50 เครื่องมือทใ่ี ช้ในกำรวิจัย 1. แบบสอบถาม (questionnaire): ขอ้ เท็จจริง ความรสู้ กึ ความคดิ เห็น -mailed questionnaire - internet questionnaire ขอ้ ดี ประหยัดเวลาและงบประมาณ ผูต้ อบมีอิสระในการตอบ ขอ้ จำกัด ผตู้ อบไม่ให้ความรว่ มมอื ไม่จรงิ ใจในการตอบ เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นกำรวจิ ยั 2. แบบสัมภาษณ์ (interviews) - structured/unstructured interviews - group/individual interviews - In-depth or intensive interviews ข้อดี ใช้ไดก้ บั ทกุ คน อธิบายคาถาม สอบถามรายละเอยี ดเจาะลึก ข้อจำกัด เสยี เวลาและค่าใช้จา่ ยสงู คุณภาพขอ้ มูลข้นึ กบั ความสามารถของผ้สู มั ภาษณ์ เครอื่ งมือท่ใี ช้ในกำรวิจยั 3. แบบสงั เกต (observation) - เหมาะกบั ข้อมลู ทเี่ ป็นสิง่ มชี ีวิต คน/สัตว์/ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ - known/unknown observation - participant/non-participant observation - direct/indirect observation ข้อดี ข้อมูลปฐมภมู ิ มีรายละเอยี ดครบ ไมม่ ีปัญหาเรือ่ งปกปดิ ขอ้ มลู ข้อจำกัด เสียเวลา/ค่าใช้จ่ายมาก ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวสูงของนักวิจัย การ ตรวจสอบความตรงของขอ้ มลู ทาได้ยาก เครอ่ื งมือที่ใช้ในกำรวจิ ยั 4. แบบสอบ (tests) - เหมาะกับการวัดคุณลักษณะแฝง เช่น ความถนัด เชาวน์ปัญญา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
51 -individual/group tests -oral/written tests ขอ้ ดี สามารถวัดคณุ ลกั ษณะแฝงได้ วัดได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ขอ้ จำกัด วธิ ีสร้างค่อนข้างยงุ่ ยาก ผูส้ รา้ งตอ้ งมคี วามรู้ เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นกำรวจิ ัย 5. แบบวัดหรอื มำตรวัด (scales) - เหมาะกับการวัดคุณลักษณะทางจิตวิทยา เช่น เจตคติ บุคลิกภาพ ความสนใจ ความเชื่อ คา่ นิยม เปน็ ต้น ขอ้ ดี การเกบ็ ขอ้ มูลไมเ่ ข้มงวดเหมอื นแบบสอบ สร้างงา่ ยกวา่ ข้อสอบ ขอ้ จำกดั ต้องรู้ทฤษฎีทางด้านจติ วทิ ยาทเ่ี ก่ียวข้องกบั มาตรวัดทจี่ ะสรา้ ง เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นกำรวจิ ัย 6. แบบบนั ทกึ ข้อมลู จำกเอกสำร/หลักฐำน - ใช้ในการวจิ ยั ประวัตศิ าสตร์ การวจิ ยั เอกสาร - เหมาะกบั ข้อมูลทม่ี ีการบนั ทกึ ไว้เป็นเอกสาร / มหี ลักฐาน ขอ้ ดี ไม่มปี ัญหาเรอ่ื งความร่วมมือ เสยี ค่าใช้จา่ ยนอ้ ย ข้อจากัด ต้องใช้ความสามารถในการหาความหมายข้อเท็จจริงท่ีแฝงในเอกสาร ข้อมูลไม่ เปน็ ปัจจบุ ัน ข้อมูลขาดความตรง เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั 7. แบบรำยกำรประเด็นกำรสนทนำกลุ่ม (focus group discussion) - ใชใ้ นการวจิ ยั สงั คมศาสตรแ์ ละทางธุรกิจ - เหมาะในการหาขอ้ สรปุ ความคิดเห็นของผรู้ ู้ ขอ้ ดี ประหยดั เวลาและงบประมาณ ขอ้ จากัด ทาได้บางเร่ือง บางเรอ่ื งซึง่ ไม่เปน็ ทย่ี อมรับของ สังคมอาจจะไมไ่ ด้รบั การเปิดเผย รปู แบบคาถาม(types of question) 1. บงั คบั เลอื ก 1.1 Dichotomous question (ใช่/ไมใ่ ช่ หญิง/ชาย มี/ไม่มปี ระสบการณ์) 1.2 Measurement scale
52 - nominal (อาชีพ ภมู ลิ าเนา สาขา ฯลฯ) - ordinal (เรียงอาชพี ทีอ่ ยากทามากทส่ี ดุ จนถงึ น้อยทีส่ ดุ ฯลฯ) - interval (rating scale Guttmanscale) 2. ปลำยเปิด เทคนคิ การเลอื กเคร่อื งมือในการวิจัยตัวแปรหรือคณุ ลักษณะที่ต้องการวดั - cognitive domain: ความรู้ ความสามารถทางสติปัญญา: แบบสอบ แบบสมั ภาษณ์ แบบสังเกต - affective domain: ความรู้สึก ความคิดเห็น: แบบสอบถาม แบบ สมั ภาษณ์ แบบสงั เกต - psychomotor domain: ทักษะ ความสามารถในการปฏิบัติ: แบบ สงั เกต แบบสอบ แบบสมั ภาษณ์ แบบประเมิน ลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย: จานวน ระดับการศึกษา ช่วงอายุ ทรัพยากร: กาลังคน งบประมาณ ระยะเวลา ลกั ษณะของเคร่อื งมือวิจัยทดี่ ี 1.คาถามสน้ั กระชับ งา่ ยและได้ใจความ 2.หนึง่ ขอ้ คาถามควรถามประเดน็ เดียว 3.คาถามต้องยวั่ ยใุ หอ้ ยากตอบ 4.ต้องไมเ่ ป็นคาถามนาหรอื ชี้แนะคาตอบ 5.มีความเปน็ ปรนยั สงู 6.คาถามตอ้ งคานงึ ถงึ วยั ระดบั การศึกษา ความสามารถ ประสบการณ์ของผูต้ อบ 7.มกี ารเรยี งลาดบั ขอ้ คาถามใหเ้ หมาะสม 8.เครอ่ื งมือตอ้ งไม่ยาวเกนิ ไป 9.มีวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย คาชีแ้ จง วธิ ีในการตอบและมตี วั อย่างการตอบ 10.มกี ารทดลองใช้ ปรบั ปรุงขอ้ บกพรอ่ ง 11.มกี ารหาคุณภาพของแบบสอบถามดา้ นความเทีย่ งและความตรง เทคนิคกำรสร้ำงเคร่อื งมือในกำรวจิ ัย 1.การตอบคาถามวิจยั ต้องใชส้ ถติ ิตวั ใด 2.เครื่องมอื ทจ่ี ะสรา้ ง
53 - มเี ครอื่ งมืออยแู่ ล้ว - ปรับปรงุ จากเคร่อื งมอื ที่มอี ย่แู ล้ว - รวบรวมมาจากหลายแหลง่ - สรา้ งใหม่ 3. การควบคุมการเดา 4. ตัวแปรไมช่ ัด ต้องใช้ qualitative นา กำรสร้ำงเครือ่ งมอื ในกำรวจิ ัย 1.กาหนดขอบเขตและจดุ มุ่งหมายของการสร้าง: วดั อะไร วดั ใคร ลกั ษณะของผู้ถูก วัดเปน็ อย่างไร 2.ระบุเนอื้ หา/ตวั แปรท่ตี ้องการวดั 3.ศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับตวั แปรท่ีต้องการจะวดั 4.นิยามปฏิบัตกิ าร (operational definition) ตัวแปรทต่ี ้องการวดั 5.ในกรณีท่ีไม่สามารถนิยามตัวแปรให้ชัดเจน ให้เก็บข้อมูลภาคสนาม เพ่ือนามา สรา้ งข้อคาถาม เชน่ การรกั ความเป็นไทย 6.สร้างตารางโครงสรา้ งเนื้อหา แจกแจงเนื้อหาทจ่ี ะวัดตามนยิ ามปฏิบัติการของตัว แปรท่ีจะวัด 7.เลอื กชนิดและรปู แบบคาถาม: เตมิ คาตอบ เลอื กตอบ rating scale (สถติ ิทใี่ ช้ใน การวจิ ัย) 8. สร้างข้อคาถาม ให้ครอบคลุมเน้ือหาตามตารางโครงสร้างการนิยามตัวแปร (Definition of Variable) 6.4 กำรตรวจสอบคณุ ภำพของเคร่ืองมือ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งท่ี จาเป็นในการดาเนินการวิจัย เนื่องจากว่าหากเครื่องมือท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมาแล้วไม่ได้ผ่าน การตรวจสอบคุณภาพกจ็ ะทาให้ไมส่ ามารถมั่นใจได้ว่างานวจิ ัย ดังกล่าวจะเป็นงานวิจัยที่ น่าเช่ือถือ เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาดเกย่ี วกับเครื่องมือท่ีสร้างข้นึ ต่าง ๆ มากมาย เช่น ความไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาและโครงสร้างตามท่ีต้องการวัดหรือความไม่ชัดเจนของข้อ
54 คาถามทอ่ี าจจะทาใหผ้ ู้เก็บข้อมูลและผูใ้ ห้ข้อมูลมีความสบั สนและตอบไม่ตรงตามความเป็น จรงิ ทค่ี วรจะเปน็ ซงึ่ ส่ิงเหลา่ น้ีจดั วา่ เป็นส่ิงทีส่ าคัญในการดาเนินการวจิ ยั การเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น ผู้วิจัยต้องรู้จักการวางแผนในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นอย่างดี หากผู้วิจัยไมไ่ ด้วางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูลทาใหม้ ีความสับสนและ วุ่นวายมาก เน่ืองจากการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องเกี่ยวข้องกับประเด็นอื่น ๆ ซึ่งเป็น รายละเอยี ดปลีกย่อยอีกมากมายท่ผี ู้วิจยั จะต้องคานึงถงึ เนื่องจากในการเกบ็ ข้อมลู น้ันหาก ผู้วิจัยไม่มีการวางแผนที่ดีพอจะทาให้มีปัญหาท่ีไม่สามารถท่ีจะย้อนกลับมาเก็บข้อมูลใหม่ ได้ในบทนี้จึงได้เสนอวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือให้ผวู้ ิจัยใชเ้ ป็นแนวทางในการทาวิจยั กำรตรวจสอบคณุ ภำพของเครอื่ งมอื วจิ ยั เม่ือผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือตามแผนท่ีได้กาหนดไว้แล้ว ก่อนที่จะนาเคร่ืองมือ การวิจัยไปใช้จริง ผู้วิจัยต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือก่อน เพ่ือให้ม่ันใจได้ว่า เครอื่ งมือทีจ่ ะนาไปใช้ในสถานการณ์จรงิ จะไม่มขี ้อบกพร่องใด ๆ อีก แต่หากตรวจสอบแล้ว พบว่าเคร่ืองมือยังมีข้อบกพร่อง ผู้วิจัยจะต้องปรับปรุงแก้ไขให้เคร่ืองมือดังกล่าวมี ประสิทธิภาพดีท่ีสุด เน่ืองจากหากเครื่องมือการวิจัยไม่ดีพอจะทาให้ประสิทธิภาพของ งานวิจยั กล็ ดน้อยลงไปด้วย ประโยชน์ของกำรตรวจสอบคุณภำพของเครอ่ื งมือ การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวิจัยน้ันเป็นลักษณะของการตรวจสอบ ก่อนที่จะนาเครื่องมือไปใช้จริงและต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้เครื่องมือดังกล่าวมี ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ จงึ ทาใหส้ รุปได้ว่าการตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือมีประโยชน์ ดังน้ี 1. ลดควำมคลำดเคลอ่ื น การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ ช่วยลดความคลาดเคลื่อนของ ผลการวจิ ัยทีจ่ ะเกิดขนึ้ ในการวิจัยทีเ่ กดิ จากคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ัยท่ีจะใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล เพราะไดท้ ดสอบความเชื่อถือไดด้ ว้ ยวิธีตา่ ง ๆ เช่น ความเทย่ี งตรง ความเชอ่ื ม่ันและอานาจ จาแนกของข้อมูลและคณุ สมบตั ิอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง 2. ควำมชดั เจนของกำรใชภ้ ำษำ ทราบความชัดเจนของการใช้ภาษา ตั้งแต่คาช้ีแจงของเครื่องมือ เน่ืองจากเครื่องมือบางประเภทต้องเก็บข้อมูลหลายด้าน จึงทาให้มีรูปแบบของคาถามท่ี
55 แตกต่างกัน ทาให้มีความซับซ้อนของข้อความท่ีต้องชี้แจงให้ผใู้ ห้ข้อมูลเข้าใจก่อนท่ีจะตอบ คาถาม และความชัดเจนของการใช้ภาษาของเคร่ืองมือวิจัยว่าใช้ภาษาคลุมเครืออยู่ในข้อ ใดบ้าง หรือบางคร้ังผู้วิจัยอาจใช้ภาษาท่ีเป็นทางการมากเกินไปอาจจะไม่เหมาะกับกลุ่ม ตวั อยา่ งบางกล่มุ 3. กำหนดระยะเวลำในกำรเก็บข้อมลู ไดด้ ขี นึ้ ทาให้ทราบว่าในการเก็บข้อมูลแต่ละครั้งนั้นควรจะใช้เวลาในการเก็บ ข้อมูลมากน้อยแค่ไหนจึงจะเหมาะสม 4. ลดควำมซ้ำซอ้ นของข้อคำถำม ทาให้ทราบว่าเครื่องมือมีความซ้าซ้อนในประเด็นใดบ้าง เน่ืองจาก เครื่องมือท่ีมีข้อคาถามซ้าซ้อนจะทาให้เสียเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลและทาให้ผู้ตอบ รู้สกึ เบอ่ื ไมอ่ ยากตอบ 6. ชว่ ยประหยัดค่ำใช้จำ่ ย ในกรณีท่ีเป็นแบบสอบถามจะทาให้ทราบว่าช่องว่างที่เว้นไว้เพียงพอต่อ คาตอบที่จะได้รับหรือไม่ เนื่องจากถ้าเว้นช่องว่างไว้มากเกินไปจะทาให้ส้ินเปลืองกระดาษ โดยใช่เหตุ เพราะถ้าหากผู้วิจยั เก็บข้อมูลเปน็ จานวนมาก ๆ จะทาให้เสยี งบประมาณในการ จัดทาแบบสอบถาม ในกรณีท่ีเป็นการสัมภาษณ์ก็สามารถวางแผนท่ีจะวางแผนการ สมั ภาษณ์ได้ดีขึ้น รจู้ ดุ บกพร่องของการสัมภาษณ์ในแตล่ ะประเดน็ กระบวนกำรตรวจสอบคณุ ภำพของเคร่อื งมือ ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ผู้วิจัยต้องมีกระบวนการและข้ันตอนใน การตรวจสอบคณุ ภาพอยา่ งมรี ะบบและดาเนินการไปตามข้ันตอน ดงั น้ี 1. ผู้วจิ ยั ตรวจสอบด้วยตนเอง ผู้วิจัยควรตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ การวิจัยด้วยตนเอง ก่อนท่ีจะ นาเครื่องมอื การวจิ ัยไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญได้ตรวจสอบในประเด็น ดังตอ่ ไปน้ี 1.1 ความครบถ้วนของข้อคาถามและความตรงประเด็นตาม วัตถุประสงค์ ตวั แปรและสมมติฐาน การวจิ ัย 1.2 การตรวจสอบความถูกผิดของการพิมพ์ การจัดหน้า เรียงหน้า ตรวจสอบความเขา้ ใจเก่ยี วกับคาช้แี จงตา่ ง ๆ
56 2. กำรตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชำญ ผู้วิจัยต้องวางแผนการตรวจสอบในการนาเครื่องมือไปให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบ โดยดาเนนิ การดงั ต่อไปน้ี 2.1 การกาหนดคุณลักษณะของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยต้องกาหนด คุณลกั ษณะของผู้ทรงคุณวฒุ ิให้ตรงกับลักษณะของเนื้อหาท่ีต้องการจะให้ตรวจสอบเน้ือหา ผู้ทรงคุณวุฒิจะเป็นผู้ท่ีทราบว่าตัวแปรและสมมติฐานที่ผู้วิจัยกาหนดขึ้นนั้นควรจะเก็บ รวบรวมขอ้ มลู ให้ครอบคลุมเนือ้ หาและโครงสรา้ งใดบ้าง 2.2 การเตรียมการ โดยการติดต่อผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งในการติดต่อ ผู้เชยี่ วชาญถอื วา่ เป็นเร่อื งท่ีสาคัญมาก ๆ เนื่องจากผ้เู ช่ยี วชาญที่เลือกมาน้นั นกั วจิ ัยกม็ ักจะ เลือกผู้ที่มีช่ือเสียงเก่ียวกับเรื่องท่ีผู้วิจัยต้องการศึกษา บุคคลเหล่าน้ีจึงมักจะไม่มีเวลา เพียงพอให้กับผู้วิจัย ผู้วิจัยจึงต้องติดต่อกับเลขานุการให้ทราบ ชัดเจนถึงเวลาช่วงเวลาท่ี ผู้เช่ียวชาญจะสามารถพิจารณาเคร่ืองมือให้ได้ เพ่ือนาผลท่ีได้จากการเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญมาวางแผนในปรับแก้เคร่ืองมือและเร่ิมดาเนินการเก็บข้อมูลต่อไป ทั้งน้ีนักวิจัย ควรจะไปตดิ ตอ่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิด้วยตนเอง 2.3 ส่งเครอื่ งมอื ใหผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญตรวจสอบพร้อมทง้ั นัดเวลารับคืน 2.4 การเตรียมอุปกรณ์ท่ีจาเป็น เช่น การนาเคร่ืองมือการวิจัยที่ ตรวจสอบ พิจารณา ใสซ่ องให้เรียบร้อย ตลอดจนการตรวจเช็คโปรแกรมข้อมูลคอมพิวเตอรใ์ ห้พร้อม ในการทว่ี เิ คราะห์ขอ้ มลู เพือ่ การตรวจสอบคุณภาพ 2.5 การรวบรวมเคร่ืองมือที่ได้ส่งไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบกลับคืนมา โดยควรจะไปรับเคร่ืองมือด้วยตนเอง แต่หากไม่สามารถที่จะไปรับได้ด้วยตนเองควรติดต่อ แจ้งให้ผู้เชี่ยวชาญทราบและหาวิธีในการให้ผู้เชี่ยวชาญส่งคืน เช่น ติดต่อเลขานุการของ ผู้เช่ียวชาญใหช้ ่วยเหลือ เนือ่ งจากการใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื เปน็ การไปขอความช่วยเหลือ 2.6 นาเคร่ืองมือที่รวบรวมได้มา บรรณาธิการหรือตรวจสอบความครบถ้วน สมบรู ณ์ในการตอบ เพือ่ เตรยี มท่จี ะวเิ คราะหต์ อ่ ไป 2.7 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการนาเคร่ืองมือท่ีบรรณาธิกรณ์ แล้วมาบันทึก ขอ้ มูลและวิเคราะหค์ ณุ ภาพของเครื่องมือตามข้อเสนอแนะของผู้เชย่ี วชาญและนาเคร่อื งมอื 2.8 ปรบั ปรุงขอ้ คาถามตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชี่ยวชาญ
57 2.9 จัดทาต้นฉบับของเครื่องมือท่ีครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว และต้องตรวจทาน เพอื่ พสิ จู นอ์ กั ษรให้ถกู ตอ้ งอีกรอบหนงึ่ 3. กำรนำเครื่องมือไปทดลองใช้ การนาเคร่อื งมือไปทดลองใช้ มีวธิ ีในการดาเนินการดงั นี้ 3.1 นาเคร่ืองมือไปทดลองใช้กับกลุ่ม Try Out โดยการคัดเลือกสุ่ม ตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องดาเนนิ การคัดเลอื กกลุ่มตัวอย่างท่ีมีคุณลักษณะใกลเ้ คียงกับประชากรท่ี ผู้วิจัยเลือกมาศึกษา ทั้งน้ันเพ่ือให้แน่ใจว่าบุคคลที่คัดเลือกมาเพ่ือ Try Out ข้อมูลกับ ประชากรท่ีเราศึกษามีคุณลักษณะท่ีใกล้เคียงกันและกลุ่มท่ีถูกเลือกมา Try Out ข้อมูล จะต้องไม่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นประชากรสาหรับการวิจัยอีกเน่ืองจากบุคคลเหล่าน้ีจะรู้ คาตอบจากการ Try Out ไปแล้ว จานวนท่ีเหมาะสมในการทดลองเครื่องมือจะอยู่ท่ี 20 – 50 คน 3.2 บันทึกขอ้ บกพร่องของการใช้เคร่อื งมือ 3.3 วิเคราะห์หาคุณภาพของเคร่ืองมือ เช่น จัดทาต้นฉบับที่สมบูรณ์ แบบ 3.4 ปรับปรงุ แกไ้ ข เครื่องมืออกี รอบ 3.5 เตรียมเคร่ืองมือที่จะนาไปเก็บรวบรวมข้อมูลจริงให้มากกว่าจานวน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้สักเล็กน้อย เนื่องจากอาจจะมีเคร่ืองมือบางส่วนที่สูญ หายไประหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มูล กำรตรวจสอบคุณภำพของเครอื่ งมอื การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ส่ิงท่ีควรตรวจสอบเก่ียวกับคุณภาพของ เครือ่ งมือ ผู้วจิ ยั ควรตรวจสอบในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ (1). ความเที่ยงตรง (2). ความเชือ่ มน่ั (3). อานาจจาแนก (4). ความยากง่าย ในกรณีทเ่ี ป็นการใชแ้ บบทดสอบ ในกรณีของการใช้แบบทดสอบเป็นเครอื่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลน้ันยังมี การตรวจสอบคุณภาพในดา้ นอน่ื ที่เกีย่ วขอ้ งท่ผี วู้ จิ ยั ตอ้ งพจิ ารณาอีกหลายประเดน็ ดังนี้ (1). ความยุตธิ รรม (2). ความลกึ
58 (3). ความจาเพาะ เจาะจง (4). ความเป็นปรนัย (5). ความมีประสิทธภิ าพ 1. ควำมเท่ยี งตรง ความเท่ยี งตรง คอื การวัดได้ตรงกับส่งิ ทผ่ี วู้ จิ ัยตอ้ งการท่ีจะวดั น้ี คอื วัด ได้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ีกาหนดไว้ซ่ึงแบ่งความเที่ยงตรงออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1). ความเทยี่ งตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) (2). ความเที่ยงตรงเชงิ โครงสรา้ ง (Construct Validity) (3). ความเที่ยงตรงตามสถานะหรือความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ (Criterion – related Validity) ความเทย่ี งตรงแตล่ ะประเภทสามารถทจ่ี ะอธบิ ายรายละเอยี ดได้ดงั นี้ 1.1 ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เป็นการทดสอบว่า เครื่องมือท่ีจะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวัดพฤติกรรมได้ตรงกับเน้ือหาท่ีต้องการจะวัด หรอื ไมแ่ ละต้องพิจารณาความครอบคลุมเนื้อหาท่ีต้องการจะวดั ดว้ ย เช่น ครูต้องการวัดผล สัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ทางภาษาไทย เครื่องมือท่ีจะวัดต้องออกแบบให้ครอบคลุมลักษณะ ของพฤติกรรมท่ีต้องการวัด วิธีการในการตรวจสอบความเท่ียงตรงสามารถจะกระทาได้ 2 วิธี ดงั น้ี 1. ผู้วิจัยสามารถตรวจสอบด้วยตนเองโดยการนาไปเปรียบเทียบ กับวัตถุประสงค์การวิจัยในกรณีของการวิเคราะห์ความเท่ียงตรงของข้อสอบสามารถนาไป เปรียบเทียบกับตารางวเิ คราะหข์ ้อสอบหรือ Table of Specification of Test ได้ 2. การตรวจสอบโดยให้ผู้เช่ียวชาญตัดสินใจ โดยปกติจะใช้ ผู้เช่ียวชาญประมาณ 3 คน หรือมากกว่า 3 คน อาจเป็น 5 คน 7 คน แต่ จะต้องใชจ้ านวนผู้เช่ยี วชาญที่เปน็ เลขค่ี และจดั ทาตาราง ดังนี้ ตารางที่ 7.1 แสดงผลการตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชน่ เนอ้ื หา เรือ่ ง.............ของ ผูเ้ ช่ียวชาญ
59 ผเู้ ชีย่ วชำญคนที่ ควำมตรงตำมเน้ือหำ ตรง ไม่ตรง ไม่แนใ่ จ 1. 2. 3. วธิ ีการให้คะแนน ให้ 1 ถ้าแนใ่ จว่าขอ้ สอบน้ันวดั ไดต้ รงตามเน้ือหาจริง ให้ 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าขอ้ สอบน้นั วดั ตามเนื้อหาจริง ให้ -1 ถ้าแนใ่ จว่าข้อสอบน้ันวัดไมต่ รงตามเนือ้ หาจริง 2. นาคะแนนของผูเ้ ช่ียวชาญทงั้ หมดคานวณหาคา่ IOC จากสตู ร IOC = Σx N เมอ่ื IOC แทน ดัชนีความสอดคลอ้ งของข้อสอบกับ วัตถปุ ระสงค์ ตัวแปรและสมมติฐานการวจิ ยั Σx แทน ผลรวมของคะแนน N แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ 3. นาค่าท่ีคานวณได้มาแปลความหมาย ถ้าได้คะแนนเฉล่ียอยู่ ระหว่าง 0.50 – 1.00 คะแนน สรุปได้ว่าข้อสอบออกได้ตรงกับส่ิงที่ต้องการวัด ถ้าได้ คะแนนเฉล่ียต่ากวา่ นขี้ ้อสอบนัน้ ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข 1.2 ความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) เป็นการ ตรวจสอบความสอดคล้องของคาถามกับพฤติกรรมที่เป็นเป้าหมายของสิ่งท่ีจะวัด โดย ผู้วิจัยต้องเข้าใจในเรื่องของโครงสร้างของพฤติกรรมที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจนก่อน ส่วน ใหญ่จะวัดพฤติกรรมเกี่ยวกับพุทธิพิสัยและจิตอารมณ์ (พวงรัตน์ ทวีรัตน์ , 2543 หน้า 116) ได้เสนอแนะการหาความเท่ยี งตรงเชงิ โครงสร้าง ไวห้ ลายวิธี ดงั นี้
60 1. การตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับมวลพฤติกรรมที่ข้อสอบ ฉบับนนั้ ตอ้ งการวัด 2. การตรวจสอบสัดส่วนของจานวนข้อคาถามในแตล่ ะพฤติกรรมกับตาราง วิเคราะห์หลกั สตู รตามรายวชิ า 3. การตรวจสอบ โดยใช้ดุลยพินิจของผู้เช่ียวชาญหรือผู้รอบรู้เฉพาะเร่ือง สามารถทาได้ 3 วธิ ี ได้แก่ วิธีท่ี 1 หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะ ของกลุ่มพฤติกรรมหรือหาค่า IOC โดยผู้เช่ียวชาญอยา่ งน้อยต้องมี 3 คน ใชว้ ธิ กี ารเดียวกับ การวเิ คราะหค์ วามเท่ียงตรงเชงิ เนื้อหา วิธีท่ี 2 หาค่าดัชนีความเหมาะสมการร่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะ ของกลุ่มพฤติกรรม โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดบั ลกั ษณะของคะแนนก็ใสล่ าดบั ตั้งแต่ 5 ซ่ึงหมายถงึ มคี วามเท่ยี งตรงเชิงโครงสรา้ งมาก ท่ีสุดไปจนถึง 1 คือ ข้อความท่ีมีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างน้อยท่ีสุด นาค่าคะแนนหา ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ข้อท่ีใช้ได้ คือ ข้อที่มีค่าเฉล่ียต้ังแต่ 3.5 ขึ้นไป และ ค่าเฉลี่ยส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานไม่เกิน 1.00 กับท่ีไม่ได้เป็นไปตามเกณฑ์ดังกล่าวก็อยู่ใน ดลุ ยพินจิ วา่ จะตดั ทิง้ หรอื ปรับปรงุ แก้ไข วธิ ที ี่ 3 ตรวจสอบคะแนนรายขอ้ สอบท้งั ฉบบั โดยใชส้ ถิติ Rxy หากคาถาม ใดมีค่าสหสัมพันธ์กับคะแนนรวมสูงแสดงว่าข้อคาถามดังกล่าวมีความเท่ียงตรงเชิง โครงสร้างสูง วธิ ีท่ี 4 การเปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียของเครอ่ื งมอื ทส่ี ร้างขน้ั กันระหวา่ งกลุ่ม ตัวอย่างที่มีลักษณะตรงกับคุณลักษณะที่ต้องการศึกษากับผลการวัดจากกลุ่มท่ีไม่มี คุณลักษณะตรงตามท่ีศึกษา โดยใช้สถิติ t – test แบบ Independent โดยค่าท่ีใช้ได้ คือ ค่า t – test ตามระดบั นัยสาคัญทก่ี าหนดไว้ซง่ึ กไ็ ม่ควรจะมากกวา่ .05 วิธีท่ี 5 หาความสัมพันธ์ระหว่างเคร่ืองมือที่สร้างขึ้นกับแบบทดสอบ มาตรฐานที่ใช้เป็นเกณฑ์ โดยต้องเป็นแบบทดสอบท่ีรับกับคุณลักษณะหรือมีลักษณะ โครงสร้างสอดคล้องกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียรส์ นั (Rxy) วิธีที่ 6 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factors Analysis) เป็นวิธีที่จะทาให้ ได้ข้อสอบท่ีตรวจตามโครงสร้างจริง ๆ และเป็นวิธีท่ีน่าเชื่อถือ แต่จะยุ่งยากในทางปฏิบัติ
61 เนื่องจากต้องใช้กลุ่ม Try Out เป็นจานวนมากในการวเิ คราะห์และต้องใช้คอมพิวเตอร์ใน การวเิ คราะห์ 1.3 ความเที่ยงตรงตามสภาพจริง (Concurrent Validity) เป็นการ ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามสถานที่เป็นจริง เช่น ทดสอบการมีคุณธรรมจริยธรรมของ นักเรียนด้วยแบบทดสอบแล้วนักเรียนได้คะแนนสูง เมื่อถ้าสังเกตสภาพการดารงชีวิตหรือ นิสัยของนักเรียนก็พบว่านักเรียนเป็นคนมีคุณธรรมจริยธรรมสูงจริง นั้นแสดงว่า แบบทดสอบดงั กลา่ วมีความเทย่ี งตรงตามสภาพจรงิ 1.4 ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) เป็นลักษณะ ของเคร่ืองมือที่มีความสอดคล้องระหว่างผลท่ีได้จากการวัดและสิ่งท่ีคาดการณ์ไว้ เช่น นักเรียนที่ทาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางคณิตศาสตร์ได้คะแนนสูง แสดงว่าต้องสามารถที่จะ เรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ หากนักเรียนคนนั้นไม่สามารถที่จะเรียนในคณะ วิศวกรรมศาสตร์ได้ แสดงว่าเคร่ืองมือที่ใช้น้ันมีความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ์ต่าหรือในการ สารวจความคิดเห็นเก่ียวกับความต้องการในการเลือกเรียนโรงเรียนอนุบาลตามแนวพุทธ หากแบบสารวจออกมาว่าประชาชนมีความต้องการสูง เมื่อเข้าโรงเรียนอนุบาลจริงก็จะมี ประชาชนส่งบุตรเรียนจานวนมาก แสดงว่าเคร่ืองมือท่ีใช้ในการสอบถามมีความเที่ยงตรง เชิงพยากรณ์สูงจริง ดังน้ัน การสร้างเครื่องมือดังกล่าวจึงต้องมีข้อคาถามที่เป็นตัวเร้า คณุ ลกั ษณะท่แี ทจ้ ริงออกมาใหไ้ ด้ 2. ควำมเชื่อมน่ั ของเครื่องมือ ความเชื่อม่ัน หมายถึง ความคงเส้นคงวาของการวัด โดยที่เม่ือเรานา เครอ่ื งมอื ไปวัดกค่ี รงั้ กต็ ามค่าทไ่ี ดจ้ ะมีค่าเท่ากันหรือใกลเ้ คยี งกนั ทกุ ครั้ง แสดงวา่ เครอื่ งมือท่ี เราใช้มีความเชื่อมั่นสูง เช่น นาแบบวัดทัศนคติต่อการให้บริการด้านคอมพิวเตอร์ของ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา ไปสอบวัดครัง้ แรกนางสาวฤดี ได้คะแนน 26 หลังจากน้ัน อีก 1 สัปดาห์นาแบบวัดชุดเดิมไปวัดซ้า นางสาวฤดี ก็ยังได้คะแนน 26 คะแนน เท่าเดิม แสดงว่าแบบวัดนั้นมีความเชื่อม่ันสูง วิธีการในการหาค่าความเชื่อม่ันมีหลายวิธี เช่น การ ทดสอบซา้ แบบการใชแ้ บบทดสอบคู่ขนาน การแบง่ ครงึ่ ข้อสอบ วิธขี องครอนบาค อัลฟา และวธิ ีของคเู ดอร์ รชิ ารด์ สนั หรอื ที่เรียกวา่ KR20 , KR21 วิธีการหาความเชือ่ ม่ัน
62 2.1. วธิ กี ารทดสอบซ้า (Test – retest method) วธิ กี าร คอื นา เครื่องมือชุดเดียวไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน 2 ครั้ง โดยครั้งแรกและคร้ังหลังห่าง กันประมาณ 2 สัปดาห์ ถ้านานเกินไปจะทาให้กลุ่มตัวอย่างเกิดการเรียนรู้ ถ้าเร็ว เกินไปกลุ่มตัวอย่างก็จาข้อสอบได้และตอบโดยไม่ได้ใช้ความคิด วิธีการในการหาค่าสถิติ ของการทดสอบซา้ จะใชส้ ถิติ สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Correlation Product Moment) สูตร NΣX rtt = √[NΣX2 – (ΣX)2] [NΣY2 – (ΣY)2] rtt หมายถึง ค่าความเชอ่ื มัน่ X หมายถงึ คะแนนจากการสอบครั้งแรก Y หมายถึง คะแนนจากการสอบครั้งหลงั N หมายถึง จานวนคนในกลุ่ม ตารางท่ี 7.2 แสดงคะแนนผลการทดสอบวชิ าสงั คมศกึ ษา คร้ังที่ 1 และคร้ังท่ี 2 ของ นักเรียน 10 คน การทดสอบโดยใช้แบบสอบถาม ชุดหนึ่งกบั กลุ่มตัวอยา่ ง 10 คน การทดสอบ 2 คร้งั ได้ผลดังนี้ กำรทดสอบ นักเรียนคนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ครงั้ ที่ 1 (X) 3 3 44355143 คร้งั ที่ 2 (Y) 3 4 54567367 การแปลความหมายผลการทดสอบ มเี กณฑ์การแปลความหมาย ดงั น้ี 0.80 – 100 = มคี วามเชื่อถอื ไดส้ ูงมาก
63 0.60 – 0.79= มีความเชอ่ื ถือไดค้ ่อนขา้ งสูง 0.40 – 0.59= มคี วามเช่ือถอื ได้ปานกลาง 0.20 – 0.39= มีความเชอ่ื ถือไดต้ ่า 0.01 – 0.19= มคี วามเชื่อถอื ได้ต่ามาก 2.2 วธิ ีการทดสอบคู่ขนาน (Parallel form method) เป็นการทดสอบ คุณภาพของเคร่ืองมือ โดยใช้เคร่ืองมือที่วัดคุณลักษณะเดียวกัน 2 ชุด ไปสอบกับกลุ่ม ตัวอย่าง กลุ่มเดียวกัน คุณลักษณะเดียวกัน เคร่ืองมือที่คู่ขนานกัน หมายถึง เครื่องมือที่มี เน้ือหาทางการวัดเหมือนกันแต่ข้อคาถามใช้ภาษาไม่เหมือนกันมีความยากง่ายเท่ากัน วัด คุณลักษณะเดียวกันมีจานวนข้อเท่ากัน วิธีน้ีจะดีตรงที่กลุม่ ตัวอยา่ งตอบคาถามโดยไม่ไดใ้ ช้ วิธีการจาจากเคร่ืองมือชุดแรก แต่จะมขี อ้ เสีย คือ จะสรา้ งเคร่ืองมือที่มลี ักษณะคู่ขนานจริง ๆ ได้ยากมาก วิธีการคานวณ คือ นาคะแนน 2 ชุดมาหา ค่าสัมประสิทธิสหพันธ์แบบเพียร์ สนั เหมือนวิธแี รก 2.3 วิธีการแบ่งคร่ึง (Spit - half Method ) วิธีการนี้จะใช้เคร่ืองมือ เพียงชุดเดียว สอบวัดครั้งเดียวแต่แบ่งครึ่งของข้อคาถามในเคร่ืองมือออกเป็น 2 ส่วน ซึ่ง อาจจะใช้วิธีการแบ่งโดยแบ่งเป็นข้อคู่กับข้อคี่ เช่น เคร่ืองมือจานวน 30 ข้อ ถ้าจะแบ่งเป็น ข้อคู่ ข้อค่ี ก็จะแบ่งได้โดย ข้อท่ี 1,3,5,7,9..................................29 เป็นเครื่องมือชุดที่ 1 ข้อคู่ประกอบด้วย ข้อท่ี 2,4,6,8,10...............................30 เป็นเครื่องมือชุดท่ี 2 หรือจะใช้ วิธีแบบแบ่งครึ่ง คือ ข้อท่ี 1 – 15 เปน็ เครอื่ งมือชดุ ที่ 1 ข้อที่ 16 – 30 เป็นเคร่อื งมือชุดที่ 2 นาคะแนนที่ได้จากการตรวจเครอื่ งมือชุดที่ 1 และคะแนนท่ีได้จากการตรวจเครื่องมือชดุ ท่ี 2 มาคานวณโดยการแทนคา่ ในสตู ร ดังนี้ สตู ร rtt = 2 rtt 1 + rtt เมอ่ื rtt หมายถึงค่าความเช่อื มน่ั ทง้ั ฉบับ rhh หมายถึงค่าความเชื่อม่ันคร่ึงฉบับใช้วิธีการคานวณ แบบสัมประสิทธ์ิสหพนั ธ์แบบเพียร์สัน
64 2.4 วิธีของคเู ดอร์ – รชิ าร์ดสนั (Kuder – Richardson method) การ หาความเช่ือมั่นด้วยวิธีน้ีเป็นการหาความสอดคล้องภายในของเคร่ืองมือวิจัย เรียกกันว่า เป็นการหาค่าความเช่ือม่ัน แบบ KR20 และ KR21 วิธีการในการหาความเช่ือมั่นวิธีน้ีจะใช้ กบั ลกั ษณะของข้อสอบแบบตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน โดยจะใช้เคร่ืองมือ วิจัย 1 ชุด สอบกับกลุ่มตัวอย่างเพียงอย่างเดียว ลักษณะการหาความเชื่อม่ันประเภทนี้จึง เหมาะสมทจ่ี ะใช้กับแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์แบบปรนยั 4 หรอื 5 ตัวเลอื กหรือข้อคาถาม ปรนัยแบบถูก – ผิด สูตร KR20 = N 1 – Σpq N – 1 S2t KR20 หมายถึง สัมประสิทธิ์ความเช่ือม่ันของเครื่องมือท่ีใช้ใน การวัด P หมายถงึ สดั สว่ นของผ้ทู ต่ี อบถกู q หมายถึง (1 – P) หรือ สัดส่วนของคนทาผดิ ในแตล่ ะขอ้ S2t หมายถึง ความแปรปรวนของคะแนนจากทกุ ขอ้ คาถาม N หมายถงึ จานวนข้อคาถามท้ังหมด สูตร KR20 น้ัน เพ็ญแข แสงแก้ว (เพ็ญแข แสงแก้ว,2541 หน้า 119) ได้ กล่าวไวว้ ่า การจะใช้ขอ้ มลู หรอื คะแนนที่เป็นสดั ส่วนของผู้ตอบถูกและตอบผิดจากกลุ่มท่ีรับ การทดสอบทงั้ หมด ค่าความเช่อื ถือได้จะสูงและมปี ระสทิ ธิภาพสงู กวา่ KR21 สตู ร KR21 KR21 = N 1 – X (N – X) N–1 N62T
65 เมอื่ N หมายถงึ จานวนข้อของเครอ่ื งมอื วจิ ัยทง้ั หมด X หมายถงึ คะแนนเฉล่ยี ของเครือ่ งมอื วจิ ยั หมายถึงคะแนนความแปรปรวนของเคร่ืองมือวิจัย ทัง้ ฉบบั 2.5 วิธีครอนบาค (Cronbach alpha) เรียกกันอีกชื่อหน่ึงว่า วิธีหา ความเช่ือมั่น โดย ครอนบาค อัลฟา จะใช้กับการหาความเช่ือม่ันของแบบสอบถามท่ีเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบสัมภาษณ์หรือลักษณะของข้อสอบแบบอัตนัย คะแนน จากการสอบไมจ่ าเป็นต้องเปน็ แบบถูกให้ 1 และผิดให้ 0 คะแนน สูตร N 1 ΣSi2 = N–1 S2t ∂ หมายถึง สัมประสิทธิ์ความเช่ือมั่นของเครื่องมือ N หมายถงึ จานวนข้อคาถามทใ่ี ชว้ ัด Si2 หมายถึง คา่ ความแปรปรวนรายข้อของคะแนน St2 หมายถึง ค่าความแปรปรวนของคะแนนทกุ ขอ้ 3. ควำมยำกง่ำย (Difficulty Index) ความยากง่าย หมายถึง สัดส่วนของการตอบข้อสอบนั้นถูกจากจานวน เต็มทง้ั หมดสัญลกั ษณ์ท่ใี ช้ คือ (P) สูตร P = จานวนที่ตอบถกู ในข้อนนั้ จานวนคนทสี่ อบทง้ั หมด P = จานวนท่ตี อบถกู ในขอ้ นัน้ X 100
66 จานวนคนทส่ี อบทั้งหมด ตวั อยำ่ ง ข้อคาถามข้อหน่ึงมีจานวนคนตอบถูก 20 คน จากจานวนคนตอบทั้งหมด 50 คน จะมีคา่ ระดับความยาก ดงั นี้ P = 20 = 40 50 P = 20 x 100 = 40% 50 ในการวิเคราะห์ค่าความยาก (P) จะมีค่าตั้งแต่ 00 – 1.00 ถ้าค่า P เข้าใกล้ 1.00 แสดงวา่ ข้อสอบขอ้ นน้ั ง่ายมาก เนอื่ งจากมีผสู้ อบตอบถกู ทุกคน การแปลความหมาย ค่า P สามารถแปลความหมายได้ดงั นี้ คา่ P=.00 – .19 หมายความวา่ มจี านวนผตู้ อบถูก 0 – 19%แสดงว่าข้อสอบข้อนั้น ยากเกินไป ค่า P = .20 – .39 หมายความว่า มีจานวนผู้ตอบถูก 20 – 39% แ ส ด ง ว่ า ข้ อ ส อ บ ข้ อ น้ั น คอ่ นขา้ งยาก คา่ P = .40 - .59 หมายความว่า มจี านวนผ้ตู อบถกู 40 – 59% แสดงว่าข้อสอบข้อน้ันยากง่ายปาน กลาง
67 ค่า P = .60 - .79 หมายความวา่ มีจานวนผู้ตอบถูก 60 – 79% แสดงวา่ ข้อสอบข้อนน้ั ค่อนข้างงา่ ย คา่ P = .80 – 1.00 หมายความว่า มจี านวนผตู้ อบถกู 80 –100% แสดงวา่ ข้อสอบขอ้ นนั้ ง่ายเกินไป ค่ำ P ท่ีดี คอื คำ่ P ท่อี ยู่ในช่อง .20 - .80 4. คำ่ อำนำจจำแนก (Discrimination Power) ค่าอานาจจาแนก หมายถึง ความสามารถของเครื่องมือท่ีสามารถจาแนก ความคิดเห็นของคนออกจากกันได้ระหว่างคนท่ีมีความรู้สึกทางบวกกับคนท่ีมีความรู้สึก ทางลบหรือในกรณีของการเป็นแบบทดสอบต้องจาแนกระหว่างคนที่เก่งและคนอ่อนออก จากกันได้น่ันคือ ข้อสอบที่มีอานาจจาแนกสูง คือ คนเก่งจะตอบถูก คนอ่อนจะตอบผิด สัญลักษณ์ท่ีใช้แทน ค่าอานาจจาแนก คือ “r” ในการหาค่าอานาจจาแนกสามารถหาไดท้ ั้ง ลักษณะของเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบและลักษณะของเคร่ืองมือท่ีเป็นแบบวัดทัศนคติ โดยมีวิธีการดงั น้ี วิธีการในการหาค่าอานาจจาแนก สามารถหาได้ท้ังเครื่องมือที่เป็น แบบทดสอบและเคร่อื งมือท่เี ป็นแบบสอบถาม แบบวัดทัศนคติ แบบสมั ภาษณ์ แบบวัดความ คิดเหน็ โดยใช้สตู รดงั นี้ สูตร r = Ru – Re N/2 เมอื่ r หมายถึง ค่าอานาจจาแนกเปน็ รายข้อ
68 Ru หมายถงึ จานวนผู้ท่ีตอบถูกในข้อน้ันในกลุ่มเก่ง / กลุ่ม สูง Re หมายถงึ จานวนผู้ที่ตอบถูกในข้อน้ันในกลุ่มอ่อน / กลุ่ม ตา่ N หมายถึง จานวนคนในกลุ่มตวั อยา่ งท้ังหมด วธิ กี ารดาเนินการวิเคราะห์ 1. นาเคร่ืองมือไปสอบวดั กับกลุม่ ตวั อยา่ ง 2. ตรวจให้คะแนน เรียงลาดับคะแนนจากคนท่ีได้คะแนนสูงไป จนถึงคนท่ไี ดค้ ะแนนตา่ สุด 3. แบ่งกระดาษคาตอบออกเป็น 2 กล่มุ คอื กลมุ่ ที่ได้คะแนนสูงและ กลุ่มท่ไี ด้คะแนนตา่ 4. หาจานวนคนท่ีตอบถูกแต่ละข้อในกลุ่มเดียวกันแล้วแทนค่าใน สตู ร แบบสอบถาม แบบวดั ทัศนคติ การหาคา่ อานาจจาแนกของแบบสอบถามและ แบบวดั ทศั นคติจะใชส้ ถติ ิ t – test สตู ร X สูง – X ต่า t= S2 สงู – S2 ตา่ N สูง N ตา่ เมอื่ t หมายถึง ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย x สูง หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ของกลุม่ สงู x ต่า หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ของกล่มุ ตา่ S2สงู หมายถึง คะแนนความแปรปรวนของกล่มุ สูง
แตล่ ะฉบับ 69 หาคะแนนตา่ สดุ S2ต่า หมายถงึ คะแนนความแปรปรวนของกลมุ่ ตา่ คะแนนต่า N หมายถงึ จานวนคนในแตล่ ะกลมุ่ ซงึ่ N แตล่ ะกลุม่ ตอ้ งมี ในสูตร จานวนเท่ากัน วิธีการดาเนนิ การ 1. นาเคร่อื งมอื มาตรวจให้คะแนน แต่ละข้อและหาคะแนนรวมของ 2. เรียงลาดับคะแนนของเครื่องมือแต่ละชดุ ตั้งแต่คะแนนสูงสุดไป 3. แยกผู้ตอบออกเป็น 2 ชุด คือ กลุ่มได้คะแนนสูงและกลุ่มที่ได้ 4. นาค่าเฉลี่ยของคะแนนแตล่ ะข้อในกล่มุ สูงและกลุ่มตา่ ไปแทนคา่ 5. เลอื กค่า t ทมี่ นี ยั สาคญั ท่ี .05 ลงมา ค่าอานาจจาแนกตง้ั แต่ -1 ถงึ +1 คา่ อานาจจาแนกทเี่ ป็น 0 และตดิ ลบเปน็ ค่า อานาจจาแนกที่ใช้ไม่ได้ เพราะไม่สามารถที่จะจาแนก ระหว่างคนท่ีเก่งหรือคนท่ีมี ความรสู้ กึ ทางบวกสูงกบั คนอ่อนหรือคนท่มี ีความร้สู กึ ทางลบออกจากกันได้ นอกจากการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือ โดยใช้วิธีการของสถิติดังกล่าว แล้ว ในกรณีท่ีเป็นแบบทดสอบผู้วิจัยยังต้องคานึงถึง คุณภาพของเครื่องมือในเร่ือง ความ ยตุ ธิ รรม ซ่ึงต้องข้อสอบท่ีมีความเป็นกลางระหว่างกลุ่มทดสอบและกลุ่มควบคุม เช่น ไม่นาเน้ือหาท่ีกลุ่มทดลองรู้อยู่แล้วมาออกข้อสอบ แต่กลุ่มควบคุมไม่รู้ ความลึกของ แบบทดสอบทวี่ ัดพฤตกิ รรมในระดบั ทสี่ ูงกว่าความจาเน้นการใชส้ ตปิ ัญญาระดับสงู การจัดเรยี งลาดับข้อสอบจากง่ายไปหายาก เพ่ือกระตนุ้ ใหผ้ ู้ตอบรสู้ ึกอยากตอบ ความเป็น ปรนัย ความชัดเจนเก่ยี วกบั เคร่ืองมอื ซง่ึ ตอ้ งครอบคลมุ ในสิ่งตอ่ ไปนี้ 9.1 คาถามชัดเจน 9.2 การตรวจให้คะแนนชัดเจน 9.3 การแปลความหมายของคะแนนชดั เจน
70 9.4 ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง วัดความรู้ได้มากที่สุด สะดวกในการควบคุมและดาเนินการสอบใช้ต้นทุนในการทาข้อสอบน้อย พิมพ์ได้ชัดเจน อ่านงา่ ย กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1. ขอ้ มูล ข้อมลู หมายถงึ ข้อเทจ็ จริงที่ได้จากการรวบรวมโดยอาศัยเครื่องมือที่มี คณุ ภาพและวธิ ีการทเี่ ชอ่ื ถอื ได้ โดยอาจจะมีลักษณะเป็นตัวเลข หรือบรรยายคณุ ลักษณะ 3. ประเภทของข้อมลู การแบ่งประเภทของขอ้ มลู สามารถแบง่ ได้เป็นหลายลกั ษณะ ดังตอ่ ไปนี้ 2.1 แบ่งตามลกั ษณะของข้อมูล 2.1.1 ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ เปน็ ลกั ษณะของข้อมลู ทเ่ี ป็นตวั เลข หรอื เปน็ ขอ้ มูลทีเ่ ชิงคุณลักษณะแต่ผู้วิจยั สามารถทจ่ี ะตคี วามให้มีคา่ เปน็ ตัวเลขได้ 2.1.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นลักษณะของข้อมูลที่บรรยาย คณุ ลักษณะเหตกุ ารณ์ ที่ตรงกบั สง่ิ ที่ผูว้ จิ ยั ตอ้ งการ 2.2 แบง่ ตามแหลง่ ขอ้ มูล 2.2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมได้มาจากกลุ่มตัวอย่าง เช่น ข้อมูลท่ีได้จาก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ฯลฯ ขอ้ มลู ประเภทนี้เป็นข้อมลู ทน่ี า่ เชื่อถือมากทีส่ ุด 2.2.2 ข้อมูลฑุติยภูมิ (Secondary Source) ข้อมูลลักษณะน้ีไม่ สามารถเก็บจากแหล่งกาเนิดได้โดยตรง เนื่องจากอาจจะมีปัญหาอะไรบางอย่าง ดังนั้น ลักษณะขอ้ มลู ประเภทนจ้ี ึงอาจจะมีความคลาดเคลอื่ นเกิดขนึ้ ได้ง่าย 2.3 แบ่งตามแหล่งทม่ี าของข้อมลู 2.3.1 ข้อเท็จจริง เป็นลักษณะของข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ของ กลมุ่ ตัวอยา่ ง และเป็นตวั แปรทีผ่ ้วู จิ ยั สนใจที่จะศึกษา 2.3.2 ข้อมูลที่เก่ียวกับความรู้สึก ความคิดเห็น ความเชื่อ ฯลฯ เป็นลักษณะของข้อมูลทีไ่ ม่สามารถสังเกตได้ 3. ควำมจำเปน็ ในกำรเก็บรวบรวมข้อมลู 3.1 เพื่อนาคาตอบไปสกู่ ารวจิ ัย
71 3.2 ยังไม่มีใครรวบรวมข้อมูลไว้เป็นหมวดหมู่ จึงจาเป็นต้องมีการเก็บ รวบรวมข้อมลู ใหต้ รงกับวัตถุประสงคท์ กี่ าหนดไว้ 3.3 ต้องนาข้อมลู ไปใช้ในการตัดสนิ ใจ การรวบรวมข้อมูลน้ันจะมีวิธีในการรวบรวมข้อมูลหลายวิธีด้วยกันซึ่งจะ ข้ึนอยู่วัตถุประสงค์การวิจัยและพฤติกรรมท่ีต้องการจะรวบรวม รายละเอียดในการ รวบรวมข้อมูล ดงั นี้ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยกำรสอบ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบ ผู้วิจัยหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการสอบควร คานงึ ถงึ หลักการ ดงั ท่ี พชิ ติ ฤทธิ์จรญู (2545, หนา้ 226 ) ได้เสนอแนะไวด้ งั น้ี 2.1 มีจุดมุ่งหมาย เพื่อสื่อสารให้ผู้ที่เก่ียวข้องได้รับทราบและเข้าใจตรงกัน ตลอดจนการดาเนินการสอบให้มปี ระสิทธภิ าพยิ่งขึน้ 2.2 มีแผนการดาเนินงาน โดยการกาหนดว่าจะสอบอะไร สอบอย่างไร สอบ เมื่อไร สอบทีไ่ หน และใครเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบ 2.3 มีแนวปฏิบัติ ที่ชัดเจนและแจ่มแจ้ง และควรเป็นแนวปฏิบัติที่กาหนดเป็น ระเบียบ 2.4 มีการเตรียมความพร้อม เช่น การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสอบ สถานที่สอบ และการดาเนนิ การสอบ 2.5 มีความสะดวก เพ่ือป้องกันความคลาดเคลื่อนในการวัดอย่างมีระบบ คือ การอานวย ความสะดวกแก่ผู้เข้าสอบมากท่ีสดุ 2.6 มีความยุติธรรม มีความครอบคลุมในเรอ่ื งการแจกและเก็บแบบทดสอบ การ ชแ้ี จงในการสอบ การใชเ้ วลาในการสอบ และการกากับการสอบ 2.7 มปี ระสิทธผิ ล โดยมกี ารกากับดแู ลให้การดาเนินงานสอบเปน็ ไปตามแผนการ อบและแนวปฏิบตั ิในการอบอย่างเครง่ ครัดจนบรรลจุ ุดมงุ่ หมายของการสอบ กำรดำเนินกำรสอบ การดาเนินการสอบ ควรประกอบด้วย เทคนิคที่สาคัญ ดังท่ี สถาบัน ราชภัฏ นครราชสีมาได้ เสนอแนะไว้ ดงั นี้
72 3.1 การกาหนดตารางสอบ ในตารางสอบควรประกอบด้วยสิง่ ต่อไปน้ี 3.1.1 วนั เดือน ปี ทส่ี อบ 3.1.2 เวลาทีใ่ ชส้ อบ เริ่มเวลาใด และหมดเวลาใด 3.1.3 วิชาทส่ี อบ 3.1.4 ชน้ั หรอื หมเู่ รยี น และจานวนคน 3.1.5 ห้องสอบ 3.1.6 ชอ่ื ผกู้ ากับการสอบ กำรรวบรวมขอ้ มลู โดยกำรสมั ภำษณ์ การรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์น้ันผู้วิจัยต้องเตรียมการในหลาย ๆ ประเด็นด้วยกัน เนื่องด้วยการรวบรวมข้อมูลด้วยการสมั ภาษณ์จะเป็นการรวบรวมข้อมลู ท่ี เป็นการเผชิญหน้าระหวา่ งผูส้ ัมภาษณ์และผู้ถูกสมั ภาษณ์ ดังนั้น โอกาสท่ีบุคคลสองฝา่ ยจะ ว่างตรงกันจึงเป็นไปได้ยาก ดังนั้น ผู้วิจัยจึงต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดี โดยผู้วิจัยต้องมี การเตรียมการในเร่อื งตอ่ ไปนี้ 1. กำรวำงแผนเกบ็ รวบรวมข้อมลู การศึกษาพ้ืนท่ีที่จะเข้าไปเก็บรวบรวมข้อมูล ถ้าเป็นไปได้ควรจะเข้าไป สารวจพนื้ ที่ในการปฏิบัตงิ านถึงสภาพหมู่บ้านของนกั เรยี นหรอื ชมุ ชนที่จะเกบ็ ข้อมูล 2. กำรกำหนดเวลำในกำรเข้ำไปสมั ภำษณ์ ผู้วิจัยควรเลือกเวลาที่เหมาะสมท่ีสุด การเก็บข้อมูลจากนักเรียนและ อาจารย์ในโรงเรียนไม่ควรจะไปเก็บข้อมูลในช่วงการสอบเนื่องจากผู้ให้ข้อมูลจะมีความ กังวลเกี่ยวกับการสอบของตัวเอง การเก็บข้อมูลจากผู้ปกครองควรพิจารณาถึงการทางาน ของผู้ปกครอง โดยท่ัวไปควรเก็บรวบรวมข้อมูลในชว่ งของการมารับผูเ้ รยี น และไม่ควร ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลนานเกนิ ไปในแต่ละครง้ั 3. กำรตดิ ต่อเจ้ำหนำ้ ทที่ ่ีเก่ยี วข้องใหเ้ ปน็ ผู้นำ ในกรณีที่จาเป็นต้องสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาอ่ืนๆ ท่ีผู้วิจัยไม่ คุ้นเคยอาจต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อความสะดวกในการท่ีจะเก็บรวบรวมข้อมูล เพราะผูบ้ รหิ ารสว่ นใหญม่ ักจะไม่มีเวลาในการท่จี ะให้ข้อมูล 4. กำรเตรยี มแบบสัมภำษณ์และอปุ กรณ์อน่ื ๆ
73 การเตรียมแบบสัมภาษณ์และอุปกรณ์อื่น ๆท่ีจาเป็น เช่น ลวดเย็บ กระดาษ เทปบนั ทกึ เสียง กลอ้ งถา่ ยรูป ซองใสเ่ อกสารการสัมภาษณ์ เชือกสาหรับมัดแบบ สัมภาษณ์ กระดาษเพอ่ื จดบนั ทกึ ขอ้ มลู หลังการสัมภาษณเ์ สรจ็ 5. กำรเตรียมค่ำเดนิ ทำงหรอื ค่ำใชจ้ ่ำยอน่ื ๆ การเตรียมรถหรือค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่ีคิดว่าจะนาไปใช้ในระหว่างการ สัมภาษณ์ 4. กำรจัดทำคู่มอื กำรสัมภำษณ์ ค่มู ือ การสมั ภาษณป์ ระกอบดว้ ยรายละเอียด ทจี่ าเปน็ ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย ตารางการสมั ภาษณ์ ประเด็นของการสัมภาษณ์ 5. ตรวจสอบควำมเรยี บร้อยทุกครัง้ กอ่ นเดนิ ทำงกลับ ตรวจเช็ดความเรียบร้อยทุกครั้งก่อนเดินทางกลับ เนื่องจากบางที่ท่ี ออกไปสมั ภาษณ์ไกลหรอื เดินทางไมส่ ะดวกและไม่สามารถให้กลับมาเก็บข้อมูลใหม่ได้อีกจึง ควรระมัดระวังในส่วนน้ีใหม้ าก กำรเก็บข้อมลู โดยกำรสัมภำษณท์ ำงโทรศพั ท์ ในปัจจุบันใช้กันมากในทางธุรกิจแต่ในทางการศึกษาใช้กันน้อย เนื่องจากการ สัมภาษณ์โทรศัพท์เป็นการถามความคิดเห็น ความรู้สึกเพียงส้ัน ๆ และจะเอาเฉพาะ ใจความที่สาคัญจริง ๆ แต่เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีสะดวก เน่ืองจากไม่ต้องเผชิญหน้า กันระหว่างสัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์ จึงเหมาะที่จะจะใช้ในการสอบถามรายละเอียดที่ เกี่ยวข้องกับตวั นักเรยี น ท่ไี มม่ ีประเด็นคาถามมากมายนัก กำรเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชแ้ บบสอบถำม การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยการใช้แบบสอบถามมีวธิ กี ารในการเกบ็ ขอ้ มูล ดังนี้ 1. กำรสง่ แบบสอบถำมทำงไปรษณยี ์ การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ วิธีน้ีจะสะดวกเน่ืองจากผู้วิจัยไม่ต้อง เดนิ ทางไปแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง แตโ่ อกาสทจี่ ะไดร้ ับแบบสอบถามคนื จะมีค่อนข้าง
74 น้อย เน่ืองจากหน่วยตัวอย่างมักทาแบบสอบถามหายหรืออาจไม่ได้ตอบแบบสอบถามด้วย ตนเอง ในกรณีทไ่ี ดร้ บั แบบสอบถามคนื มานอ้ ยผวู้ ิจยั ก็ต้องทวงแบบสอบถามคนื 2. กำรแจกแบบสอบถำมดว้ ยตนเอง การแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง แลว้ รอให้กลมุ่ ตวั อย่างส่งแบบสอบถาม คืนให้กับ ผู้แจกแบบสอบถาม วิธีนี้จะได้รับคืนมากกว่าวิธีแรก แต่ผู้เก็บข้อมูลต้องเสียเวลา ในการรอการตอบกลับ การแจกแบบสอบถามและนัดเวลาในการส่งแบบสอบถามคืน โดย ผู้วิจัยเป็นผ้มู ารบั แบบสอบถามด้วยตนเอง 3. กำรสอบถำมทำงคอมพิวเตอร์ เน่ืองจากในปจั จบุ ันการตดิ ตอ่ ส่อื สารมคี วามทันสมยั มากข้ึนซึง่ สามารถทา ให้บุคคลติดต่อสื่อสารกันได้หลายวิธีซึ่งวธิ ีหนึ่งท่ีกาลังได้รบั ความนิยมเพ่ิมข้ึนเรอ่ื ย ๆ ได้แก่ การติดต่อส่ือสารทางคอมพิวเตอร์ เว็ปไซด์หลาย ๆ เว็ปไซด์จะมีแบบสอบถามให้ตอบ กอ่ นทจ่ี ะเข้าไปยังเน้ือหาท่ผี สู้ นใจต้องการศกึ ษาแตก่ ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู เหมาะทจ่ี ะใช้เก็บ ข้อมูล ในลักษณะที่ข้อมูลมีผลต่อตัวผู้ตอบ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเพศ ถ้าให้ตอบโดยการใช้แบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ก็จะทาให้ผู้ตอบรู้สึกอายที่จะตอบ หรือกลัวว่าการตอบจะมีผลต่อตัวผูต้ อบเอง ในขณะที่การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการนี้ จะมีข้อเสียท่ีผู้วิจัยจะไม่ทราบคุณลักษณะของประชากรที่ชัดเจน ซ่ึงผู้ตอบอาจจะไม่ใช่ ลกั ษณะของประชากรท่นี ยิ ามไวก้ ็ได้ ขน้ั ตอนกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยกำรใช้แบบสอบถำม การเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามนัน้ ตอ้ งการวางแผนการดาเนินการ และกาหนดขั้นตอนใหช้ ดั เจน เพราะในงานวจิ ยั บางครง้ั ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู จากกลมุ่ ตัวอยา่ งเป็น จานวนมากและมีแบบสอบถามหลายฉบับ หากผู้วิจัยไม่ได้วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล อย่างดีแล้วจะทาให้ยุ่งยากและสับสนได้ ดังน้ัน ข้ันตอนในการรวบรวมข้อมูลจึง ประกอบด้วยรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. การจัดทาหนังสือขอความอนุเคราะห์ เพื่อขอความร่วมมือในการให้ขอ้ มลู โดยผู้วิจัยอาจเป็นผู้ลงนามในหนังสือขอความอนุเคราะห์เองหรือในกรณีที่ทาในนามของ หน่วยงานต้องประสานงานกับผู้บังคับบัญชาของผู้วิจัยเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการลง นามในหนงั สือขอความร่วมมือในการรวบรวมขอ้ มูล
75 2. บางกรณีอาจจะต้องติดต่อกับผู้ที่จะอานวยความสะดวกในการแจก แบบสอบถามและรวบรวมแบบสอบถามคืน โดยการขอเบอร์โทรศัพท์เพื่อท่ีจะใช้ทวงถาม แบบสอบถาม เชน่ พนกั งานธรุ การหรือเจ้าหนา้ ทบี่ ริหารงานทั่วไป 4. การจดั สง่ แบบสอบถาม การจดั ส่งแบบสอบถามโดยทั่วไปจะให้เวลาในการตอบแบบสอบถามและ เวลาในการจดั ส่งแบบสอบถามกลบั คืนประมาณ 1 เดือน 4. การทาจดหมายนา การทาจดหมายนาเพ่ือบอกให้ผู้ให้ข้อมูลทราบว่า เพราะเหตุใดผู้วิจัยจึง ทาวิจัยเร่ืองน้ีมีวัตถุประสงค์ในการทาอย่างไรและข้อมูลท่ีได้มาจะมีประโยชน์ ด้านใดบ้าง ตลอดจนการรักษาความลับของผู้ให้ข้อมูลและการกาหนดส่งคืนแบบสอบถามและไม่ลืมท่ี จะตอบขอบคณุ ผ้ใู ห้ขอ้ มูล 5. การเตรียมซอง การเตรียมซองให้หน่วยตัวอย่าง และซองที่จะให้หน่วยตัวอย่างส่ง แบบสอบถามกลับคนื ต้องจ่าหน้าซองถึงผู้วิจัยและติดแสตมป์ให้เรยี บร้อย เพอื่ อานวยความ สะดวกใหแ้ กห่ นว่ ยตวั อย่าง 6. การจัดรหัสแบบสอบถาม ควรจัดหมายเลข รหัสและทะเบียนของแบบสอบถามทุกฉบับ เพ่ือความ สะดวกในการติดตามและการประมวลผลขอ้ มลู 7. การจัดส่งแบบสอบถามไปให้กลุ่มตวั อย่าง ต้องจ่าหน้าซองถึงผู้รับให้ชัดเจนโดยต้องส่งให้เร็วท่ีสุดและไม่ลืมที่จะคิด วนั เวลาในวนั หยุดให้เหมาะสม 8. การตดิ ตามแบบสอบถาม หลังจากส่งแบบสอบถามไปแล้วประมาณ 2 – 3 สัปดาห์ หากยังไม่ได้รับ แบบสอบถามคืน ผู้วิจัยต้องติดตามทวงแบบสอบถามแบบสอบถาม วิธีการในการทวงคืน นั้น สนิ พนั ธ์พนิ ิจ (สนิ พันธ์พินิจ ,2547, หน้า 216 – 217) ไดเ้ สนอแนะไว้ 3 วธิ ี ไดแ้ ก่ 9.1 การส่งจดหมายไปทวงคืน ในการส่งจดหมายทวงคืนควรจะแนบ แบบสอบถามฉบับใหม่ไปด้วยเน่ืองจากหน่วยตัวอย่างอาจจะทาแบบสอบถามเดิมสูญ หายไปแล้ว
76 9.2 การส่งไปรษณีย์ ไปรษณียบัตร เพ่ือทวงคืนโดยต้องแนบ แบบสอบถามไปด้วยในกรณีทีส่ ง่ เป็นจดหมาย 9.3 การโทรศพั ท์ ในกรณีทท่ี ราบเบอรโ์ ทรของหนว่ ยตวั อย่าง การไดร้ บั แบบสอบถามคืนใน กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยกำรสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตจะมีความละเอียดมากกว่าการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ เน่ืองจากการสังเกตส่วนใหญ่จะ ไม่ต้องการให้ผู้ถูกสังเกตหรือหน่วยตัวอย่างรู้ตัว เน่ืองจากหากหน่วยตัวอย่างรู้ตัวจะทาให้ พฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากความเป็นจริง ผู้วิจัยจึงควรท่ีจะวางแผนในการสังเกตอย่าง ละเอียดรอบคอบ โดยมขี ัน้ ตอนดงั นี้ 1. ขน้ั ตอนกำรเก็บรวบรวมข้อมลู 1 เตรียมแบบสังเกตให้พรอ้ ม 2 ทาความเขา้ ใจกับแบบสงั เกตทีจ่ ะนาไปใช้ใหล้ ะเอียด รอบคอบท่สี ุด 3 เตรียมอุปกรณ์อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กล้องบันทึกภาพ กล้องวีดีโอ เทป บันทึกเสยี ง 4 การกาหนดกลุม่ ตัวอย่างในการสงั เกตให้ชดั เจน 5 การติดต่อประสานงานกับผู้ที่เกยี่ วข้อง เช่น ในการสงั เกตพฤติกรรมเด็กใน สถานสงเคราะห์ก็ควรท่ีจะตดิ ตอ่ ผู้บรหิ ารทเ่ี กี่ยวขอ้ งโดยตรงกับสถานสงเคราะหน์ น้ั 6 การอบรมผู้สังเกต โดยการช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการสังเกตและสร้าง ความเขา้ ใจให้กับผสู้ ังเกตทุกคนทจี่ ะเป็นผู้ช่วยวิจัย 7 การเตรียมในเร่ืองค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปสังเกตการณ์ในกรณีที่ จะต้องไปสงั เกตหน่วยตวั อยา่ งทอ่ี ่ืนทไี่ มใ่ ช่ในห้องเรยี นหรือในโรงเรียน 8 การดาเนนิ การสังเกต ในการดาเนินการสังเกต ผู้วิจัยควร ดาเนินการตามขัน้ ตอน ดังตอ่ ไปน้ี 1 การเดินทางไปสังเกต ในกรณีท่ีต้องไปสังเกตท่ีอ่ืน ท่ีไม่ใช่ใน โรงเรียนหรือหน่วยงานท่ีผู้วิจัยสังกัดอยู่ ผู้สังเกตควรไปถึงสถานที่ที่จะสังเกต อย่าง
77 น้อย 10 – 15 นาที เพือ่ ปรบั ตวั เองให้อยู่ในสภาพที่พร้อมและคนุ้ เคยกับสถานท่ี ลดอาการ ต่นื เตน้ และผอ่ นคลายก่อนเร่ิมต้นการสังเกต 1.8.2 การเขา้ ไปพบกบั ผ้บู งั คับบญั ชาของหน่วยงาน 1.8.3 ควรสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างเกิด ความไวว้ างใจ 1.8.4 ควรสังเกตไปตามประเด็นท่ีได้กาหนดไว้และสังเกตไปตาม แบบฟอร์มทีไ่ ด้เตรยี มมา 1.8.5 ในกรณีของการสังเกตแบบมีส่วนร่วมควรที่จะสังเกตในเรื่องท่ัว ๆ ไปก่อน เช่น ในกิจกรรมท่ีดาเนินอยู่ มีคนเพศใด อายุเท่าไร ลักษณะทางความสัมพันธ์ทาง สังคมหรือสังคมมิติของกลุ่ม เช่นอย่างไร หลังจากนั้นจึงสังเกตโดยเน้นเฉพาะเร่ืองไปและ ต้องพยายามเข้าไปใกล้ชดิ กบั ผู้ถกู สงั เกตใหม้ ากทส่ี ดุ 1.8.6 นอกจากการสังเกตแล้วนักวิจัยอาจจะสัมภาษณ์ข้อมูลเพิ่มเติมได้ ในกรณีท่พี ฤตกิ รรมท่สี ังเกตไม่ชัดเจนพอแต่ตอ้ งระวังไม่ให้ผถู้ ูกสังเกตรู้ตัว สรปุ การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือเป็นส่ิงท่ผี ูว้ ิจยั ต้องดาเนินการกอ่ นท่ีจะนา เคร่ืองไปเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งน้ีเพ่ือ ลดความคลาดเคลื่อนที่อาจจะเกิดขึ้น และทาเก็บ รวบรวมข้อมูลจากคาช้ีแจงที่ไม่มีความชัดเจน สามารถกาหนดระยะเวลาในการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลไดด้ ีข้นึ มคี วามชดั เจนในการใชภ้ าษา ลดความซา้ ซ้อนของข้อคาถาม ช่วย ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย การตรวจสอบคณุ ภาพสามารถตรวจไดด้ ้วยตนเอง และการตรวจสอบ โดยผู้เช่ียวชาญ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ สามารถตรวจสอบในด้านความ เที่ยงตรง ความเช่ือมั่น ค่าอานาจจาแนก ค่าความยากง่าย นอกจากนี้ ยังต้อง พิจารณา เก่ียวกับความยุติธรรม ความลึก ความจาเพาะเจาะจง ความเป็นปรนยั และ ความมีประสทิ ธภิ าพ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วิจยั ต้องวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใหร้ อบคอบ เพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหาในการที่จะนามาข้อมูลมาใชใ้ นการวิจัย
78
79 บทที่ 7 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การออกแบบการวเิ คราะห์ข้อมลู (Analysis Design) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) เป็นการจาแนกข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อจัดข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบหมวดหมู่ แล้วใช้ค่าสถิติช่วยในการสรุปลักษณะของ ข้อมูลน้ัน ๆ ตามลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา ในกรณีที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ จะ แตกต่าง กับการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้การวิเคราะห์โดยการ จาแนกชนิดและ การเปรียบเทียบลักษณะของข้อมูลเพ่ือหาความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกัน ของปรากฏการณ์ ต่างๆ โดยอาศัยกรอบแนวคิดและทฤษฎีช่วยในการสร้างข้อสรุปน้ัน การเลือกใช้สถิติจะ พิจารณาจาก 1. วัตถุประสงค์การวิจยั (เพือ่ การบรรยาย, เพื่อเปรียบเทยี บ, เพื่อหาความสัมพนั ธ์, เพอ่ื สร้างตวั แบบ) 2. หนว่ ยการวิเคราะห์ (เอกบุคคล, แบบกลุม่ ) 3. ระดับการวดั คา่ ตวั แปร (ระดบั กลุ่ม, ระดับอนั ดับ, ระดบั วง, ระดับอัตราสว่ น) 4. การเลอื กตัวอยา่ ง (ใช้การสุม่ , ไม่มกี ารสมุ่ ) ดังนั้นเทคนิคการวิเคราะห์และแปลผลข้ึนอยู่กับลักษณะของข้อมูลท่ีนามาวิเคราะห์ ดังนี้ 7.1. กำรวิเครำะหข์ ้อมลู เชิงปริมำณ ใชว้ ิธีการทางสถิตเิ ป็นวิธกี ารในการวิเคราะห์ ซง่ึ แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภทคือ a. สถิติบรรยำย (Descriptive Statistics)การวิจัยที่มุ่งหมายเพื่อการ บรรยายข้อมูลตัวอย่างหรือประชากรโดยไม่อ้างอิงไปถึงประชากรใด สามารถเลือกใชส้ ถิตบิ รรยายไดด้ งั นี้ 1. การแจกแจงความถี่ 2. การจัดตาแหน่งเปรียบเทียบ (Proportion, Rate, Ratio, Percentage) 3. การวัดแนวโนม้ เขา้ ส่สู ว่ นกลาง (Mean, Median, Mode) 4. การวัดการกระจาย (S.D., Q.D., C.V., Range) 5. การวดั ความสมั พนั ธ์ (rxy , rt , rbis) 6. การวดั การถดถอย
80 b. สถิติอนุมำน (Inferential Statistics) หรือสถิติวิเคราะห์ซ่ึงแยกย่อย ออกเปน็ 2 กลุม่ คอื 1. Non-Parametric Statistics 2. Parametric Statistics 7.2. กำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงคุณภำพ ใช้เทคนิควิธีการที่เรียกว่า การจาแนกกลุ่ม ข้อมูลเชิงคุณภาพ การวางแผนการวิเคราะหข์ อ้ มลู ในข้นั ตอนของการวิเคราะห์ข้อมูลน้นั ผู้วิจัยควรจะมีการวางแผนก่อนโดยพิจารณา จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยว่า ในแต่ละวัตถุประสงค์ของการวิจัยจะทาการวิเคราะห์ อย่างไร ควรจะจัดกระทาข้อมูลอย่างไร และใช้ค่าสถิติใดช่วยในการหาคาตอบตาม วัตถปุ ระสงค์นนั้
81
82 บทที่ 8 กำรเขียนรำยงำนกำรวจิ ัยและกำรนำเสนอผลกำรวจิ ัย 8.1 สว่ นประกอบของรำยงำนกำรวิจยั โครงรา่ งการวิจัย ควรมอี งคป์ ระกอบสาคัญดงั นี้ 1. ชื่อเรือ่ ง 2. ความสาคัญและทมี่ าของปัญหาการวิจัย 3. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 4. คาถามของการวิจยั 5. ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 6. สมมติฐาน* และกรอบแนวความคดิ ในการวจิ ัย* 7. ขอบเขตของการวิจยั 8. การใหค้ านยิ ามเชิงปฏบิ ัตทิ ีจ่ ะใช้ในการวจิ ัย* 9. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั จากการวิจยั 10.ระเบียบวิธวี ิจัย 11.ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน 12.งบประมาณค่าใช้จา่ ยในการวิจัย 13. บรรณานุกรม 14. ภาคผนวก* 15.ประวัติของผดู้ าเนินการวิจัย * ไม่จาเปน็ ตอ้ งมีทุกโครงการ 1. ช่ือเรือ่ ง (the title) ชื่อเร่ืองควรมีความหมายสั้น กะทัดรัดและชัดเจน เพ่ือระบุถึงเรื่องที่จะทาการศึกษา วิจัย ว่าทาอะไร กับใคร ที่ไหน อย่างไร เม่ือใด หรือต้องการผลอะไร ยกตัวอย่างเช่น “ประสิทธิผลของการใช้วัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมันกับทหารในศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรม ยุทธศึกษาทหารเรือ 2547” ในกรณีที่จาเป็นต้องใช้ช่ือที่ยาวมากๆ อาจแบ่งชื่อเร่ือง ออกเป็น 2 ตอน โดยให้ชื่อในตอนแรกมีน้าหนักความสาคัญมากกว่า และตอนท่ีสองเป็น เพียงส่วนประกอบหรือสว่ นขยาย เช่น “โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์และการใช้ถุงยางอนามัย
83 เพือ่ ปอ้ งกันโรคของนักเรียนชาย : การเปรียบเทยี บระหวา่ งนักเรียนอาชวี ศึกษากับนักเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในกรงุ เทพมหานคร 2547” นอกจากนี้ ควรคานึงด้วยว่าช่ือเรื่องกับเนื้อหาของเร่ืองที่ต้องการศึกษาควรมีความ สอดคล้องกันการเลือกเร่อื งในการทาวจิ ยั เป็นจุดเร่ิมตน้ ทสี่ าคัญ ท่ีต้องพจิ ารณารายละเอียด ต่างๆ หลายประเด็น โดยเฉพาะประโยชน์ที่จะได้รับจากผลของการวิจัย ในการเลือกหัว เรือ่ งของการวจิ ัย มขี ้อควรพิจารณา 4 หัวข้อ คือ 1.1 ความสนใจของผู้วิจยั ควรเลือกเร่ืองทต่ี นเองสนใจมากที่สดุ และควรเปน็ เรอ่ื งทีไ่ มย่ ากจนเกนิ ไป 1.2 ความสาคญั ของเร่ืองท่จี ะทาวิจยั ควรเลอื กเร่อื งที่มีความสาคัญ และนาไปใชป้ ฏบิ ัตหิ รอื สรา้ งแนวความคิดใหมๆ่ ได้ โดยเฉพาะเกย่ี วกับงานด้านเวชศาสตรค์ รอบครวั หรือเชอ่ื มโยงกับระบบสขุ ภาพ 1.3 เป็นเรือ่ งทสี่ ามารถทาวิจยั ได้ เรื่องที่เลือกต้องอยู่ในวิสัยท่ีจะทาวิจัยได้ โดยไม่มีผลกระทบอันเนื่องจากปัญหา ต่างๆ เชน่ ด้านจริยธรรม ด้านงบประมาณ ด้านตัวแปรและการเก็บข้อมูล ด้านระยะเวลา และการบรหิ าร ดา้ นการเมอื ง หรอื เกนิ ความสามารถของผูว้ ิจัย 1.4 ไม่ซ้าซ้อนกบั งานวจิ ยั ทท่ี ามาแล้ว ซึ่งอาจมีความซ้าซ้อนในประเด็นต่างๆ ที่ต้องพิจารณาเพ่ือหลีกเลี่ยง ได้แก่ ชื่อ เรื่องและปัญหาของการวิจัย (พบมากที่สุด) สถานท่ีท่ีทาการวิจัย ระยะเวลาท่ีทาการวิจัย วธิ ีการ หรอื ระเบียบวิธขี องการวจิ ัย 2. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ (background and rationale) อาจเรียกต่างๆกัน เช่น หลักการและเหตุผล ภูมิหลังของปัญหา ความจาเป็นที่จะทา การวิจัย หรือ ความสาคัญของโครงการวิจัย ฯลฯ ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร ต้องระบุว่าปัญหา การวิจัยคืออะไร มีความเป็นมาหรือภูมิหลังอย่างไร มีความสาคัญ รวมท้ังความจาเป็น คุณคา่ และประโยชน์ ทีจ่ ะไดจ้ ากผลการวจิ ยั ในเรื่องนี้ โดยผู้วจิ ยั ควรเริม่ จากการเขยี นปูพื้น โดยมองปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาอย่างกว้างๆ ก่อนว่าสภาพท่ัวๆไปของปัญหาเป็น อย่างไร และภายในสภาพท่ีกล่าวถึง มีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง ประเด็นปัญหาที่ผวู้ ิจัยหยบิ
84 ยกมาศึกษาคืออะไร ระบุว่ามีการศึกษาเก่ียวกับเร่ืองน้ี มาแล้วหรือยัง ท่ีใดบ้าง และ การศึกษาทีเ่ สนอนีจ้ ะช่วยเพมิ่ คณุ คา่ ตอ่ งานดา้ นน้ี ไดอ้ ย่างไร 3. วัตถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ยั (objectives) เป็นการกาหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง ในเร่ืองท่ีจะทาวิจัย ต้องชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ไมค่ ลุมเครือ โดยบ่งชถ้ี ึง สงิ่ ท่จี ะทา ทัง้ ขอบเขต และคาตอบทค่ี าดว่าจะ ได้รบั ทั้งในระยะส้ัน และระยะยาว การต้ังวัตถุประสงค์ ตอ้ งให้สมเหตุสมผล กับทรัพยากร ทเ่ี สนอขอ และเวลาท่ีจะใช้ จาแนกได้เปน็ 2 ชนดิ คอื 3.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป (General Objective) กล่าวถึงส่ิงที่ คาดหวัง (implication) หรือสิ่งที่คาดว่าจะเกิดข้ึน จากการวิจัยน้ี เป็นการแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย ในระดับกว้าง จึงควรครอบคลุมงานวิจัยที่จะทาท้ังหมด ตัวอยา่ งเชน่ เพ่ือศึกษาถึงปฏิสัมพันธ์ และความต้องการของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และ ชุมชน 3.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะเกิดข้ึนจริง ใน งานวจิ ัยน้ี โดยอธิบายรายละเอยี ดวา่ จะทาอะไร โดยใคร ทามากนอ้ ยเพียงใด ทีไ่ หน เมอ่ื ไร และเพ่ืออะไร โดยการเรียงหวั ข้อ ควรเรียงตามลาดับความสาคญั ก่อน หลงั ตัวอย่างเชน่ 3.2.1 เพื่อศึกษาถึงรูปแบบปฏิสัมพันธ์และการปรับตัวของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชน 3.2.2 เพื่อศึกษาถึงปัญหาและความต้องการของผู้ติดเช้ือเอดส์ ครอบครัว และ ชุมชน 4. คำถำมของกำรวิจยั (research question ) เป็นส่ิงสาคัญท่ีผู้วิจัยต้องกาหนดขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหา นนั้ อย่างชดั เจน เพราะปัญหาทช่ี ัดเจน จะช่วยให้ผ้วู ิจยั กาหนดวตั ถุประสงค์ ต้ังสมมตฐิ าน ให้นิยามตัวแปรที่สาคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ ถ้าผู้วิจัย ตั้งคาถามที่ไม่ ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ทาให้การวางแผนในขั้น ตอ่ ไป เกดิ ความสับสนได้
85 คาถามของการวิจยั ตอ้ งเหมาะสม (relevant) หรอื สมั พันธ์ กับเร่ืองท่ีจะศึกษา โดยควร มคี าถาม ที่สาคญั ทส่ี ุด ซงึ่ ผู้วิจยั ตอ้ งการคาตอบ มากทสี่ ุด เพอื่ คาถามเดยี ว เรยี กว่า คาถาม หลัก (primary research question) ซึ่งคาถามหลักนี้ จะนามาใช้เป็นข้อมูล ในการ คานวณ ขนาดของตัวอย่าง (sample size) แต่ผู้วิจัย อาจกาหนดให้มี คาถามรอง (secondary research question) อีกจานวนหนึ่งก็ได้ ซึ่งคาถามรองน้ี เป็นคาถาม ที่เรา ต้องการคาตอบ เช่นเดียวกัน แต่มีความสาคัญรองลงมา โดยผู้วิจัย ต้องระลึกว่า ผลของ การวิจัย อาจไม่สามารถ ตอบคาถามรองนี้ได้ ทั้งนี้เพราะ การคานวณขนาดตัวอย่าง ไม่ได้ คานวณเพอ่ื ตอบคาถามรองเหล่านี้ 5. ทฤษฎแี ละงำนวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง (review of related literatures) อาจเรียกว่า การทบทวนวรรณกรรม ส่วนนี้เป็นการเขียนถึงส่ิงท่ีผู้วิจัยได้มาจาก การศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เช่ียวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ ปัญหาของผู้วิจัย รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการดาเนินการศึกษาร่วมไปกับผู้วิจัยด้วย โดย จัดลาดับหัวข้อหรือเนื้อเร่ืองที่เขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแต่ละหัวข้อเน้ือเร่ืองก็ จัดเรียงตามลาดับเวลาด้วย เพ่ือให้ผู้อ่านได้เห็นพัฒนาการต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับปัญหา นอกจากนี้ผู้วิจัยควรจะต้องมีการสรุปไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ท้ังส่วนที่ สอดคล้องกัน ขัดแย้งกัน และส่วนที่ยังไม่ได้ศึกษาท้ังในแง่ประเด็น เวลา สถานท่ี วิธี การศึกษาฯลฯ การเขียนสว่ นน้ีทาให้เกิดประโยชนต์ อ่ การต้งั สมมตฐิ านดว้ ย หลังจากท่ีผู้วิจัยได้เขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้ว ควรมีการประเมินงาน เขียนเรียบเรียงนั้นอีกคร้ังหน่ึง ว่ามีความสมบูรณ์ท้ังเน้ือหา ภาษา และความต่อเนื่องมาก น้อยแค่ไหน สาหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Polit & Hungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร, 2538 ) ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สาคัญไว้ โดยการ ใหต้ อบคาถามตอ่ ไปน้ี 5.1 รายงานน้ันได้มีการเชอื่ มโยงปัญหาที่ศึกษากับปัญหาวิจยั ที่เก่ียวข้อง ซึ่งศึกษามา ก่อนแล้ว หรอื ไม่ 5.1.1 รายงานนั้นได้เรียบเรียงจากแหล่งเอกสารทุติยภูมิมากเกินไปหรือไม่ ซึ่ง ตามความ
86 เป็นจรงิ แล้วควรใช้แหลง่ เอกสารปฐมภมู ิ (ต้นฉบับ) ใหม้ ากทส่ี ุด 5.1.2 รายงานได้ครอบคลุมเอกสาร ท่ีสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาท่ีศึกษาครบ หมดหรอื ไม่ 5.1.3 รายงานได้ครอบคลุมเอกสารใหม่ๆหรือไม่ 5.1.4 รายงานได้เน้นในเรื่องความคิดเห็น หรือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับ พฤติกรรม มากเกนิ ไป และมกี ารเนน้ ผลการวจิ ยั ดา้ นปฏิบัตจิ ริงๆ น้อยไปหรอื ไม่ 5.1.5 รายงานได้เรียบเรียงข้อความอย่างต่อเน่ืองสมบูรณ์หรือไม่ หรือเป็น เพียงแตล่ อก ขอ้ ความจากเอกสารตน้ ฉบบั มาเรียงตอ่ กนั เท่านั้น 5.1.6 รายงานน้ันเป็นแตเ่ พียงสรปุ ผลการศึกษาที่ทามาแลว้ เท่านั้น หรอื เปน็ การ เขยี นใน เชิงวิเคราะห์วิจารณ์ และเปรียบเทียบกับผลงานเด่นๆ ที่ศึกษามาแล้ว หรอื ไม่ 5.1.7 รายงานได้เรียบเรียงในลักษณะที่เชื่อมโยง และชี้ให้เห็นถึงความก้าวหนา้ ในความ คิดอย่างชัดเจนมากนอ้ ยแค่ไหน 5.1.8 รายงานไดน้ าผลสรุปของงานวิจยั และข้อเสนอแนะของการนาผลการวิจัย ไปใช้ ทั้งหมด มาเช่ือมโยงกับปัญหาทจี่ ะศึกษามากนอ้ ยแค่ไหน 5.2 รายงานน้ันได้มีการเชื่อมโยงปัญหาท่ีศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิด หรือไม่ 5.2.1 รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติ หรือไม่ 5.2.2 รายงานได้เปดิ ชอ่ งโหว่ให้เห็นถงึ กรอบแนวคิดอื่นทีเ่ หมาะสมกว่าหรอื ไม่ 5.2.3 รายงานได้เช่ือมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมีเหตุมีผล หรอื ไม่
87 6. สมมติฐำน ( Hypothesis) แ ละกรอบแ น วคิดใน กำรวิจัย ( conceptual framework) การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคาตอบอย่างมีเหตุผล มักเขียนใน ลักษณะ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น(independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variable) เช่น การติดเฮโรอีนชนิดฉีด เป็น ปัจจัยเส่ียงของโรคเอดส์ สมมติฐานทาหน้าที่เสมือนเป็นทิศทาง และแนวทาง ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ แนวทางในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมตฐิ านตอ้ งตอบวตั ถปู ระสงค์ของการวิจยั ได้ครบถว้ นและทดสอบและวัดได้ นอกจากนี้ ผู้วิจัยควรนาเอาสมมติฐานต่างๆ ท่ีเขียนไว้มารวมกันให้เป็นระบบและมี ความเช่ือมโยงกันในลักษณะที่เป็นกรอบแนวความคิดของการศึกษาวิจัยทั้งเรื่อง เช่น จะ ศึกษาถึง พฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนงาน อาจต้องแสดง (นิยมทาเป็นแผนภูมิ) ถึงที่มาหรือปัจจัยท่ีเป็นตัวกาหนดในพฤติกรรมดังกล่าว หรือในทางกลับกัน ผู้วิจัยอาจ กาหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัย ซึ่งระบุว่าการวจิ ัยนี้มีตัวแปรอะไรบ้าง และตัวแปร เหลา่ นม้ี คี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไรก่อน แล้วจงึ เขยี นสมมตฐิ านทีร่ ะบถุ งึ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ตวั แปรในลกั ษณะทเี่ ป็นข้อๆ ในภายหลัง 7. ขอบเขตของกำรวิจัย เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยท่ีจะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เน่ืองจาก ผู้วิจยั ไม่สามารถทาการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทกุ มมุ ของปัญหานน้ั จงึ ตอ้ งกาหนดขอบเขต ของการศึกษาให้แน่นอน ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซึ่งอาจทาได้โดยการกาหนดขอบเขต ของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของสาขาวิชา หรือกาหนดกลุ่มประชากร สถานทว่ี จิ ัย หรอื ระยะเวลา 8. กำรให้คำนยิ ำมเชงิ ปฏิบัติทจี่ ะใชใ้ นกำรวจิ ัย (operational definition)
88 ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคา (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่ จาเป็นต้องให้คาจากัดความอย่างชัดเจน ในรูปท่ีสามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไมเ่ ช่นนน้ั แลว้ อาจมีการแปลความหมายไปไดห้ ลายทาง ตวั อย่างเชน่ คาวา่ คณุ ภาพชวี ิต, ตัวแปรทีเ่ ก่ยี วกบั ความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นตน้ 9. ประโยชนท์ คี่ ำดว่ำจะไดร้ ับจำกกำรวจิ ยั (expected benefits and application) อธิบายถึงประโยชน์ที่จะนาไปใช้ได้จริง ในด้านวิชาการ เช่น จะเป็นการค้นพบทฤษฎี ใหม่ซึ่งสนับสนุนหรือ คัดค้านทฤษฎีเดิม และประโยชน์ในเชิงประยุกต์ เช่น นาไปวางแผน และกาหนดนโยบายต่างๆ หรือประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือหาแนวทางพัฒนาให้ดีข้ึน เป็นต้น โดยครอบคลุมทั้ง ผลในระยะสั้น และระยะยาว ท้ังผลทางตรง และทางอ้อม และ ควรระบุในรายละเอียดว่า ผลดังกล่าว จะตกกับใคร เป็นสาคัญ ยกตัวอย่าง เช่น โครงการวิจัยเร่ือง การฝึกอบรมอาสาสมัคร ระดับหมู่บ้าน ผลในระยะสั้น ก็อาจจะได้แก่ จานวนอาสาสมัครผ่านการอบรมในโครงน้ี ส่วนผลกระทบ (impact) โดยตรง ในระยะยาว ก็อาจจะเป็น คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนน้ัน ที่ดีขึ้น ส่วนผลทางอ้อม อาจจะได้แก่ การ กระตุ้นใหป้ ระชาชน ในชุมชนนั้น มีสว่ นร่วม ในการพฒั นาหมู่บา้ น ของตนเอง 10. ระเบียบวธิ ีวิจยั (research methodology) เป็นการให้รายละเอียดเก่ียวกับข้ันตอนในการดาเนินการวิจัยว่าแต่ละขั้นตอนจาทา อยา่ งไร โดยทว่ั ไปเปน็ การใหร้ ายละเอียดในเรือ่ งตอ่ ไปนี้ คือ 10.1 วิธวี ิจัย จะเลอื กใช้วิธีวจิ ยั แบบใด เช่น จะใชก้ ารวจิ ัยเอกสาร การวจิ ัยแบบทดลอง การวิจัยเชิงสารวจ การวิจัยเชงิ คณุ ภาพ หรือจะใชห้ ลายๆ วธิ ีรวมกัน ซึง่ ก็ตอ้ งระบใุ ห้ชัดเจน วา่ จะใชว้ ิธอี ะไรบ้าง 10.2 แหล่งข้อมูล จะเก็บข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น จะเก็บข้อมูลทุติยภูมิ จาก ทะเบียนราษฎร์ สมุดสถิติรายปี สามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรือจะเป็นข้อมูลปฐม ภูมิ จากการสารวจ การสนทนากลุม่ การสงั เกต การสัมภาษณร์ ะดับลึก ฯลฯ เปน็ ต้น 10.3 ประชากรที่จะศึกษา ระบุให้ชัดเจนว่าใครคือประชากรท่ีต้องการศึกษา และ กาหนดคุณลักษณะของประชากรท่ีจะศึกษาให้ชัดเจน เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา เขตที่อยู่อาศัย บางครั้งประชากรท่ีต้องการศึกษาอาจไม่ใช่ปัจเจกบุคคลก็ได้ เช่น อาจเป็นครัวเรอื น หมบู่ ้าน อาเภอ จังหวดั ฯลฯ กไ็ ด้
89 10.4 วิธีการสุ่มตัวอย่าง ควรอธิบายว่าจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบใด ขนาดตัวอย่างมี จานวนเท่าใด จะเกบ็ ข้อมลู จากท่ีไหน และจะเขา้ ถงึ กลมุ่ ตวั อยา่ งได้อยา่ งไร 10.5 วิธีการเก็บข้อมูล ระบุว่าจะใช้วิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร มีการใช้เคร่ืองมือและ ทดสอบเครื่องมืออย่างไร เช่น จะใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การสัมภาษณ์ แบบมแี บบสอบถาม การสงั เกต หรือการสนทนากลุม่ เปน็ ตน้ 10.6 การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ระบุการประมวลผลข้อมูลจะทา อย่างไร จะใช้เคร่ืองมืออะไรในการประมวลผลข้อมูล และในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการ ทดสอบสมมติฐานจะทาอย่างไร จะใช้สถิติอะไรบ้างในการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือให้สามารถ ตอบคาถามของการวจิ ยั ทต่ี อ้ งการได้ 11. ระยะเวลำในกำรดำเนินงำน ผู้วิจัยต้องระบุถึงระยะเวลาที่จะใช้ในการดาเนินงานวิจัยท้ังหมดว่าจะใช้เวลานาน เท่าใด และต้องระบุระยะเวลาที่ใช้สาหรับแต่ละขั้นตอนของการวิจัย วิธีการเขียน รายละเอียดของหัวข้อนี้อาจทาได้ 2 แบบ ตามที่แสดงไว้ในตัวอย่างต่อไปน้ี (การวิจัยใช้ เวลาดาเนนิ การ 12 เดือน) ตวั อย่ำงท่ี 1 ก. ขัน้ ตอนการเตรียมการ : คน้ หาชอ่ื เรือ่ งหรอื ปัญหาที่จะทา (3 เดือน) 1. ศกึ ษาเอกสารและรายงานการวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 2. ติดต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง(ขออนุมัติดาเนินการ,ติดต่อผู้นาชุมชน,เตรียม ชมุ ชน) และรวบรวมข้อมลู ต่างๆ ทจ่ี าเป็น 3. สรา้ งเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 4. จดั หาและฝึกอบรมผู้ช่วยนักวิจยั 5. ทดสอบและแกไ้ ขเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั ข. ข้ันตอนการเก็บขอ้ มูล (2 เดือน) 6. เลือกประชากรตวั อย่าง 7. สัมภาษณ์ประชากรตวั อยา่ ง ค. ขัน้ ตอนการประมวลผลข้อมลู และการวิเคราะหข์ อ้ มูล (3 เดือน)
90 8. ลงรหัส ตรวจสอบรหัส นาข้อมูลเข้าเคร่ือง และทาการบรรณาธิการด้วย เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 9. เขียนโปรแกรมเพ่ือทาการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติต่างๆ ตามท่ีกาหนด ไว้ รวมทั้งแปลผลข้อมลู ง. การเขียนรายงาน และการเผยแพร่ผลงาน (4 เดือน) 10.เขยี นรายงานการวิจยั 3 เดือน 11.จัดพิมพ์ 1 เดอื น ตัวอยำ่ งท่ี 2 ตารางปฏบิ ตั งิ านโดยใช้ Gantt Chart เดือน กิจกรรม ม. ก. มี. เม. พ. ม.ิ ก. ส. ก. ต. พ. ธ. ค. ค. พ. ค. ย. ค. ย. ค. ค. ย. ค. ย. ก. กำรเตรียมกำร 1.การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ี เกี่ยวข้อง 2.การตดิ ต่อหนว่ ยงานและรวบรวม ข้อมลู ท่จี าเปน็ 3.สรา้ งเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจัย 4.จดั หาและฝึกอบรมผชู้ ่วยนกั วจิ ัย 5.ทดสอบและแก้ไขเครื่องมอื ท่ใี ช้ใน การวิจยั ข. กำรเก็บขอ้ มลู 6.สุ่มตวั อยา่ ง 7.สัมภาษณก์ ลมุ่ ตวั อย่าง ค. กำรประมวลผลและกำรวิเครำะห์ ขอ้ มูล 8.ประมวลผลขอ้ มูล 9.วิเคราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู
91 ง. กำรเขียนรำยงำนและกำรเผยแพร่ ผลงำน 10.เขยี นรายงาน 11.จดั พมิ พร์ ายงาน 2. งบประมำณ (budget) การกาหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพ่ือการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะ ใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทาได้หลายวิธี ตัวอย่างหน่ึงของการแบ่ง หมวด คอื แบง่ เป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่ 12.1 เงนิ เดอื นและคา่ ตอบแทนบคุ ลากร 12.2 ค่าใชจ้ ่ายสาหรบั งานสนาม 12.3 คา่ ใชจ้ า่ ยสานกั งาน 12.4 ค่าครุภณั ฑ์ 12.5 ค่าประมวลผลข้อมูล 12.6 คา่ พมิ พ์รายงาน 12.7 คา่ จดั ประชมุ วชิ าการ เพ่ือปรกึ ษาเรื่องการดาเนินงาน หรอื เพื่อเสนอผลงานวิจัย เมื่อจบ โครงการแล้ว 12.8 คา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ อย่างไรก็ตาม แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยแต่ละแห่งอาจกาหนดรายละเอียดของการ เขียนงบประมาณแตกต่างกัน ผู้ที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณของ แหล่งทุนที่ตนต้องการขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดต่อ โครงการที่แหล่งทุนนั้นๆ จะให้การสนับสนุนด้วย เนื่องจากถ้าผู้วิจัยต้ังงบประมาณไว้สูง เกนิ ไป โอกาสทจ่ี ะได้รับการสนับสนนุ กจ็ ะมนี อ้ ยมาก 13. เอกสำรอ้ำงองิ (references) หรือ บรรณำนกุ รม (bibliography)
92 ตอนสุดท้ายของโครงร่างการวิจัย จะต้องมี เอกสารอ้างอิง หรือรายการอ้างอิง อัน ได้แก่ รายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนวิธีการ ที่ได้ข้อมูลมา เพื่อ ประกอบ การเอกสารวิจัยเรื่องนั้น ๆ รายการอ้างอิง จะอยู่ต่อจากส่วนเนื้อเร่ือง และก่อน ภาคผนวก โดยรูปแบบท่ีใช้ควรเป็นไปตามสากลนิยม เช่น Vancouver Style หรือ APA(American Psychological Association) style 14. ภำคผนวก (appendix) สิง่ ทน่ี ยิ มเอาไว้ท่ภี าคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบนั ทึกข้อมูล เม่ือภาคผนวก มีหลายภาค ให้ใชเ้ ป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ แต่ละภาคผนวก ให้ ขึ้นหนา้ ใหม่ 15. ประวัติของผ้ดู ำเนนิ กำรวจิ ยั (biography) ประวัติของผู้วิจัย เป็นข้อมูลที่ผู้ให้ทุนวิจัยมักจะใชป้ ระกอบการพิจารณาให้ทนุ วิจัย ซ่ึง ถ้ามีผู้วิจัยหลายคนก็ต้องมีประวัติของผู้วิจัยท่ีอยู่ในตาแหน่งสาคัญๆ ทุกคนซึ่งต้องระบุว่า ใครเป็นหัวหน้าโครงการ ใครเป็นผู้ร่วมโครงการในตาแหน่งใด และใครเป็นท่ีปรึกษา โครงการ ประวัติผู้ดาเนินการวิจัย ควรประกอบด้วยประวัติส่วนตัว (เช่น อายุ เพศ การศึกษา) ประวัติการทางาน และผลงานทางวชิ าการตา่ งๆ 8.2 หลกั กำรเขยี นรำยงำนกำรวจิ ยั 1. กำรเขยี นชอ่ื เรอื่ งงำนวิจยั 1. กะทัดรัด มีความชดั เจนในตัวเอง 2. เห็นลักษณะของตัวแปร กลุ่มตัวอย่าง และขอบเขตของการวจิ ยั 3. ภาษาทใ่ี ชต้ ้องเปน็ ภาษาท่ีเชือ่ ถือได้ในวิชาชีพนัน้ ๆ 4. เป็นประโยคทส่ี มบรู ณ์ ข้อความ หรอื วลีก็ได้ 2. กำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของกำรวจิ ยั 1. แนวในการเขยี นแบง่ เป็น 3 สว่ น คือ
93 1.1 เริม่ จากจากสภาพปัจจบุ ันของสงิ่ ทจ่ี ะวจิ ัย 1.2 ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ สาหรับสงิ่ ทีจ่ ะวจิ ยั 1.3 แนวทาง หรือ หลักการทจี่ ะแก้ปัญหาน้นั 2. ตรงประเด็น และชี้ให้เห็นความสาคัญของส่ิงท่ีจะวิจัย ไม่ควรเขียนเย่ินเย้อ และนอกเรอ่ื ง เพราะจะทาให้ผูอ้ ่านไขว้เขวได้ 3. มีข้อมูลอ้างอิง เพื่อความน่าเช่ือถือ การมีข้อมูลอ้างอิงจะทาให้งานวิจัยมี คุณคา่ และบางครั้งทาใหก้ ารเขียนมีความสละสลวย มเี หตมุ ีผล 4. มีความต่อเนื่องกัน ในแต่ละย่อหน้าผู้เขียนต้องเขียนให้ต่อเนื่องกัน ห้าม เขียนวกไปวนมา โดยตอ้ งยดึ หลกั การเขียนตามขอ้ 1 5. สรุปเหตุผลท่ีผู้วิจัยจะศึกษา ในส่วนสุดท้ายของความเปน็ มาและความสาคญั ของการวิจยั 3. กำรเขียนวตั ถุประสงคข์ องกำรวจิ ยั 1. สอดคล้อง/สมั พันธ์ กับชอ่ื เร่ืองการวจิ ยั 2. ระบอุ ยา่ งชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไร กับใคร ทไ่ี หน 3. ถา้ เรือ่ งท่วี จิ ัยเก่ียวขอ้ งกบั ตัวแปรหลาย ๆ ตวั ควรเขยี นแยกเป็นขอ้ ๆ 4. ภาษาทใ่ี ช้ต้องเขา้ ใจง่าย และแจ่มชดั ในตวั เอง 5. สามารถเก็บข้อมูลได้ ประเด็นนี้สาคัญมาก เพราะถ้าเขียนแล้ว ผู้วิจัยไม่รู้ หรือไม่สามารถทจี่ ะเก็บขอ้ มูลได้ จะทาให้การวิจัยประสบความล้มเหลวได้ 4. กำรเขยี นสมมตุ ิฐำนกำรวิจัย สมมุติฐานการวิจัย (Research hypothesis) เป็นการคาดคะเนผลของการวจิ ัยไว้ ล่วงหน้า โดยใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพ่ืออ้างอิงไปยังประชากร การกาหนด/เขียน สมมุติฐานการวิจัย ควรเขียนหลังจากท่ีผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับงานวิจัย เรียบรอ้ ย เพราะจะทาใหผ้ วู้ ิจยั มีเหตผุ ลในการกาหนดสมมตุ ิฐาน 1. หลกั กำรกำหนดและทดสอบสมมุติฐำน
94 1.1 มีข้อมูลพอเพียงเกี่ยวกับตัวแปร และ ความสัมพันธ์ของตัวแปร จาก เอกสารงาน วิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 1.2 มกี ารสมุ่ กลุม่ ตัวอย่าง (Samples , not populations, are used.) 1.3 ผู้วจิ ัยตอ้ งการจะใช้วิธีการ การทดสอบสมมตุ ฐิ าน 2. หลกั กำรเขียนสมมตุ ิฐำนกำรวิจัย 2.1 งานวิจัยจะมีสมมุติฐานการวิจัย เม่ือวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นการ เปรยี บเทียบหรือมลี ักษณะเป็นการเปรียบเทยี บ 2.2 ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 2.3 สอดคลอ้ งกับขอ้ เทจ็ จรงิ ทร่ี กู้ นั ทวั่ ไป หรอื มที ฤษฎี งานวจิ ัยรองรับ 2.4 ถ้ามีข้อมูลสนบั สนนุ พอเพยี ง ใหต้ ง้ั สมมตุ ฐิ านว่า “สงู กว่า/น้อยกวา่ ” ในทางตรง กันข้าม ถา้ มขี ้อมูลสนบั สนุนน้อย หรอื ไม่มขี ้อมูลสนบั สนุน ให้ตั้ง สมมตุ ฐิ านวา่ “แตกตา่ งกนั ” 2.5 ใช้คาท่เี ขา้ ใจงา่ ย ชดั เจน เป็นขอ้ ความท่ีคนทั่วไปเข้าใจไดต้ รงกัน 5. กำรเขียนตวั แปร 1. ตวั แปรต้น หรือตวั แปรอสิ ระ (Independent variable) เปน็ ตวั แปรที่เป็น เหตุ (Cause) ท่ีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ตัวแปรต้นเป็นสิ่งที่ผู้วิจยั กาหนดข้ึน หรือจัดกระทา (Treatment) เช่น แบบฝึกทักษะ วิธีสอนแบบบทบาท สมมุติ เป็นต้น ตัวแปรต้นจะมีผลต่อตัวแปรตาม ค่าตัวแปรต้นมีส่วนกาหนดค่าตวั แปร ตาม 2. ตัวแปรตำม (Dependent variable) เป็นตัวแปรซึ่งเป็นผลท่ีเกิดจากตัวแปร ต้น เป็นสิ่งท่ีผู้วิจัยต้องการให้เกิดพฤติกรรมนั้น ๆ ค่าตัวแปรตาม ผันแปรตามค่าของ ตวั แปรตน้
95 6. กำรเขียนและกำรระบุตัวแปรในกำรวจิ ัย การระบุตัวแปรสาหรับการวิจยั ถ้าเป็นงานวิจัยเชงิ สารวจที่วัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ได้เปรียบเทียบกัน หรือ มีลักษณะเปรียบเทียบกัน ให้ระบุเฉพาะตัวแปรท่ีศึกษา ไม่ ตอ้ งมีตวั แปรตน้ และตวั แปรตาม ถ้าเปน็ งานวิจัยเชิงสารวจทว่ี ัตถปุ ระสงค์มีลักษณะเป็น การเปรยี บเทยี บกนั หรือ เปน็ งานวจิ ัยเชิงทดลอง ให้ระบุทง้ั ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม 7. กำรเขยี นนยิ ำมศพั ท์เฉพำะท่ีใช้ในกำรวจิ ัย นิยามศัพท์เฉพาะ (Definitions of specific terms) เป็นการให้ความหมายของ ตัวแปร หรือ คาศัพท์ ที่นามาใช้ในการวิจัย ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้อ่าน งานวิจัยกับผู้วิจัย คาที่ควรเขียนเป็นนิยามศัพท์เฉพาะ ควรเป็นตัวแปร หรือคาท่ีผู้วิจัย เขียนบ่อยมากในงานวจิ ยั ครัง้ น้ัน 1. หลักกำรเขยี นนิยำมศัพท์เฉพำะทใ่ี ชใ้ นกำรวิจยั 1.1 ไม่ขดั แยง้ กบั หลกั ทฤษฎี หรือ ขอ้ เทจ็ จริงท่วั ไป 1.2 ควรเป็นนยิ ามทีผ่ วู้ ิจยั เขียนข้ึนเอง โดยศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย และ ทฤษฎี 1.3 ควรนยิ ามตามตัวแปรท่จี ะศึกษา และ เนื้อหาท่วี จิ ยั 1.4 มีความชัดเจน เข้าใจไดง้ า่ ย และผู้อา่ นเขา้ ใจได้ตรงกัน 1.5 ควรเป็นนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร (ตัวแปรวดั ดว้ ยอะไร ผลเปน็ อะไร) 2. เทคนคิ กำรกำหนดนิยำมศพั ท์เฉพำะที่ใชใ้ นกำรวิจยั เนื่องจากในการทาวิจัยแต่ละเร่ือง ผู้วิจัยอาจมีคาเฉพาะท่ีใช้ในการวิจัย เนือ่ งจากคาท่ีใชม้ ีความหมายคลุมเครือหรือแปลความไดห้ ลายความหมาย หรือคาบางคาที่ ผู้วิจัยคิดว่าถ้าไม่บอก หรืออธิบายคา นั้น ๆ ก่อน อาจจะทาให้เกิดข้อสงสัยขึ้นต่อผู้อ่าน งานวิจัยได้ จึงจาเป็นต้องให้คาจากัดความไว้ เพ่ือให้ผู้อ่านมีความเข้าใจได้ตรงกับผู้วิจัย เช่น งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการอ่าน คาว่า “ทักษะการอ่าน” ถ้าไม่ทา การนิยามศัพท์เฉพาะแล้ว ผู้อ่านสามารถคิดได้หลายประเด็น เช่น คิดว่าเป็นทักษะการ
96 อา่ นคาทย่ี ากมาก ๆ หรือ อา่ นบทรอ้ ยแก้ว หรอื อา่ นหนังสือพิมพ์ ฯลฯ ท้ัง ๆ ทผี่ ู้วจิ ยั ต้องการให้นักเรียนอ่านคาที่กาหนดให้เท่าน้ัน และคาที่ให้อ่าน ก็เหมาะสมกับระดับ ความสามารถของนกั เรยี นดว้ ย สาหรับคาทเี่ ปน็ ศพั ทท์ างวชิ าการที่ไมค่ ่อยได้ใชก้ ันแพรห่ ลาย กค็ วรนยิ าม ศัพท์ หรือให้คาจากัดความไว้เช่นกัน การนิยามศัพท์เฉพาะไม่ควรให้ความหมายท่ี แตกต่างมากไปจาก ความหมายโดยท่ัวไปของคาน้ัน เน่ืองจากจะทาให้ ผู้อ่าน ตคี วามหมายของผ้ทู าการวิจัยผิดพลาดได้ 8. กำรเขียนประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จำกกำรวจิ ัย 1. เขยี นประโยชนท์ ่ไี ด้รบั โดยตรงมากทีส่ ดุ ไปหาประโยชน์นอ้ ยท่ีสดุ จากการวจิ ัย 2. เขียนให้สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ และสงิ่ ทีว่ ิจัย ไม่เขียนล้อเลียนวัตถปุ ระสงค์ แตค่ วร เขียนในลักษณะว่า เม่ือทราบความแตกต่างแล้ว จะก่อให้เกิดประโยชน์ ในแง่การ เสริมสรา้ งความรู้ หรือการใช้ผลอย่างไร 3. ไม่ขยายความเกินความเป็นจริง ต้องอยู่ในขอบข่ายของวัตถุประสงค์ที่ศึกษา เทา่ นน้ั 9. กำรเขยี นเอกสำรทีเ่ กีย่ วข้อง 1. ควรสรุปเป็นคาพูดของตนเอง เขียนในลักษณะของการวิเคราะห์มากกว่าที่ จะนาเอามายอ่ แล้วกเ็ รียงลาดบั กัน 2. ควรเขียนให้ต่อเน่ืองเก่ียวโยงกันตลอดเนื้อหา ไม่เขียนในลักษณะการนามา เรียงตอ่ กัน เพราะจะทาให้การอ่านไม่ต่อเนื่องและราบเรียบ การเขียนต้องให้เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างทฤษฎี แนวคดิ หลักการ และผลงานวิจัย
97 3. ไมค่ วรเขยี นเรียงตามปีท่ีพิมพ์/วิจัย หรือ เรยี งตามชอ่ื ผู้เขียน แต่ควรเรยี บเรียง ใหม่ตามแนวคิด และตัวแปรท่ีศึกษา โดยระบุความสาคัญ และความสัมพันธ์ของตัวแปร ตา่ ง ๆ 4. ควรแบ่งกลุ่มหรือประเภทเนื้อหาท่ีนามาอ้างอิง จัดให้เป็นหมวดหมู่ โดย แบง่ ออกเปน็ ประเดน็ ต่าง ๆ หรือ แยกเป็นหัวเรอื่ งต่าง ๆ อย่างชดั เจน 5. ทฤษฏี แนวคิด หลกั การ และงานวิจยั ที่นามาเขยี นหรืออา้ งอิง ต้องเปน็ เรื่อง ทีเ่ ก่ียวข้อง กบั การวิจัยทศ่ี ึกษาโดยตรง 6. ควรมกี ารสรุปประเด็นหรอื หวั เรือ่ งท่นี าเสนอทุกเร่ือง ตามแนวคิดของผวู้ ิจัย เอง เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจในหัวเร่ืองน้ัน ๆ โดยใช้คาว่า จากท่ีกล่าวมาแล้วน้ันสรุปได้ ว่า………. หรอื จะเห็นไดว้ า่ ……………….. เป็นต้น ดงั ตัวอยา่ ง 7. ควรมีการอ้างองิ อยา่ งถูกต้อง และชดั เจน โดยต้องระบทุ ี่มาของเอกสารว่า เอกสารชื่ออะไร ใครเป็นผ้เู ขียน พิมพท์ ไี่ หน เม่อื ไหร่ ตามรปู แบบการอ้างองิ 10. กำรเขยี นและกำรกำหนดประชำกร และกลุ่มตัวอย่ำง ในการวิจัย ผู้วิจัยต้องระบุประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ให้ชัดเจน เพ่ือท่ีจะได้ ทราบว่า งานวิจัยไดศ้ กึ ษากบั ใคร มจี านวนเท่าใด 1. หลักกำรกำหนดกลมุ่ ประชำกร คือ เป็นใคร อยู่ท่ไี หน มจี านวนเทา่ ใด 2. หลกั กำรกำหนดกลุ่มกลุ่มตัวอย่ำง คือ เป็นใคร อยูท่ ไ่ี หน มจี านวนเท่าใด ได้มาอยา่ งไร 11. กำรเขยี น กำรสร้ำงและกำรหำคณุ ภำพเคร่อื งมือท่ใี ช้ในกำรวิจยั 1. การเขียนการสรา้ งเครอื่ งมือ ใหร้ ะบลุ ักษณะของเครอ่ื งมือ จานวนขอ้ จานวน ตัวเลอื ก 2. การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมอื มดี ังน้ี 2.1 ประเภทนวัตกรรมให้ผู้เช่ียวชาญเป็นผู้ประเมิน และนาไปทดลองใช้ หาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม
98 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หาความเที่ยงตรงเชิง เนอื้ หา ความยากงา่ ย อานาจจาแนก และความเชอื่ มน่ั 2.3 แบบสอบถามหรือแบบวัดเจตคติ หาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา อานาจจาแนก และความเชื่อมนั่ 2.4 แบบประเมินภาคปฏิบัติ หาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา และความ เช่อื มั่น 12. กำรเขยี นสถติ ิทใ่ี ช้ในกำรวจิ ยั 1. สถติ ิบรรยำย (Descriptive statistics) เปน็ สถิติทใี่ ช้ในการสรปุ ภาพรวมทั้งหมดของการวจิ ยั โดยนาเสนอในลักษณะ บรรยายข้อมูล ส่วนการนาเสนอข้อมูล อาจจะเสนอในรูปแบบตาราง กราฟ ฯลฯ สถิติบรรยายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เช่น ค่าเฉล่ีย ค่ามัธยฐาน และ ค่าฐานนิยม การวัดการกระจาย เช่น พิสัย ความเบ่ียงเบน มาตรฐาน และความแปรปรวน 2. สถิตอิ ้ำงองิ (Inferential statistics) การวิจัยส่วนใหญ่จะศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง (Sample) ซ่ึงทาการสุ่มมาจาก ประชากร(Population) เม่ือได้ผลการวิจัยที่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างว่ามีผลเป็นอย่างไร การศึกษากับประชากรก็จะได้ผลอย่างนั้นด้วย จึงเรียกว่าเป็นการอ้างอิง (Infer) ไปยัง กลุ่มประชากร สถติ อิ ้างองิ ไดแ้ ก่ t-test, ANOVA, Chi-square เป็นต้น 13. หลกั กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู และ กำรแปลผล 1. วเิ คราะหข์ ้อมลู ตามวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย 2. การนาเสนออาจนาเสนอในรปู แบบของตาราง แผนภมู ริ ูปภาพ แผนภูมิกง กราฟ เส้นตรง กราฟแทง่ ฯลฯ โดยทวั่ ไปแล้ว นยิ มนาเสนอรูปแบบของตาราง รปู แบบที่ นาเสนอ จะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนหัว (ส่วนที่เป็นชื่อตาราง แผนภูมิ หรือ กราฟ) ส่วนเน้ือหา (ส่วนท่ีแสดงข้อมูล เช่น ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ความเบ่ียงเบน มาตรฐาน ฯลฯ) และ สว่ นท่เี ป็นการแปลผลหรืออธบิ ายผลของเนอื้ หา 3. ควรมีการรวมหลาย ๆ เร่ือง เพื่อนาเสนอในตาราง/แผนภูมิ/กราฟเดียวกัน เพราะจะทาให้ไม่ส้นิ เปลืองตาราง/แผนภูม/ิ กราฟ
99 4. การแปลผลควรนาเสนอต่อกันไปทลี ะเรอ่ื ง เพราะจะทาให้ไมส่ ับสน 5. การแปลผลต้องอธิบายข้อมูลทนี่ ามาเสนอเท่านั้น ไม่ควรแสดงความคิดเห็น เพิม่ เตมิ 14. กำรเขียนกำรสรปุ ผล 1. สรปุ ผลตามวัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั โดยแยกตามวตั ถุประสงค์ 2. นาผลทไี่ ดจ้ ากการวเิ คราะห์ข้อมลู มาสรุปอย่างย่อ ๆ 3. การสรุปอาจเปน็ ความเรยี งตอ่ ๆ กันไป หรอื จะสรปุ เป็นหวั ข้อก็ได้ 15. กำรเขียนกำรอภปิ รำยผล การอภิปรายผล เป็นการกลา่ วผลวิจัย และแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ มีหลักการ เขียน ดังนี้ 1. อภิปรายผลตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย โดยแยกตามวตั ถุประสงค์ 2. นาเอาผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลมากล่าวถึง และแสดงความเห็นเพ่ิมเติม พร้อม ทั้งระบุให้เห็นว่าผลการวิจัยมีความสัมพันธ์ หรือสอดคล้อง/ไม่สอดคล้อง กับทฤษฎี หลักการ และงานวิจยั ใดบา้ ง เพราะอะไร แสดงเหตผุ ลประกอบ เคลด็ ลบั ในกำรอภปิ รำยผล การอภปิ รายผลแบ่งเป็น 3 สว่ น สว่ นที่ 1 คือ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เม่ือนามาเขียนไม่ต้องเขียนคาว่า “จากตาราง 1 พบว่า…” หรอื นาผลการสรปุ ผลมาเขียนน่ันเอง ส่วนท่ี 2 คือ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม ในส่วนนี้ผู้วิจัยจะต้องแสดง ความคดิ เห็น เพิ่มเติม ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นข้อดีของการวิจัยนั้น ในส่วนน้ีถ้า ผู้วิจัยไมร่ วู้ ่าจะ เขียนอะไรลงไปให้นาประโยชนข์ องนวตั กรรมน้นั ๆ มาเขียนโดย สรุปเปน็ แนวความคิดของผวู้ ิจยั เอง และไมต่ ้องอา้ งองิ สว่ นที่ 3 คือ ทฤษฏีหรืองานวิจัยท่ีสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับการ วิจัยของตนเอง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112