Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยทางการศึกษา

การวิจัยทางการศึกษา

Published by RockyZ, 2019-07-24 03:51:11

Description: การวิจัยทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

100 ถ้ำเป็นงำนวิจัยเชิงทดลอง งานวิจัยที่จะนามาเสนอควรเป็น งานวจิ ัย ที่มีตัวแปรต้น และ ตัวแปรตามเหมือนกัน แต่ถ้าไม่มีงานวิจัย ดังกล่าว ก็ควรเป็นงานวจิ ัยท่ีมีตัวแปรตน้ เหมอื นกนั ส่วนงำนวิจัยเชิงสำรวจ งานวิจัยที่จะนาเสนอต้องเป็นงานวิจัย ท่ีมตี ัวแปรท่ี ศึกษาเหมอื นกัน 16. กำรเขยี นข้อเสนอแนะ หลกั กำรเขียนข้อเสนอแนะสำหรับกำรนำผลกำรวจิ ัยไปใช้ ใหเ้ สนอแนะวา่ ใคร หนว่ ยงานใด ควรจะดาเนินการอะไรต่อไป ขอ้ เสนอแนะ ต้องเป็นข้อเสนอที่ได้จากการวิจัย ไม่ใช่ข้อเสนอแนะในเชิงทฤษฏี ที่ไม่ได้มาจากข้อค้นพบ ในการวจิ ัย และตอ้ งเปน็ เร่อื งที่เกี่ยวข้องกบั เร่อื งทีว่ จิ ัย หลกั กำรเขยี นข้อเสนอแนะสำหรบั กำรวจิ ยั ในครง้ั ตอ่ ไป เป็นการนาเสนอวา่ ถ้าจะมีการวจิ ยั ต่อไป ควรคานึงถงึ อะไรบา้ ง หรอื ควรทา เร่ืองอะไรบ้าง หรือ ควรจะเพิ่มตัวแปรอะไรบ้าง ควรปรับปรุงวิธีดาเนินการอย่างไร เครอื่ งมือในการวจิ ยั ควรใช้แบบไหน 8.3 กำรนำเสนอผลกำรวิจยั กำรเตรียมและกำรนำเสนองำนเชงิ วชิ ำกำร การนาเสนองานเชิงวิชาการ หมายถึง การนาเสนอเนื้อหาสาระให้แก่บุคคล เป้าหมายให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และยอมรับในสาระท่ีนาเสนอตามเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ในการนาเสนอ และอาจมีการใช้ส่ือต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิด ความชัดเจน และน่าเช่ือถือยิง่ ขึ้น การนาเสนองานเชิงวิชาการมีบทบาทสาคัญอย่างมากในปัจจุบัน ท้ังน้ีเพราะเป็น สื่อสารข้อมูล ตลอดจนเผยแพร่ก้าวหน้าขององค์ความรู้ ผลการศึกษาหรือการวิจัย ที่จะ

101 ช่วยในการตัดสินใจในการดาเนินงาน และช่วยในการพัฒนางานในองค์กรให้มี ความกา้ วหนา้ ตอ่ ไป การนาเสนองานเชงิ วชิ าการมไี ดท้ ้งั รปู แบบการนาเสนอดว้ ยวาจา เช่น นาเสนอโดยการบรรยาย ในการอภิปราย ในการประชุม สัมมนา เป็นต้น และการนาเสนอ โดยการเขียนเป็นเอกสารเชิงวชิ าการเชน่ ตารา รายงานการวิจัย บทความ เป็นต้น ในที่น้ี ขอกลา่ วถงึ การนาเสนอโดยใช้วาจาดังน้ี ขั้นตอนกำรนำเสนอ (ประวีณ ณ นคร, 2550; รุธ ประวัง, 2549; Bailey & Denstaedt, 2004) ไม่ว่าจะเป็นงานวิชาการลักษณะใดก็ตาม เพ่ือให้การนาเสนองานบรรลุผลสาเร็จ ราบร่ืน ควรต้องมีการเตรียมการก่อนการนาเสนอ ท้ังน้ีเพ่ือเป็นการลดข้อผิดพลาด และ ป้องกันข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น อีกท้ังยังสามารถนาเสนอได้เหมาะสมตามระยะเวลาท่ี กาหนด นา่ สนใจ นา่ เช่ือถอื และน่าฟัง ซง่ึ ขน้ั ตอนในการเตรียมการและนาเสนอมีดงั น้ี 1. การศึกษาข้อมูล เน่ืองจากในการนาเสนอจะต้องมีการอธิบายหรือช้ีแจง เกี่ยวกับเร่ืองน้ัน ผู้นาเสนอจึงควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองน้ันให้ลึกซ้ึงก่อน เพ่ือการ วางแผนวิธีการนาเสนอ วางแนวทางการแก้ปัญหาอุปสรรค เพ่ือให้เกิดการนาเสนอท่ีมี ประสิทธิภาพ สิ่งท่ีจะต้องศกึ ษาก่อนการนาเสนอ ไดแ้ ก่ • เรื่องท่ีจะนาเสนอ ได้แก่เร่ืองอะไร มีจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ในการนาเสนอ วา่ อยา่ งไร มคี วามเปน็ มาอย่างไร มปี ระเดน็ สาคญั /สาระอะไรบ้าง มขี อ้ เสนอแนะว่าอยา่ งไร เป็นต้น • ผู้รับฟัง การศึกษาข้อมูลของผู้รับฟังการนาเสนอ จะเป็นผลดีต่อการวางกลวิธี ในการนาเสนอให้เหมาะสมกับผู้รับฟัง อันจะทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการรับฟัง ซ่ึง ข้อมูลผู้รับฟังที่ควรศึกษาได้แก่ จานวนผู้ฟัง คุณวุฒิ ความรู้หรือระดับการศึกษา อาชีพ ตาแหน่งหน้าที่การงาน ประสบการณ์ วัย เพศ เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น เช่นหากผู้รับฟัง เป็นนกั วชิ าการสามารถใช้ภาษาวชิ าการหรือศัพท์เทคนคิ ผู้รับฟังเป็นคนท่ัวไปควรใช้ภาษา หรอื คาพดู งา่ ยๆที่ผรู้ ับฟงั เข้าใจ • สถานที่ทีจ่ ะนาเสนอ การศกึ ษาเกย่ี วกับสถานท่ที จี่ ะนาเสนอมีความสาคัญอย่าง มากต่อความสาเร็จของการนาเสนอ เน่ืองจากลักษณะของสถานท่ีมีผลต่อการนาเสนอเช่น

102 ความกว้าง แสงสว่าง เสียง ไม่เหมาะสม นอกจากนี้การนาเสนอจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ใน การนาเสนอ เชน่ ไมคโ์ ครโฟน เคร่อื งขยายเสียง เคร่อื งฉายภาพ คอมพิวเตอร์ หากสถานท่ี นน้ั ไม่มีความพรอ้ มก็จะเป็นอุปสรรคต่อการนาเสนอได้ • เวลาที่จะนาเสนอ ซ่ึงหมายความได้ถึงระยะเวลาในการนาเสนอ เปน็ ช่ัวโมงหรือ นาที และจังหวะเวลาที่นาเสนอ เช่น เวลาเช้า บ่าย ช่วงรับประทานอาหาร หรือกลางคืน เป็นต้น เวลาในการนาเสนอมีผลต่อการกาหนดเค้าโครงเร่ือง และเนื้อหาของเร่ืองท่ีจา นาเสนอใหเ้ หมาะสม 2. การวางแผนการนาเสนอ การวางแผนจะเป็นการช่วยให้การนาเสนอมีความ เหมาะสมกบั สิ่งทีต่ ้องนาเสนอ บคุ คลท่ีจะรับฟังการนาเสนอ สถานท่ที ่จี ะนาเสนอ และเวลา ท่ีจะนาเสนอ ซ่ึงการวางแผนจะทาให้สามารถควบคุมการนาเสนอเป็นไปอย่างครบถ้วน ตามลาดับเนื้อหา ควบคุมเวลาในการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม ใช้อุปกรณ์ในการนาเสนอ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ดังน้ันควรต้องมีการวางแผนการนาเสนอเกย่ี วกับ • เนื้อหาการนาเสนอ ควรมีการกาหนดเค้าโครงการนาเสนอ จัดลาดับเนื้อหา ก่อนหลัง เตรียมสาระสาคัญและข้อมูลสนับสนุนรวมท้ังแหล่งอ้างอิงที่มาของข้อมูลให้ ครบถว้ น • วิธีการนาเสนอ การนาเสนอเชิงวิชาการ จะต้องนาเสนอแบบเป็นทางการ มี แบบแผน ใช้ภาษาวชิ าการหรือราชการ • ส่ือและเอกสารการนาเสนอ สื่อจะช่วยให้การนาเสนอมีความสมบูรณ์ มากขึ้น จึงควรมีการออกแบบ/จัดเตรียมส่อื ตรวจสอบ และทดลองใช้ส่ือเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดท่ี อาจเกิดขน้ึ ได้ รวมทงั้ การจัดเตรียมเอกสารประกอบการนาเสนอใหเ้ พียงพอ • สถานท่ีท่ีจะนาเสนอ โดยท่ัวไปสถานที่ในการนาเสนองานเชิงวิชาการมักมีการ กาหนดไว้ลว่ งหน้า และมกั มกี ารจดั เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมแกก่ ารนาเสนอ ไมว่ ่าจะเปน็ โต๊ะ เก้าอี้ แท่นบรรยาย และอุปกรณ์สาหรับการนาเสนอเช่น คอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉายแผ่นใส รวมถึงเคร่ืองขยายเสียง ไมโครโฟน อย่างไรก็ตามผู้นาเสนอควรตรวจสอบสถานที่และ อุปกรณก์ อ่ นนาเสนอ เพ่ือจดั เตรียมอปุ กรณท์ ี่ตอ้ งการเพิ่มเตมิ ได้ทันท่วงที

103 • เวลาในการนาเสนอ ผศู้ กึ ษาควรวางแผนการนาเสนอในระยะเวลาท่ีเหมาะสม โดยเลือกวิธีการนาเสนอให้เหมาะสมกับเวลาเสนอเน้ือหาโดยกระชับ มีสาระในประเด็น สาคัญ • ตัวผู้นาเสนอ ผู้นาเสนอควรมีการเตรียมความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ มี การทบทวนความพร้อมของเน้ือหา ส่ือ วิธีการนาเสนอ และแนวทางการตอบคาถามตาม เวลาท่ีกาหนด ผู้นาเสนอควรมีการเตรียมร่างส่ิงท่ีต้องการนาเสนอ ทาการฝึกซ้อมการ นาเสนอเพ่ือให้เกิดการคุ้นเคยกับข้อมูลท่ีต้องการนาเสนอ และฝึกการแสดงท่าทางหน้า กระจก ฝกึ การพดู และการใช้น้าเสียงโดยการอัดเทปหรือพดู ให้เพ่ือนฟัง เป็นตน้ นอกจากนี้ ผนู้ าเสนอควรมีการเตรยี มวางแผนการเดินทางใหไ้ ปถึงสถานท่นี าเสนอก่อนเวลาอีกด้วย 3. กำรนำเสนอ การนาเสนอ เป็นการพูดเพ่ือนาเสนอข้อมูลหรือความรู้ แก่ผู้ฟัง ตามแผนที่ วางไว้ การนาเสนอจึงต้องการสมาธิและความมั่นใจ อย่างไรก็ตามอาจมีเหตุการณ์ที่ทาให้ การนาเสนอสะดุดลง ผู้นาเสนอจึงต้องทาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้การนาเสนอนั้นลุลว่ ง ด้วยดี ขอ้ ควรคำนึงในกำรนำเสนอ ในการนาเสนอ มีสง่ิ ท่คี วรคานงึ ดงั นี้ • การแต่งกาย ต้องแต่งกายให้เรียบร้อย สะอาด มีรสนิยม และเหมาะสมกับ กาลเทศะ เช่น แต่งชุดสากลนยิ มในการนาเสนอต่อทป่ี ระชมุ ซึ่งจดั เปน็ แบบพธิ ี ชายใส่สูทสี สุภาพ รองเท้าหนัง เชิ้ตคอปก เน็คไท หญิงใส่สูทสีสุภาพ แต่งหน้าพอควร ถ้าผมยาว รวบ ใหเ้ รียบร้อย รองเทา้ หมุ้ ส้น • การวางตัว ต้องวางตัวให้เหมาะสมกับกาละเทศะ มีกิริยาวาจาสารวม สุภาพ เช่น นอบน้อมต่อผู้รับการเสนอท่ีเป็นผู้ใหญ่ เป็นมิตรต่อผู้รับการเสนอท่ีมีอาวุโสเสมอกัน เป็นกันเองต่อผูร้ ับการเสนอท่ีด้อยอาวโุ สกว่า ภูมฐิ านตอ่ ผู้รับการเสนอจากตา่ งประเทศ เอา จริงเอาจังแตไ่ ม่เครง่ เครียดตอ่ การนาเสนอในที่ประชมุ

104 • น้าเสียง ต้องใช้น้าเสียงในการนาเสนอให้น่าฟังเช่น น้าเสียงกังวาลแต่ไม่ กระโชกโฮกฮาก เปล่ยี นระดับน้าเสียงเป็นชว่ งๆ ให้ดงั บ้าง เบาบา้ ง ไมใ่ ห้เปน็ ระดบั เดียวกัน ตลอดจนชวนง่วง เน้นเสียงหนักท่ีเป็นสาระสาคัญหรือจุดสาคัญ พูดไม่ติดตะกุกตะกัก พูด ให้ดังพอฟงั ให้ชัด เวน้ วรรคตอนและจงั หวะพอฟงั งา่ ย ไมช่ ้าหรอื เร็วเกินไป • การมอง การมองเป็นการบ่งบอกท่าทีและทัศนคติทางบวกหรือลบของผู้ นาเสนอ การมองจึงมีความสาคญั อย่างมาก โดยควรมองแบบให้เกียรตทิ ุกคน กวาดสายตา ให้ทวั่ ถึง และมองดว้ ยความช่ืนชมยนิ ดี • อารมณ์ ในการนาเสนอผู้นาเสนอต้องเป็นผู้มีอารมณ์ดี แจ่มใส เบิกบาน ไม่ ขุ่นมัว • ไหวพรบิ ผูน้ าเสนอตอ้ งมีไหวพริบทสี่ ามารถจับประเด็นคาถามได้ ตอบคาถาม ทซ่ี ับซอ้ นวกวนได้ และแก้ปญั หาเฉพาะหน้าและหาทางออกได้อย่างราบรืน่ นอกจำกน้ี บุญเลิศ อรุณพิบูลย์(มปป) ได้กล่ำวถึงข้อควรคานึงในการเตรียมตัว ในการนาเสนอผลงานตา่ งๆ ในท่ีสาธารณะ หรอื ต่อผฟู้ ังจานวนมาก ดงั นี้ • ควรไปถงึ สถานทีบ่ รรยายก่อนเวลาอันควร • ควรตรวจสอบสถานท่ีและอุปกรณ์ก่อนนาเสนอลว่ งหน้า • ไมแ่ สดงภาพใดๆ จนกวา่ จะพร้อมที่จะพดู ประโยคแรก ทงั้ ก่อนและขณะ นาเสนอ • ไมค่ วรเปิดๆ ปิดๆไฟภายในห้องขณะนาเสนอ • ขณะนาเสนอถ้ามกี ารใชแ้ สงนาทาง หรอื แสงเลเซอร์ หา้ มแกวง่ ดา้ มชแ้ี สง เลเซอร์ หา้ มหมุนแสงเลเซอร์รอบคา หา้ มลากแสงเลเซอร์จากจุดหนึ่งไปอกี จุดหนงึ่ ใหใ้ ช้ วิธกี ารชค้ี ้างไว้ และระวังอาการสนั่ ของมือ หากไมส่ ามารถควบคมุ อาการสัน่ ได้ ให้ใช้ เมาส์ หรือใช้ประโยคแทน เชน่ “คุณจะเหน็ ...ชัดเจนท่ีมุมขวาบนของสไลด์รปู น้ี” เปน็ ต้น • ใหค้ วามสาคัญกับผู้ฟงั มากกว่าภาพ • ใหค้ วามสาคญั กับเนื้อหาทนี่ าเสนอทีละจุด • เมือ่ นาเสนอเสร็จ แลว้ ปิดสอื่ นาเสนอก่อน แลว้ จงึ เขา้ ส่สู ว่ นซักถามข้อสงสัย

105 4. การประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมินผลคือเพื่อเป็นการปรับปรุงและ พัฒนาทักษะในการนาเสนอผลงานให้มีข้อบกพร่องน้อยที่สุด การประเมินสามารถทาได้ ท้ังขณะท่ีนาเสนอเช่นการสังเกตอากัปกิริยาและการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้รับฟังการเสนอว่า แสดงความเข้าใจหรือไม่ เพียงใด เช่นการพยักหน้า การขมวดค้ิว และภายหลังการ นาเสนอเช่นการมีปฏสิ มั พันธ์ของผฟู้ ังการนาเสนอ เปน็ ตน้ สอ่ื ในกำรนำเสนอ ส่ือ (media) คือเครื่องมือหรือวิธีการที่ผู้ส่งสารใช้ติดต่อกับผู้รับสาร(รุทธ ประวัง, 2549) ส่อื ในการนาเสนอเปน็ สิ่งสาคัญที่มผี ลต่อการรบั รู้อยา่ งถูกต้องและดึงดูดความสนใจ ของผู้ฟงั มากขน้ึ สอ่ื มีหลายชนดิ เชน่ 1) พลปิ ชารต์ (flip chart) ซ่งึ เป็นการเขยี นแผนภูมิขอ้ ความ รปู ภาพหรอื อนื่ ๆ ลง บนกระดาษขนาดใหญ่ สามารถพลกิ ไปมาได้ มีข้อดีคือเตรียมง่าย ไมต่ ้องใชท้ ักษะใดๆ ราคาไม่แพง 2) วดี ที ัศน์/ภาพยนตร์ (vidios/movies) รวมถึงส่ืออืน่ ๆ เชน่ VCD DVD เปน็ การ นาเสนอในลักษณะที่เปน็ ภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสยี งประกอบ มขี ้อดีคือนาเสนอสง่ิ ทภี่ าพนงิ่ นาเสนอไม่ได้ สรา้ งความเพลิดเพลนิ เลน่ ซ้าได้ 3) แผ่นใส (Transparencies) คอื การใชแ้ ผน่ พลาสติกทม่ี ีความใส เขียนทบั ด้วย ปากกาหมกึ แล้วฉายบนจอ ขอ้ ดีคือสามารถเขยี นภาพหรือรา่ งเคา้ โครงล่วงหนา้ ได้ 4) Microsoft Office PowerPoint เป็นโปรแกรมการนาเสนอของบริษัท ไมโครซอฟท์ โดยการออกแบบ Microsoft Office PowerPoint แต่ละเฟรม ซึ่งการ นาเสนอโดยใช้ Microsoft Office PowerPoint เป็นท่ีนิยมอย่างมากในปัจจุบัน ผอู้ อกแบบจึงต้องเข้าใจคณุ สมบตั ขิ องโปรแกรมและหลกั ในการออกแบบดังน้ี หลักกำรออกแบบสื่อโดยใช้ Microsoft Office PowerPoint (บุญเลิศ อรุณ พบิ ลู ย์, มปป; รุทธ ประวัง, 2549) ส่ือในการนาเสนอควรมีการจัดลาดับเนื้อหาเป็นระเบียบ ดูง่าย ไม่สับสน ผู้อ่าน/ ผ้ฟู งั สามารถทราบว่าข้อมลู ใดทีต่ ้องอ่านก่อน และตอ่ ไปต้องอ่านข้อความใดตามลาดับ การ ออกแบบส่ือควรมหี ลักการดงั น้ี

106 • ในหนง่ึ เฟรม ควรนาเสนอหนึ่งความคิดหรือประเดน็ เดยี ว เพื่อแสดงจุดเดน่ • เนอ้ื หาในแต่ละเฟรม ไม่ควรเกนิ 7 บรรทัด ไม่ควรใช้คาบรรยายตอ่ ภาพเกิน 40 คา • ขอ้ ความท่ีต้องการให้อ่านกอ่ นควรจัดไว้ทีต่ าแหน่งมมุ ซ้ายบนของหน้ากระดาษ เพราะโดยปกตคิ นไทย มักจะอ่านจากขา้ งบนซา้ ยก่อน • ขน้ึ หัวขอ้ ก่อนแล้วจึงอธบิ ายอยา่ งละเอียด • แตล่ ะรายการ ควรนาเสนอเฉพาะ Topic หรือ Main Idea หากไมส่ ามารถ หลกี เลี่ยงได้ ใหใ้ ชเ้ ทคนคิ การเน้น Main idea ของแตล่ ะรายการ หรอื ในพารากราฟดว้ ยสี ทีโ่ ด่นเดน่ ควรหลีกเล่ียงการนาเสนอแบบพารากราฟ • จดั ลาดบั เน้ือหาใหเ้ หมาะสม ใชภ้ าษากระชับ ตรงประเดน็ และตรวจสอบ เน้อื หามีความถูกตอ้ ง • เปล่ยี นรปู แบบตัวอักษรใหเ้ หมาะสม การเลือกใชร้ ปู แบบตัวอักษรแตกต่างกนั ไมค่ วรเกิน 2 รปู แบบ • ขนาดตวั อักษรให้ใช้ตัวหนาและตัวใหญ่พอสมควรเพอ่ื ให้ผูน้ ั่งด้านหลงั มองเห็น ไดช้ ัดเจน โดยปกตขิ นาดตวั อักษรสาหรับผ้ฟู งั 40-50 คนควรใชข้ นาดไม่เลก็ กว่า 60 point สว่ นหวั เรอื่ งใช้ขนาด 82 point • ควรมีช่องวา่ งระหวา่ งอักขระ หรือระหวา่ งภาพทเ่ี หมาะสม และใช้ช่องวา่ งเพอ่ื แบง่ กล่มุ เนื้อหาแต่ละกลุม่ ออกจากกัน • จะต้องมีการแสดงจดุ เนน้ เช่นใชส้ ีเน้นในสว่ นท่สี าคญั หรือเปลยี่ นลักษณะของ ตัวอกั ษรนัน้ เชน่ ใชต้ ัวหนาในข้อความที่ต้องการเนน้ หรือเปลย่ี นเป็นตัวโคง้ • ขอ้ ความภาษาอังกฤษ ควรใช้ตัวพมิ พ์ใหญ่ผสมตัวพิมพเ์ ลก็ หลกี เลย่ี งการใช้ ตัวพิมพ์ใหญท่ ้ังหมด • เลือกใช้ Effect ทเี่ หมาะสมกับผ้ฟู ัง ไม่ควรเลือก Effect มากกวา่ 3 ลกั ษณะ ในแตล่ ะสไลด์

107 • เลือกใช้ภาพทเี่ หมาะสมสอื่ ความหมายแก่ผูฟ้ ัง อย่ามากเกินความจาเป็น ภาพท่ี นามาใช้ประกอบ ควรเปน็ แนวนอนจะเหมาะสมกวา่ แนวต้ัง เว้นชอ่ งว่างรอบภาพให้มากๆ และควรมขี นาดไม่เล็กกว่า 50 มลิ ลเิ มตร • สามารถใชต้ ารางหรือกราฟช่วยแสดงข้อมูล ซ่งึ จะทาให้ประหยดั เวลาและช่วย ให้เกดิ ความเข้าใจมากขึน้ • ส่อื นาเสนอที่ดีนั้นจะต้องมีจุดเดน่ ทน่ี า่ สนใจสามารถดงึ ดูดสายตาผดู้ ไู ด้ จุดเดน่ นไี้ ด้จากการใช้ ขนาดของอักษรทีใ่ หญ่ใหเ้ ดน่ จากข้อความอื่นๆ หรือใช้สที ่แี ตกตา่ งออกไป รวมถึงการเลือกใช้ Effect ที่เหมาะสมประกอบการนาเสนอ หรือใช้เทคนิคการออกแบบ ภาพท่เี หมาะสม เช่นเอียงภาพหรือข้อความแลว้ ไปวางท่ีมุมใดมมุ หนึ่ง • เลือกลักษณะ Background ให้เหมาะสม ไมต่ ้องจัดจ้านหรือเปน็ สีสะท้อน หลักการคือ พน้ื หลงั สีทบึ ควรใชก้ ับตัวอกั ษรสสี วา่ ง ถา้ พ้ืนหลงั มีสีสวา่ ง ควรใชก้ ับตวั อักษร ทึบ ไมค่ วรใช้ตัวอักษรทีส่ ีกลนื ไปกับพน้ื และใชส้ ไี ม่เกิน 4 สี ตลอดการนาเสนอ • หลกี เล่ยี งการออกแบบท่เี ปน็ แฟนซี หรอื clip art นา่ รัก • การฉายสไลดแ์ ต่ละหน้า ควรอยบู่ นจอนาน 40-60 วินาที ซ่งึ เปน็ เวลาทีผ่ ชู้ ม สามารถทาความเข้าใจกับภาพได้พอเหมาะ ไม่เบื่อตาเกินไป เพราะโดยปกติความสนใจ ของผชู้ มจะอยใู่ นช่วง 18 นาทแี รกเท่าน้นั ควรเตรยี มส่งิ อ่ืนมากระต้นุ ความสนใจของผู้ฟงั ดว้ ย • โดยปกตกิ ารนาเสนอในเวลา 20 นาที ควรมี 15-20 เฟรม 5) โปสเตอร์(Poster) โปสเตอร์เป็นส่ือประเภทไม่มีการเคล่ือนไหว ทาด้วย กระดาษแข็งหรือไม้ ปัจจุบันมักใช้ vinyl เนื่องจากมีน้าหนักเบา และทนทานกว่า การ นาเสนอโดยโปสเตอร์มักใช้ในการนาเสนอผลงานวิจัย โดยให้โปสเตอร์ทาหน้าท่ีบอก รายละเอียดของผลงานวิจัย และมีนักวิจัยมีรออยู่ใกล้ๆ โปสเตอร์เพ่ือคอยตอบคาถามหรือ ให้คาอธิบายเพมิ่ เตมิ แก่ผชู้ ม หลักกำรออกแบบโปสเตอร์ มีดังน้ี (นงลักษณ์ วิรัชชัย, ม.ป.ป ;Rowe & Ilic,2011) • ขนาดของโปสเตอร์ โดยปกติ มขี นาดประมาณ 1 X .50 ตารางเมตร

108 • เนอ้ื หาในโปสเตอร์ หากการนาเสนอผลงานวจิ ยั โดยใช้โปสเตอร์ เนื้อหาทสี่ าคญั ควรประกอบไปดว้ ย ชื่อเรื่องงานวจิ ัย วัตถุประสงคห์ ลักของการวิจัย บทนาและเอกสาร ท่ีเกีย่ วข้อง วิธดี าเนนิ การวิจยั และผลการวิจยั ส่วนงานวชิ าการอนื่ ข้นึ อยู่กับสาระของ งานนัน้ ๆ ซงึ่ โดยทั่วไปต้องประกอบดว้ ย ชอ่ื เรอ่ื ง ความเปน็ มา ประเด็นสาคัญ สรปุ และ สถานทีต่ ิดต่อผนู้ าเสนอ • ควรเสนอเนื้อหาสาระแบบเรียบง่าย สน้ั ชดั เจน เตม็ พื้นทีโ่ ปสเตอร์ • ใช้ภาพและแผนภูมปิ ระกอบ เพราะภาพและแผนภูมิสือ่ ความหมายได้ดกี ว่า ข้อความ • ใช้สพี อเหมาะ ไม่มากไม่น้อยเกินไป และใชโ้ ทนสีไม่ขดั กนั สีพืน้ หลังและสขี อง ภาพควรเสริมให้ภาพเด่นชัด • เลือกชนิด (font) และขนาดของตัวอักษร เหมาะสมกับตาแหน่งทีผ่ ู้เข้าชม โปสเตอร์เห็นชัดเจน ไมค่ วรใช้อกั ษรภาษาอังกฤษท่ีเป็นตวั พิมพ์ใหญท่ ุกตัวอักษร เพราะทา ให้อ่านยากกวา่ ปกติ • พยายามอยา่ ใชช้ นิดอักษรมากเกินกว่าสองชนิดในโปสเตอร์ หากตอ้ งการเนน้ คาหรือข้อความใหใ้ ชอ้ ักษรตวั หนา แตอ่ ย่าเปลีย่ นชนิดของตัวอกั ษร • ควรใชส้ ัญลักษณ์น้อยทส่ี ุด ควรใช้หลกั ความคงเส้นคงวา • ควรมกี ารพสิ ูจน์อักษร อยา่ ให้มีคาผิด • ควรมกี ารตรวจทานโปสเตอร์ผลงานวิจัยหลายๆ รอบ ก่อนการจัดพิมพ์เป็น โปสเตอร์ทใี่ ช้จรงิ จะเห็นไดว้ า่ สื่อในการนาเสนอมีหลายชนิด แตใ่ นยคุ ปจั จุบนั ควรเปน็ ส่ือดิจิตอล มี การนาเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ซึ่งส่งสัญญาณเข้าสู้เคร่ืองฉายบนจอขนาดใหญ่ โดยสามารถ นาเสนอเปน็ แบบสื่อประสม(multimedia) ท่มี ีทงั้ ภาพ เสียง และการเคล่ือนไหว ซง่ึ จะช่วย ให้การนาเสนอนา่ สนใจยงิ่ ข้นึ

109 สรปุ งานเชิงวิชาการ ถือเป็นงานหรือเอกสารท่ีจัดทาข้ึนอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐาน น่าเชื่อถือโดยการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ของผู้จัดทา การนาเสนองานเชิงวิชาการจงึ มี ความสาคัญในการเผยแพร่ข้อมูลวิชาการดังกล่าวแก่บุคคลอื่นให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเน้ือหาสาระของงานวิชาการนั้นๆ อย่างไรก็ตาม การนาเสนองานวิชาการท่ีดีและได้รับ ผลสาเร็จจาเป็นต้องมีขั้นตอนที่เป็นระบบ เร่ิมจากศึกษาข้อมูล การวางแผน การนาเสนอ และการประเมินผล นอกจากนี้การใชส้ ่ือในการนาเสนอท่ีเหมาะสมก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่อการนาเสนอ การเข้าใจหลักการออกแบบส่ือแต่ละชนิดจะเป็นการส่งเสริมให้การ นาเสนอมปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ

110 บรรณานุกรม เทียนฉาย กรี ะนนั ทน์. (2547). สงั คมศำสตรว์ จิ ัย. (พมิ พ์คร้งั ที่ 2 ). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ธวชั ชยั วรพงศธร. (2538). หลักกำรวิจัยทำงสำธำรณสขุ ศำสตร์. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 2). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นยิ ม ปุราคา. (2517). ทฤษฎีของกำรสำรวจสถิตจิ ำกตวั อยำ่ งและกำรประยกุ ต์. กรุงเทพฯ: ศ.ส.การพิมพ.์ บญุ เสริม วสี กลุ . (2517). สถติ ิตอนที่ 1 : วธิ ีเกบ็ และประมวลผลขอ้ มลู . กรุงเทพฯ: ไทย วฒั นาพานิช. พจน์ สะเพียรชัย. (2516). หลักเบื้องตน้ สำหรบั กำรวจิ ยั ทำงกำรศึกษำ เลม่ 1. กรงุ เทพฯ: วทิ ยาลัย วิชาการศึกษาประสานมติ ร พวงรตั น์ ทวรี ัตน์. (2538). วธิ กี ำรวิจัยทำงพฤติกรรมศำสตร์และสงั คมศำสตร์. (พิมพค์ ร้ังท่ี 6 ).กรงุ เทพฯ: ภิรมย์ กมลรตั นกลุ .(2547). หลักกำรวิจยั ทำงกำรแพทย์. (ระบบออนไลน)์ . แหลง่ ทีม่ า : http://cai.md.chula.ac.th/cgi- /sign/post.pl?department=preven&subject=research:โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . (25 พฤศจกิ ายน 2547) สุชาติ ประสทิ ธิ์รัฐสนิ ธ์ุ. (2538). ระเบยี บวิธกี ำรวจิ ยั ทำงสังคมศำสตร์. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 9). กรงุ เทพฯ:สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์.

111


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook