ……ม…่งิ …ข…วญั…น…ำ…โน…้ต…บ…กุ๊ …ไป…ซ…อ่ …ม…ท…ร่ี ้า…น…ซ…อ่ ม…ค…อ…ม…พ…ิวเ…ต…อร…์แ…ห…่งเ…ว…ลา…ผ…่าน…ไ…ป…1…ส…ัป…ด…า…ห์…เพ…่อื …น…ข…อ…งม…่ิง…ขว…ัญ…… ……ไ…ด…ม้ …าบ…อ…ก…ก…ับม…่งิ…ข…วัญ…ม…คี…น…น…ำ…ภา…พ…ข…อ…งม…ิ่ง…ขว…ัญ…ไ…ป…ใช…แ้ …อ…บอ…้า…ง…บน…เ…วบ็…ไ…ซ…ต์ห…น…่ึง…โด…ย…ไม…ไ่ …ด…้รับ…อ…น…ุญ…า…ต… ……แ…ล…ะ…เม…ื่อ…ม…ง่ิ ข…ว…ัญ…เป…ดิ …ด…ูก…พ็ …บว…่า…เ…ป…น็ ข…อ…ง…ตน…จ…ร…ิง…จ…ึงท…ำ…ให…้ม…ง่ิ …ขว…ัญ…ร…สู้ …กึ ไ…ม…ด่ …ีเป…น็ …อ…ยา่…ง…ม…าก………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……1…...จากกรณีของม่ิงขวัญผู้ที่นำภาพของผ้อู นื่ ไปใชแ้ อบอา้ งโดยไม่ใด้รับอนุญาติ ขาดจริยธรรม ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านใด อธิบายพรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ …ค…ว…า…มเ…ป…็น…ส่ว…น…ต…วั …เพ…ร…า…ะ…ค…วา…ม…เป…็น…ส…่ว…นต…ัว…ข…อ…งข…้อ…ม…ูลแ…ล…ะ…สา…ร…ส…นเ…ท…ศ…โ…ดย…ท…ัว่ …ไป…จ…ะ…ห…มา…ย…ถ…ึง …สิท…ธ…ทิ …ี่ … …จ…ะ…อ…ยูต่…า…ม…ล…ำพ…ัง…แ…ล…ะ…เป…็น…ส…ิทธ…ทิ …ี่เจ…า้ …ข…อ…งส…า…มา…ร…ถ…ที่จ…ะ…ค…วบ…ค…มุ …ข…้อ…มูล…ข…อ…งต…น…เ…อง…ใ…นก…า…ร…เป…ดิ …เผ…ย…ให…้ก…ับ…… …ผ…้อู …ื่น……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………แ………จ……2………้ง.……………คเ……มว………า่ือ……………มเ……ก………เพิด……………ื่อเ……………หด……ต………ำุกเ……………นา……………ินรณ……ค………ด……………์ดกี งั……………ับก……………ลเจ……………่าา้ ว……………ขไ……อ………อง……………รริน……………้านค……………วซ……………ร่อ……แ………มก……………คป้ อ……………ัญม……………พห……………าิว……………อเตย…….…….อา่……………รง…์……ไ……ร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………3…………….………………………ใ…………213ห……………...…น……้………………กั…………ไไไ……………มมมเ…………รท่ใใ่่……………ยีชช…………ำ……………นค้ค้ ก………………………บออา…………มมอร………………………สพพก……………อจ…………ิิวว……………ดรเเ…………ตต……………รแออ…………ยน……………รรา…………ม……………ร์์เบพ…………บ……………รแ่อื…………กรก……………กณว…………้ไ……………อ่ขน์ใ…………อ……………นผห…………า้อูก……………รช…………ื่นาอื……………ญร…………เ……………ใปาช…………ก……………ดิ ้ง…………รดา……………รน…………ไู ……………มฟเ…………หท……………ล…………รคเ์……………ออืโ………………………นกล…………โส….………ะ.ล……………เา…………มยร………………………ิดีสข……………าสอ…………ร…………ิท…ง…………สผธ……………น…………อู้ิข……………เ่นื…………อท……………กง…………ศผอ่……………ม…………อู้น……………า…………น่ื ไ……………ด3……………………้ร……………ขับ……………อ้…………อ……………น………………………ุญ………………………า…………ต……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….….……. …………4.…ใ…ห้น…กั…เ…รยี …น…บ…อ…กม…า…ร…ยา…ท…ข…อ…งผ…ใู้ ช…ส้ …่ือ…ห…รือ…แ…ห…ล…่งข…อ้ …ม…ูล…ตา่…ง…ๆ…บ…น…อ…นิ …เท…อ…ร…์เน…ต็ …ใ…น…ฐา…น…ะ…ทเี่…ร…าเ…ป…น็ บคุ คลทใ่ี ชส้ อื่ หรือแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ บนอินเทอร์เนต็ มา 3 ขอ้ …………1…. ใ…ช…ภ้ …าษ…า…ท…ีส่ …ภุ า…พ…แ…ล…ะเ…ป…็น…ทา…ง…ก…าร…ใน…ก…า…รเ…ผ…ยแ…พ…ร…ข่ …้อม…ลู …บ…น…อ…ินเ…ท…อ…ร์เ…น…็ต……………………………… …………2…. เ…ผ…ยแ…พ…ร…ข่ …้อม…ูล…แ…ล…ะข…า่ …ว…สา…ร…ท…เ่ี ป…็น…ป…ระ…โ…ยช…น…ใ์ …นท…า…ง…สร…า้ …งส…ร…รค…์ …ไม…่ค…ว…รน…ำ…เส…น…อ…ข…อ้ ม…ูล……………… …………3…. ไ…ม…แ่ …ชร…ข์ …า่ …วส…า…รท…่ขี …ดั …ต…่อศ…ีล…ธ…รร…ม…แ…ล…ะจ…ร…ยิ …ธร…ร…มอ…ัน…ด…ี ร…ว…ม…ท้ัง…ข…้อ…ม…ลู ท…่ีก…่อ…ให…เ้ …กิด…ค…ว…าม…เ…สีย…ห…า…ย…… …………ต…อ่ …ผู้อ…ื่น………………………………………………………………………………………………………………………….. ……5.…ภ…ัย…ค…ุก…คา…ม…ต…่อเ…ท…ค…โน…โล…ย…ีส…า…รส…น…เท…ศ…แ…บ…่งอ…อ…ก…เป…น็ …ก…่ีป…ระ…เภ…ท……………………………………………………… ………แ…บ…่ง…ออ…ก…เป…็น……4…ป…ระ…เ…ภท……ด…งั น…ี้ …………………………………………………………………………………………… …………………1….…ภ…ัย…คกุ…ค…า…ม…ตอ่…ฮ…า…ร์ด…แ…ว…ร์ ……………………………………………………………………………………… …………………2….…ภ…ยั …คุก…ค…า…ม…ต่อ…ซ…อ…ฟ…ต…์แว…ร…์ …………………………………………………………………………………… …………………3….…ภ…ยั …คกุ…ค…า…ม…ต่อ…ร…ะ…บ…บเ…ค…รือ…ข…า่ …ยแ…ล…ะ…กา…ร…ส…่ือส…า…ร……………………………………………………….. …………………4….…ภ…ยั …คุก…ค…า…ม…ตอ่…ข…้อ…ม…ูล……………………………………………………………………………………………

24 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน ขอ้ คำตอบ 1. ข 2. ง 3. ก 4. ก 5. ค 6. ง 7. ง 8. ก 9. ข 10. ง

25 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชว้ี ดั และหลักสตู รแกนกลาง กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากัด. โกสนั ต์ เทพสิทธทรากรณ.์ (2559). เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ ม็ค. ครรชติ มาลยั วงศ์. (2559). พจนานกุ รมคอมพวิ เตอร์สำหรบั เยาวชน. กรงุ เทพฯ : กองบริการสือ่ สารสนเทศ ศนู ย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ สำนกั งานพฒั นา วิทายาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสงิ่ แวดล้อม, ม.ป.ป. จุฑาพร เรืองฤทธ.ิ์ (2559). คอมพิวเตอร์และระบบปฏบิ ัติการเบ้อื งตน้ . กรงุ เทพฯ : วงั อักษร. วชิราพร พ่มุ บานเยน็ .(2560). เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร.์ กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คช่นั , วิโรจน์ ทวีปวรเดช. (2560). ความรู้เบื้องต้นกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : โปรวชิ น่ั , สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2560). หนังสอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เลม่ ท่ี 1-2. กรงุ เทพฯ : สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.)

26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook