Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย3_ความเป็นมาของชาติไทย

หน่วย3_ความเป็นมาของชาติไทย

Published by Calen Calendear, 2021-01-22 15:03:11

Description: หน่วย3_ความเป็นมาของชาติไทย

Search

Read the Text Version

หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๒ ประวัตศิ าสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๓ ๑_หลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ ๒_แผนการจดั การเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ข้อสอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๗_ขอ้ สอบ_เฉลย ๘_การวัดและประเมนิ ผล ๙_เสรมิ สาระ ๑๐_ส่อื เสรมิ การเรียนรู้ บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๓หน่วยการเรียนรู้ที่ ความเปน็ มาของชาติไทย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. อธิบำยพฒั นำกำรของไทยสมยั รัตนโกสินทร์โดยสงั เขปได้ ๒. อธบิ ำยปจั จัยท่ีสง่ เสรมิ ควำมเจรญิ รงุ่ เรืองทำงเศรษฐกจิ และกำรปกครองของไทยสมยั รตั นโกสินทรไ์ ด้ ๓. ยกตัวอย่ำงผลงำนของบุคคลสำคัญดำ้ นตำ่ งๆ สมัยรัตนโกสนิ ทรไ์ ด้ ๔. อธบิ ำยภูมปิ ัญญำไทยท่สี ำคญั สมยั รัตนโกสนิ ทร์ทีน่ ่ำภำคภมู ใิ จ และควรคำ่ แก่กำรอนุรักษ์ไวไ้ ด้

บทท่ี ๑ การพฒั นาการของไทยสมัยรตั นโกสินทร์ การสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร์ • ในปลำยสมัยธนบรุ หี ลังจำกท่ปี รำบกบฏพระยำสรรคแ์ ลว้ สมเด็จเจ้ำพระยำมหำกษตั ริย์ศกึ ได้สถำปนำ ราชวงศจ์ กั รี และปรำบดำภเิ ษกขึ้นครองรำชสมบัติเมอื่ วนั ท่ี ๖ เมษำยน พ.ศ. ๒๓๒๕ ทรงพระนำมวำ่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชรามาธบิ ดี ต่อมำพระบำทสมเดจ็ พระน่ังเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ถวำยพระนำมวำ่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก • พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟำ้ จฬุ ำโลกมหำรำชทรงไดต้ ั้งเมืองหลวงข้นึ ใหม่ คือ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ หรอื กรุงเทพมหานคร ขึน้ ทำงฝงั่ ตะวนั ออกของแมน่ ้ำเจ้ำพระยำตรงข้ำมกบั กรุงธนบุรี กรุงเทพมหำนครนี้มีช่อื เต็มวำ่ “กรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสนิ ทร์ มหินทราอยธุ ยามหาดิลกภพ นพรัตนราชธานบี ุรีรมย์ อุดมราชนเิ วศมหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถิต สักกะทตั ติยะวษิ ณุกรรมประสิทธ์ิ”

• สำเหตทุ ย่ี ้ำยเมืองหลวงมำยังฝงั่ กรุงเทพฯ เพรำะมีพน้ื ทก่ี วำ้ งขวำงกวำ่ เเละอย่ใู นบรเิ วณท่ีมีเเผน่ ดนิ งอก สว่ น ฝง่ั ธนบุรถี ูกน้ำกัดเซำะตล่ิงพังไปทุกปี ฝงั่ กรงุ เทพฯ จงึ เหมำะแก่กำรขยำยบำ้ นเมอื งในอนำคต นอกจำกนี้ยังมี ทำเลท่ตี งั้ ทด่ี ีสำหรบั กำรติดตอ่ คำ้ ขำยกับชำวตำ่ งชำติ เพรำะอยูใ่ กล้ปำกอ่ำวไทย ทำใหเ้ รือเดินสมทุ รสำมำรถ เข้ำมำไดส้ ะดวกรวดเรว็ ทำใหไ้ ด้รับควำมเจริญในหลำยด้ำน โดยเฉพำะกำรค้ำขำยทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลำงทำง เศรษฐกจิ เเผนทก่ี รงุ รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น

พระนามพระมหากษตั ริยแ์ ห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละปที คี่ รองราชย์ รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) รชั กาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗)

รชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หวั (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑)

รัชกาลท่ี ๕ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓) รชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘)

รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั (พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๗) รัชกาลท่ี ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอนนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธิบดินทร (พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๘๙)

รัชกาลท่ี ๙ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๕๕๙) รชั กาลที่ ๑๐ สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปจั จบุ ัน) ขอ้ มลู : ณ วันที่ ๑ ธนั วำคม ๒๕๕๙

ปัจจัยท่ีสง่ เสรมิ ความเจริญทางเศรษฐกิจและการปกครองสมยั รัตนโกสินทร์ ปจั จัยด้านผนู้ า ๑ การสรา้ งความม่นั คงความปลอดภยั ใหเ้ เกบ่ ้านเมอื ง • ผู้นำของไทยสมัยรตั นโกสินทร์ตอนต้นไดท้ ำสงครำมเพ่ือต่อตำ้ นผ้รู กุ รำน ป้องกันรักษำและขยำยอำนำจของ กรงุ รัตนโกสนิ ทรไ์ ปยงั ดนิ แดนใกล้เคียง • ในสมัยท่ตี ้องเผชญิ กบั กำรขยำยอำนำจของชำตติ ะวันตก ชนชัน้ ผูน้ ำของไทยได้ร่วมแรงร่วมใจกันดำเนนิ นโยบำยเพ่ือรักษำเอกรำชของชำติโดยกำรผกู มิตร เม่ือมีปัญหำกำรสรู้ บเกิดขน้ึ เช่น ปญั หำกบั ฝรัง่ เศสใน สมยั พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั ไดด้ ำเนนิ กำรเจรจำทำงกำรทูตเป็นหลัก ผ่อนปัญหำหนักให้ เบำลงจนสำมำรถรกั ษำเอกรำชไว้ได้

๒ การสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจใหเ้ เกบ่ า้ นเมือง • พระบำทสมเด็จพระมงกฎุ เกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ไดท้ รงใหไ้ ทยเขำ้ ร่วมกบั ฝำ่ ยสมั พันธมติ รในสงครำมโลกคร้งั ที่ ๑ เมือ่ ฝ่ำยสัมพนั ธมิตรเปน็ ฝำ่ ยชนะ ไทยจงึ มโี อกำสเจรจำแก้ไขสนธสิ ญั ญำไมเ่ ท่ำเทยี มกันท่ีทำกบั ตำ่ งชำตมิ ำ ตงั้ แต่สมัยรัชกำลท่ี ๔ • ในสมัยประชำธิปไตย (ต้งั เเต่ พ.ศ. ๒๔๗๕) รฐั บำลส่งเสริมกำรพัฒนำเศรษฐกิจดว้ ยกำรจดั ทำแผนพัฒนำ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติเพือ่ วำงแผนพฒั นำเศรษฐกิจของประเทศอยำ่ งมีระบบ

ปจั จยั ด้านทีต่ ้ังทางภมู ศิ าสตร์ • กรงุ เทพฯ ตั้งอยู่รมิ ฝ่ังแม่น้ำเจ้ำพระยำ ในบรเิ วณท่รี ำบลุ่มแม่น้ำเจำ้ พระยำตอนลำ่ ง เปน็ บรเิ วณทม่ี คี วำมอดุ มสมบรู ณ์ และอย่ใู กล้กับอำ่ วไทย ทำให้สำมำรถเดินทำงจำกอ่ำวไทยมำยงั กรงุ เทพฯ ได้อยำ่ งสะดวกรวดเรว็ ทำให้มีเรือจำก ต่ำงชำติเขำ้ มำค้ำขำยเปน็ จำนวนมำก ซึ่งเป็นผลดีต่อกำรพฒั นำเศรษฐกจิ ของไทย ปจั จัยด้านสังคมและวัฒนธรรม • แมใ้ นสงั คมจะมีคนหลำกหลำยเชือ้ ชำติ ศำสนำ แตพ่ ระมหำกษัตริย์ทรงอุปถัมภอ์ ยำ่ งเทำ่ เทยี มกัน จึงไม่มปี ญั หำควำม ขัดแย้งเกดิ ข้นึ ระหว่ำงคนในสงั คม ทำใหป้ ระเทศสำมำรถพัฒนำได้อยำ่ งต่อเนอ่ื ง

พัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ พัฒนาการในสมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔) ๑ ด้านการเมอื งการปกครอง • หลังจำกสถำปนำกรุงรัตนโกสนิ ทรร์ ัชกำลที่ ๑ ได้โปรดให้จดั ระเบยี บกำรปกครองโดยยึดตำมรปู แบบสมัยอยุธยำ คอื เหมือนสมยั อยุธยำในยำมเจรญิ รุ่งเรอื ง ได้เเก่ สมหุ นำยกปกครองหวั เมืองฝ่ำยเหนอื เเละสมหุ พระกลำโหม ปกครองหวั เมืองฝ่ำยใต้ กรมท่ำปกครองหัวเมอื งชำยทะเลบริเวณอำ่ วไทย และโปรดให้ชำระกฎหมำยใหม้ ี ควำมถูกต้องยุติธรรมทเ่ี รยี กวำ่ กฎหมายตราสามดวง

๒ ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม • ผู้คนในสังคมเเบ่งเป็น ๒ ชนชั้น คือ ชนชั้นปกครอง และ ชนชั้นผู้ถูกปกครอง พระสงฆ์จัดอยู่ในฐำนะพิเศษ ในสังคม ชนชั้นในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ กลุ่มคนในสงั คม ชนชั้นปกครอง ชนชั้นผ้ถู กู ปกครอง พระมหากษัตริย์ ไพร่ เป็นประมขุ ของอำณำจกั รไทย รำษฎรทวั่ ไป เจา้ นาย ทาส รำชวงศ์ทีส่ ืบเชื้อสำยมำจำกพระมหำกษัตรยิ ์ รำษฎรท่อี ยู่ภำยใต้อำนำจของนำยเงิน ไม่มีสิทธิในตนเอง ขนุ นาง รำษฎรทถ่ี วำยตวั เข้ำรับรำชกำร

• พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟำ้ จุฬำโลกมหำรำช โปรดใหส้ ังคำยนำพระไตรปฎิ ก รวมท้งั สร้ำงและบรู ณะวดั นอกจำกน้ี ยังได้พระรำชนพิ นธ์วรรณกรรม เช่น นิราศรบพมา่ ทีท่ ่าดินแดง บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ เเละ โปรดใหม้ ีกำรแปลวรรณคดีตำ่ งประเทศเปน็ ภำษำไทย เช่น พงศำวดำรจนี ๒ เร่ือง คือ ไซฮ่นั และ สามกก๊ • พระบำทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลำ้ นภำลัยพระรำชนพิ นธ์วรรณคดเี รือ่ ง อิเหนา รามเกยี รติ์ สังขท์ อง ไกรทอง ขุนช้างขนุ แผน (หลำยเรอื่ งทรงเเต่งบำงตอน) และทรงอปุ ถัมภก์ วี เชน่ พระยาสุนทรโวหาร หรอื สนุ ทรภู่ ผู้มผี ลงำนเปน็ ท่ีรจู้ ักกนั อย่ำงแพร่หลำย เช่น พระอภัยมณี สงิ หไกรภพ เป็นต้น • พระบำทสมเดจ็ พระน่งั เกล้ำเจ้ำอยูห่ วั ทรงสร้ำงและบูรณะวัดเปน็ จำนวนมำก ทรงส่งเสริมศลิ ปะทำงด้ำน สถำปตั ยกรรมและจติ รกรรม มกี ำรผสมผสำนกันระหว่ำงศิลปะเเบบไทยกบั จีน เช่น พระปรำงค์ วดั อรณุ รำชวรำรำมประดับดว้ ยกระเบ้อื งเคลอื บแบบจนี และทีว่ ดั พระเชตุพนวิมลมังคลำรำม (วัดโพธ์ิ) โปรด เกล้ำฯ ให้จำรกึ ควำมรู้ตำ่ งๆ ของไทยลงบนแผน่ ศลิ ำ ประดบั ไว้ในศำลำรอบพระอโุ บสถ ในสมยั น้ีเรมิ่ มี มิชชนั นำรหี รือหมอสอนศำสนำเขำ้ มำอยใู่ นกรุงเทพฯ เช่น หมอบรดั เลย์ นำวิธกี ำรแพทย์สมยั ใหม่ คือ กำรผ่ำตดั กำรฉีดวัคซีนเข้ำมำ และตง้ั โรงพิมพพ์ ิมพห์ นังสือและรับจ้ำงพมิ พป์ ระกำศของทำงรำชกำร

๓ ดา้ นเศรษฐกจิ • สมัยรัตนโกสินทรต์ อนต้น เศรษฐกจิ เปน็ แบบพง่ึ ตนเอง โดยประชำชนทำกำรเกษตรเปน็ หลกั • มีกำรค้ำขำยภำยในอำณำจกั รและกำรค้ำทำงทะเลกบั ชำวตำ่ งชำติ เชน่ ชำตติ ะวนั ตก มลำยู จนี เปน็ ต้น • มกี ำรค้ำในระบบบรรณำกำรกบั จีน ซ่ึงทำรำยได้เปน็ อย่ำงมำก โดยเฉพำะในสมยั รชั กำลที่ ๓ • ในสมัยรชั กำลที่ ๓ มีกำรทำสนธสิ ญั ญำทำงกำรคำ้ กบั องั กฤษและอเมรกิ ำ ทำใหม้ พี ่อค้ำต่ำงชำตเิ ขำ้ มำ คำ้ ขำยมำกข้นึ

พัฒนาการในสมัยปฏริ ูปประเทศ (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕) ๑ ดา้ นการเมอื งการปกครอง • ในสมัยรชั กำลท่ี ๕ พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้ำเจำ้ อย่หู ัวทรงเปลย่ี นแปลงกำรปกครองหลำยอยำ่ งเชน่ ทรงอนุญำตให้รำษฎรเข้ำเฝ้ำรบั เสดจ็ ทรงอนญุ ำตให้รำษฎรมองพระพักตรพ์ ระเจำ้ แผน่ ดิน ทรงใหร้ ำษฎร ถวำยฎกี ำแก่พระเจ้ำแผน่ ดนิ ได้โดยตรง เปน็ ต้น • พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั ทรงปฏริ ูประบบบรหิ ำรรำชกำรแผน่ ดนิ โดยรวมอำนำจกำร ปกครองหัวเมืองเข้ำสู่ศนู ยก์ ลำง แบง่ งำนออกเปน็ กระทรวงเเละกรม ส่วนภูมิภำคได้จัดระบบกำรปกครอง เปน็ มณฑลเทศำภิบำล โดยรวมเมืองต่ำงๆ หลำยเมืองเข้ำเป็นมณฑล แต่ละเมืองแบง่ กำรปกครองเปน็ ระดบั อำเภอ ตำบล เเละหม่บู ้ำน

แผนผังแสดงการปกครองในสมยั รัชกาลที่ ๕ พระมหากษัตริย์ กำรปกครองสว่ นกลำง กำรปกครองส่วนภมู ภิ ำค กระทรวง มณฑลเทศาภิบาล กรม เมือง อาเภอ ตาบล หมบู่ ้าน

• ในสมัยรัชกำลท่ี ๔ และรัชกำลท่ี ๕ ประเทศไทยต้องเผชญิ กับกำรคุกคำมจำกชำตติ ะวันตกหลำยครงั้ ผู้นำไทยได้ พยำยำมแกไ้ ขปัญหำดว้ ยกำรเจรจำทำงกำรทตู ทำใหป้ ัญหำตำ่ งๆ คลคี่ ลำยลงได้ • ในสมยั รัชกำลท่ี ๖ มกี ำรเเกไ้ ขสนธิสัญญำท่ไี มเ่ ท่ำเทียมกันกบั ชำตติ ะวันตก ยกเลกิ สนธสิ ญั ญำท่ีไมเ่ ท่ำเทยี มกบั บำงชำตไิ ด้ และมกี ำรเรยี กรอ้ งระบอบประชำธปิ ไตยเพ่ิมมำกข้นึ รชั กำลที่ ๖ จึงทรงตั้งเมืองจำลอง “ดุสิตธำน”ี เพื่อทดลองกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยในหมขู่ ้ำรำชกำร • ในสมัยรัชกำลท่ี ๗ คณะรำษฎรไดเ้ ปลี่ยนแปลงกำรปกครองมำเปน็ ระบอบประชาธปิ ไตย เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ มิถนุ ำยน พ.ศ. ๒๔๗๕

๒ ด้านสงั คมและวฒั นธรรม • ในสมยั รชั กำลที่ ๕ ไดม้ ีกำรนำวัฒนธรรมของตะวนั ตกมำใช้ เชน่ กำรแตง่ กำยเเละไวท้ รงผมเเบบ ชำวตะวันตก กำรใช้ช้อนส้อมแทนกำรใชม้ ือในกำรรบั ประทำนอำหำร กำรนั่งโตะ๊ เกำ้ อ้ีแทนกำรน่งั พ้ืน กำรใช้รถรำงเเละรถยนต์ เปน็ ตน้ • ยกเลกิ กำรหมอบกรำบให้เปลยี่ นมำเป็นยนื และถวำยคำนบั เมอื่ เขำ้ เฝำ้ ฯพระเจ้ำแผน่ ดิน • ทรงปฏิรูปกำรศึกษำโดยจดั ให้มีโรงเรยี นของรัฐในกรุงเทพฯ เเละหวั เมอื ง เพ่ือพฒั นำคนมำใช้ในกำรปฏิรูป บำ้ นเมือง • ทรงเลกิ ทำสเเละระบบไพร่ ให้คนไทยมคี วำมเทำ่ เทยี มกัน เพ่อื ไมใ่ หต้ ่ำงชำตดิ ถู กู ว่ำเมืองไทยมีกำรกดข่ี พลเมอื งเปน็ ทำส • ในสมัยรัชกำลท่ี ๖ มีกำรกำหนดคำนำหนำ้ ชือ่ หน้ำชอื่ บุรุษ สตรี และเดก็ กำรใช้นำมสกุล • กำรสง่ เสรมิ ให้ผูช้ ำยมีภรรยำเพยี งคนเดยี ว กำรแนะนำใหส้ ตรไี ทยไวผ้ มยำวและนุ่งผำ้ ซ่ิน • กำรประกำศใช้ธงไตรรงค์ เปน็ ธงประจำชำติไทย • มีกำรส่งเสรมิ ดำ้ นกำรศกึ ษำโดยกำหนดกำรศึกษำภำคบงั คบั สำหรบั เดก็ ทกุ คน และตง้ั มหำวทิ ยำลัยแห่งแรก คอื จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๓ ด้านเศรษฐกจิ • มีกำรทำสนธสิ ญั ญำกำรคำ้ และพระรำชไมตรีกบั ตำ่ งชำตใิ นสมยั รชั กำลท่ี ๔ ทำใหเ้ ศรษฐกจิ ไทยมกี ำร เปลยี่ นแปลง ชำวต่ำงชำติเขำ้ มำคำ้ ขำยมำกขึน้ ทำให้ต้องปรับปรงุ ระบบเงินตรำโดยใชเ้ งินเหรียญแทนเงนิ พดดว้ งแบบเกำ่ • ขำ้ วกลำยเป็นสนิ ค้ำสง่ ออกทสี่ ำคญั เปน็ อนั ดบั หนึง่ ของไทย จึงเกดิ กำรขยำยท่ีดินเพื่อใช้ทำนำมำกข้นึ ในสมยั รชั กำลท่ี ๕ • รชั กำลท่ี ๕ ทรงปฏริ ปู กำรคลงั โดยกำรตงั้ หอรษั ฎำกรพิพัฒน์ เพ่อื รวบรวมเงนิ แผน่ ดินใหอ้ ยู่ในทีเ่ ดียวกัน จัดทำงบประมำณแผ่นดิน และต้งั กรมพระคลังมหำสมบัติ (ต่อมำ คือ กระทรวงกำรคลัง) เพื่อดูแลเรอื่ ง กำรคลงั ของชำติ เเละมกี ำรใชธ้ นบตั รเป็นคร้งั แรก • ดำ้ นกำรพัฒนำเส้นทำงคมนำคม มีกำรสรำ้ งทำงรถไฟไปยงั หวั เมอื งสำคัญๆ ทำให้กำรขนส่งสินค้ำรวดเร็วขน้ึ เศรษฐกจิ ขยำยตัวขึ้น • ด้ำนกำรธนำคำร เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๗ ทง้ั เจ้ำนำยและเอกชนได้ลงทนุ จดั ต้งั ธนำคำร เรยี กว่ำ บคุ คลัภย์ (Book Club) ตอ่ มำเปล่ยี นชื่อเปน็ บริษทั แบงกส์ ยำม กมั มำจล ทุนจำกัด (Siam Commercial Bank, Limited.) ต่อมำได้เปลย่ี นช่ือเปน็ ธนำคำรไทยพำณิชย์ ถงึ ปัจจบุ ัน

• สมัยรัชกำลท่ี ๖ ไดม้ กี ำรกอ่ ตัง้ คลงั ออมสนิ ต่อมำเรียกวำ่ ธนำคำรออมสนิ เป็นธนำคำรของรฐั บำลแหง่ แรก • สมัยรัชกำลที่ ๖ เริ่มมีปัญหำทำงเศรษฐกจิ ตกต่ำจำกกำรเกดิ นำ้ ท่วมใหญ่ เม่อื พ.ศ. ๒๔๖๐ ภัยธรรมชำตทิ ำให้ พชื ผลเสียหำย รำษฎรอดอยำก และไมม่ สี ินค้ำเกษตรส่งออก มกี ำรส่งเสรมิ ให้คนไทยทำกำรค้ำ และใชส้ ินคำ้ ท่ี ผลิตในไทยมำกขน้ึ • สมัยรชั กำลท่ี ๗ ประเทศไทยไดร้ บั ผลกระทบจำกภำวะเศรษฐกิจตกต่ำท่ัวโลก และคำ่ ของเงนิ ทล่ี ดนอ้ ยลง ทำใหส้ นิ ค้ำมีรำคำแพงขึ้น รชั กำลท่ี ๗ ทรงแก้ปัญหำโดยลดจำนวนข้ำรำชกำร ตดั ทอนรำยจำ่ ยส่วนพระองค์ และรำยจ่ำยตำ่ งๆ ของหน่วยงำนรัฐ • ตอ่ มำผลกระทบจำกเศรษฐกจิ ตกตำ่ ท่วั โลกที่รุนแรงขึน้ ทำใหม้ คี นตกงำนจำนวนมำก สนิ ค้ำมรี ำคำแพงข้ึน รำษฎรได้รับควำมเดอื ดรอ้ นจนเกดิ ควำมไมพ่ อใจกำรปกครองมำกข้นึ และกลำยเปน็ สำเหตหุ นึ่งที่นำไปสู่ กำรเปลย่ี นแปลงกำรปกครอง ใน พ.ศ. ๒๔๗๕

พัฒนาการในสมัยประชาธปิ ไตย (ตั้งเเต่ พ.ศ. ๒๔๗๕-ปจั จบุ นั ) ๑ ด้านการเมืองการปกครอง • พ.ศ. ๒๔๗๕ เกิดกำรเปลย่ี นแปลงกำรปกครองเป็นระบอบประชำธปิ ไตย ทำใหม้ ีองคก์ รกำรเมอื งเกดิ ขน้ึ เช่น รฐั สภำ คณะรัฐมนตรี พรรคกำรเมือง เป็นต้น • ประชำชนมสี ิทธิออกเสียงเลือกตัง้ มีเสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็นทำงกำรเมือง แต่บำงสมัยมกี ำร ปกครองโดยรัฐบำลทม่ี ำจำกกำรปฏวิ ัติรัฐประหำร ทำให้สิทธิทำงดำ้ นกำรเมืองของประชำชนถกู จำกัด

๒ ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม สมัยสรา้ งชาตินิยม • ไดม้ ีกำรออกประกำศหลำยฉบบั ท่คี รอบคลมุ ควำมเป็นอยขู่ องประชำชน เศรษฐกจิ กำรเมือง สงั คมและ วฒั นธรรม เชน่ เปลี่ยนชอื่ ประเทศจำกสยำมเปน็ ประเทศไทย หำ้ มเคีย้ วหมำกพลู กำหนดเคร่ืองแตง่ กำยใน โอกำสต่ำงๆ กำหนดรปู แบบกำรเขยี นภำษำไทยแบบใหม่ ยกเลกิ กำรใช้ตัวอกั ษรหลำยตัว เช่น ฒ ษ และ ศ วัฒนธรรมหลำยอย่ำงนี้ไดย้ กเลิกไปเม่ือสนิ้ สมยั สร้ำงชำตนิ ยิ ม สมยั ฟ้ืนฟูพระราชประเพณแี ละฟนื้ ฟูวฒั นธรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี ว • ไดฟ้ นื้ ฟูควำมสำคัญของสถำบันพระมหำกษัตริย์และพระรำชพิธีตำ่ งๆ เช่น กำรสง่ เสรมิ โครงกำรพระรำชดำริ ต่ำงๆ กำรแพรภ่ ำพข่ำวในพระรำชสำนกั ผ่ำนโทรทัศนแ์ ละวทิ ยเุ ป็นประจำทุกวันกำรสง่ เสรมิ กำรทอ่ งเทย่ี ว สง่ เสริมฟน้ื ฟูและสร้ำงสรรค์ขนบธรรมเนยี มประเพณที ้องถนิ่ ตำ่ งๆ เพือ่ ดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยวจำกต่ำงประเทศ

สมยั นยิ มวฒั นธรรมตะวันตก • ควำมนิยมวัฒนธรรมตะวันตกของไทยตั้งแต่สมัยรัชกำลท่ี ๔ และท่ี ๕ ผู้ที่ไดร้ ับกำรศกึ ษำส่วนใหญม่ ำจำก ตะวนั ตกเป็นหลัก ได้มกี ำรกำหนดใชแ้ ผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คม ซึ่งสง่ ผลทำให้เกิดกำรเปล่ยี นแปลงวถิ ชี ีวิต ของคนไทยท้งั ในเมอื งและชนบท มีกำรพฒั นำดำ้ นกำรศกึ ษำทำใหม้ ผี รู้ ู้หนงั สือมำกขน้ึ มโี อกำสไปเรียนต่อ ต่ำงประเทศมำกขน้ึ ทำใหค้ นไทยส่วนใหญม่ วี ถิ ีชีวติ ควำมเป็นอยู่และมคี ำ่ นิยมแบบตะวันตก ๓ ดา้ นเศรษฐกจิ แบ่งออกเป็น ๓ ช่วง เศรษฐกิจไทยตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ - พ.ศ. ๒๕๐๑ • หลังกำรเปลยี่ นแปลงกำรปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ รฐั บำลเหน็ วำ่ เศรษฐกิจของประเทศไทยขณะนน้ั อยภู่ ำยใต้ กำรควบคุมของต่ำงชำติ โดยเฉพำะชำวจนี รฐั บำลจึงมนี โยบำยสง่ เสริมเศรษฐกจิ ของคนไทย แตไ่ มป่ ระสบ ควำมสำเรจ็ • ระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่ ๒ ไดเ้ กดิ ปัญหำสนิ ค้ำขำดตลำดมีรำคำแพง และสนิ ค้ำเกษตรของไทยสง่ ไปขำย ต่ำงประเทศไมไ่ ด้ ทำให้ประเทศมปี ัญหำด้ำนเศรษฐกิจ ขำดแคลนเงินตรำต่ำงประเทศ โรงงำนอตุ สำหกรรม ต้องปิดตัวลง

• มีกำรโอนกจิ กำรของเอกชนบำงอย่ำง เชน่ ธรุ กิจธนำคำร เหมืองแร่ มำเปน็ ของรัฐ เพอ่ื จะขจัดอิทธิพลทำง เศรษฐกิจของตำ่ งชำติ • หลังสงครำมโลกครั้งท่ี ๒ รัฐบำลได้เรง่ สนบั สนุนกำรผลติ ในภำคเกษตรกรรม เพอื่ ผลิตอำหำรเล้ยี งประชำชน และสง่ ออก ทำให้เศรษฐกิจมกี ำรฟืน้ ตวั และรฐั บำลเริม่ กำรลงทุนในอตุ สำหกรรม ไดแ้ ก่ อตุ สำหกรรมสงิ่ ทอ กระดำษ นำ้ ตำล ยำสบู ฟอกหนงั เชอื้ เพลงิ เศรษฐกจิ ไทยตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๑ - พ.ศ. ๒๕๔๐ • รฐั บำลมีนโยบำยส่งเสรมิ กำรลงทุนของเอกชน เพ่ือพฒั นำประเทศสู่ควำมเป็นอตุ สำหกรรมเเละใหร้ ำษฎร มงี ำนทำเปดิ รับกำรลงทนุ และกำรตดิ ตอ่ ค้ำขำยกับต่ำงชำติอย่ำงเสรี • รัฐบำลได้เตรียมกำรพัฒนำเศรษฐกิจด้วยกำรตัง้ สถำบันทำงเศรษฐกจิ ทส่ี ำคัญ เชน่ ต้งั สภำพฒั นำ กำรเศรษฐกจิ และพฒั นำสำธำรณูปโภคขน้ั พ้ืนฐำน เช่น ถนน ไฟฟ้ำ ประปำ โทรคมนำคม เปน็ ต้น • สินค้ำออกทสี่ ำคญั ของไทย เช่น เสอื้ ผ้ำสำเรจ็ รูป อัญมณี แผงวงจรไฟฟ้ำ ช้นิ สว่ นอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เครือ่ งกระปอ๋ ง เปน็ ต้น

• ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ เศรษฐกิจของไทยมอี ัตรำกำรเจริญเตบิ โตอยำ่ งรวดเร็ว จำกกำรพฒั นำอุตสำหกรรม ทำใหร้ ฐั บำลให้ควำมสำคัญกับภำคอตุ สำหกรรมมำกข้นึ และพยำยำมพัฒนำประเทศให้เปน็ ประเทศ อตุ สำหกรรมใหม่ (NICS) มกี ำรเปิดรบั กำรลงทนุ และสง่ เสริมกำรลงทุนในภำคอตุ สำหกรรม อสังหำริมทรพั ย์ หลักทรพั ย์ และธรุ กจิ บริกำรประเภทต่ำงๆ ทั้งจำกนักลงทนุ ต่ำงชำตแิ ละนกั ลงทุนไทย ทำให้มีกำรกว้ำนซ้อื ท่ีดินเพอ่ื นำมำทำสนำมกอล์ฟ หมูบ่ ้ำนจดั สรร กำรลงทนุ ในตลำดหลกั ทรพั ย์ และมีกำร ป่นั หนุ้ ในตลำดหลักทรพั ย์ให้รำคำสูงขึ้นกว่ำรำคำสนิ ทรพั ยจ์ ริง • กำรทเ่ี ศรษฐกจิ ของประเทศไทยเตบิ โตรวดเรว็ เกินไป และขำดมำตรกำรกำกับดูแลทม่ี ีประสิทธภิ ำพทำให้เกิด วิกฤตเศรษฐกิจใน พ.ศ. ๒๕๔๐ เรียกวำ่ วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่ หรอื รจู้ ักกนั ดีในชื่อ วิกฤตกำรณ์ต้มยำกุ้ง ซ่งึ ธุรกจิ จำนวนมำกล้มละลำยและปิดตวั ลง สง่ ผลใหค้ นจำนวนมำกในภำคธุรกจิ และอตุ สำหกรรมตอ้ งตกงำน

เศรษฐกิจไทยตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๑ - พ.ศ. ๒๕๔๐ • ปญั หำเศรษฐกจิ ทเี่ กดิ ข้ึน ทำให้คนไทยสว่ นใหญห่ ันมำดำเนินนโยบาย เศรษฐกจิ ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระรำชทำนใหแ้ ก่ ประชำชนไทยเพื่อเปน็ แนวทำงแกป้ ัญหำเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ขน้ึ โดยเนน้ กำร พง่ึ พำตนเองและกำรพฒั นำตำมศกั ยภำพ • แนวคดิ นเี้ ป็นหลักที่ประชำชนยดึ ถือเป็นหลกั ปฏิบัติเพ่ือแกป้ ญั หำเศรษฐกจิ ซงึ่ ได้รับกำรปฏิบัตอิ ยำ่ งกวำ้ งขวำง สว่ นในภำครฐั บำล แนวคิดเศรษฐกิจ พอเพยี ง หมำยถึงกำรพฒั นำประเทศตำมลำดับขัน้ ตอน เพื่อสรำ้ งควำมสมดลุ มั่นคงและยั่งยนื และมงุ่ เนน้ พฒั นำภำคเกษตรกรรมมำกขน้ึ เพรำะเปน็ พืน้ ฐำนทำงเศรษฐกจิ ของประเทศ

บทท่ี ๒ ผลงานของบคุ คลสาคญั สมยั รตั นโกสนิ ทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑

• ทรงมีพระนำมเดิมวำ่ ทองด้วง • ทรงเปน็ ผู้สถำปนำรำชวงศจ์ ักรีและกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ทรงตง้ั กรุงเทพฯ เปน็ เมอื งหลวง และทรงสรำ้ งควำมมั่นคง ให้แก่อำณำจักรไทย พระราชกรณยี กิจสาคัญ ด้านการเมืองการปกครอง • ทรงสถำปนำรำชวงศจ์ กั รเี เละกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ทรงยำ้ ยรำชธำนจี ำกเดิมทอ่ี ยู่ฝง่ั ธนบุรีมำฝั่งกรงุ เทพมหำนคร • ทรงสร้ำงพระรำชวงั เเละวัดท่มี ีรูปแบบเหมอื นกับอยธุ ยำเพือ่ สรำ้ งกำลังใจให้ประชำชนรสู้ ึกว่ำอยใู่ นสมัยที่ บ้ำนเมืองรุ่งเรือง • ทรงจดั กำรปกครองใหม้ รี ะเบียบแบบแผน

• โปรดเกล้ำฯ ให้ชำระกฎหมำยใหม้ คี วำมถูกต้องยตุ ิธรรมเรียกว่ำ กฎหมำยตรำสำมดวง เพรำะประทบั ตรำสำคญั ๓ ดวง คอื ตราราชสหี ์ ของสมุหนายก ตราคชสีห์ ของสมุหพระกลาโหม ตราบวั แก้ว ของกรมทา่ • โปรดใหข้ ุดคลองรอบกรงุ ท่เี รยี กชื่อตำ่ งๆ กัน โดยทำงตอนเหนอื เรียกว่ำ คลองบำงลำพู ส่วนทำงตอนใต้ เรยี กว่ำ คลองโอง่ อำ่ ง ทำใหก้ รงุ รัตนโกสนิ ทร์เป็นเหมือนเกำะทม่ี ีแม่นำ้ ล้อมรอบเหมือนกับกรุงศรีอยธุ ยำและโปรดให้ สรำ้ งกำแพงพระนครและสรำ้ งป้อมปรำกำรเรียงรำยไว้โดยรอบ • ทรงเปน็ แม่ทัพในกำรทำศกึ สงครำมกับประเทศเพอ่ื นบ้ำนทขี่ ยำยอำนำจเขำ้ มำ สงครำมครัง้ สำคัญในครง้ั นนั้ คอื สงครำมเกำ้ ทพั กับพม่ำ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม • ทรงใหฟ้ นื้ ฟพู ระรำชพธิ แี ละประเพณสี ำคญั ของกรุงศรอี ยุธยำ เช่น พระรำชพธิ บี รมรำชำภิเษก พระรำชพิธสี มโภช พระนคร เป็นตน้ • ทรงส่งเสรมิ ดำ้ นวรรณกรรม ทรงพระรำชนิพนธ์วรรณคดีข้นึ หลำยเร่ือง เชน่ นริ ำศรบพม่ำทที่ ่ำดนิ เเดง รำมเกียรติ์ และโปรดให้เจำ้ พระยำพระคลัง (หน) แปลพงศำวดำรจีนเรอ่ื ง สำมก๊ก ซ่งึ เป็นท่นี ิยมมำจนถงึ ปัจจุบันน้ี

ดา้ นศาสนา • ทรงออกกฎพระสงฆ์และมำตรกำรตำ่ งๆ เพ่ือใหส้ ถำบันสงฆอ์ ยใู่ นพระธรรมวนิ ยั และมรี ะเบียบแบบแผน • โปรดเกล้ำฯ ใหส้ ังคำยนำพระไตรปฎิ กใหม้ ีควำมถกู ตอ้ ง ซง่ึ นบั เปน็ กำรสังคำยนำพระไตรปฎิ กครัง้ ที่ ๙ • โปรดเกล้ำฯ ใหก้ อ่ สร้ำงและปฏิสงั ขรณ์วัดตำ่ งๆ ท่ีสำคัญ ได้แก่ วดั สระเกศ วัดอรณุ รำชวรำรำม (วัดเเจง้ ) วดั สุวรรณดำรำรำม วัดรำชบรู ณะ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลำรำม (วดั โพธ์ิ) วัดสุทัศนเทพวรำรำม วัดระฆงั โฆสติ ำ- รำม เปน็ ตน้ • โปรดเกล้ำฯ ใหอ้ ญั เชญิ พระพุทธรปู ทถ่ี ูกทง้ิ รำ้ งไว้ตำมวดั ในกรงุ ศรอี ยธุ ยำ ลพบรุ ี และสุโขทยั ลงมำยังกรุงเทพฯ เพื่อบูรณะซ่อมแซมและนำไปประดษิ ฐำนตำมวัดต่ำงๆ ท่ีสรำ้ งใหม่ เชน่ อญั เชญิ พระศรีศากยมุนี จำกวิหำรหลวง วดั มหำธำตุ เมืองสุโขทยั มำประดษิ ฐำน ณ วิหำรหลวงวดั สทุ ศั นเทพวรำรำม สโุ ขทัย กรงุ เทพมหานคร วัดมหาธาตุ วดั อรณุ ราชวราราม วดั สุทศั นเทพวราราม พระศรีศากยมุนี

ด้านเศรษฐกิจ • กำรฟื้นฟูเศรษฐกิจเริม่ มีมำต้งั แตส่ มยั กรุงธนบุรีในตอนต้นของรัชกำลที่ ๑ เศรษฐกิจยงั ไม่ดี เพรำะมสี งครำมกับ พม่ำหลำยคร้งั กำรติดตอ่ ค้ำขำยกบั ตำ่ งประเทศจงึ ลดลง ในปลำยรัชกำลท่ี ๑ เมอื่ บำ้ นเมอื งปลอดจำกภัยสงครำม ประชำชนมีเวลำประกอบอำชพี รำชสำนกั สง่ เครอื่ งรำชบรรณำกำรไปถวำยจักรพรรดิจีน ทำใหก้ ำรค้ำขำยกับจีน เพม่ิ มำกขนึ้ ส่งผลใหเ้ ศรษฐกจิ ดขี ้นึ จึงมีเงินมำใชจ้ ำ่ ยทำนบุ ำรุงบำ้ นเมือง ก่อสร้ำงพระนคร สรำ้ งกำแพงเมือง สร้ำงป้อม สร้ำงและปฏสิ ังขรณ์วดั ซือ้ และสร้ำงอำวุธเพ่ือใชป้ ้องกนั พระรำชอำณำเขตบ้ำนเมืองมีควำมมน่ั คงและ รำษฎรมั่งคง่ั ขน้ึ ป้อมพระสุเมรุ สร้างขน้ึ ในสมยั รัชกาลท่ี ๑

สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสงิ หนาท

• มพี ระนำมเดมิ ว่ำ บญุ มา • เป็นพระอนชุ ำในพระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟำ้ จฬุ ำโลกมหำรำช • ทรงเขำ้ รับรำชกำรในตำแหน่งนำยสดุ จินดำมหำดเลก็ หมุ้ แพร และทรงดำรงตำแหน่งพระมหำอปุ รำชหรอื วังหนำ้ ในรชั กำลท่ี ๑ พระกรณยี กจิ สาคัญ ด้านการสร้างความมนั่ คงแกบ่ า้ นเมือง • เขำ้ ร่วมกับกองทพั ของพระยำตำก (สิน) ทเ่ี มืองจนั ทบุรี และมีส่วนร่วมในกำรตอ่ สูก้ อบกู้บ้ำนเมือง • สมเดจ็ พระเจ้ำตำกสนิ มหำรำชได้เสด็จข้ึนครองรำชย์สมบัติใน พ.ศ. ๒๓๑๐ จงึ ไดร้ บั บรรดำศักดิ์เปน็ พระมหามนตรเี จา้ กรมตารวจ • ไดเ้ ลอ่ื นบรรดำศกั ดิ์เปน็ พระยาอนุชิตราชา พระยายมราช และเจา้ พระยาสรุ สหี ์ ทำหนำ้ ท่ปี กครองเมือง พษิ ณโุ ลก ดแู ลเเละปอ้ งกันพระรำชอำณำจักรทำงเหนือ ทรงมพี ระปรีชำสำมำรถในกำรสงครำมเป็นอย่ำงมำก จนพม่ำเรียกพระนำมว่ำ พระยาเสอื • ในสมยั รัชกำลท่ี ๑ ทรงเปน็ แม่ทพั ในสงครำมครั้งสำคญั หลำยครง้ั เชน่ สงครำมเก้ำทัพ สงครำมรบพมำ่ ท่ี ทำ่ ดนิ แดง เปน็ ตน้

ด้านศาสนาและวฒั นธรรม • โปรดให้สรำ้ งพระรำชวงั บวรสถำนมงคล ซ่ึงมสี ถำปตั ยกรรมไทยทง่ี ดงำม • ทรงโปรดให้สรำ้ งวัดหลำยแห่ง เช่น วดั ชนะสงครำม วัดมหำธำตุ วดั เทวรำชกุญชร วดั รำชผำติกำรำม วัดบำงลำพู วดั โบสถ์ • โปรดให้ปฏสิ งั ขรณ์วัดเก่ำ เช่น วดั ปทุมคงคำ วดั สวุ รรณดำรำรำม เปน็ ต้น • ทรงบริจำคพระรำชทรพั ย์สรำ้ งหอพระมณเฑียรธรรมในวัดพระศรีรตั นศำสดำรำม โรงครัว หอสวด โรงโขน โรงห่นุ ระทำ พลับเพลำ หอทง้ิ ทำน ถวำยเป็นสมบัตขิ องพระบรมมหำรำชวัง วดั เทวราชกุญชร

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี ๔

• ทรงมีพระนำมเดมิ ว่ำ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติเทวาวงศ์ พงษอ์ ิศรกษัตริย์ • ในรชั สมยั ของรัชกำลท่ี ๔ ไทยมีควำมสัมพนั ธก์ ับชำตติ ะวนั ตกมำกข้นึ และเร่ิมพฒั นำบำ้ นเมอื งให้ทนั สมยั แบบตะวนั ตก พระราชกรณยี กจิ สาคัญ ดา้ นความสัมพนั ธ์กบั ต่างประเทศ • ทรงเจริญควำมสมั พนั ธ์ทำงดำ้ นกำรทตู กบั ชำติตะวนั ตกหลำยชำติ เช่น กำรทำสนธิสัญญำเบำวร์ ิง กับอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ ตำมด้วยสนธิสญั ญำลักษณะเดียวกันกบั ชำติตะวันตกอ่ืนๆ • ทรงโปรดให้สง่ ทูตไปเจรญิ สัมพนั ธไมตรีกบั ประเทศต่ำงๆ เชน่ องั กฤษ ฝรัง่ เศส เป็นต้น

ดา้ นการปรบั ปรุงประเทศ • ทรงปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยแบบตะวนั ตก ยกเลิกประเพณีเก่ำๆ ทล่ี ำ้ สมยั เพือ่ ไม่ใหช้ ำตติ ะวันตกดูถกู วำ่ ไทย เป็นชำตปิ ่ำเถื่อน ด้อยควำมเจรญิ แลว้ หำข้ออำ้ งยึดครองดินแดน เช่น อนญุ ำตใหข้ ุนนำงสวมเสื้อเขำ้ เฝำ้ ฯ อนญุ ำตใหร้ ำษฎรเฝำ้ รับเสด็จฯ หรอื เขำ้ เฝำ้ ฯ ได้ อนุญำตให้ชำวตำ่ งชำตทิ ำควำมเคำรพตำมธรรมเนียมตำ่ งชำติ ส่งเสริมใหร้ ำษฎรรักษำควำมสะอำดรำ่ งกำยและบำ้ นเมอื ง • ทรงจำ้ งชำวตะวนั ตกเข้ำมำรับรำชกำร สอนหนังสือแก่พระรำชโอรสและพระรำชธดิ ำ • ทรงส่งเสริมให้เจ้ำนำยและขุนนำงศกึ ษำภำษำอังกฤษ • ทรงจ้ำงชำวตะวันตกเขำ้ มำฝกึ สอนวิชำทหำรแบบใหม่ • ทรงสง่ ขนุ นำงไปศกึ ษำดูงำนยงั ต่ำงประเทศเปน็ ครัง้ แรก เรื่องกำรพิมพ์ทีป่ ระเทศฝรงั่ เศส • โปรดใหต้ ง้ั โรงพิมพ์ของทำงรำชกำรขึ้นในพระบรมมหำรำชวัง ช่อื ว่ำ โรงอกั ษรพิมพกำร • มกี ำรตัดถนนสำยใหมๆ่ เชน่ เจรญิ กรงุ บำรุงเมือง เปน็ ต้น • มกี ำรขุดคูคลองเช่ือมแมน่ ้ำและหวั เมอื ง เชน่ คลองเจดยี บ์ ูชำ คลองภำษีเจรญิ คลองผดุงกรงุ เกษม เป็นตน้ ท้งั นี้ เพอื่ ให้เปน็ คูเมอื งและเพือ่ ควำมสะดวกในกำรคมนำคม

ด้านเศรษฐกจิ • โปรดเกล้ำฯ ให้ตั้งโรงกษำปณ์ผลิตเงนิ เหรยี ญชนดิ และอัตรำต่ำงๆ เช่น เหรียญทอง เหรยี ญทองแดง เหรียญดบี ุก เพื่อควำมสะดวกในกำรค้ำขำย • กำรเปิดเสรีทำงกำรคำ้ ในรัชสมัยนี้มที ั้งขอ้ ดีและขอ้ เสยี ข้อดี คือ เศรษฐกจิ เติบโตข้นึ ข้ำวกลำยเปน็ สินคำ้ ส่งออก ท่สี ำคญั มำจนปจั จบุ ัน สว่ นขอ้ เสยี คือ มขี อ้ จำกดั ในสนธสิ ัญญำ เช่น เรื่องอัตรำภำษรี อ้ ยละ ๓ เรื่องสทิ ธิสภำพ นอกอำณำเขต เป็นตน้ ดา้ นศาสนา สงั คม เเละวฒั นธรรม • ทรงต้งั ธรรมยุติกนกิ ำยเมอื่ คร้งั ทีท่ รงออกผนวช ปฏิรูปพระพุทธศำสนำ เนน้ กำรศึกษำพระธรรมวินัย กำรเผยแผ่ คำสอน เนน้ ให้พระสงฆ์ปฏบิ ตั ิตำมพระธรรมวินยั อยำ่ งเคร่งครัด • ทรงออกกฎหมำยหลำยฉบบั เพอ่ื ควบคุมควำมประพฤติของพระภิกษุสำมเณรให้อยใู่ นระเบียบวนิ ัยของสงฆ์ • ทรงบรู ณะ สรำ้ งและตอ่ เติมศำสนสถำนหลำยแห่ง เชน่ พระปฐมเจดีย์ พระมหำเจดียป์ ระจำรัชกำลที่ ๔ ในวัด พระเชตุพนวมิ ลมงั คลำรำม พระเจดยี ์ภเู ขำทอง • ทรงสนับสนุนกจิ กำรของศำสนำอนื่ เช่น พระรำชทำนทดี่ นิ ใหก้ ่อสรำ้ งศำสนสถำนของศำสนำอิสลำม ศำสนำคริสต์ เปน็ ต้น • ทรงศกึ ษำกำรอ่ำนศลิ ำจำรึกของพ่อขนุ รำมคำแหง ที่ทรงพบเมือ่ คร้ังทรงผนวช ร่วมกบั นกั ปรำชญ์ • โปรดเกลำ้ ฯ ให้ชำระและเขยี นพงศำวดำรข้ึนใหม่ ทรงตรวจแก้ไขปรำกฏเป็นลำยพระรำชหัตถเลขำ อยู่ในพงศำวดำร จงึ มีชอื่ ว่ำพระรำชพงศำวดำร ฉบับพระรำชหตั ถเลขำ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว รชั กาลท่ี ๕

• ทรงมพี ระนำมเดมิ ว่ำ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ • ทรงเป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ วั กับพระนำงเธอพระองคเ์ จ้ำรำเพยภมรำภริ มย์ • ทรงปฏิรูปบำ้ นเมอื งทกุ ด้ำนเพอ่ื พฒั นำให้มคี วำมทนั สมยั เจริญก้ำวหน้ำทัดเทียมกบั ชำตติ ะวันตกและเพอื่ รกั ษำ อธิปไตยของชำติ พระราชกรณียกิจสาคัญ ดา้ นการปกครอง • ทรงปฏิรปู กำรบริหำรรำชกำรแผน่ ดินใน พ.ศ. ๒๔๓๕ โดยแบง่ สว่ นรำชกำรเปน็ กระทรวงตำ่ งๆ ซึง่ ใชม้ ำจนถึง ปจั จุบัน • ทรงรวมอำนำจจำกหัวเมอื งเขำ้ มำสสู่ ่วนกลำงที่กรงุ เทพฯ โดยปกครองหวั เมอื งในระบบมณฑลเทศำภบิ ำล • จัดระเบยี บกำรปกครองทอ้ งทเี่ ป็นหม่บู ้ำน ตำบล อำเภอ เมือง ให้ประชำชนในทอ้ งถน่ิ เปน็ ผู้เลอื กผู้ใหญ่บำ้ น ผู้ใหญบ่ ้ำนเปน็ ผเู้ ลือกกำนนั และใหผ้ ู้วำ่ รำชกำรเมอื งเป็นผเู้ ลอื กและแต่งตั้งนำยอำเภอ นอกจำกน้ียังมีกำรตงั้ สุขำภบิ ำลดว้ ย

ด้านกฎหมายและการศาล • ทรงปฏริ ูประบบกฎหมำยตำมมำตรฐำนสำกลของชำติตะวันตก เพื่อเตรียมพร้อมกำรยกเลกิ สนธิสญั ญำที่ไม่เปน็ ธรรมและสทิ ธสิ ภำพนอกอำณำเขต เชน่ จดั ระบบกำรศำล กำรพจิ ำรณำคดีและกำรพพิ ำกษำ • ทรงต้ังโรงเรียนกฎหมำยข้นึ เพ่อื ผลิตนักกฎหมำย เเละตง้ั กระทรวงยตุ ธิ รรมดแู ลงำนด้ำนกำรศำล ด้านสงั คมและวฒั นธรรม • ทรงสร้ำงควำมเท่ำเทียมให้เกิดข้ึนในสงั คม ยกเลกิ ระบบไพร่ ให้ประชำชนมีอิสระในกำรประกอบอำชีพ กำรศึกษำเลำ่ เรียน ยกเลิกระบบทำส ทำใหค้ นไทยมสี ทิ ธิเสรภี ำพอยำ่ งสมบรู ณ์ • เปล่ียนสถำนะของขุนนำงจำกกำรสืบสำยเลอื ดมำเปน็ กำรใชค้ วำมรูค้ วำมสำมำรถ ทำให้สำมัญชนท่มี กี ำรศึกษำ ได้เขำ้ รบั รำชกำร ด้านการปรบั ปรุงบา้ นเมอื ง • ทรงปฏริ ูปกำรคมนำคมและกำรส่อื สำร เช่น สรำ้ งทำงรถไฟ ขดุ คูคลอง จัดเดนิ รถรำง ตัดถนน จดั ตง้ั ระบบ ไปรษณีย์ เเละโทรเลข • จัดให้มสี ำธำรณูปโภค เช่น ไฟฟ้ำ นำ้ ประปำ โทรศัพท์ • กำรปฏริ ูปในรัชสมยั นเ้ี ปน็ กำรปฏิรปู ประเทศครั้งใหญ่ในทกุ ด้ำน ทำใหป้ ระเทศมคี วำมเจรญิ กำ้ วหน้ำมำกข้นึ รำษฎรมชี วี ติ และควำมเป็นอยู่ทดี่ ีข้ึน

ด้านการศกึ ษา • ทรงจดั ระบบกำรศึกษำแผนใหมต่ ำมแบบชำตติ ะวันตก ก่อตงั้ กระทรวงธรรมกำร เพ่ือดแู ลกำรศำสนำ และกำรศกึ ษำ • ตงั้ โรงเรียนหลวงสำหรับรำษฎร และใหม้ โี รงเรยี นของเอกชนขึ้น โรงเรยี นฝึกหดั รำษฎรเขำ้ รับรำชกำร เชน่ โรงเรียนฝกึ หัดครู โรงเรียนไปรษณยี ์โทรเลข โรงเรยี นกฎหมำย โรงเรยี นนำยร้อย เปน็ ตน้ • ทรงส่งพระรำชโอรสและใหท้ นุ กำรศึกษำแกน่ กั เรยี นท่มี คี วำมสำมำรถไปศกึ ษำต่อยงั ประเทศในยุโรป เพอื่ นำควำมรู้กลับมำพฒั นำบ้ำนเมือง • ทรงมีแนวคิดในกำรตรำพระรำชบญั ญัตบิ งั คบั เดก็ อำยุ ๗-๑๔ ปี เขำ้ เรยี น โดยมีกระทรวงธรรมกำร เป็นผู้รับผดิ ชอบ ด้านเศรษฐกิจและการคลัง • ทรงปฏริ ูปกำรคลงั ให้สอดคล้องกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบใหม่ เชน่ จัดระบบกำรเกบ็ ภำษีใหร้ ดั กุม จัดระบบ เงินตรำใช้แร่ทองคำเปน็ มำตรฐำนเงนิ ตรำเเทนเเร่เงิน • ทรงต้งั กระทรวงพระคลังมหำสมบัติเพ่ือดแู ลกำรคลงั ของแผน่ ดนิ มกี ำรจัดทำงบประมำณแผน่ ดินเป็นคร้งั แรก เพอ่ื วำงระเบียบและควบคุมกำรใช้จ่ำยของประเทศให้รดั กุมและเหมำะสม กำหนดเงินเดอื นของข้ำรำชกำรและ เงนิ ค่ำใชจ้ ำ่ ยสว่ นพระองคท์ แี่ นน่ อน

ทา้ วเทพกระษตั รี ทา้ วศรสี นุ ทร

• ทำ้ วเทพกระษตั รี หรือคณุ หญิงจนั ท้ำวศรีสนุ ทร หรอื คณุ มุก เปน็ บุคคลสำคญั ของจังหวดั ภูเกต็ • ได้รับกำรยกยอ่ งเป็นวีรสตรไี ทยผมู้ คี วำมกล้ำหำญ เสยี สละ และจงรกั ภกั ดีต่อชำตบิ ้ำนเมือง • ไดใ้ ชส้ ตปิ ัญญำในกำรแก้ปัญหำเพื่อป้องกนั กำรรกุ รำนของขำ้ ศึกในสงครำมเกำ้ ทัพ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๒๘ ในสมยั รชั กำลที่ ๑ แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ผลงานทส่ี าคญั • พ.ศ. ๒๓๒๘ ไดเ้ กิดศึกสงครำมเก้ำทพั ข้ำศึกเขำ้ มำประชิดทเ่ี มืองถลำง (จังหวดั ภเู ก็ต) คณุ หญิงจนั และคุณมุกได้ รวบรวมไพร่พลเพอื่ ปกป้องเมือง โดยออกอุบำยก้นั น้ำ เพอื่ ตดั แหล่งน้ำ ทำทีเคล่ือนพลยำมดึกเพือ่ ทำใหข้ ้ำศกึ เข้ำใจวำ่ มกี องกำลังเสรมิ • คุณหญิงจนั วำงแผนใชก้ ลศกึ ว่ำในเมอื งมีกำลังมำเพมิ่ เตมิ อยเู่ สมอแลว้ จึงโจมตขี ำ้ ศึกดว้ ยปนื ใหญ่ ทำให้ขำ้ ศึกถอย ทพั กลบั ไป • คุณงำมควำมดีท่คี ุณหญิงจันและคุณมกุ ไดท้ ำไว้ จึงโปรดเกล้ำโปรดกระหมอ่ มบำเหนจ็ ผทู้ ำคุณให้แก่แผ่นดนิ โดย แต่งต้งั ใหค้ ุณหญิงจันเป็นท้ำวเทพกระษัตรี และคุณมุกนอ้ งสำวเปน็ ทำ้ วศรีสนุ ทร

บทท่ี ๓ ภูมปิ ญั ญาสมัยรตั นโกสินทร์ ด้านอักษรศาสตร์ • พระมหำกษตั ริยไ์ ทยทรงส่งเสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมของชำตไิ ทย ทรงส่งเสริมกวี ทงั้ ยังมพี ระมหำกษัตรยิ ห์ ลำยพระองค์ทรง มพี ระปรชี ำสำมำรถทำงกำรประพันธ์ จงึ ได้พระรำชนิพนธว์ รรณกรรมไว้เปน็ มรดกของชำติบำ้ นเมือง รัชกาลที่ ๑ • วรรณกรรมทท่ี รงพระรำชนิพนธ์ เชน่ นิรำศรบพม่ำทที่ ่ำดินแดง บทละครเร่อื งรำมเกยี รติ์ บทละครเร่อื งอุณรทุ • ทรงสนับสนุนให้มีกำรแปลวรรณคดีต่ำงประเทศ เช่น วรรณคดีภำษำเปอร์เซีย ภำษำจีน และภำษำบำลี รวมทัง้ พงศำวดำรจนี ๒ เร่อื ง คือ ไซฮัน่ และสำมกก๊ เปน็ ตน้ รชั กาลท่ี ๒ • ทรงพระรำชนิพนธ์วรรณคดีที่มีช่ือเสียงหลำกหลำยเรื่องเช่น อิเหนำ สังข์ทอง มณีพิชัย ขุนช้ำงขุนเเผน ไกรทอง รำมเกียรติ์ เป็นตน้ • ทรงอุปถัมภ์กวี เชน่ พระยำสนุ ทรโวหำรหรือสนุ ทรภู่ ผู้มผี ลงำนเป็นทรี่ จู้ กั แพรห่ ลำย เชน่ พระอภยั มณี นิรำศภูเขำทอง นิรำศเมอื งแกลง สงิ หไกรภพ เปน็ ต้น

รัชกาลที่ ๔ • ทรงพระรำชนิพนธ์วรรณกรรมหลำยเรื่องซ่ึงเก่ียวกับรำชประเพณี โบรำณคดี และภำษำไทย เช่น ชุมนุมพระบรม รำชำธิบำยในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว หมวดวรรณคดี และหมวดโบรำณคดี รัชกาลท่ี ๕ • ทรงพระรำชนิพนธว์ รรณกรรมเรอื่ งเงำะปำ่ ไกลบ้ำน เเละพระรำชพธิ ีสิบสองเดอื น รชั กาลท่ี ๖ • ได้พระรำชนิพนธ์วรรณกรรมประเภทต่ำงๆไว้เป็นจำนวนมำกและหลำกหลำยเช่น ศกุนตลำ พระร่วง มัทนะพำธำ เทศนำเสอื ป่ำ เมืองไทยจงตนื่ เถิด เป็นต้น

ด้านศิลปกรรม รชั กาลท่ี ๑ • สร้ำงพระบรมมหำรำชวัง และวำงผังของพระบรมมหำรำชวังตำมแบบผังพระรำชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยำ คือ สร้ำงวงั ใหช้ ิดแม่นำ้ หนั หนำ้ วงั ขึ้นเหนอื นำ้ เอำกำแพงเมืองด้ำนขำ้ งแมน่ ้ำเปน็ กำแพงวงั ชนั้ นอก • สร้ำงวดั พระศรีรตั นศำสดำรำมในเขตพระรำชฐำนเหมือนอยำ่ งวัดพระศรสี รรเพชญ์ เป็นท่ปี ระดษิ ฐำนพระพุทธมหำมณี รตั นปฏมิ ำกร (พระแก้วมรกต) และใช้เปน็ ทป่ี ระกอบพระรำชพิธที ำงศำสนำ • ภำยในพระบรมมหำรำชวังประกอบด้วยหมู่พระมหำมณเฑียร พระมหำปรำสำท พระที่นั่งต่ำงๆ ตลอดจนอำคำรอ่ืนๆ ทั้งท่สี ร้ำงขึน้ ในสมัยรัชกำลที่ ๑ และมีกำรสรำ้ งเพ่ิมเตมิ ในรัชกำลต่อมำ เช่น ๑. พระที่นั่งดุสติ มหาปราสาท ๒. พระทีน่ งั่ จักรีมหาปราสาท ๓. วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม

พระที่นง่ั ดุสิตมหาปราสาท • พระทีน่ ่ังดุสติ มหาปราสาท เป็นปรำสำทจัตุรมุข มุขท้ัง ๔ มีขนำดเท่ำกัน องค์พระท่ีน่ังก่ออิฐถือปูน ยอดเป็นเคร่ืองไม้ ทรงมณฑปซ้อน ๗ ช้ัน พระที่น่ังดุสิตมหำปรำสำทใช้เป็นสถำนท่ีประกอบกำรพระรำชพิธีและกำรพระรำชกุศลต่ำงๆ ได้แก่ พระรำชพธิ ีฉตั รมงคล ภาพจาก http://hilight.kapook.com/view/143737


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook