Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประมวลรายวิชา ภาษาไทย 5-6 ท33101 ท33102_ครูนพรัตน์

ประมวลรายวิชา ภาษาไทย 5-6 ท33101 ท33102_ครูนพรัตน์

Published by nopparat.tot, 2021-08-11 02:40:46

Description: ประมวลรายวิชา ภาษาไทย 5-6 ท33101 ท33102_ครูนพรัตน์

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก ประมวลรายวิชา ( Course syllabus) รายวิชา ภาษาไทย 5 รหสั วชิ า ท 33101 ประเภทวชิ า  พน้ื ฐาน  เพิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ครผู สู้ อน นายนพรัตน์ รัตนวชิ ยั ************************************************************************************************** 1. คำอธิบำยรำยวชิ ำ (Course Description) ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ เช่น ข่าว บทโฆษณา บทความจากหนังสือเรียน และสื่ออื่น ๆ ร้อยกรอง ประเภท โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย หลักการคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์เน้ือเร่ืองต่าง ๆ หลักการแสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเร่ืองที่อ่านอย่างมีเหตุผล หลกั การเขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การเขยี นโครงงาน การเขยี นรายงานวิชาการ การเขียนรายงานการ ประชุม การกรอกแบบรายการต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และการเขียนวิจารณ์ หลักการประเมินงานเขียน ศึกษาหลกั การการพดู สรุปสาระสาคัญและการแสดงความคดิ เหน็ จากเรื่องท่ีฟังและดดู ว้ ยภาษาทน่ี า่ เชื่อถือและ มีเหตุผล ศึกษาหลักการพูดแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจและการเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา ถูกตอ้ งเหมาะสม ศกึ ษาธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา ศึกษาหลกั การแต่งบทร้อย กรอง ประเภทกลอน โคลง ร่าย ฉนั ท์ อิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ินในภาษาไทย ศึกษาหลักการ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้น การประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรม และ หลกั การท่องบทอาขยาน โดยใช้กระบวนการส่ือสารทางด้านการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด กระบวนการแปล ความ กระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการวิจารณ์เร่ืองท่ีอ่านอย่างมีเหตุผล การแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง ขยายความและคาดคะเนเหตุการณ์เร่ืองท่ีอ่าน เพ่ือนาความรู้ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน ชีวิต อธิบายธรรมชาติของภาษา การเปล่ียนแปลงของภาษา สามารถแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกลอน โคลง ร่าย ฉันท์ ตลอดจนวิเคราะหแ์ ละประเมนิ การใชภ้ าษาจากส่อื สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์อิทธพิ ล ของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถนิ่ ในภาษาไทย ใช้กระบวนการวจิ ารณ์วรรณคดีเบื้องต้น พจิ ารณาคุณค่างาน ประพันธ์ ประเมินค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์และวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีนาไปประยุกต์ใช้ ทอ่ งจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ รวมท้ังทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการส่ือสารสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มีจริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ตัวชว้ี ดั ท 1.1 ( 1,3,5,4 ) ท 2.1 ( 1,5 ) ท 3.1 ( 1,2,3,5 ) ท 4.1 ( 1,4,5 ) ท 5.1 ( 1,2,3,4,6 ) รวมท้ังหมด 18 ตัวชีว้ ดั 2. สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวช้ีวดั สำระท่ี 1 กำรอ่ำน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ติ และมนี ิสยั รักการอา่ น ตัวช้วี ดั ท 1.1 ม.4-6/1,3,5,4 สำระที่ 2 กำรเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ ต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้ีวัด ท 2.1 ม.4-6/1, 5 สำระที่ 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกใน โอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรคช์ าติ ตัวชวี้ ัด ท 3.1 ม.4-6/1, 2, 3, 5 สำระที่ 4 หลกั กำรใช้ภำษำ มำตรฐำน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวชว้ี ดั ท 4.1 ม.4-6/1,4,5 สำระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ตัวชว้ี ัด ท 5.1 ม.4-6/1, 2, 3, 4, 5, 6

3. เนื้อหำสำระ เรอ่ื ง พนั ธกิจของภาษา จานวน 3 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 3 ชวั่ โมง หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง การเปล่ยี นแปลงของภาษา จานวน 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอ่ื ง ความสมั พันธ์ระหว่างภาษา จานวน 4 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 4 ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 กับความคิด 4 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 4 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 เร่ือง แต่งฉันทช์ นดิ ตา่ ง ๆ จานวน 4 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 4 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 เรือ่ ง สามัคคีเภทคาฉันท์ จานวน 3 ชัว่ โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 4 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 11 เรอ่ื ง การใช้ภาษาอธบิ าย บรรยาย พรรณนา จานวน เรื่อง เหตผุ ลกบั ภาษา จานวน เรื่อง การใชภ้ าษาแสดงทรรศนะ จานวน เรือ่ ง การใช้ภาษาในการโต้แย้ง จานวน เรอ่ื ง การใช้ภาษาเพ่ือการโน้มน้าวใจ จานวน เรื่อง สามกก๊ ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ จานวน 4. กำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ วิธีการจัดการเรยี นรูเ้ ป็นการสอนแบบออนไลน์ โดยใชโ้ ปรแกรมและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กับรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน เช่น การใช้ google classroom บทเรียนออนไลน์โดยใช้ Power point และ บันทกึ การสอนโดยใชโ้ ปรแกรม Loom และ OBS ภำคทฤษฎี ใชก้ ารบรรยาย รว่ มกับการกระบวนการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิด กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมลู การบรู ณาการกับศาสตรต์ า่ ง ๆ การสืบเสาะหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ภำคปฏิบัติ ใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการทางานรว่ มกนั 5. ส่ือ / อุปกรณก์ ำรเรียนกำรสอน / แหลง่ เรียนรู้ / เว็บไซต์ 5.1) ส่ือนาเสนอในรปู แบบโปรแกรม (Power point media) 5.2) เอกสารใบความรู้ 5.3) เอกสารแบบฝึกหัด 5.4) ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์/เวบ็ ไซต์ 5.5) หนังสือเรยี น รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม 6 และหลักภาษาและการใช้ ภาษาไทย 6 6. กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ อตั ราสว่ น กลางภาคเรยี น : ปลายภาคเรยี น เท่ากบั 80 : 20 คะแนนก่อนสอบกลางภาคเรียน 30 คะแนน คะแนน คะแนนสอบกลางภาคเรยี น 10

คะแนนหลังสอบกลางภาคเรียน 40 คะแนน คะแนนสอบปลายภาคเรียน 20 คะแนน 7. กำรประเมินอนื่ ๆ 6.1) การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นส่ือความ 6.2) การประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 6.3) การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8. เกณฑ์กำรตดั สนิ ผลกำรเรียน คะแนน 0 – 49 ได้ผลการเรียน 0 คะแนน 50 – 54 ได้ผลการเรียน 1 คะแนน 55 – 59 ไดผ้ ลการเรยี น 1.5 คะแนน 60 – 64 ได้ผลการเรียน 2 คะแนน 65 – 69 ได้ผลการเรยี น 2.5 คะแนน 70 – 74 ไดผ้ ลการเรยี น 3 คะแนน 75 – 79 ไดผ้ ลการเรียน 3.5 คะแนน 80 – 100 ไดผ้ ลการเรียน 4 ดำ้ น วธิ กี ำรวัดผลและกำรประเมินผล เคร่อื งมือวัดและประเมินผล เกณฑก์ ำรวดั ควำมรู้ (K) การทาแบบทดสอบออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ ได้คะแนนรอ้ ยละ60 ข้ึนไป - การสังเกตทักษะกระบวนการ - แบบประเมนิ ทักษะ ผ่านเกณฑ์ระดบั ดีขน้ึ ไป ทกั ษะ/ - การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กระบวนกำร (P) กระบวนการ การสังเกตพฤติกรรม คุณธรรม - แบบประเมินการปฎิบัตงิ าน คุณธรรม จริยธรรม - แบบบนั ทึกผลงาน และคำ่ นยิ ม (A) - แบบประเมินคุณลักษณะอนั ผ่านเกณฑร์ ะดับดีขน้ึ ไป พงึ ประสงค์ - แบบสัมภาษณ์ - แบบสงั เกต - แบบประเมนิ ตนเอง

9. โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ โครงสร้ำง – รำยวชิ ำ รายวิชา ภาษาไทย 5 (ท 33101) กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ครูผูส้ อน นายนพรตั น์ รตั นวชิ ยั , นางสาวเขมณัฎฐ์ สุวรรณวรี ะกาธร หนว่ ย ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก ภำระงำน ที่ กำรเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน 1 พนั ธกิจของภาษา มาตรฐาน ท 3.1 ทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ภาษา 3 5 -แบบฝึกหัด ม.4-6/1 มาตั้งแต่เกิด และรู้จักใช้ภาษาเป็น -แบบทดสอบ ม.4-6/2 เคร่ืองมือ มิใช่ผู้ใดผูห้ น่ึงสรา้ งขนึ้ ภาษาจึง - สรุปเนอื้ หา ม.4-6/3 เ ป็ น ส ม บั ติ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ภ า ษ า จึ ง มี - ชน้ิ งาน ความสาคัญต่อมนุษย์กล่าวคือ ภาษาช่วย ธารงสังคม ภาษาแสดงความเป็นปัจเจก บุคคล ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา ภาษา ช่วยกาหนดอนาคตและอิทธิพลของภาษา ต่อมนษุ ย์ 2 การเปลย่ี นแปลงของภาษา มาตรฐาน ท 4.1 ภาษาทุกภาษาจะต้องมีการเปลี่ยนแปลง 3 5 - แบบฝึกหดั ม.4-6/1 แ ต่ เ ป็ น แ บ บ ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป แ ต่ ถ้ า ใ ช้ - แบบทดสอบ ม.4-6/5 เวลานาน ๆ ภาษาก็จะมีการเปล่ียนแปลง - สรุปเนื้อหา มากยิง่ ข้นึ - ชนิ้ งาน 3 ความสมั พันธร์ ะหว่างภาษา มาตรฐาน ท 3.1 เราใชภ้ าษาเป็นเคร่ืองมอื ในการคดิ ผู้ทม่ี ี 3 10 - แบบฝึกหัด - แบบทดสอบ กับความคดิ ม.4-6/2 สมรรถภาพในการใช้ภาษายอ่ มจะมี - สรปุ เนอ้ื หา สมรรถภาพสงู ในการคิด และผมู้ ี - ช้นิ งาน ม.4-6/3 สมรรถภาพสงู ในการคดิ ยอ่ มย่อมใช้ภาษา ไดด้ เี ปน็ ผลสืบเนอ่ื งกัน ซึ่งมีประเดน็ ใน การศกึ ษา คือ วธิ ีคดิ วเิ คราะห,์ วธิ คี ดิ สังเคราะห,์ วิธคี ดิ ประเมินคา่ และวิธีคดิ แกป้ ัญหา 4 แตง่ ฉันท์ชนิดตา่ ง ๆ มาตรฐาน ท 4.1 ฉันท์ คือ ลักษณะถ้อยคาที่กวีได้ร้อยกรอง 4 10 - แบบฝึกหัด ม.4-6/4 ข้ึนเพื่อให้เกิดความไพเราะซาบซ้ึง โดย - แบบทดสอบ บังคับเสียงหนัก-เบาของพยางค์ที่เรา - สรุปเนอ้ื หา เรียกว่า ครุ ลหุ และมีสัมผัสท่ีเป็น - ชน้ิ งาน มาตรฐาน

หนว่ ย ชือ่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนกั ภำระงำน ท่ี กำรเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั (ชัว่ โมง) คะแนน 5. สามัคคเี ภทคาฉันท์ มาตรฐาน ท 1.1 สามัคคเี ภทคาฉันทเ์ ป็นนิทานสุภาษติ วา่ 4 10 - แบบฝกึ หัด 4 - แบบทดสอบ ม.4-6/1 ดว้ ยโทษของการแตกสามัคคี และเป็นคา - สรุปเนือ้ หา - ชนิ้ งาน ม.4-6/4 ฉนั ทท์ ไ่ี ด้รบั การยกย่องวา่ แต่งดี มงุ่ ให้คติ -ทอ่ งอาขยาน สอนใจในเร่อื งโทษของการแตกความ มาตรฐาน ท 5.1 สามคั คีซึ่งมาสามารถนามาปรับใชไ้ ด้ทกุ 10 - แบบฝึกหดั ม.4-6/1 ยุคสมยั - แบบทดสอบ ม.4-6/2 - สรุปเนอ้ื หา - ชิ้นงาน ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/6 6 การใชภ้ าษาอธบิ าย บรรยาย มาตรฐาน ท 2.1 การเรยี นวิชาการใชภ้ าษา วชิ าเรียงความ พรรณนา ม.4-6/1 และศลิ ปะการใชภ้ าษา ผเู้ รียนจาเปน็ ตอ้ ง ม.4-6/5 เขา้ ใจความหมายของคาวา่ อธิบาย บรรยาย และพรรณนา ใหช้ ดั เจนเพ่ือ ประโยชนใ์ นการฝกึ วิเคราะห์และ สงั เคราะห์ สอบกลำงภำค ( 10 คะแนน ) 7 เหตผุ ลกับภาษา มาตรฐาน ท 1.1 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ ภ า พ ก า ร ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล 4 5 - แบบฝกึ หัด ม.4-6/3 หมายถึง การทาให้คุณภาพในการใช้ - แบบทดสอบ ม.4-6/5 เหตุผลสูงข้ึนหรือเพิ่มขึ้น หนักแน่นข้ึน - สรุปเนอ้ื หา รดั กุมข้ึน มีหลกั เกณฑ์ และเปน็ ระบบ - ชน้ิ งาน 8 การใช้ภาษาแสดงทรรศนะ มาตรฐาน ท 3.1 ทรรศนะ หมายถึง ความคิดเห็นท่ี 4 5 - แบบฝึกหดั ม.4-6/5 ประกอบด้วยเหตุผล ซึ่งถึงแม้จะแตกต่าง 4 - แบบทดสอบ หรือขัดแย้งกันก็นับว่ามีประโยชน์ เพราะ 3 - สรปุ เนื้อหา จะเป็นแนวทางให้ผู้อื่นได้มีโอกาสใช้ดุลย - ชิน้ งาน พินิจตัดสินใจเลือกวิถีทางแก้ปัญหาได้ หลายทางดว้ ยความสุขุมรอบคอบขึน้ 2.5 - แบบฝกึ หดั - แบบทดสอบ 9 การใช้ภาษาในการโตแ้ ย้ง มาตรฐาน ท 1.1 การโต้แย้ง คือ การแสดงทรรศนะที่ - สรปุ เน้ือหา ม.4-6/5 แตกต่างระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยแต่ละ - ชิ้นงาน มาตรฐาน ท 3.1 ฝ่ายพยายามใช้ข้อมูล สถิติ หลักฐาน เหตุ 2.5 -ใบงานเร่อื ง ม.4-6/5 ผลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนทรรศนะของตน การใช้ภาษา และคัดคา้ นทรรศนะของอกี ฝ่าย 10 การใช้ภาษาเพือ่ การโนม้ นา้ ว มาตรฐาน ท 3.1 การโน้มน้าวใจ หมายถึง การใช้ความ ใจ ม.4-6/5 พยายามที่จะเปลี่ยนความเช่ือ เจตคติ ค่านิยมและพฤติกรรมของบุคคลอ่ืนโดย

หนว่ ย ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ภำระงำน ท่ี กำรเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน 11 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ มาตรฐาน ท 1.1 กลวิธีที่เหมาะสม จนบุคคลน้ันเกิดความ 4 เพอื่ การโน้ม ราชการกบั โจโฉ ม.4-5/4 ประจักษ์และยอมเปลี่ยนตามที่ผู้โน้มน้าว น้าวใจ ใจตอ้ งการ -ช้ินงาน มาตรฐาน ท 5.1 สามก๊ก เป็นวรรณกรรมนวนิยายอิง ม.4-6/1 ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ มี เ ค้ า เ รื่ อ ง เ ดิ ม จ า ก 5 - แบบฝกึ หัด ม.4-6/2 เหตุการณ์และตัวละครที่มีชีวิตจริงใน - แบบทดสอบ ม.4-6/3 ประวัติศาสตร์ และมีการแต่งเติมให้ - สรุปเนอ้ื หา ม.4-6/4 พิสดารข้ึน จากตอนกวนอูไปรับราชการ - ชนิ้ งาน กับโจโฉกล่าวถึงโจโฉยกทัพไปรบกับเล่าป่ี ตเี มอื งเสยี วพา่ ย ซีจ๋ิว สอบปลำยภำค ( 20 คะแนน ) รวมคะแนน 100

โรงเรียนทวีธาภิเศก ประมวลรายวชิ า ( Course syllabus) รายวิชา ภาษาไทย 6 รหสั วิชา ท 33102 ประเภทวชิ า  พนื้ ฐาน  เพ่มิ เตมิ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 1.0 หนว่ ยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 256๔ ครผู ้สู อน นายนพรัตน์ รัตนวิชัย ************************************************************************************************** 1. คำอธิบำยรำยวชิ ำ (Course Description) ศึกษาหลักการวิเคราะห์และวิจารณ์เน้ือเร่ืองต่าง ๆ ร่วมกับกลวิธีคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน และหลักการประเมินค่าเน้ือเรอื่ ง หลักการอา่ นเร่อื งตา่ ง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บนั ทึก ย่อความ และรายงาน ศึกษาหลักการเขียนเรียงความ และหลักการเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน หลักการประเมินงานเขียนเพ่ือ นามาพัฒนางานเขียนของตนเอง หลักการการเขียนรายงานเชิงวิชาการโดยเน้นการเขียนอ้างอิงข้อมูล สารสนเทศที่ถูกต้อง หลักการเขียนบันทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และหลักของมารยาทในการ เขียนที่ดี ศึกษาหลักการการพูดสรุปสาระสาคัญและการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดูด้วยภาษาท่ี น่าเชื่อถือและมีเหตุผล ศึกษาหลักการพูดแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจและการเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม รวมถึงหลักของมารยาทในการฟัง การดูและการพูดท่ีดี ศึกษาหลักการใช้ถ้อยคา และสานวน และหลักการร้อยเรียงประโยค หลักการใช้ภาษาในระดับต่าง ๆ รวมถึงหลักการใช้คาราชาศัพท์ และคาสุภาพ ศึกษาหลักการประเมินการใช้ภาษาจากส่ือสิ่งพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ร่วมกับภูมิปัญญาทาง ภาษาในท้องถิ่น ศึกษาหลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้น การประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของ วรรณคดแี ละวรรณกรรม และหลักการทอ่ งบทอาขยาน โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน ทักษะการฟังและดู การพูด และกระบวนการคิด ในการตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า การเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน แสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง วเิ คราะห์ แนวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเชือ่ ถือจากเรื่องท่ีฟังและดู ประเมินเรื่องท่ีฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดง ทรรศนะ โตแ้ ยง้ โน้มนา้ วใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ยภาษาถูกต้องเหมาะสม ใชค้ าและกลมุ่ คาสรา้ งประโยค ตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้กระบวนการวิจารณ์วรรณคดี เบ้ืองต้น พิจารณาคุณค่างานประพันธ์ ประเมินค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์และวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิด จากวรรณคดีนาไปประยุกตใ์ ช้ ท่องจาและบอกคณุ ค่าบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม

ความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ รวมท้ังทักษะ แหง่ ศตวรรษที่ 21 ในด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสอ่ื สารสามารถ ส่อื สารสง่ิ ทีเ่ รียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ในชวี ิตของตนเอง มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม ตัวชี้วัด ท 1.1 ( 3,4,7 ) ท 2.1 ( 1,2,5,6,8 ) ท 3.1 ( 2,3,5,6 ) ท 4.1 ( 2,3,7 ) ท 5.1 ( 1,2,3,4,6 ) รวมท้ังหมด 20 ตวั ชว้ี ดั 2. สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวช้ีวัด สำระท่ี 1 กำรอำ่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพอื่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดาเนินชวี ิต และมีนสิ ยั รกั การอ่าน ตวั ชีว้ ัด ท 1.1 ม.4-6/3,4,7 สำระที่ 2 กำรเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั ท 2.1 ม.4-6/1,2,5,6,8 สำระที่ 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความร้สู ึกใน โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ชาติ ตวั ชวี้ ัด ท 3.1 ม.4-6/2,3,5,6 สำระที่ 4 หลกั กำรใช้ภำษำ มำตรฐำน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ตวั ชี้วดั ท 4.1 ม.4-6/2,3,7 สำระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ตวั ช้ีวดั ท 5.1 ม.4-6/1,2,3,4,6 3. เนือ้ หำสำระ จานวน 5 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง การใช้ภาษาใหง้ ดงาม จานวน 4 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง ระดับภาษา จานวน 5 ช่วั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง คาราชาศัพท์ จานวน 5 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรือ่ ง กาพย์เหเ่ รอื หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรือ่ ง ขุนช้างขุนแผน จานวน 5 ชั่วโมง ตอน ขุนชา้ งถวายฎีกา จานวน 2 ชว่ั โมง จานวน 3 ช่วั โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรอ่ื ง การเขยี นเรยี งความ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 เรือ่ ง การเขยี นทบี่ รรลวุ ตั ถุประสงค์ จานวน 2 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 เรอ่ื ง การสร้างเครือขา่ ยสงั คมอนิ เตอร์เนต็ จานวน 4 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 เรื่อง ไตรภูมิพระรว่ ง ตอนมนุสสภูมิ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เรอ่ื ง ขตั ตยิ พนั ธกรณี จานวน 5 ชว่ั โมง 4. กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้เป็นการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสม กบั รายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน เช่น การใช้ google classroom บทเรยี นออนไลน์โดยใช้ Power point และ บันทกึ การสอนโดยใชโ้ ปรแกรม Loom และ OBS ภำคทฤษฎี ใช้การบรรยาย รว่ มกับการกระบวนการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิด กระบวนการ ภำคปฏบิ ตั ิ สบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มลู การบรู ณาการกบั ศาสตรต์ า่ ง ๆ การสบื เสาะหา ความรจู้ ากแหลง่ เรียนร้ตู ่างๆ และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทางานร่วมกนั 5. สอ่ื / อปุ กรณก์ ำรเรยี นกำรสอน / แหลง่ เรยี นรู้ / เวบ็ ไซต์ 5.1 สื่อนาเสนอในรูปแบบโปรแกรม (Power point media) 5.2) เอกสารใบความรู้ 5.3) เอกสารแบบฝกึ หดั 5.4) สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส/์ เวบ็ ไซด์ 5.5) หนังสือเรยี น รายวิชาภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม 6 และหลกั ภาษาและการใช้ ภาษาไทย 6

6. กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ อตั ราส่วน กลางภาคเรยี น : ปลายภาคเรียน เทา่ กบั 80 : 20 คะแนนก่อนสอบกลางภาคเรียน 30 คะแนน คะแนน คะแนนสอบกลางภาคเรียน 10 คะแนน คะแนน คะแนนหลังสอบกลางภาคเรียน 40 คะแนนสอบปลายภาคเรียน 20 7. กำรประเมินอนื่ ๆ 6.1) การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นส่ือความ 6.2) การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 6.3) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8. เกณฑก์ ำรตัดสินผลกำรเรียน คะแนน 50 – 54 ได้ผลการเรยี น 1 คะแนน 0 – 49 ได้ผลการเรยี น 0 คะแนน 60 – 64 ไดผ้ ลการเรียน 2 คะแนน 55 – 59 ได้ผลการเรยี น 1.5 คะแนน 70 – 74 ไดผ้ ลการเรยี น 3 คะแนน 65 – 69 ได้ผลการเรียน 2.5 คะแนน 80 – 100 ไดผ้ ลการเรยี น 4 คะแนน 75 – 79 ไดผ้ ลการเรียน 3.5 ด้าน วธิ กี ารวดั ผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด ความรู้ (K) การทาแบบทดสอบออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ ไดค้ ะแนนร้อยละ60 ขึ้นไป - การสงั เกตทักษะกระบวนการ ทักษะ/ - การประเมนิ ตามสภาพจริง - แบบประเมนิ ทักษะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดีขึ้นไป กระบวนการ (P) กระบวนการ การสังเกตพฤติกรรม คุณธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม - แบบประเมินการปฎิบัติงาน และคา่ นยิ ม (A) - แบบบันทึกผลงาน - แบบประเมินคุณลักษณะอนั ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดีขน้ึ ไป พงึ ประสงค์ - แบบสมั ภาษณ์ - แบบสังเกต - แบบประเมนิ ตนเอง

9. โครงสร้ำงรำยวิชำ โครงสร้ำง – รำยวชิ ำ รายวิชา ภาษาไทย 6 (ท 33102) กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ครผู สู้ อน นายนพรัตน์ รตั นวิชยั , นางสาวเขมณัฎฐ์ สุวรรณวีระกาธร หน่วย ชื่อหนว่ ยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ที่ กำรเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั (ชัว่ โมง) คะแนน 1 การใชภ้ าษาใหง้ ดงาม มาตรฐาน ท 2.1 ภาษากวีที่ใช้เพื่อสร้างสรรค์ความงามให้แก่บท 5 10 -การสรรคา ม.4-6/5 ร้อยแก้วหรือบทร้อยกรองนั้น มีหลักสาคัญ 3 4 5 -การเรียบเรยี งคา ประการคือ การเลือกใช้คาให้สื่อความคิดความ 5 5 -โวหารภาพพจน์ มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจ ความรู้สึก อารมณ์ ได้อย่างงดงาม เรียกวา่ 5 5 ม.4-6/2 การสรรคา การนาคาที่เลือกสรรมาจัดเรียงให้ 2 ระดบั ภาษา ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เรียกว่า การเรียบ 5 5 มาตรฐาน ท 3.1 เรียงคา การรู้จักพลกิ แพลงภาษาให้แปลกออกไป 3 คาราชาศัพท์ ม.4-6/2 เรียกว่า การใช้โวหาร ม.4-6/3 ในการใช้ภาษาให้สัมฤทธิ์ผลเราจะต้องคานึงถึง 4 กาพยเ์ ห่เรอื ม.4-6/5 สัมพันธภาพระหว่างบุคคล โอกาส กาลเทศะ ม.4-6/6 ประชุมชน และเลือกใช้ระดับภาษาให้เหมาะสม 5 ขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอน ดว้ ย ขนุ ช้างถวายฎีกา มาตรฐาน ท 4.1 ม.4-6/3 ค า ร า ช า ศั พ ท์ มี ค ว า ม ส า คั ญ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ วัฒนธรรม รวมทั้งทางสุนทรียลักษณ์เชิงภาษา มาตรฐาน ท 4.1 ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบเหมาะแก่ยุค ม.4-6/3 สมัยและบริบททางสังคมสอดคล้องกับธรรมชาติ ของภาษา เปน็ ท่ีนยิ มและยอมรบั ร่วมกัน มาตรฐาน ท ๑.1 กาพย์เห่เรือพรรณนาถึงรูปลักษณ์สวยงามแปลก ม.4-6/4 ตาและสมรรถนะของเรือพระท่ีน่ังและเรือลาต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนเรือ ตลอดจนความสามัคคี มาตรฐาน ท 5.1 พรักพร้อมของพลพายที่ร่วมกระบวน นอกจากน้ี ม.4-6/1 ยังพรรณนาถึงบทชมปลา ชมไม้ ชมนก และ บท ม.4-6/2 เหค่ รวญ ม.4-6/3 ม.4-6/4 เสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผน เป็นวรรณคดีไทยเร่ือง ม.4-6/6 เอกท่คี นไทยจานวนมากรจู้ กั กนั และได้รบั การยก มาตรฐาน ท ๑.1 ม.4-6/4 มาตรฐาน ท 5.1

หน่วย ชอื่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ที่ กำรเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน ม.4-6/1 ย่อจากวรรณคดสี โมสรวา่ เปน็ ยอดของกลอนเสภา ม.4-6/2 ท่ีมีความไพเราะ ม.4-6/3 ม.4-6/4 สอบกลำงภำค (๑๐ คะแนน) 6 การเขียนเรยี งความ มาตรฐาน ท 2.1 เรียงความเกี่ยวกับเรื่องในโลกของจินตนาการนัน้ 2 10 ม.4-6/2 มีขอบเขตกว้างขวางมาก หัวข้อจึงมีไ ด้ 3 5 7 การเขยี นทบี่ รรลุ ม.4-6/8 หลากหลายทางที่เก่ยี วกับอดตี ปจั จุบัน อนาคต 2 5 วตั ถุประสงค์ ดังนั้นเนื้อหาจะห่างไกลจากข้อเท็จจริงท่ีเป็น มาตรฐานท ๑.1 ประสบการณ์ล้วน ของผู้เขียนและประสบการณ์ 4 10 8 การสรา้ งเครือข่าย ม.4-6/๗ ร่วมของผู้อา่ น สังคมอนิ เตอรเ์ น็ต งานเขียนต่าง ๆ มักสะท้อนให้เห็นศิลปะในการ มาตรฐาน ท 2.1 สื่อสารผ่านการเรียงร้อยถ้อยคาเพ่ือตอบสนอง 9 ไตรภมู ิพระรว่ ง ตอน ม.4-6/1 วัตถุประสงค์ของผู้เขียนว่าต้องการเขียนงานน้ัน มนุสสภมู ิ ม.4-6/6 เพื่ออะไร การเขียนเพื่อวัตถุประสงค์จาแนกได้ 4 ม.4-6/8 หัวข้อคือ การเขียนเพ่ือแสดงความรู้ การเขียน เพ่ือแสดงความคิด การเขียนเพื่อแสดงภาพ และ มาตรฐาน ท 4.1 การเขียนเพอื่ แสดงอารมณ์ ม.4-6/7 ปัจจุบันน้ีเทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาอย่าง มาตรฐาน ท 1.1 รวดเร็วอุปกรณ์การสื่อสารราคาถูกลงและการ ม.4-6/3 ส่ือสารในโลกอินเตอร์เน็ตก็ไม่ถูกจากัดโดย ม.4-6/4 สถานท่ีและเวลาอีกต่อไป สมาชิกของสังคม อินเทอร์เน็ตท่ีแต่ละกลุ่มสนใจเรื่องใดเรื่องหน่ึง มาตรฐาน ท 5.1 ร่วมกันจึงสามารถแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ ม.4-6/1 ความรู้สึกผ่านอินเทอร์เน็ต ได้ในทุกท่ีทุกเวลา ม.4-6/2 ก า ร สื่ อ ส า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง กั น เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย ผ่ า น ม.4-6/3 อนิ เตอรเ์ น็ตน้ี ม.4-6/4 ไตรภมู พิ ระร่วง เปน็ วรรณคดเี กา่ แก่ทแี่ ต่งข้ึน ต้งั แตส่ มยั สุโขทยั เรอ่ื งราวเกย่ี วกับความ แปรเปลยี่ นและความไมแ่ นน่ อนของส่งิ ต่าง ๆ ใน โลกน้ี ตอน มนสุ สภมู ิเป็นตอนทพ่ี รรณนาตง้ั แต่ การกาเนิดของมนุษย์และความทกุ ข์ยากของการ เกดิ

หนว่ ย ชื่อหนว่ ยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ท่ี กำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน 10 ขตั ติยพันธกรณี มาตรฐาน ท 1.1 ขัตติยพันธกรณี (เหตุอันเป็นข้อผูกพันของ 5 10 ม.4-6/4 กษัตริย์) เป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 และ 100 มาตรฐาน ท 5.1 พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุ ม.4-6/1 ภาพ เป็นบทท่ีมีท่ีมาจากเหตุการณ์จริงใน ม.4-6/2 ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์น้ีคือเหตุการณ์ ร.ศ. ม.4-6/3 112 ไทยขดั แย้งกับฝรงั่ เศส ม.4-6/4 สอบปลำยภำค (๒๐ คะแนน) รวมคะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook