Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 41321พา1-1

41321พา1-1

Published by มณฑา ถิระวุฒิ, 2022-08-01 06:10:38

Description: 41321พา1-1

Search

Read the Text Version

มสธ หน่วยท่ี1 แนวคิด หลักการเกี่ยวกับสัญญา การควบคุมสัญญา มสธ มสธและแนวคิดเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์ อาจารย์ ดร.พงษ์สิทธ์ิ อรุณรัตนากุล มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธช่ือ วุฒิ อาจารย์ ดร.พงษส์ ิทธ์ิ อรุณรัตนากลุ น.บ., น.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , LL.M. Latrobe University, มสธต�ำแหน่ง Ph.D. University of New England อาจารยป์ ระจ�ำสาขาวิชานติ ิศาสตร์ หน่วยท่ีปรับปรุง มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช หน่วยที่ 1

1-2 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้ือขาย เชา่ ทรพั ย์ เช่าซ้ือ มสธแผนการสอนประจ�ำหน่วย มสธ มสธชุดวิชา กฎหมายพาณิชย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรพั ย์ เชา่ ซอ้ื หน่วยที่ 1 แนวคดิ หลกั การเกยี่ วกบั สญั ญา การควบคมุ สญั ญาและแนวคดิ เกยี่ วกบั กฎหมายพาณชิ ย์ ตอนที่ 1.1 แนวคดิ และหลักการเก่ียวกับสญั ญา มสธ1.2 แนวคดิ เกีย่ วกบั การควบคมุ สัญญา 1.3 ความเป็นมาเก่ียวกบั กฎหมายพาณิชย์ แนวคิด 1. แนวคิดและหลักการเก่ียวกับสัญญาเป็นรากฐานของกฎหมายพาณิชย์ สัญญาถือได้ว่าเป็น มสธ มสธนิติกรรมอย่างหน่ึงที่ถือก�ำเนิดขึ้นตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมัน ประกอบด้วยหลักการส�ำคัญๆ หลายประการ เช่น หลักเสรีภาพในการท�ำสัญญา คือ คู่สญั ญาต้องมอี ิสรภาพหรือมเี สรภี าพ ในการทจ่ี ะเขา้ ทำ� สญั ญา ตกลงในขอ้ สญั ญาและรวมถงึ ขอ้ ตกลงทจี่ ะระงบั การกอ่ ใหเ้ กดิ สญั ญา หรอื ความศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ หง่ การแสดงเจตนา คอื การแสดงเจตนาของบคุ คลผทู้ ำ� สญั ญาทง้ั สองฝา่ ย จะผูกผันคู่สัญญา และเมื่อมีผลผูกผันแล้วคู่สัญญาแล้ว คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่อาจที่จะ เปลีย่ นแปลงแก้ไขได้ หากไมไ่ ดร้ บั ความยินยอมจากคู่สัญญาอีกฝา่ ยหนง่ึ มสธ2. แนวคิดเก่ียวกับการควบคุมสัญญาถือเป็นการพัฒนาของรูปแบบของสัญญาจากเสรีภาพของ คสู่ ญั ญาสกู่ ารทำ� สญั ญาทถี่ กู แทรกแซงโดยรฐั เนอื่ งดว้ ยความจำ� เปน็ ในการรกั ษาความยตุ ธิ รรม ท�ำให้รฐั จำ� เปน็ ทีจ่ ะตอ้ งใชอ้ �ำนาจในการออกกฎหมายเพ่อื ควบคมุ สญั ญา 3. ความเป็นมาเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์เป็นเหตุผลท่ีจะแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง กฎหมายแพง่ และกฎหมายพาณชิ ย์ ประกอบกบั มมุ มองในการดำ� เนนิ คดแี พง่ และคดที างพาณชิ ย์ มสธ มสธวัตถุประสงค์ เมอื่ ศึกษาหนว่ ยที่ 1 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1. อธบิ ายปญั หาเกีย่ วกบั แนวคิดและหลกั การเก่ยี วกับสญั ญาได้ 2. อธิบายปญั หาเก่ยี วกับแนวคดิ เกี่ยวกับการควบคุมสัญญาได้ มสธ3. อธบิ ายปัญหาเกี่ยวกับความเปน็ มาเกีย่ วกับกฎหมายพาณชิ ย์ได้

แนวคดิ หลกั การเกย่ี วกับสัญญา การควบคมุ สัญญาและแนวคิดเกยี่ วกับกฎหมายพาณิชย์1-3 มสธกิจกรรมระหว่างเรียน 1. ท�ำแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 1 2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนที่ 1.1-1.3 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายในเอกสารการสอน มสธ มสธ4. ฟงั รายการวทิ ยกุ ระจายเสยี ง/ซีดีเสียง (ถา้ มี) 5. ชมรายการวิทยุโทรทศั น์/ดีวีดี (ถา้ มี) 6. เข้ารับการสอนเสริม (ถ้ามี) 7. ทำ� แบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรียนหน่วยท่ี 1 ส่ือการสอน มสธ1. เอกสารการสอน 2. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ 3. รายการสอนทางวิทยกุ ระจายเสยี ง/ซีดเี สยี ง (ถา้ ม)ี 4. รายการสอนทางวทิ ยโุ ทรทศั น์/ดวี ดี ี (ถ้ามี) มสธ มสธ5. การสอนเสริม (ถา้ ม)ี การประเมินผลมสธเมื่ออ่านแผนการสอนแล้ว ขอให้ท�ำแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน มสธ มสธ มสธหน่วยที่ 1 ในแบบฝึกปฏิบัติ แล้วจึงศึกษาเอกสารการสอนต่อไป 1. ประเมินผลจากแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 2. ประเมินผลจากกจิ กรรมและแนวตอบท้ายเรื่อง 3. ประเมนิ ผลจากการสอบไลป่ ระจำ� ภาคการศึกษา

1-4 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรพั ย์ เช่าซอื้ มสธตอนที่ 1.1 แนวคิดและหลักการเก่ียวกับสัญญา มสธ มสธโปรดอา่ นหัวเรอื่ ง แนวคิด และวตั ถปุ ระสงคข์ องตอนที่ 1.1 แล้วจึงศกึ ษารายละเอียดต่อไป หัวเรื่อง 1.1.1 แนวคิดและทีม่ าเกย่ี วกบั สญั ญา 1.1.2 หลักการเก่ยี วกับสัญญา มสธแนวคิด 1. มนษุ ยไ์ ดน้ ำ� แนวคดิ เร่ืองสญั ญา (Contractus) มาใชก้ ับธรุ กรรมตา่ งๆ ซงึ่ สามารถแบ่ง ได้ 4 ยุค คือ ยคุ โรมัน ยคุ ฟิวดลั ยคุ กฎหมายศาสนา และยคุ ปจั จุบนั ซง่ึ ในแตล่ ะยุค แต่ละสมัยจะมีแนวคิดที่แตกต่างกัน ในปัจจุบันแนวคิดเก่ียวกับสัญญาได้มีการ มสธ มสธเปล่ียนแปลงและพัฒนาไป โดยมีการคุ้มครองคู่สัญญาฝ่ายที่ต้องเสียเปรียบหรือฝ่ายท่ี ไม่ได้รับความเป็นธรรมมากขึ้น หรือกล่าวได้ว่าปัจจุบันเกิดแนวคิดในการคุ้มครอง คู่สัญญาหรอื การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคขึ้น 2. ห ลกั การในทางกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สญั ญาปรากฏอยหู่ ลากหลายหลกั การ เชน่ หลกั เสรภี าพในการทำ� สญั ญา หลกั ความศกั ดสิ์ ทิ ธแิ์ หง่ การแสดงเจตนา หลกั ความเสมอภาค เปน็ ตน้ มสธวัตถุประสงค์ เมอ่ื ศึกษาตอนที่ 1.1 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายแนวคดิ และที่มาของสญั ญาได้ มสธ มสธ มสธ2. อธบิ ายและวนิ ิจฉัยปัญหาเก่ียวกับหลักการเกย่ี วกับสญั ญาได้

แนวคดิ หลักการเก่ยี วกบั สัญญา การควบคุมสญั ญาและแนวคิดเก่ยี วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-5 มสธบทน�ำ มสธ มสธการศกึ ษาแนวคดิ และทฤษฎเี กย่ี วกบั สญั ญาเปน็ รากฐานของการศกึ ษากฎหมายพาณชิ ย์ เนอ่ื งจาก กฎหมายพาณิชยม์ ีหลกั มาจากเรือ่ งของสัญญาทง้ั สิน้ ซ่ึงในปจั จุบันสญั ญามีหลากหลายรูปแบบ ขึน้ อยูก่ บั วธิ กี ารแบง่ ประเภทของสญั ญา ซง่ึ สามารถแบง่ ไดห้ ลายลกั ษณะ เชน่ สญั ญาระหวา่ งเอกชนกบั สญั ญาทาง ปกครอง สัญญาทางพาณิชย์หรือสัญญาทางแพ่ง สัญญาที่มีค่าตอบแทนกับสัญญาท่ีไม่มีค่าตอบแทน สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ ฯลฯ อย่างไรก็ดี ลักษณะส�ำคัญของสัญญาทุกประเภท คือ สัญญาจะ เกดิ ขนึ้ จากความตกลงระหวา่ งบคุ คลสองฝา่ ยขน้ึ ไป นอกจากนสี้ ญั ญายงั ถอื ไดว้ า่ เปน็ นติ กิ รรมประเภทหนงึ่ ตามกฎหมาย มสธส�ำหรับการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับสัญญา ประวัติความเป็นมาและเหตุผล ตลอดจน แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมสัญญาและแนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายพาณิชย์ มีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นรากฐานของความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของสัญญาและกฎหมายพาณิชย์ เช่น แนวคิด เกี่ยวกับสัญญาของประเทศไทยมีความเหมือนหรือแตกต่างกับแนวคิดของต่างประเทศ เหตุใดจึงจำ� เป็น มสธ มสธตอ้ งมกี ารควบคุมสัญญาหรอื กฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชยม์ ีความแตกต่างกันอยา่ งไร ดงั นน้ั การศกึ ษากฎหมายพาณชิ ยใ์ หท้ อ่ งแทจ้ งึ จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมคี วามรพู้ น้ื ฐานในเบอ้ื งตน้ ดงั ทไ่ี ด้ มสธ มมสสธธ มสธกลา่ วมาขา้ งตน้ เสียกอ่ น เพื่อจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ความเข้าใจอยา่ งลึกซงึ้ ของนกั ศึกษาตอ่ ไป

1-6 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอื้ ขาย เช่าทรัพย์ เชา่ ซ้ือ มสธเร่ืองที่ 1.1.1 แนวคิดเก่ียวกับสัญญา มสธ มสธสญั ญาถอื ไดว้ า่ เปน็ นติ กิ รรมอยา่ งหนงึ่ ทถ่ี อื กำ� เนดิ ขน้ึ ตงั้ แตส่ มยั อาณาจกั รโรมนั โดยเหตผุ ลทเี่ กดิ สัญญาข้ึนนั้น เกิดจากเหตผุ ลในทางการค้าขาย การประกอบธุรกจิ ของคนในยุคนัน้ เน่ืองดว้ ยมนษุ ยไ์ มม่ ี ความสามารถในทกุ ๆ ดา้ นเหมอื นกนั หรอื กลา่ วไดว้ า่ มนษุ ยแ์ ตล่ ะคนมคี วามสามารถทแี่ ตกตา่ งกนั บางคน มีความสามารถในการใช้ก�ำลัง บางคนมีความสามารถในการใช้สติปัญญา ดังน้ัน เม่ือมนุษย์แต่ละคน มีความสามารถท่ีไม่เหมือนกันจึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนความสามารถเหล่านั้นกับบุคคลอ่ืนๆ มสธในลกั ษณะของการซอื้ ขาย การจา้ งแรงงาน เพอื่ ใหก้ ารประกอบธรุ กจิ การคา้ ขายประสบผลสำ� เรจ็ ไดด้ ว้ ยดี1 ตอ่ มาเมอื่ สงั คมมกี ารเจรญิ พฒั นากา้ วหนา้ มากขนึ้ มนษุ ยจ์ งึ ไดน้ ำ� แนวคดิ เรอ่ื งสญั ญา (Contractus) มาใช้กบั ธรุ กรรมต่างๆ ซ่งึ สามารถแบ่งออกเปน็ ยุคสมยั ได้ ดงั น้ี มสธ มสธ1. ยุคโรมัน2 ยคุ โรมนั มนุ ษยใ์ หค้ วามสำ� คญั กบั แบบของสญั ญาเปน็ หลกั โดยการพจิ ารณาวา่ สญั ญามผี ลสมบรู ณ์ หรอื ไมน่ นั้ จะตอ้ งพจิ ารณาทแี่ บบของสญั ญาเปน็ สำ� คญั หากคสู่ ญั ญาไดท้ ำ� ตามแบบเรยี บรอ้ ย สญั ญายอ่ ม มผี ลสมบรู ณ์ ความสมบรู ณข์ องสญั ญาในยคุ โรมนั นม้ี ไิ ดพ้ จิ ารณาวา่ สญั ญาทเ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ เกดิ จากความสมคั รใจ หรือเจตนาที่แท้จริงของคู่สัญญาหรือไม่ นอกจากน้ีแล้ว สัญญาจะมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายก�ำหนด หลักเกณฑ์ไวเ้ ปน็ การเฉพาะเทา่ น้นั มสธในยคุ โรมนั บคุ คลทจี่ ะมคี วามสามารถในการทำ� สญั ญาไดน้ น้ั จะตอ้ งมสี ถานะครบ 3 ประการ คอื - สถานะความเป็นอิสระ (Status Libertatis) หมายถงึ ต้องมีสถานะทไี่ ม่ต้องเปน็ ทาส - สถานะความเป็นพลเมืองโรมัน (Status Civitatis) หมายถงึ บคุ คลทจ่ี ะท�ำสญั ญาได้ จะต้อง เปน็ พลเมอื งโรมันเทา่ นั้น จึงจะทำ� สัญญาได้ - สถานะทางครอบครัว (Status Famillaris) หมายถึง บุคคลที่จะท�ำสัญญาได้นั้นจะมีเพียง มสธ มสธหัวหน้าครอบครัวเพียงคนเดียวเทา่ น้นั ทีจ่ ะมีสิทธิตามกฎหมาย มสธ1 ณฐั จกั ร ปทั มสิงห์ ณ อยุธยา. วิชานิตกิ รรม-สัญญา. รวมคำ� บรรยาย ภาคหน่ึง สมยั ที่ 70 ปกี ารศึกษา 2560, เล่ม 9, ส�ำนกั อบรมศกึ ษากฎหมายแห่งเนติบณั ฑติ ยสภา. หนา้ 229. 2 เรอื่ งเดยี วกัน. หน้า 229-230.

แนวคดิ หลักการเกีย่ วกบั สัญญา การควบคมุ สญั ญาและแนวคิดเกย่ี วกับกฎหมายพาณิชย์ 1-7 มสธ2. ยุคฟิวดัล ในยุคสมยั นี้ ในการทำ� สญั ญาจะใหค้ วามส�ำคัญกับชนช้นั ของบุคคลในการท�ำสัญญามากกว่าที่จะ ให้ความส�ำคัญในเร่ืองของรูปแบบของสัญญาดังเช่นในยุคโรมัน กล่าวคือ ในยุคฟิวดัลให้ความส�ำคัญกับ ชนชน้ั ทไ่ี ด้เข้าทำ� สัญญา ซึ่งสามารถแบ่งได้เปน็ 2 กลุ่ม คอื สัญญาระหวา่ งนายจ้างกับลกู จา้ ง เปน็ สัญญา มสธ มสธท่มี ลี ักษณะเปน็ สญั ญารบั ใช้ สญั ญาจ้างงาน และอกี กลมุ่ หนึ่งคือ สญั ญาท่ีท�ำขึ้นระหวา่ งพอ่ คา้ และชนชั้น ขนุ นาง หรอื เปน็ บคุ คลในชนชน้ั สงู โดยสญั ญาทท่ี ำ� ขนึ้ กจ็ ะมลี กั ษณะเปน็ สญั ญาในทางตอ่ รองผลประโยชน์ เป็นต้น 3. ยุคกฎหมายศาสนา “สัญญาในยุคนี้เป็นสัญญาท่ีอยู่ภายใต้อิทธิพลของคริสตจักรโรมัน โดยถือว่าสัญญาต้องผูกผัน มสธความคิดทางศีลธรรมที่คนต้องรักษาค�ำพูดท่ีตนให้ไว้ และด้วยความคิดของส�ำนักกฎหมายธรรมชาติ คนทกุ คนมีเหตุผลในตนเอง สามารถคิดและเข้าใจอะไรได้ด้วยตนเอง สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น บุคคลทกุ คนควรมีเสรภี าพในการท�ำสญั ญาโดยไม่จำ� กดั สถานะหรือรปู แบบ ดงั นนั้ คนในยคุ น้จี ึงมี เสรีภาพในการทำ� สัญญามากข้นึ ”3 มสธ มสธจากแนวคดิ ในยคุ ดงั กลา่ ว กอ่ ใหเ้ กดิ จากพฒั นาแนวคดิ จนเกดิ เปน็ ลทั ธเิ สรนี ยิ ม (Liberalism) ขนึ้ คำ� วา่ “เสรนี ยิ ม” นนั้ หมายถงึ “ลทั ธเิ ศรษฐกจิ สงั คมทตี่ อ้ งการใหร้ ฐั เขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วควบคมุ การดำ� เนนิ การ ทางเศรษฐกจิ และการดำ� เนนิ ชวี ติ ของเอกชนนอ้ ยทส่ี ดุ ”4 ซง่ึ แนวคดิ ของลทั ธเิ สรนี ยิ มน้ี สง่ ผลใหแ้ นวคดิ ใน การท�ำสัญญาจะต้องอยู่บนพื้นฐานของอิสรภาพ เสรีภาพ เป็นการแสดงออกถึงความศักด์ิสิทธิ์ของการ แสดงเจตนา กอ่ ให้เกดิ ทฤษฎเี สรภี าพในการทำ� สญั ญา (The Doctrine of Freedom of Contract) มสธ4. ยุคปัจจุบัน สำ� หรับแนวคดิ ในเรอื่ งสัญญาของไทย ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยข์ องไทย มิไดใ้ หน้ ยิ าม ความหมายของค�ำว่า “สัญญา” ไว้ว่ามีความหมายอย่างไร แต่หากต้องนิยามความหมาย สัญญาอาจ หมายถึงการตกลงกันระหว่างบุคคลสองบุคคลข้ึนไป และการตกลงหรือการแสดงเจตนานั้นเกิดขึ้นโดย ใจสมคั ร เปน็ ไปโดยชอบดว้ ยกฎหมายมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิตสิ ัมพันธข์ ้นึ ระหว่างบคุ คล การตกลงนัน้ จะ มสธ มสธก่อให้เกิดสัญญาข้ึน นอกจากนี้สัญญาท่ีเกิดจากความตกลงของบุคคลอาจเกิดขึ้นโดยบุคคลสองบุคคลอยู่ ตอ่ หนา้ กนั หรอื อย่หู ่างกนั โดยระยะทางก็ยอ่ มได้ สญั ญาถอื ไดว้ า่ เปน็ นติ กิ รรมประเภทหนงึ่ ซง่ึ ตามบทบญั ญตั ขิ องประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ไดใ้ หน้ ิยามความหมายของคำ� ว่า “นิติกรรม” ไวใ้ นมาตรา 149 ดังน้ี “นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันทำ� ลงโดยชอบดว้ ยกฎหมายและดว้ ยใจสมัคร มงุ่ โดยตรง ต่อการผูกนติ สิ ัมพันธ์ ขึ้นระหวา่ งบคุ คล เพอ่ื จะกอ่ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซงึ่ สิทธิ” มสธ3 เรื่องเดียวกัน. หน้า 230. 4 คน้ คืน 1 มนี าคม 2562. จาก http://www.royin.go.th/dictionary/.

1-8 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซ้ือ มสธดังน้ัน เม่ือพิจารณาจากนิยามความหมายดังกล่าวข้างต้นแล้ว จะพบว่านิติกรรมมีความหมาย กวา้ งกวา่ คำ� วา่ สญั ญา สญั ญาทกุ ประเภทถอื ไดว้ า่ เปน็ นติ กิ รรม แตน่ ติ กิ รรมบางนติ กิ รรมไมถ่ อื วา่ เปน็ สญั ญา เช่น การท�ำพินัยกรรม หรอื การให้คำ� มนั่ เป็นตน้ เม่ือพิจารณาถึงวิวัฒนาการแนวคิดในยุคต่างๆ แล้วจะพบว่า แนวคิดของลัทธิเสรีนิยมในเร่ือง มสธ มสธเสรภี าพในการทำ� สญั ญาสง่ ผลตอ่ แนวคดิ ในการเกดิ สญั ญาเปน็ อยา่ งมาก เชน่ สญั ญาทเี่ กดิ ขน้ึ จะตอ้ งเกดิ ขนึ้ จากความสมัครใจ หรือเกิดขึ้นเพราะคู่สัญญาแสดงเจตนาเสนอสนองต้องตรงกัน ดังนั้น จากแนวคิด ดงั กลา่ ว สญั ญาจงึ ไมส่ มบรู ณห์ รอื ตกเปน็ โมฆยี ะ หากสญั ญานน้ั ๆ เกดิ ขนึ้ จากการบงั คบั หรอื ขม่ ขู่ เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ ี แนวคดิ เกยี่ วกบั สญั ญานี้ ในแตล่ ะประเทศอาจมคี วามแตกตา่ งกนั ในรายละเอยี ดอยบู่ า้ ง ตัวอย่างเช่น ประเทศเยอรมนี สัญญาอาจเกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว เช่น พินัยกรรม หรือการบอกเลิกสัญญา ฯลฯ ประเทศฝรั่งเศส สัญญาน้ันเป็นเรื่องท่ีบุคคลสองคนตกลงกัน มสธความสมบูรณ์ของสัญญาจะมุ่งเน้นที่วัตถุประสงค์และการแสดงเจตนาที่แท้จริงเป็นหลัก ซึ่งแตกต่างจาก ประเทศเยอรมนีท่ียึดเจตนาที่แสดงออกเป็นหลัก ส�ำหรับประเทศอังกฤษ สัญญาหมายถึง ข้อตกลงที่มี ผลบังคับบุคคลตั้งแต่สองคนข้ึนไปตามกฎหมาย เพื่อกระท�ำการ หรืองดเว้นการกระท�ำการ อย่างหน่ึง อยา่ งใด โดยมีจุดมงุ่ หมายกอ่ ใหเ้ กดิ ความผกู พนั ตามกฎหมายหรอื ตกลงจะใหส้ งิ่ หนึ่งเปน็ การตอบแทนใน มสธ มสธการตกลงยนิ ยอมทำ� สญั ญา5 ในปจั จุบนั แนวคดิ เกย่ี วกบั สัญญาไดม้ ีการเปลยี่ นแปลงและพัฒนาไปอีกขัน้ หนึ่ง กล่าวคอื สญั ญา ทค่ี ูส่ ญั ญาท�ำขน้ึ ระหว่างกัน แม้จะเปน็ ไปโดยใจสมัคร มิได้เกิดจากการบังคบั หรือขม่ ขู่ แต่สญั ญาทท่ี ำ� ข้ึน อาจจะไม่เป็นธรรมต่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย เน่ืองจากความสามารถในการต่อรองที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิด การรอ้ งเรยี นเปน็ จำ� นวนมาก ดงั นน้ั เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว และเพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมขนึ้ ในสงั คม จงึ เกดิ แนวคิดที่จะต้องมกี ารคมุ้ ครองคู่สญั ญาฝ่ายท่ตี ้องเสียเปรยี บหรือฝา่ ยทไ่ี มไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรมขึ้น มสธแนวคดิ ในการคมุ้ ครองคสู่ ญั ญาหรอื กลา่ วไดว้ า่ เปน็ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค เกดิ ขนึ้ จากการทส่ี หพนั ธ์ องคก์ ารผบู้ รโิ ภคระหวา่ งประเทศซงึ่ จดั ตงั้ โดยสมาคมผบู้ รโิ ภคของประเทศตา่ งๆ รวมตวั กนั โดยมสี ำ� นกั งานใหญ่ อยู่ท่ีกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้น�ำแนวคิดนี้ส่งต่อมายังประเทศไทย ก่อให้เกิดพระราชบัญญัติ คมุ้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ขึน้ 6 ส�ำหรับเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติน้ี “เนื่องจากปัจจุบัน การเสนอขายสินค้า และ มสธ มสธบริการตา่ งๆ ตอ่ ประชาชนนบั วนั แต่จะเพ่ิมมากขึน้ ผู้ประกอบธุรกจิ การคา้ และผูป้ ระกอบธุรกิจ โฆษณา ได้น�ำวิชาการทางการตลาดและทางการโฆษณามาใช้ในการส่งเสริมการขายสินค้า และบริการซึ่งการ กระทำ� ดังกล่าวทำ� ใหผ้ ู้บริโภคตกอยใู่ นฐานะทีเ่ สยี เปรยี บ เพราะผ้บู ริโภคไมอ่ ยู่ในฐานะทท่ี ราบภาวะตลาด 5 สัญญาทางแพ่ง พาณิชย์ และธุรกิจ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน โดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายไทย กบั กฎหมายของฝรง่ั เศส องั กฤษ และเยอรมน.ี คน้ คนื 15 มนี าคม 2562. จาก http://law6101.blogspot.com/2015/01/blog-post. มสธhtml. 6 ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. ค้นคืน 15 มีนาคม 2562. จาก http://www.ocpb.go.th/news_view. php?nid=7.

แนวคิด หลักการเกย่ี วกบั สญั ญา การควบคุมสัญญาและแนวคดิ เกีย่ วกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-9 มสธและความจรงิ ทเ่ี กย่ี วกบั คณุ ภาพและราคาของสนิ คา้ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งทนั ทว่ งที นอกจากนน้ั ในบางกรณี แม้จะมีกฏหมายให้ความคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคโดยการก�ำหนดคุณภาพและราคาของสินค้าหรือ ผู้ประกอบธุรกิจโฆษณาเม่ือมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคย่อมจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นการไม่คุ้มค่า และผบู้ รโิ ภคจ�ำนวนมากไมอ่ ย่ใู นฐานะ ทจี่ ะสละเวลาและเสยี คา่ ใชจ้ ่ายในการดำ� เนนิ คดไี ดแ้ ละในบางกรณี มสธ มสธไม่อาจจะระงับหรือยับย้ัง การกระท�ำท่ีเกิดความเสียหายแก่ผู้บริโภคได้ทันท่วงที สมควรมีกฏหมายให้ ความคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภค เปน็ การทวั่ ไป โดยกำ� หนดหนา้ ทขี่ องผปู้ ระกอบธรุ กจิ การคา้ และผปู้ ระกอบ ธุรกิจ โฆษณาต่อผู้บริโภคเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมตามสมควรแก่ผู้บริโภค ตลอดจนจัดให้มีองค์กร ของรัฐ ที่เหมาะสมเพื่อตรวจตรา ดูแลและประสานงานการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ ในการให้ ความคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค จึงจ�ำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตนิ ้ีขน้ึ ”7 ต่อมาในปี 2541 มีการตราพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 โดยมี มสธวัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคด้านสัญญา และมีองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาเรียกว่า “คณะกรรมการว่าด้วยสัญญา” ตามเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ คือ “เน่ืองจากบทบัญญัติ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ในสว่ นทเ่ี กยี่ วกบั องคป์ ระกอบของคณะกรรมการคมุ้ ครอง ผู้บริโภคและการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค อันได้แก่ การตรวจตรา ก�ำกับดูแล และประสานงานการ มสธ มสธปฏบิ ตั งิ านของสว่ นราชการตา่ งๆ ในการใหค้ วามคมุ้ ครองแกผ่ บู้ รโิ ภค ยงั ไมเ่ หมาะสม และโดยทใี่ นปจั จบุ นั ปรากฏว่ามีผู้บริโภคเป็นจ�ำนวนมากยังไม่ได้รับการคุ้มครองสิทธิตามที่กฎหมายเฉพาะว่าด้วยการนั้นๆ บัญญัติไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีผู้บริโภคเป็นจ�ำนวนมากร้องเรียนว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมใน การทำ� สญั ญากบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ มากขนึ้ สมควรแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วเพอื่ ปรบั ปรงุ องคป์ ระกอบ ของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ปรับปรุงองค์กรบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค คือส�ำนักงานคณะ กรรมการคุ้มครองผู้บริโภคให้ด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และ มสธปรบั ปรงุ อำ� นาจของคณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งและคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ในการเสนอเรอื่ งใหน้ ายก- รัฐมนตรีพิจารณาออกค�ำสั่งเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติน้ีได้ในกรณีจ�ำเป็น หรือ รบี ดว่ นใหเ้ หมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ตลอดจนเพมิ่ บทบญั ญตั กิ ำ� หนดสทิ ธแิ ละการคมุ้ ครองสทิ ธขิ อง ผบู้ รโิ ภคทจี่ ะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการทำ� สญั ญาไวโ้ ดยเฉพาะ และทง้ั เปน็ การสมควรปรบั ปรงุ อตั ราโทษ เกยี่ วกบั การกระทำ� ผดิ ในเรอื่ งการโฆษณาและฉลากใหเ้ หมาะสมยงิ่ ขน้ึ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั นิ ี้ มสธ มสธขน้ึ ”8 จากทไ่ี ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ สามารถสรปุ แนวคดิ เกยี่ วกบั สญั ญาไดว้ า่ สญั ญาเกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากเหตผุ ล ในทางการค้าขาย การประกอบธุรกิจของคนต้ังแตใ่ นสมัยยุคโรมัน และได้มีการพฒั นาปรบั เปลี่ยนไปตาม พลวตั ของสังคมอยู่ตลอดเวลา แนวคิดของสัญญาในประเทศหนงึ่ อาจจะมีความเหมอื นหรอื ความแตกต่าง กับอกี ประเทศหนงึ่ ได้ 7 สำ� นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า. หมายเหตทุ า้ ย พ.ร.บ. คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522. คน้ คนื 1 เมษายน 2562. จาก มสธhttp://www.krisdika.go.th. 8 ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. หมายเหตทุ ้าย พ.ร.บ. คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2541. ค้นคืน 1 เมษายน 2562. จาก http://www.krisdika.go.th.

1-10 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เชา่ ซือ้ มสธกิจกรรม 1.1.1 1. แนวคิดในเร่อื งสญั ญาเกดิ ขึ้นในยคุ สมัยใด และเกิดขน้ึ เนอ่ื งด้วยเหตุผลใด 2. แนวคดิ ของสญั ญาในยุคกฎหมายศาสนาเปน็ อยา่ งไร จงอธิบาย มสธ มสธแนวตอบกิจกรรม1.1.1 1. สญั ญาถอื ไดว้ า่ เปน็ นติ กิ รรมอยา่ งหนงึ่ ทถี่ อื กำ� เนดิ ขนึ้ ตงั้ แตส่ มยั อาณาจกั รโรมนั โดยเหตผุ ลท่ี เกดิ สญั ญาขนึ้ นน้ั เกดิ จากเหตผุ ลในทางการค้าขาย การประกอบธุรกจิ ของคนในยุคนน้ั เน่อื งด้วยมนษุ ย์ ไม่มีความสามารถในทุกๆ ด้านเหมือนกันหรือกล่าวได้ว่ามนุษย์แต่ละคนมีความสามารถที่แตกต่างกัน บางคนมคี วามสามารถในการใชก้ ำ� ลงั บางคนมคี วามสามารถในการใชส้ ตปิ ญั ญา ดงั นนั้ เมอื่ มนษุ ยแ์ ตล่ ะคน มสธมคี วามสามารถทไี่ มเ่ หมอื นกนั จงึ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี ารแลกเปลยี่ นความสามารถเหลา่ นนั้ กบั บคุ คลอน่ื ๆ ใน ลักษณะของการซือ้ ขาย การจา้ งแรงงาน เพอื่ ใหก้ ารประกอบธรุ กจิ การคา้ ขายประสบผลส�ำเร็จไดด้ ้วยดี 2. สัญญาในยุคกฎหมายศาสนาเป็นสัญญาที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของคริสตจักรโรมัน โดยถือว่า สญั ญาตอ้ งผกู ผนั ความคดิ ทางศลี ธรรมทคี่ นตอ้ งรกั ษาคำ� พดู ทต่ี นใหไ้ ว้ และดว้ ยความคดิ ของสำ� นกั กฎหมาย ธรรมชาตคิ นทุกคนมีเหตผุ ลในตนเอง สามารถคิดและเข้าใจอะไรไดด้ ้วยตนเอง สามารถตัดสินใจได้อยา่ ง มสธ มสธถกู ตอ้ ง ดงั นนั้ บคุ คลทกุ คนควรมเี สรภี าพในการทำ� สญั ญาโดยไมจ่ ำ� กดั สถานะหรอื รปู แบบ ดงั นนั้ คนในยคุ น้ี จึงมีเสรีภาพในการท�ำสัญญามากข้ึน และจากแนวคิดในยุคดังกล่าว ก่อให้เกิดจากพัฒนาแนวคิดจนเกิด มสธ มมสสธธ มสธเป็นลทั ธเิสรีนยิ ม (Liberalism) ขึ้น

แนวคิด หลกั การเกีย่ วกบั สัญญา การควบคุมสญั ญาและแนวคิดเก่ียวกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-11 มสธเร่ืองที่ 1.1.2 หลักการเกี่ยวกับสัญญา มสธ มสธหลกั การในทางกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สญั ญาปรากฏอยหู่ ลากหลายหลกั การ อยา่ งไรกด็ ี ในเรอื่ งที่ 1.1.2 น้ี จะขอกล่าวถงึ หลักการส�ำคัญๆ ซ่ึงแบ่งได้ ดงั นี้ 1. หลักเสรีภาพในการท�ำสัญญา (Freedom of Contract) ในการท�ำสัญญาทุกประเภท หลักส�ำคัญประการหนึ่งของการท�ำสัญญา คือ คู่สัญญาต้องมี มสธอสิ รภาพหรอื มเี สรภี าพในการทจี่ ะเขา้ ทำ� สญั ญา ตกลงในขอ้ สญั ญาและรวมถงึ ขอ้ ตกลงทจ่ี ะระงบั การกอ่ ให้ เกิดสัญญา โดยหลักเสรีภาพในการท�ำสัญญานี้ มีพ้ืนฐานจากแนวคิดว่าคู่สัญญามีฐานะในการต่อรองที่ เทา่ เทยี มกนั ดงั นนั้ สญั ญาทท่ี ำ� ขนึ้ จงึ ตอ้ งเปน็ เจตนาทแ่ี ทจ้ รงิ ของคสู่ ญั ญา หรอื กลา่ วไดว้ า่ คสู่ ญั ญาประสงค์ ท่ีจะเขา้ ท�ำสัญญากันจรงิ โดยมิไดม้ ีการข่มขหู่ รอื บงั คบั ให้ทำ� สญั ญา ทำ� ให้สัญญาดงั กล่าวมผี ลบังคบั ใชไ้ ด้ มสธ มสธตัวอย่าง หลกั เสรภี าพในการท�ำสญั ญาท่ีบญั ญัตไิ ว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ เชน่ มาตรา 483 กำ� หนดไว้วา่ “คู่สัญญาซ้ือขายจะตกลงกันว่าผู้ขายจะไม่ต้องรับผิดเพื่อความช�ำรุดบกพร่องหรือเพื่อการ รอนสิทธิก็ได้” จะเหน็ ไดว้ า่ โดยหลกั แลว้ หากมคี วามชำ� รดุ บกพรอ่ งหรอื มกี ารรอนสทิ ธจิ ากทรพั ยท์ ซ่ี อื้ ขาย ผซู้ อื้ สามารถเรยี กรอ้ งเอาคา่ เสยี หายหรอื ไมช่ ำ� ระราคาทรพั ยส์ นิ ได้ อยา่ งไรกด็ ี จากหลกั เสรภี าพในการทำ� สญั ญาคสู่ ญั ญาอาจตกลงกนั วา่ ผขู้ ายจะไมต่ อ้ งรบั ผดิ เพอ่ื ความชำ� รดุ บกพรอ่ งหรอื เพอ่ื การรอนสทิ ธกิ ย็ อ่ มได้ มสธนอกจากน้ี มาตรา 544 ทีบ่ ัญญัตวิ า่ “ทรัพย์สินซ่ึงเช่านั้น ผู้เช่าจะให้เช่าช่วงหรือโอนสิทธิของ ตนอันมีในทรัพย์สินนั้นไม่ว่าท้ังหมดหรือแต่บางส่วนให้แก่บุคคลภายนอก ท่านว่าหาอาจท�ำได้ไม่ เว้น แต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอ่ืนในสัญญาเช่า” แสดงใหเ้ หน็ ถอื เสรภี าพในการทำ� สญั ญาในสว่ นทเ่ี กย่ี วกบั การเชา่ ทรพั ย์ ซงึ่ โดยหลกั ผเู้ ชา่ ไมม่ สี ทิ ธนิ ำ� ทรพั ยท์ ตี่ นเชา่ ออกใหเ้ ชา่ ชว่ ง แตห่ ากไดม้ กี ารตกลงกนั ไวก้ บั ผใู้ ห้ เช่าแล้ว ผู้เช่าย่อมสามารถที่จะกระท�ำได้ กล่าวได้ว่า การท�ำข้อตกลงหรือการตกลงดังกล่าวเป็นไปตาม มสธ มสธหลักเสรีภาพในการท�ำสัญญา (Freedom of Contract) ของคู่สัญญา อีกทั้งข้อสัญญาหรือข้อตกลง ดงั กลา่ วมไิ ดข้ ดั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน หรอื การตกลงคา่ ธรรมเนยี มในการ ซือ้ ขาย ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 457 บญั ญตั ิว่า “ค่าฤชาธรรมเนียมท�ำสัญญาซื้อขาย นั้น ผู้ซื้อผู้ขายพึงออกใช้เท่ากันทั้งสองฝ่าย” อยา่ งไรก็ดี โดยหลกั เสรีภาพในการทำ� สัญญา คู่สัญญาอาจ จะตกลงกันเป็นอยา่ งอ่ืนได้ อุทาหรณ์ มสธค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6921/2558 สัญญาจะซื้อจะขายบ้านพร้อมที่ดินเป็นนิติกรรมท่ีคู่สัญญา มอี สิ ระในการแสดงเจตนาตอ่ กนั ตาม ป.พ.พ. มาตรา 457 แต่การแสดงเจตนาดังกล่าวต้องไม่ฝา่ ฝนื หรอื แตกต่างกับบทบญั ญัติของกฎหมายอันเกีย่ วด้วยความสงบเรียบรอ้ ยหรอื ศีลธรรมอันดขี องประชาชน

1-12 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรพั ย์ เชา่ ซื้อ มสธค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5915/2548 หากผซู้ อ้ื และผขู้ ายมไิ ดต้ กลงเรอ่ื งคา่ ธรรมเนยี มในการซอ้ื ขาย ท่ีดินกันไว้เป็นอย่างอื่น ผู้ซ้ือและผู้ขายต้องออกค่าธรรมเนียมเท่ากันท้ังสองฝ่าย ตามมาตรา 457 แห่ง ป.พ.พ. เมอื่ จำ� เลยที่ 1 ผขู้ าย ขายทด่ี นิ ใหแ้ กจ่ ำ� เลยท่ี 2 ผซู้ อื้ โดยตกลงเรอ่ื งคา่ ธรรมเนยี มในการจดทะเบยี น สิทธิและนิติกรรมว่าให้ต่างฝ่ายต่างออกคนละครึ่งตามสัญญาวางมัดจ�ำจะซื้อจะขายเอกสารหมาย จ. 2 มสธ มสธจ�ำเลยที่ 1 และที่ 2 มีหนา้ ทตี่ อ้ งรับผดิ ช�ำระคา่ ธรรมเนียมดังกล่าวคนละครงึ่ โจทกจ์ ะเรยี กให้จำ� เลยท้งั สอง รว่ มรบั ผิดในเงนิ ค่าธรรมเนียมตามฟอ้ งไม่ได้ 2. ทฤษฎีความศักด์ิสิทธิ์แห่งการแสดงเจตนา (Autonomy of Will) ความศักด์ิสิทธิ์แห่งการแสดงเจนา หมายถึง การแสดงเจตนาของบุคคลผู้ท�ำสัญญาท้ังสองฝ่าย จะผูกผันคู่สัญญา และเมื่อมีผลผูกผันแล้วคู่สัญญาแล้ว คู่สัญญาฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดไม่อาจท่ีจะเปลี่ยนแปลง มสธแก้ไขได้ หากไม่ได้รับความยินยอมจากคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง นอกจากนี้แล้ว รัฐไม่อาจเข้าแทรกแซง การตกลงท�ำสัญญาของคู่สัญญาได้ เนื่องจากเป็นเสรีภาพของปัจเจกชนในการเข้าท�ำสัญญา อย่างไรก็ดี หากการท�ำสัญญาดังกล่าวเป็นการกระท�ำท่ีขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรอื เปน็ การขดั ต่อกฎหมายโดยชดั แจ้ง รัฐสามารถเขา้ แทรกแซงได้ มสธ มสธทฤษฎคี วามศกั ดสิ์ ทิ ธแิ์ หง่ การแสดงเจตนาประกอบดว้ ย ทฤษฎเี จตนา (Will Theory) คอื ทฤษฎี ที่ถือเอาเจตนาภายในเป็นส�ำคัญ กล่าวคือ การเกิดและผลของสัญญาจะมีข้ึนได้เน่ืองจากเจตนาภายใน ทแี่ ทจ้ รงิ ของคสู่ ญั ญาเทา่ น้นั หาได้พจิ ารณาเพยี งแค่เจตนาทีแ่ สดงออกมาภายนอก อยา่ งไรก็ดี ทฤษฎีน้ี จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถพิสูจน์ถึงเจตนาท่ีแท้จริงได้เท่าน้ัน และทฤษฎีการแสดงเจตนา (Declaration Theory) โดยพิจารณาจากเจตนาที่แสดงออกมาภายนอกซ่ึงชัดเจนต่อบุคคลที่รู้และได้เห็นถึงการแสดง เจตนานัน้ 9 มสธ3. หลักความเสมอภาค (Equality) นอกจากหลกั เสรภี าพในการทำ� สญั ญาและความศกั ดสิ์ ทิ ธแ์ิ หง่ การแสดงเจตนาแลว้ สญั ญาทที่ ำ� ขน้ึ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั ของความเสมอภาคดว้ ย หลกั ความเสมอภาคถอื ไดว้ า่ เปน็ พนื้ ฐานของศกั ดศ์ิ รขี องมนษุ ย์ ซ่ึงในอารยประเทศท้ังหลายต่างได้มีการรับรองหลักความเสมอภาคน้ี โดยท่ัวไปหลักการเสมอภาคน้ี มสธ มสธเป็นหลกั การทค่ี วบคุมมิให้รฐั เข้ามาใช้อำ� นาจตามอ�ำเภอใจแกบ่ ุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเฉพาะ และได้มี การรับรองและบัญญตั ิไวใ้ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู เพอื่ ค้มุ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพของประชาชน ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าตรา 151 ทบ่ี ญั ญตั วิ า่ “การใดเปน็ การแตกตา่ งกบั บทบญั ญตั ิ ของกฎหมาย ถ้ามิใช่กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้น ไม่เป็นโมฆะ” สะท้อนใหเ้ ห็นถึงการเคารพในการแสดงเจตนาของเอกชนทตี่ ั้งอยบู่ นพ้ืนฐานท่ีว่าไมข่ ดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน คู่สัญญามีอิสระและเสรีภาพในการท�ำสัญญา ในการ มสธ9 วรงค์พร จิระภาค. ปัญหาข้อสัญญาท่ีไม่เป็นธรรม ศึกษากรณีสัญญาท่ีจอดรถยนต์. หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการ ยตุ ธิ รรมระดบั สูง รนุ่ ที่ 17. หน้า 18.

แนวคิด หลกั การเกีย่ วกับสัญญา การควบคมุ สญั ญาและแนวคิดเก่ยี วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-13 มสธตัดสินใจว่าจะท�ำสัญญาผูกมัดกันหรือไม่ รวมถึงมีอ�ำนาจในการต่อรองกันในการก�ำหนดเนื้อหาในสัญญา อยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี มกัน 4. ทฤษฎีเกี่ยวหลักความยุติธรรม (Equity) มสธ มสธหลกั ความเป็นธรรมหรือหลักความยุติธรรมทเ่ี รยี กวา่ “เอ็คควติ ี”้ (Equity) เปน็ หลกั กฎหมายที่ ได้มีการพัฒนาขึ้นในยุคกลางของประเทศอังกฤษและเวลส์ ตามแนวความคิดของอริสโตเติ้ล กล่าวว่า หลกั ความยตุ ธิ รรมเปน็ การแกไ้ ขปญั หาความไมเ่ พยี งพอของกฎหมาย และความยตุ ธิ รรมมไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ เพยี ง แค่ในตัวบทกฎหมายเท่านั้น หากแต่ตอ้ งมีปัจจัยอืน่ ๆ ประกอบด้วย ในการท�ำสัญญา ความยุติธรรมถือเป็นหลักที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะต้องต้องค�ำนึง โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในกรณที ค่ี สู่ ญั ญาฝา่ ยฝา่ ยหนงึ่ มอี ำ� นาจในการตอ่ รองมากกวา่ คสู่ ญั ญาอกี ฝา่ ย ไมว่ า่ จะเปน็ อำ� นาจ มสธทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา หรืออ�ำนาจในทางอื่น ซ่ึงท�ำให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งอาจก�ำหนดเงื่อนไขใน สัญญาที่ให้ตนได้เปรียบมากจนเกินควร ส่งผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายเสียเปรียบ ดังเช่นท่ีปรากฏในสัญญา มาตรฐาน (Standard Contract) หรือสัญญาสำ� เรจ็ รูป (Adhesion Contract) ซง่ึ คสู่ ญั ญาอกี ฝ่ายหนึง่ ไม่มีโอกาสท่ีจะเจรจาต่อรองในการก�ำหนดข้อสัญญา ก่อให้เกิดการถูกเอารัดเอาเปรียบเป็นอย่างมาก มสธ มสธสำ� หรบั การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว ประเทศไทยไดม้ กี ารออกพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภคมาบงั คบั ใช้ ซงึ่ หากคสู่ ญั ญาฝา่ ยซง่ึ เปน็ ผบู้ รโิ ภคเหน็ วา่ ไมเ่ ปน็ ธรรม ผบู้ รโิ ภคสามารถนำ� คดขี นึ้ สศู่ าล เพอ่ื ใหศ้ าลใชด้ ลุ พนิ จิ พิจารณาสัญญาดังกล่าว และให้มีผลบังคับเท่าท่ีเป็นธรรม อย่างไรก็ดี ผลของสัญญาจะเป็นอย่างไรก็ขึ้น อยูก่ ับดุลพนิ ิจของศาล10 5. หลักสัญญาต้องเป็นสัญญา (Pacta sunt servanda) มสธหลักสัญญาต้องเป็นสัญญาเกิดข้ึนจากแนวคิดในทางศาสนาคริสต์เป็นส�ำคัญ ในเรื่องของหลัก ศีลธรรม โดยเช่ือว่าบุคคลทุกคนต้องรักษาค�ำพูดของตนเอง โดยอิทธิพลของศาสนานี้ได้เข้ามามีบทบาท กบั การทำ� สญั ญาดว้ ยเชน่ กนั กลา่ วคอื ในการตกลงทำ� สญั ญาของคสู่ ญั ญานน้ั เนอื่ งจากสญั ญาเกดิ ขนึ้ จาก เจตนาเสนอสนองต้องตรงกันที่แท้จริงของคู่สัญญา เมื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้แสดงเจตนาตรงกันจนเกิด เปน็ สญั ญาขนึ้ มาแลว้ กส็ ามารถเปรยี บไดก้ บั การสรา้ งกฎเกณฑห์ รอื กฎหมายขน้ึ มาระหวา่ งบคุ คลสองบคุ คล มสธ มสธที่มีสิทธิหรือหน้าท่ีท่ีจะต้องด�ำเนินการตามสัญญาอย่างเคร่งครัด ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงไม่สามารถเปล่ียนแปลง แกไ้ ขขอ้ ตกลงในสญั ญาโดยปราศจากความยนิ ยอมของคสู่ ญั ญาอกี ฝา่ ยได้ ซงึ่ หลกั สญั ญาตอ้ งเปน็ สญั ญานี้ เปน็ หลกั ทสี่ นบั สนนุ ทฤษฎคี วามศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ หง่ การแสดงเจตนา (Autonomy of Will) ใหก้ ารแสดงเจตนา ของคสู่ ัญญาเป็นไปตามทีค่ สู่ ัญญาประสงคไ์ วอ้ ย่างแท้จริง ดังทก่ี ลา่ วมาแลว้ ข้างต้น มสธ10 ณัฐปวิชญ์ คงเกียรติภาคิน. สญั ญาทางแพง่ พาณชิ ย์ และธรุ กิจ เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร (Contract LAW). คน้ คืน 20 มนี าคม 2562. จาก www.poolprop.com/Article.aspx/สัญญาทางแพ่ง-พาณิชย-์ และธุรกิจ-เหมอื นหรอื แตกต่างกัน อยา่ งไรContract-LAW?ArticleId=359.

1-14 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรพั ย์ เชา่ ซื้อ มสธ6. หลักสุจริต (Good Faith) หลักสจุ รติ หรอื bona fides ในภาษละติน แปลวา่ ซอ่ื สตั ย์หรอื สัจจะท่ีดี อยา่ งไรกด็ ี คำ� วา่ สุจรติ นน้ั เปน็ คำ� ทมี่ คี วามหมายกวา้ งและยากตอ่ การกำ� หนดหลกั เกณฑ์ หากพจิ ารณาจากความหมายของคำ� วา่ Good Faith ในภาษาองั กฤษแลว้ จะพบวา่ คำ� วา่ สจุ รติ หมายถงึ สภาวะทางจติ ใจทปี่ ระกอบดว้ ย (1) ความ มสธ มสธซื่อสตั ย์ในความเชอ่ื ถือหรือวตั ถปุ ระสงค์ (2) ความซ่อื สัตย์ต่อหนา้ ทีห่ รือหนีข้ องตน (3) ความมเี หตุผลใน การต่อรองทางการค้าอยา่ งเป็นธรรม และ (4) การไรซ้ ่ึงเจตนาหลอกหลวงหรือการแสวงหาผลประโยชน์ โดยมชิ อบ11 หากพิจารณาตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว หลักสุจริตอาจแบ่งได้ 2 ประการ คือ (1) หลกั สจุ รติ ตามความหมายทวั่ ไปซึ่งเป็นการให้ความหมายอย่างกว้างๆ เป็นมาตรฐาน ทว่ั ไปในการวดั ความประพฤตขิ องบคุ คล เชน่ มาตรา 5 ทบ่ี ญั ญตั ไิ วว้ า่ “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการ มสธช�ำระหน้ีก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระท�ำโดยสุจริต” อุทาหรณ์ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 141/2560 โจทกร์ ดู้ ีอยแู่ ลว้ วา่ เช็คพิพาทไมม่ มี ูลหนี้ แตก่ ลับรับสมอ้างเป็น เจา้ หนีเ้ งินกู้ของ ป. และน�ำเชค็ พพิ าทจาก ก. ภรยิ าโจทก์ มาฟอ้ งจำ� เลยทง้ั สอง การกระทำ� ของโจทกจ์ ึง มสธ มสธเปน็ การใชส้ ทิ ธโิ ดยไมส่ จุ รติ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 5 โจทกจ์ งึ ไมใ่ ชผ่ ทู้ รงเชค็ โดยสจุ รติ ถอื ไมไ่ ดว้ า่ โจทกเ์ ปน็ ผ้ทู รงเช็คพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 904 โจทกจ์ ึงไม่มอี ำ� นาจฟอ้ ง ค�ำพิพากษาศาลฎีกาท่ี 13267/2557 จำ� เลยท่ี 1 และที่ 3 ซง่ึ เป็นกรรมการของบริษัท ก. ลูกหนี้ รดู้ วี า่ ในวนั ท่ีจ�ำเลยท้ังสองสัง่ จ่ายเชค็ ทัง้ 17 ฉบบั พรอ้ มประทับตราส�ำคญั ของบริษัทนน้ั บริษทั ก. ลูกหนี้ ได้สน้ิ สภาพนิติบุคคลไปแล้ว แตจ่ �ำเลยท้ังสองยังถอื โอกาสท่ีบรษิ ัทเงินทุน ย. ซ่งึ เปน็ บคุ คลภายนอกไม่รู้ ถงึ การบอกเลกิ บรษิ ทั ของตนนำ� เชค็ ทสี่ ง่ั จา่ ยในนามของบรษิ ทั ก. ไปขายลดใหแ้ กบ่ รษิ ทั เงนิ ทนุ ย. อกี ซงึ่ มสธการกระทำ� ดงั กลา่ วจำ� เลยท่ี 1 และท่ี 3 ยอ่ มไดเ้ งนิ จากการขายลดเชค็ โดยทราบดวี า่ เจา้ หนไี้ มอ่ าจจะบงั คบั เอาจากบรษิ ทั ก. ลกู หนไี้ ดเ้ พราะลกู หนไ้ี ดจ้ ดทะเบยี นเลกิ บรษิ ทั ไปกอ่ นแลว้ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื ตอ่ ป.พ.พ. มาตรา 5 ซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเช็คพิพาทเป็นข้อเท็จจริงท่ีจ�ำเลยท้ังส่ีได้ยกขึ้นให้การต่อสู้โจทก์ และ จำ� เลยที่ 4 นำ� สบื ในศาลชั้นต้นแลว้ ไมใ่ ชข่ ้อเทจ็ จรงิ ใหม่ท่ีไม่ไดว้ า่ กล่าวกนั มาก่อน ศาลฎีกาจงึ มีอ�ำนาจนำ� ข้อกฎหมายมาปรับวนิ ิจฉัยวา่ จำ� เลยที่ 1 และท่ี 3 ใชส้ ิทธโิ ดยไม่สุจริตได้ จ�ำเลยท่ี 1 และท่ี 3 จึงไม่อาจ มสธ มสธอา้ งการสนิ้ สภาพบุคคลแหง่ บริษทั ก. เป็นขอ้ แกต้ ัวเพอ่ื ให้ตนพ้นจากความรบั ผดิ ตามสญั ญาคำ้� ประกนั ได้ เพราะเป็นการใชส้ ทิ ธโิ ดยไมส่ ุจรติ (2) หลกั สุจรติ ตามความหมายอย่างแคบหรอื เฉพาะเร่อื ง ซง่ึ หมายถงึ ความรูห้ รือไม่รขู้ อ้ เท็จจริง ของคู่กรณีท่ีเก่ียวข้อง เช่น มาตรา 1310 ท่ีบัญญัติว่า “บุคคลใดสร้างโรงเรือนในท่ีดินของผู้อ่ืนโดย สุจริตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที่ดินเป็นเจ้าของโรงเรือนนั้นๆ แต่ต้องใช้ค่าแห่งที่ดินเพียงที่เพิ่มข้ึนเพราะสร้าง โรงเรือนน้ันให้แก่ผู้สร้าง มสธ11 วรนารี สงิ โต. หลกั สจุ รติ . ใน แนวการศกึ ษาชดุ วชิ ากฎหมายแพง่ ลกั ษณะสญั ญาและลกั ษณะละเมดิ และหลกั กฎหมาย เปรยี บเทียบชน้ั สูง, หน่วยท่ี 1. หน้า 1-7.

แนวคิด หลกั การเกี่ยวกบั สญั ญา การควบคุมสัญญาและแนวคดิ เกีย่ วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-15 มสธแตถ่ า้ เจา้ ของทดี่ นิ สามารถแสดงไดว้ า่ มไิ ดม้ คี วามประมาทเลนิ เลอ่ จะบอกปดั ไมย่ อมรบั โรงเรอื น นั้นและเรียกให้ผู้สร้างร้ือถอนไป และท�ำที่ดินให้เป็นตามเดิมก็ได้ เว้นไว้แต่ถ้าการน้ีจะท�ำไม่ได้โดยใช้เงิน พอสมควรไซร้ ทา่ นวา่ เจา้ ของทดี่ นิ จะเรยี กใหผ้ สู้ รา้ งซอ้ื ทดี่ นิ ทงั้ หมดหรอื แตบ่ างสว่ นตามราคาตลาดกไ็ ด”้ อุทาหรณ์ มสธ มสธค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8305/2551 การพิจารณาว่าบุคคลใดสร้างโรงเรือนในที่ดินของบุคคลอื่น โดยสุจริตหรือไม่น้ันจะต้องพิจารณาในขณะท่ีปลูกโรงเรือน หากขณะปลูกสร้างโรงเรือนไม่ทราบว่าท่ีดิน เป็นของบุคคลอื่นก็ถือได้ว่าเป็นการกระท�ำโดยสุจริต แม้ภายหลังจึงทราบว่าเป็นที่ดินของบุคคลอื่นก็หา ท�ำให้การกระท�ำที่สุจริตแต่แรกกลับกลายเป็นไม่สุจริตไปแต่อย่างใด เมื่อกรณีเข้าเงื่อนไขตาม ป.พ.พ. มาตรา 1310 แล้ว จะต้องพจิ ารณาว่าการกระท�ำของจำ� เลยทำ� ให้ทีด่ นิ ของโจทกม์ คี ่าเพิม่ ขึ้นเพียงใด โจทก์ ประมาทเลนิ เลอ่ หรอื ไม่ ซง่ึ มไิ ดม้ ปี ระเดน็ ในคดนี ค้ี คู่ วามจงึ มไิ ดส้ บื พยานไวจ้ งึ ไมส่ ามารถวนิ จิ ฉยั ได้ ทศ่ี าล มสธอุทธรณ์ภาค 3 พิพากษายกฟ้องโดยให้โจทก์กับจ�ำเลยไปว่ากล่าวกนั ใหม่จงึ ชอบแลว้ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9526/2544 ค�ำวา่ “สจุ รติ ” ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์มาตรา 1310 นั้น มีความหมายว่าผู้ปลูกสร้างได้ปลูกสร้างโรงเรือนลงในท่ีดินโดยไม่ทราบว่าท่ีดินเป็นของผู้ใด แต่เข้าใจว่าเป็นท่ีดินของตนเองและเชื่อว่าตนมีสิทธิปลูกสร้างโรงเรือนในท่ีดินน้ันโดยชอบ เมื่อจ�ำเลยได้ มสธ มสธปลูกบ้านในท่ีดินพิพาทโดยอาศัยสิทธิของ ส. โดยทราบอยู่ว่าที่ดินพิพาทเป็นของ ส. และได้ขออนุญาต ส. ปลูกบ้าน จึงไม่อาจรับฟังได้ว่าจ�ำเลยได้ปลูกบ้านในท่ีดินพิพาทโดยสุจริต แม้จ�ำเลยจะต่อเติมบ้านใน ภายหลงั อกี โดย ส. และโจทกไ์ มห่ า้ มปรามขดั ขวางกจ็ ะบงั คบั ใหโ้ จทกซ์ ง่ึ เปน็ ทายาของ ส. รบั เอาบา้ นแลว้ ใชร้ าคาทดี่ นิ ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ การทจี่ ำ� เลยปลกู สรา้ งบา้ นในทด่ี นิ พพิ าทโดยอาศยั สทิ ธขิ อง ส. นน้ั มิไดท้ �ำให้ โรงเรอื นตกเป็นส่วนควบของทีด่ ินพพิ าทเป็นกรรมสิทธ์ขิ อง ส. และโจทก์แต่อย่างใดตามมาตรา 146 มสธกิจกรรม 1.1.2 1. จงบอกทฤษฎที างกฎหมายที่เกีย่ วข้องกับสัญญามาอยา่ งน้อย 2 ทฤษฎี 2. จงอธบิ ายหลกั สญั ญาต้องเป็นสัญญา พอสงั เขป มสธ มสธแนวตอบกิจกรรม1.1.2 1. ทฤษฎีทางกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับสญั ญา ได้แก่ - หลกั เสรภี าพในการทำ� สัญญา (Freedom of Contract) - ทฤษฎคี วามศักด์สิ ทิ ธ์ิแหง่ การแสดงเจตนา (Autonomy of Will) - หลกั ความเสมอภาค (Equality) - ทฤษฎีเกี่ยวหลักความยุติธรรม (Equity) มสธ- หลักสัญญาตอ้ งเปน็ สัญญา (Pacta sunt servanda)

1-16 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรัพย์ เช่าซอ้ื มสธ2. หลกั สญั ญาตอ้ งเปน็ สญั ญา หรอื Pacta sunt servanda เกดิ ขนึ้ จากแนวคดิ ในทางศาสนาครสิ ต์ เป็นสำ� คญั ในเร่อื งของหลกั ศีลธรรม โดยเชือ่ ว่าบคุ คลทุกคนตอ้ งรกั ษาค�ำพดู ของตนเอง โดยอทิ ธพิ ลของ ศาสนานีไ้ ด้เข้ามามีบทบาทกับการท�ำสญั ญาดว้ ยเชน่ กนั กล่าวคือ ในการตกลงท�ำสญั ญาของคู่สัญญานั้น เนื่องจากสัญญาเกิดขึ้นจากเจตนาเสนอสนองต้องตรงกันที่แท้จริงของคู่สัญญา เม่ือคู่สัญญาทั้งสอง มสธ มสธฝ่ายได้แสดงเจตนาตรงกันจนเกิดเป็นสัญญาข้ึนมาแล้ว ก็สามารถเปรียบได้กับการสร้างกฎเกณฑ์หรือ กฎหมายข้ึนมาระหว่างบุคคลสองบุคคล ที่มีสิทธิหรือหน้าท่ีท่ีจะต้องด�ำเนินการตามสัญญาอย่างเคร่งครัด ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อตกลงในสัญญาโดยปราศจากความยินยอมของคู่สัญญา มมสสธธ มมมสสสธธธ มมสสธธอีกฝา่ยได้

แนวคดิ หลกั การเก่ียวกบั สญั ญา การควบคมุ สัญญาและแนวคดิ เกี่ยวกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-17 มสธตอนที่ 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมสัญญา มสธ มสธโปรดอ่านหวั เรื่อง แนวคดิ และวตั ถุประสงค์ของตอนท่ี 1.2 แล้วจึงศึกษารายละเอยี ดตอ่ ไป มสธแนวคิด 1. การควบคมุ สญั ญาโดยรฐั นนั้ เปน็ การแทรกแซงหลกั เสรภี าพในการทำ� สญั ญา (Freedom of Contract) ของคสู่ ญั ญา แตเ่ นอื่ งดว้ ยความจำ� เปน็ ในการรกั ษาความยตุ ธิ รรม ทำ� ให้ รฐั จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งใชอ้ ำ� นาจในการออกกฎหมายเพอ่ื ควบคมุ สญั ญา โดยพระราชบญั ญตั ิ มสธ มสธคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2541 เป็นกฎหมายกลางของหลักการท�ำสัญญาแบบควบคุมสัญญา โดยค้มุ ครองผู้บริโภคใหไ้ ด้รับความเปน็ ธรรมในการทำ� สัญญา 2. น อกจากแนวคดิ เกย่ี วกบั การควบคมุ สญั ญาโดยพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดงั กลา่ ว แลว้ แนวคดิ ในการควบคมุ สญั ญา (Control to Contract) นยี้ งั ถกู นำ� ไปใชก้ บั กฎหมาย อื่นๆ อกี หลายฉบบั หัวเรื่อง 1.2.1 แนวคิดเกย่ี วกับการควบคุมสัญญาโดยกฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 1.2.2 แนวคิดเกยี่ วกบั การควบคมุ สัญญาโดยกฎหมายอ่นื มสธวัตถุประสงค์ เมื่อศกึ ษาตอนที่ 1.2 จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายและวนิ จิ ฉยั ปญั หาเกย่ี วกบั แนวคดิ เกยี่ วกบั การควบคมุ สญั ญาโดยพระราชบญั ญตั ิ คุ้มครองผู้บรโิ ภคได้ มสธ มสธ มสธ2. อธบิ ายและวนิ จิ ฉยั ปญั หาเกย่ี วกบั แนวคดิ เกย่ี วกบั การควบคมุ สญั ญาโดยกฎหมายอน่ื ได้

1-18 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซือ้ ขาย เช่าทรัพย์ เชา่ ซอื้ มสธเรื่องท่ี 1.2.1 แนวคิดเก่ียวกับการควบคุมสัญญาโดยพระราชบัญญัติคุ้มครอง มสธ มสธผู้บริโภค จากทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ในตอนท่ี 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกบั สัญญา จะเหน็ ไดว้ ่าสัญญาทมี่ ีอยู่ ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารพฒั นามาตงั้ แตย่ คุ โรมนั และมที ฤษฎที างกฎหมายหลายทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ งไมว่ า่ จะเปน็ หลักเสรีภาพในการท�ำสัญญา (Freedom of Contract) ทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนา (Autonomy of Will) และหลักสญั ญาตอ้ งเป็นสัญญา (Pacta sunt servanda) เปน็ ตน้ มสธสัญญาได้ก่อก�ำเนิดขึ้นจากข้อตกลงระหว่างเอกชนกับเอกชน แต่ต่อมาเม่ือสัญญาที่ตกลงกัน ระหวา่ งเอกชนกบั เอกชนนน้ั กอ่ ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ปน็ ธรรมหรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ คสู่ ญั ญาฝา่ ยหนงึ่ ฝ่ายใดมากเกินสมควร เนือ่ งจากความไม่เท่าเทยี มกันในฐานะการต่อรอง สถานะทางการเงิน ฯลฯ รฐั จงึ จ�ำเป็นตอ้ งเข้ามาแทรกแซงการทำ� สญั ญาดังกล่าว ก่อใหเ้ กิดการควบคุมสัญญาข้นึ มสธ มสธการควบคุมสัญญาโดยรัฐนั้น เป็นการแทรกแซงหลักเสรีภาพในการท�ำสัญญา (Freedom of Contract) ของคู่สัญญา แต่เนื่องด้วยความจ�ำเป็นในการรักษาความยุติธรรม ท�ำให้รัฐจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ อ�ำนาจในการออกกฎหมายเพื่อควบคุมสัญญา พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภค (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2541 ถอื ไดว้ า่ เปน็ กฎหมายกลางของการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นสญั ญา เนอื่ งจาก ในส่วนท่ีเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคและการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค มสธอันได้แก่ การตรวจตรา ก�ำกบั ดแู ล และประสานงานการปฏบิ ตั งิ านของส่วนราชการต่างๆ ในการให้ความ คมุ้ ครองแกผ่ บู้ รโิ ภค ยงั ไมเ่ หมาะสม และโดยทป่ี รากฏวา่ มผี บู้ รโิ ภคเปน็ จำ� นวนมากยงั ไมไ่ ดร้ บั การคมุ้ ครอง สทิ ธติ ามทกี่ ฎหมายเฉพาะวา่ ดว้ ยการนน้ั ๆ บญั ญตั ไิ วอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนมผี บู้ รโิ ภคเปน็ จำ� นวน มากร้องเรียนว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการท�ำสัญญากับผู้ประกอบธุรกิจมากข้ึน จึงได้มีการแก้ไข เพม่ิ เตมิ บทบญั ญตั เิ พอ่ื ปรบั ปรงุ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ปรบั ปรงุ องคก์ รบรหิ ารงาน มสธ มสธคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค คอื สำ� นกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคใหด้ ำ� เนนิ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั ใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และปรับปรุงอ�ำนาจของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและคณะกรรมการคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภค ในการเสนอเรอื่ งใหน้ ายกรฐั มนตรพี จิ ารณาออกคำ� สง่ั เกย่ี วกบั การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคตามพระราช- บัญญัตินี้ได้ในกรณีจ�ำเป็น หรือรีบด่วนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ตลอดจนเพิ่มบทบัญญัติ กำ� หนดสทิ ธแิ ละการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคทจี่ ะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการทำ� สญั ญาไวโ้ ดยเฉพาะ และ ท้ังเป็นการสมควรปรับปรุงอัตราโทษเกี่ยวกับการกระท�ำผิดในเร่ืองการโฆษณาและฉลากให้เหมาะสม มสธย่งิ ข้ึน12 12 หมายเหตุท้ายพระราชบญั ญัติคุ้มครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2541.

แนวคดิ หลักการเก่ียวกบั สญั ญา การควบคุมสญั ญาและแนวคดิ เกยี่ วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-19 มสธสำ� หรบั ประเทศไทย หลกั การควบคมุ สญั ญา (Control to Contract) มคี วามชดั เจนขน้ึ อยา่ งมาก เมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 เน่ืองจากมีบทบัญญัติให้ อ�ำนาจคณะกรรมการว่าด้วยสัญญามีอ�ำนาจก�ำหนดให้การประกอบธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการใด เป็นธุรกิจท่ีควบคุมสัญญาได้13 หรือกล่าวได้อีกนัยหน่ึงคือ การให้คณะกรรมการว่าด้วยสัญญามีอ�ำนาจ มสธ มสธเข้าไปแทรกแซงการท�ำสญั ญาระหวา่ งผู้ประกอบธรุ กิจฝ่ายหนง่ึ กับเอกชนที่เปน็ ผูบ้ ริโภคอีกฝา่ ยหนงึ่ เม่ือพิจารณาบทบัญญัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 เรื่องการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสัญญาในมาตรา 35 ทวิแล้ว จะพบว่าการประกอบธุรกิจท่ีถูกควบคุมสัญญา สัญญาที่ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทำ� กบั ผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งมลี กั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ใชข้ อ้ สญั ญาทจ่ี ำ� เปน็ ซงึ่ หากมไิ ดใ้ ชข้ อ้ สญั ญา เช่นน้ัน จะทำ� ให้ผูบ้ รโิ ภคเสยี เปรยี บผูป้ ระกอบธุรกิจเกนิ สมควร และ (2) หา้ มใช้ขอ้ สัญญาท่ไี มเ่ ปน็ ธรรม ต่อผบู้ รโิ ภค โดยท้ังนี้ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอยี ดท่ีคณะกรรมการวา่ ดว้ ยสัญญา มสธกำ� หนด และเพ่ือประโยชนข์ องผบู้ รโิ ภคเป็นส่วนรวม นอกจากน้ี มาตรา 35 จตั วา ยังก�ำหนดไว้วา่ “เมื่อ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญากำ� หนดใหส้ ญั ญาของการประกอบธรุ กจิ ทคี่ วบคมุ สญั ญาตอ้ งไมใ่ ชข้ อ้ สญั ญา ใดตามมาตรา 35 ทวิ แล้ว ถา้ สญั ญานนั้ ใช้ข้อสัญญาดงั กล่าว ให้ถือว่าสัญญานัน้ ไมม่ ีข้อสญั ญาเชน่ ว่าน้ัน” ค�ำว่า “สัญญา” หมายถึง ความตกลงกันระหว่างผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจเพื่อซื้อและ มสธ มสธขายสนิ คา้ หรอื ให้และรับบริการ14 ดังนั้น เม่ือพิจารณาจากบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่ารัฐใช้อ�ำนาจออก กฎหมายเพ่อื เขา้ แทรกแซงหลักเสรภี าพในการท�ำสญั ญา โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อคมุ้ ครองผู้บริโภค ในการ ท�ำสัญญาท่ีไมเ่ ปน็ ธรรมหรอื เอาเปรยี บคู่สญั ญาอีกฝา่ ยจนเกนิ สมควร สำ� หรบั การประกอบธรุ กจิ ทถ่ี กู ควบคมุ สญั ญาจะเปน็ ไปตามการกำ� หนดของคณะกรรมการวา่ ดว้ ย สญั ญา ทจี่ ะกำ� หนดใหก้ ารประกอบธรุ กจิ ลกั ษณะใดเปน็ ธรุ กจิ ทถี่ กู ควบคมุ สญั ญา ซง่ึ เปน็ ไปตามพระราช- มสธกฤษฎีกาก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการก�ำหนดธุรกิจท่ีควบคุมสัญญาและลักษณะของสัญญา พ.ศ. 2542 ตัวอยา่ งเช่น มาตรา 3 “คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญาจะกำ� หนดใหก้ ารประกอบธรุ กจิ ขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารใด เปน็ ธรุ กจิ ทค่ี วบคมุ สญั ญา การประกอบธรุ กจิ ขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารนนั้ จะตอ้ งเขา้ ลกั ษณะหนง่ึ ลกั ษณะใด ดังต่อไปนี้ มสธ มสธ(1) เป็นธุรกิจที่มีการใช้ข้อตกลงท่ีไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค (2) เป็นธุรกิจท่ีมีการใช้สัญญาส�ำเร็จรูปอย่างแพร่หลาย (3) เป็นธุรกิจท่ีผู้ประกอบธุรกิจมีอ�ำนาจต่อรองเหนือกว่าผู้บริโภค ท้ังน้ี โดยพิจารณาจากฐานะ ทางเศรษฐกิจ ความรู้ความเข้าใจ และความสันทัดจัดเจน” มสธ13 พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองผ้บู ริโภค (ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2541 มาตรา 35 ทว.ิ 14 พระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 มาตรา 2.

1-20 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ มสธนอกจากนแ้ี ล้วในการทำ� สัญญา จะต้องเปน็ ไปตามหลักเกณฑซ์ ึ่งไดก้ �ำหนดไวใ้ นมาตรา 4 ดงั นี้ มาตรา 4 “การก�ำหนดลักษณะของสัญญาต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) ให้ผู้บริโภคทราบสิทธิและหน้าท่ีของตนตลอดจนข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับสินค้าหรือบริการ โดยชัดเจนตามควรแก่กรณี มสธ มสธ(2) ไม่เป็นการจ�ำกัดหรือยกเว้นความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจในส่วนท่ีเป็นสาระส�ำคัญโดย ไม่มีเหตุผลท่ีสมควรเพียงพอ (3) ต้องค�ำนึงถึงความสุจริตในการประกอบธุรกิจ (4) ให้เยียวยาความเสียหายในเวลาอันสมควรในกรณีที่มีการฝ่าฝืนสัญญา (5) จัดให้มีหลักฐานท่ีชัดเจนเก่ียวกับการแสดงเจตนาของผู้ประกอบธุรกิจในเร่ืองที่เป็นสาระ ส�ำคัญต่อการคุ้มครองผู้บริโภค มสธ(6) ต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระเกินควรแก่การประกอบธุรกิจ” การควบคุมสญั ญา หรอื Control to Contract ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค ประสบ ความสำ� เรจ็ และมปี ระสทิ ธภิ าพในการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค สว่ นหนง่ึ เนอ่ื งมาจากการมมี าตรการทางกฎหมาย ในการท�ำสญั ญาแบบควบคมุ สัญญา หรือกลา่ วอีกนยั หนึ่งคือ มมี าตรการคมุ้ ครองผบู้ ริโภคก่อนทำ� สัญญา มสธ มสธโดยการน�ำเอาบทลงโทษทางอาญามาบังคับใช้ เช่น มาตรา 57 ก�ำหนดบทลงโทษไว้ว่า หากผู้ประกอบ ธรุ กจิ ผใู้ ดไมส่ ง่ มอบสญั ญาทม่ี ขี อ้ สญั ญาหรอื มขี อ้ สญั ญาและแบบถกู ตอ้ งตามมาตรา 35 ทวิ ใหแ้ กผ่ บู้ รโิ ภค ภายในระยะเวลาตามมาตรา 35 อัฏฐ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจ�ำท้ังปรับ เป็นตน้ ตวั อยา่ งคำ� พพิ ากษาศาลฎกี าทเ่ี กย่ี วกบั การควบคมุ สญั ญา ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 เชน่ มสธค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14578/2557 โจทก์บรรยายฟอ้ งและนำ� สืบวา่ จำ� เลยท่ี 1 ท�ำสัญญาเชา่ ซ้อื รถยนต์จากโจทก์แล้วผิดสัญญา โจทก์มีหนังสือบอกเลิกสัญญาพร้อมเรียกให้จ�ำเลยท้ังสองร่วมกันส่งมอบ รถยนต์ท่ีเชา่ ซื้อคืนและใชค้ า่ เสยี หายแก่โจทกต์ ามสญั ญา โดยโจทกแ์ นบสำ� เนาสญั ญาเช่าซ้ือพรอ้ มค�ำฟ้อง และอ้างสง่ ตอ่ ศาล ทง้ั มีคำ� ขอบังคบั ใหจ้ �ำเลยท้งั สองร่วมกนั ส่งมอบรถยนตท์ ่เี ช่าซื้อคนื โจทก์ หากคนื ไม่ได้ ให้ใช้ราคาพร้อมค่าเสียหาย ซึ่งสัญญาเช่าซื้อข้อ 6 ระบุความรับผิดของผู้เช่าซ้ือในกรณีทรัพย์ที่เช่าซ้ือ มสธ มสธสูญหายไว้ว่า หากเป็นความผิดของผู้เช่าซื้อ ผู้เช่าซื้อตกลงรับผิดชอบช�ำระค่าเช่าซ้ือให้แก่เจ้าของ จนครบถว้ นตามสญั ญา แตห่ ากมใิ ชค่ วามผดิ ของผเู้ ชา่ ซอ้ื ผเู้ ชา่ ซอื้ ตกลงรบั ผดิ ชอบคา่ เสยี หายหรอื เบยี้ ปรบั หรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการทวงถาม หรือค่าใช้จ่ายอ่ืนใดเพียงเท่าท่ีเจ้าของได้จ่ายไปจริงตามความจ�ำเป็น และมีเหตุผลอันสมควร ซ่ึงเห็นได้ว่า แม้รถยนต์ท่ีเช่าซื้อสูญหายอันเป็นเหตุให้สัญญาเช่าซื้อระงับไป จ�ำเลยท่ี 1 ในฐานะผู้เช่าซื้อก็ยังคงมีความรับผิดอันจะต้องใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ตามข้อสัญญาท่ีโจทก์ นำ� มาเปน็ หลกั แหง่ ขอ้ หาในการฟอ้ งคดนี ้ี สว่ นจะใชค้ า่ เสยี หายอยา่ งไร เพยี งใด ยอ่ มขนึ้ อยกู่ บั วา่ ความสญู หาย มสธของรถยนตท์ เ่ี ชา่ ซอื้ เกดิ จากความผดิ ของจำ� เลยท่ี 1 หรอื ไม่ ดงั นนั้ ตามคำ� ฟอ้ งและทางนำ� สบื ของโจทกจ์ งึ พอถือได้ว่า โจทกเ์ รียกค่าเสยี หายอนั เนือ่ งมาจากการท่ีรถยนต์ทเ่ี ช่าซ้อื สูญหายรวมอยดู่ ว้ ยแล้ว

แนวคิด หลกั การเกย่ี วกบั สัญญา การควบคมุ สัญญาและแนวคิดเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์ 1-21 มสธสญั ญาเช่าซ้อื ข้อ 6 ข้างต้นมิไดก้ �ำหนดบงั คบั ใหผ้ เู้ ช่าซื้อต้องรับผดิ ใช้ค่าเสยี หายแกเ่ จ้าของทรพั ย์ โดยเดด็ ขาดทกุ กรณี หากแตไ่ ดแ้ บง่ ความรบั ผดิ ในแตล่ ะกรณไี วต้ า่ งหากจากกนั จงึ มใิ ชก่ ารเอาเปรยี บหรอื ท�ำให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งต้องรับภาระเกินกว่าที่คาดหมายตามปกติ ท้ังข้อสัญญาดังกล่าวยังเป็นไปตาม ประกาศคณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญา เรอ่ื ง ใหธ้ รุ กจิ ใหเ้ ชา่ ซอ้ื รถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนตเ์ ปน็ ธรุ กจิ ทคี่ วบคมุ มสธ มสธสญั ญา พ.ศ. 2543 ขอ้ 4 (4) ซงึ่ ออกโดยอาศัยอำ� นาจตามมาตรา 35 ทวิ แหง่ พ.ร.บ. ค้มุ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 และเปน็ ประกาศฉบบั ทใี่ ชใ้ นขณะทำ� สญั ญาเชา่ ซอื้ คดนี ี้ ประกาศดงั กลา่ วเปน็ ประกาศทอ่ี อกมา เพื่อคุ้มครองให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้บริโภคในการเข้าท�ำสัญญาเช่าซ้ือ ดังนี้ ข้อสัญญาดังกล่าวจึงมิใช่ ข้อสัญญาท่ีไมเ่ ป็นธรรม สญั ญาเชา่ ซอื้ ขอ้ 6 กำ� หนดวา่ หากทรพั ยส์ นิ ทเี่ ชา่ ซอ้ื สญู หายโดยมใิ ชค่ วามผดิ ของผเู้ ชา่ ซอ้ื ผเู้ ชา่ ซอื้ ตกลงรับผิดชอบค่าเสียหายหรือเบ้ียปรับ หรือค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการทวงถาม การติดตามทรัพย์ท่ีเช่าซื้อ มสธค่าทนายความ หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดเพียงเท่าที่เจ้าของจ่ายไปจริงตามความจ�ำเป็นและมีเหตุผลอันสมควร ดงั นี้ จำ� เลยที่ 1 ในฐานะผูเ้ ชา่ ซ้ือจงึ ตอ้ งผูกพนั ตามข้อตกลงนั้น แตเ่ นอื่ งจากโจทกม์ ิได้นำ� สบื ให้ได้ความว่า โจทก์เสียค่าใช้จ่ายในการทวงถาม การติดตามทรัพย์ท่ีเช่าซ้ือ ค่าทนายความหรือค่าใช้จ่ายอ่ืนไปหรือไม่ เพียงใด จึงไม่ก�ำหนดให้ คงมีเพยี งค่าเสยี หายจากการท่ที รัพยท์ ี่เชา่ ซือ้ สญู หายไป ซง่ึ แมส้ ัญญาเชา่ ซ้ือจะ มสธ มสธเป็นอันระงบั ไปเพราะรถยนต์ทเี่ ชา่ ซ้อื สญู หายอันเป็นเหตุให้โจทก์ไมอ่ าจเรียกค่าเสยี หายเป็นราคารถยนต์ นั้นได้ แต่เม่ือพิจารณาว่าหากรถยนต์ที่เช่าซ้ือไม่สูญหาย และจ�ำเลยที่ 1 ช�ำระค่าเช่าซื้อจนครบถ้วนทั้ง 42 งวด โจทก์จะได้รับผลประโยชน์เป็นเงินรวม 77,209.44 บาท แต่คดีนี้โจทก์ได้รับผลประโยชน์จาก จ�ำเลยที่ 1 มาเพียง 5 งวด รถยนต์กม็ าสูญหายเสยี กอ่ น จงึ เหน็ ควรก�ำหนดคา่ เสียหายแก่โจทก์เปน็ เงนิ 68,100 บาท จ�ำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำ� ประกันต้องร่วมกับจ�ำเลยที่ 1 ใช้คา่ เสยี หายดงั กล่าวแกโ่ จทก์ มสธกิจกรรม 1.2.1 1. เหตุใดรัฐจงึ ต้องเขา้ แทรกแซงหลกั เสรภี าพในการท�ำสญั ญาของเอกชน 2. หลักการควบคุมสัญญา (Control to Contract) ในประเทศไทยมีความชัดเจนเมื่อใด และ เพราะเหตใุ ดจงึ ถอื วา่ มคี วามชัดเจน จงอธบิ าย มสธ มสธแนวตอบกิจกรรม1.2.1 1. สญั ญาได้กอ่ กำ� เนิดขึน้ จากขอ้ ตกลงระหวา่ งเอกชนกบั เอกชน แต่ตอ่ มาเมอ่ื สัญญาทตี่ กลงกัน ระหวา่ งเอกชนกบั เอกชนนน้ั กอ่ ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ปน็ ธรรมหรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ คสู่ ญั ญาฝา่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดมากเกนิ สมควร เน่ืองจากความไม่เท่าเทยี มกนั ในฐานะการต่อรอง สถานะทางการเงิน ฯลฯ รัฐจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ มาแทรกแซงการทำ� สญั ญาดงั กลา่ ว เนอื่ งดว้ ยความจำ� เปน็ ในการรกั ษาความยตุ ธิ รรม ทำ� ให้ มสธรัฐจ�ำเปน็ ทีจ่ ะต้องใช้อำ� นาจในการออกกฎหมายเพอื่ ควบคมุ สญั ญา

1-22 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซ้อื ขาย เช่าทรพั ย์ เชา่ ซ้ือ มสธ2. สำ� หรบั ประเทศไทย หลกั การควบคมุ สญั ญา (Control to Contract) มคี วามชดั เจนขน้ึ อยา่ ง มากเมื่อมกี ารประกาศใช้พระราชบัญญัติคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2541 เน่ืองจากมีบทบัญญัติ ใหอ้ ำ� นาจคณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญามอี ำ� นาจกำ� หนดใหก้ ารประกอบธรุ กจิ ขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารนนั้ เปน็ ธุรกิจท่ีควบคุมสัญญาได้ หรือกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือ การให้คณะกรรมการว่าด้วยสัญญามีอ�ำนาจเข้าไป มสธ มสธแทรกแซงการทำ� สญั ญาระหวา่ งผูป้ ระกอบธรุ กิจฝ่ายหน่งึ กับเอกชนทเ่ี ปน็ ผู้บรโิ ภคอกี ฝ่ายหน่ึง เรื่องท่ี 1.2.2 มสธแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมสัญญาโดยกฎหมายอื่น นอกจากแนวคิดเกี่ยวกบั การควบคุมสญั ญาโดยพระราชบัญญตั ิค้มุ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึง มสธ มสธถอื ไดว้ า่ เปน็ กฎหมายกลาง (ทวั่ ไป) ในการควบคมุ สญั ญาแลว้ แนวคดิ ในการควบคมุ สญั ญา (Control to Contract) น้ียงั ถูกน�ำไปใชก้ ับกฎหมายอื่นๆ อกี หลายหลายฉบับ อาทิ 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 254015 มาตรา 4 บญั ญตั วิ า่ “ขอ้ ตกลงในสญั ญาระหวา่ งผบู้ รโิ ภคกบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ การคา้ หรอื วชิ าชพี หรือในสัญญาส�ำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ท�ำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้ก�ำหนด มสธสัญญาส�ำเร็จรูป หรือผู้ซ้ือฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหน่ึงเกินสมควร เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าท่ีเป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่าน้ัน” จะเหน็ ไดว้ า่ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยขอ้ สญั ญาไมเ่ ปน็ ธรรม พ.ศ. 2540 ไดน้ ำ� หลกั การควบคมุ สญั ญา ดงั กลา่ วมาใช้ ซึง่ ถอื วา่ เป็นการแทรกแซงหลกั เสรภี าพในการแสดงเจตนา หรือหลกั ความศักดิส์ ิทธ์ใิ นการ แสดงเจตนาของคูส่ ัญญา แตเ่ พ่อื ความเปน็ ธรรม รฐั จึงจำ� เป็นตอ้ งใชอ้ ำ� นาจออกกฎหมายเข้ามาแทรกแซง มสธ มสธ15 มาตรา 3 บัญญัติว่า “ข้อสัญญา” หมายความว่า ข้อตกลง ความตกลง และความยินยอมรวมท้ังประกาศ และ ค�ำแจ้งความเพ่ือยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดด้วย “ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้เข้าท�ำสัญญาในฐานะผู้ซ้ือ ผู้เช่า ผู้เช่าซ้ือ ผู้กู้ ผู้เอาประกนั ภยั หรือผ้เู ขา้ ท�ำสญั ญาอ่ืนใดเพอ่ื ให้ได้มา ซงึ่ ทรพั ยส์ นิ บริการ หรอื ประโยชนอ์ ื่นใดโดยมคี า่ ตอบแทน ท้งั นี้ การเขา้ ท�ำ สัญญานั้นต้องเป็นไปโดยมิใช่เพ่ือการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดน้ัน และให้หมายความรวมถึงผู้เข้าท�ำสัญญาใน ฐานะผ้คู ำ้� ประกันของบคุ คลดังกล่าวซึ่งมิไดก้ ระทำ� เพอ่ื การคา้ ดว้ ย “ผปู้ ระกอบธรุ กจิ การค้าหรือวชิ าชีพ” หมายความวา่ ผู้เขา้ ท�ำสญั ญาในฐานะผขู้ าย ผใู้ ห้เชา่ ผูใ้ ห้เชา่ ซ้อื ผู้ให้กู้ ผูร้ ับ ประกันภัย หรือผู้เข้าท�ำสัญญาอื่นใดเพื่อจัดให้ซ่ึงทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อ่ืนใด ทั้งนี้ การเข้าท�ำสัญญาน้ันต้องเป็นไป มสธเพอื่ การคา้ ทรัพย์สนิ บรกิ าร หรือประโยชน์อน่ื ใดนน้ั เปน็ ทางค้าปกติของตน “สัญญาส�ำเร็จรูป” หมายความว่า สัญญาท่ีท�ำเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีการก�ำหนดข้อสัญญาที่เป็นสาระส�ำคัญไว้ ลว่ งหนา้ ไมว่ ่าจะทำ� ในรูปแบบใด ซึง่ คูส่ ัญญาฝา่ ยหน่งึ ฝา่ ยใดน�ำมาใช้ในการประกอบกิจการของตน”

แนวคิด หลักการเกีย่ วกับสัญญา การควบคมุ สัญญาและแนวคดิ เกี่ยวกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-23 มสธการท�ำสัญญาเพ่ือก่อให้เกิดความเป็นธรรมข้ึนในสังคม ซึ่งสอดคล้องกับเหตุผลในการบัญญัติพระราช- บัญญตั ิฉบับนีข้ น้ึ โดยตอนหน่ึงไดก้ ลา่ วไว้ว่า “ในปจั จบุ นั สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทำ� ใหผ้ ซู้ ง่ึ มอี ำ� นาจ ต่อรองทางเศรษฐกิจเหนือกว่าถือโอกาสอาศัยหลักดังกล่าวเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ซ่ึงมีอ�ำนาจ ตอ่ รองทางเศรษฐกจิ ดอ้ ยกวา่ อยา่ งมาก ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ปน็ ธรรมและไมส่ งบสขุ ในสงั คม สมควรทรี่ ฐั มสธ มสธจะกำ� หนดกรอบของการใชห้ ลกั ความศกั ดส์ิ ทิ ธข์ิ องการแสดงเจตนาและเสรภี าพของบคุ คล เพอื่ แกไ้ ขความ ไมเ่ ปน็ ธรรมและความไม่สงบสขุ ในสังคมดังกลา่ ว โดยกำ� หนดแนวทางให้แกศ่ าลเพอ่ื ใช้ในการพจิ ารณาว่า ข้อสัญญาหรือข้อตกลงใดที่ไม่เป็นธรรม และให้อ�ำนาจแก่ศาลที่จะสั่งให้ข้อสัญญาหรือข้อตกลงที่ไม่เป็น ธรรมนน้ั มีผลใช้บังคบั เทา่ ท่ีเป็นธรรมและพอสมควรแกก่ รณี จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ิน้”ี 16 2. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มสธมาตรา 31 บัญญตั ิวา่ “คณะกรรมการมีอ�ำนาจก�ำหนดรายละเอียดในเอกสารการซื้อขายสินค้า หรือบริการท่ีใช้วิธีการขายตรงหรือตลาดแบบตรง โดยถือเอาราคาสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคได้รับ การคุ้มครองและประเภทสินค้าหรือบริการเป็นส�ำคัญ เอกสารการซ้ือขายตามวรรคหน่ึง อย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปน้ี มสธ มสธ(1) รายละเอียดตามมาตรา 30 (2) ก�ำหนดเวลา สถานที่ และวิธีการในการช�ำระหน้ี (3) สถานท่ี และวิธีการในการส่งมอบสินค้าหรือบริการ (4) วิธีการเลิกสัญญา (5) วิธีการคืนสินค้า (6) การรับประกันสินค้า มสธ(7) การเปลี่ยนสินค้าในกรณีมีความช�ำรุดบกพร่อง...” การที่พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 ได้ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการซึ่ง อ�ำนาจก�ำหนดรายละเอียดในเอกสารการซื้อขายสินค้าหรือบริการท่ีใช้วิธีการขายตรงหรือตลาดแบบตรง โดยเอกสารซอ้ื ขายจะตอ้ งมรี ายละเอยี ดดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ การนำ� เอาแนวคดิ หรอื หลกั การ ในทำ� สัญญาแบบควบคมุ สญั ญาโดยรฐั มาใชบ้ งั คบั มสธ มสธ3. พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยพ.ศ.2551 ในปี พ.ศ. 2551 ส�ำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (สคบ.) ได้น�ำแนวคิดเก่ียวกับการทำ� สัญญาแบบควบคุมสัญญามาใช้ โดยเสนอให้มีพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจาก สินค้าท่ีไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ซึ่งแนวคิดดังกล่าวปรากฏอย่างชัดเจนในมาตรา 9 ที่บัญญัติไว้ว่า มสธ16 หมายเหตทุ ้ายพระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยข้อสญั ญาไมเ่ ปน็ ธรรม พ.ศ. 2540.

1-24 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้อื ขาย เช่าทรัพย์ เชา่ ซือ้ มสธ“ข้อตกลงระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบการที่ได้ท�ำไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดความเสียหาย และประกาศหรือ ค�ำแจ้งความของผู้ประกอบการเพื่อยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดของผู้ประกอบการต่อความเสียหาย อันเกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย จะน�ำมาอ้างเป็นข้อยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดไม่ได้” มสธ มสธ4. พระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา พ.ศ. 2551 มาตรา 6 “สัญญาดูแลผลประโยชน์ต้องท�ำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อของคู่สัญญาและผู้ดูแล ผลประโยชน์ของคู่สัญญา และอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปน้ี (1) ช่ือและที่อยู่ของคู่สัญญาและผู้ดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา (2) วันท่ีท�ำสัญญาดูแลผลประโยชน์ (3) ช่ือสัญญาต่างตอบแทนท่ีก�ำหนดระหว่างคู่สัญญา มสธ(4) ระยะเวลาหรือเง่ือนไขในการส่งมอบทรัพย์สินหรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งหนี้และ การส่งมอบเงินของคู่สัญญา (5) หลักเกณฑ์ในการโอนเงินออกจากบัญชีดูแลผลประโยชน์ (6) สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดของคู่สัญญาและผู้ดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา มสธ มสธ(7) ค่าตอบแทนและค่าบริการอ่ืนท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลผลประโยชน์ (8) รายการอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด” การที่พระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา พ.ศ. 2551 ก�ำหนดให้สัญญาดูแล ผลประโยชน์ต้องท�ำเป็นหนังสือลงลายมือช่ือของคู่สัญญาและผู้ดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา และต้อง มีรายละเอียดอย่างน้อยตามท่ีกฎหมายก�ำหนดไว้ในมาตรา 6 น้ี ถือได้ว่าเป็นการท�ำสัญญาแบบควบคุม สัญญา เพ่ือประโยชนใ์ นความยุติธรรมตอ่ คสู่ ัญญา มสธนอกจากนแ้ี ลว้ พระราชบญั ญตั กิ ารดแู ลผลประโยชนข์ องคสู่ ญั ญา พ.ศ. 2551 ยงั ไดน้ ำ� เอามาตรการ ลงโทษทางอาญา (เช่นเดียวกันกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522) และโทษทางปกครอง มาบงั คบั ใช้อีกด้วย เชน่ มาตรา 40 กำ� หนดไวว้ า่ “ผดู้ แู ลผลประโยชนข์ องคสู่ ญั ญาผใู้ ดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑ์ ทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวงทอ่ี อกตามมาตรา 10 วรรคสอง หรอื ฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา 12 มาตรา 14 มสธ มสธมาตรา 17 หรือมาตรา 22 ให้คณะกรรมการพิจารณามีค�ำส่ังลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าแสนบาท” มาตรา 47 กำ� หนดไวว้ า่ “ผ้ใู ดขัดขวางหรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามค�ำสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทีต่ ามมาตรา 34 หรือไม่อ�ำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 35 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหม่ืนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ” อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติเป็นท่ีน่าสังเกตว่าพระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา พ.ศ. 2551 นัน้ ไม่เป็นที่นิยมหรือมิไดถ้ ูกนำ� มาใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย ด้วยอาจเกิดจากเหตผุ ลหลายประการ มสธเชน่ การมหี นว่ ยงาน สคบ. ดแู ลผบู้ รโิ ภคทเ่ี พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคอยแู่ ลว้ หรอื การทำ� สญั ญา เพื่อดูแลผลประโยชน์ดังกล่าวจะต้องเสียค่าธรรมเนียมในการดูแลผลประโยชน์ท�ำให้ไม่เป็นที่นิยมต่อ ผบู้ รโิ ภค

แนวคดิ หลกั การเก่ยี วกับสญั ญา การควบคุมสัญญาและแนวคิดเกย่ี วกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-25 มสธ5. พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2551 พระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 6/2 บญั ญัติวา่ “สัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญาซื้อขายห้องชุดระหว่างผู้มีกรรมสิทธ์ิในที่ดินและอาคารตามมาตรา 6 กับผู้จะซ้ือหรือผู้ซ้ือ ห้องชุดต้องท�ำตามแบบสัญญาท่ีรัฐมนตรีประกาศก�ำหนด มสธ มสธสัญญาจะซ้ือจะขายหรือสัญญาซื้อขายห้องชุดตามวรรคหนึ่งส่วนใด มิได้ท�ำตามแบบสัญญาที่ รัฐมนตรีประกาศก�ำหนดและไม่เป็นคุณต่อผู้จะซื้อหรือผู้ซ้ือห้องชุด สัญญาส่วนนั้นไม่มีผลใช้บังคับ” ดังน้ัน การท�ำสัญญาจะซ้ือจะขายหรือสัญญาซ้ือขายห้องชุดต้องท�ำตามแบบท่ีรัฐมนตรีเป็น ผู้ก�ำหนด ซึ่งเมื่อพิจารณาดูประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ืองก�ำหนดแบบสัญญาจะซ้ือจะขายและสัญญา ซือ้ ขายห้องชดุ ตามพระราชบญั ญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 แลว้ จะพบว่า รัฐมนตรีได้กำ� หนดแบบการท�ำ สัญญาจะซื้อจะขายหรอื สญั ญาซอ้ื ขายห้องชุดไว้ว่า มสธ- สัญญาจะซ้ือจะขายห้องชุดระหว่างผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารกับผู้จะซื้อห้องชุด ให้เป็น ไปตามแบบ อ.ช. 2217 - สัญญาซื้อขายห้องชุดระหว่างผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารกับผู้ซื้อห้องชุด ให้เป็นไปตาม แบบ อ.ช. 2318 มสธ มสธการก�ำหนดแบบ อ.ช. 22 หรือแบบ อ.ช. 23 ส�ำหรับสัญญาจะซ้ือจะขายห้องชุดหรือสัญญา ซอื้ ขายหอ้ ง ถอื เปน็ การจำ� กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลในการทำ� สญั ญา ดงั นน้ั การกำ� หนดแบบดงั กลา่ ว จึงถือได้ว่าเป็นการท�ำสัญญาแบบควบคุมสัญญา (หากสัญญาที่ท�ำขึ้นไม่เป็นไปตามแบบ อ.ช. 22 หรือ แบบ อ.ช. 23 สญั ญานัน้ ตกเป็นโมฆะ) โดยสรุปแล้วหลักการท�ำสัญญาแบบควบคุมสัญญา หรือการท่ีรัฐได้เข้ามาแทรกแซงเสรีภาพใน การทำ� สญั ญาระหวา่ งเอกชนกนั เอกชนนน้ั นอกจากทไี่ ดม้ กี ารบญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค มสธพ.ศ. 2522 แลว้ แนวคดิ การควบคมุ สญั ญาดงั กลา่ วยงั ไดถ้ กู นำ� มาใชใ้ นกฎหมายอนื่ ๆ อกี หลากหลายฉบบั ด้วย อาทิ พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติขายตรงและ ตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 พระราชบญั ญตั คิ วามรับผิดตอ่ ความเสียหายท่เี กดิ ข้ึนจากสินค้าทไ่ี มป่ ลอดภัย พ.ศ. 2551 พระราชบญั ญัติการดแู ลผลประโยชน์ของคู่สญั ญา พ.ศ. 2551 และพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2551 เปน็ ต้น มสธ มสธ17 ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรอ่ื ง กำ� หนดแบบสญั ญาจะซอื้ จะขายและสญั ญาซอ้ื ขายหอ้ งชดุ ตามพระราชบญั ญตั อิ าคาร มสธชุด พ.ศ. 2522 ข้อ 1. 18 ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรอื่ ง กำ� หนดแบบสญั ญาจะซอ้ื จะขายและสญั ญาซอ้ื ขายหอ้ งชดุ ตามพระราชบญั ญตั อิ าคาร ชดุ พ.ศ. 2522 ข้อ 2.

1-26 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรพั ย์ เช่าซอื้ มสธกิจกรรม 1.2.2 1. จงยกตัวอยา่ งกฎหมายท่ีปรากฏแนวคิดเก่ยี วกบั การควบคมุ สญั ญา พรอ้ มอธบิ ายพอสงั เขป 2. เหตุใดการก�ำหนดแบบ อ.ช. 22 หรอื แบบ อ.ช. 23 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ือง มสธ มสธก�ำหนดแบบสัญญาจะซื้อจะขายและสัญญาซื้อขายห้องชุดตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 จึง ถือวา่ เปน็ การทำ� สญั ญาแบบควบคุมสญั ญา แนวตอบกิจกรรม 1.2.2 1. กฎหมายที่ปรากฏแนวคิดเกยี่ วกบั การควบคมุ สญั ญา ปรากฏอย่ใู นกฎหมายหลายฉบบั อาทิ พระราชบญั ญตั ขิ ายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ตอ่ ความเสยี หายทเี่ กดิ ขน้ึ มสธจากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา พ.ศ. 2551 และ พระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2551 สำ� หรบั พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยขอ้ สญั ญาทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม พ.ศ. 2540 ไดป้ รากฏแนวคดิ ในการวนิ จิ ฉยั ขอ้ สัญญาทไี่ ม่เปน็ ธรรมมาตรา 4 ซง่ึ บัญญตั ิวา่ “ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ การค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาส�ำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากท่ีท�ำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือ มสธ มสธวิชาชีพ หรือผู้ก�ำหนดสัญญาส�ำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร เป็น ข้อสัญญาท่ีไม่เป็นธรรม และให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าท่ีเป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่าน้ัน” จะเหน็ ไดว้ า่ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยขอ้ สญั ญาไมเ่ ปน็ ธรรม พ.ศ. 2540 ไดน้ ำ� หลกั การควบคมุ สญั ญา ดังกล่าวมาใช้ ซ่ึงถือวา่ เป็นการแทรกแซงหลกั เสรีภาพในการแสดงเจตนา หรือหลักความศักดสิ์ ิทธ์ใิ นการ แสดงเจตนาของคสู่ ญั ญา แตเ่ พ่อื ความเปน็ ธรรม รฐั จึงจ�ำเปน็ ต้องใชอ้ �ำนาจออกกฎหมายเขา้ มาแทรกแซง การท�ำสญั ญาเพอ่ื ก่อให้เกดิ ความเปน็ ธรรมขึน้ ในสังคม มสธ2. การก�ำหนดแบบ อ.ช. 22 หรือแบบ อ.ช. 23 ส�ำหรับสัญญาจะซื้อจะขายห้องชดุ หรือสญั ญา ซอื้ ขายหอ้ ง ถอื เปน็ การจำ� กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลในการทำ� สญั ญา ดงั นนั้ การกำ� หนดแบบดงั กลา่ ว มสธ มสธ มสธจงึ ถือไดว้ ่าเปน็ การทำ� สญั ญาแบบควบคมุ สัญญา

แนวคดิ หลักการเกยี่ วกบั สญั ญา การควบคมุ สญั ญาและแนวคิดเกี่ยวกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-27 มสธตอนท่ี 1.3 ความเป็นมาเกี่ยวกับกฎหมายพาณิชย์ มสธ มสธโปรดอา่ นหวั เรื่อง แนวคิด และวตั ถปุ ระสงค์ของตอนท่ี 1.3 แล้วจึงศึกษารายละเอียดตอ่ ไป มสธแนวคิด 1. กฎหมายพาณิชย์ของต่างประเทศมีลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป บางประเทศมีการ แบ่งแยกกฎหมายพาณิชย์ออกจากกฎหมายแพ่ง ในขณะท่ีบางประเทศมิได้มีการ แบ่งแยกกฎหมายพาณชิ ยอ์ อกจากกฎหมายแพ่ง มสธ มสธ2. ป ระเทศไทยมิได้มีการแบ่งแยกกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ออกจากกัน ท�ำให้ ในการพิจารณาคดีไม่ว่าจะเป็นคดีในทางแพ่งหรือคดีพาณิชย์ต่างก็ต้องน�ำประมวล กฎหมายแพง่ และพาณิชย์มาใชใ้ นการพจิ ารณา หัวเร่ือง 1.3.1 ความเป็นมาเกย่ี วกบั กฎหมายพาณชิ ย์ของต่างประเทศ 1.3.2 ความเปน็ มาเกีย่ วกับกฎหมายพาณชิ ยข์ องไทย วัตถุประสงค์ เมือ่ ศกึ ษาตอนที่ 1.3 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ มสธ1. อธิบายและวินิจฉัยปัญหาเก่ียวกับความเป็นมาเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์ของ ต่างประเทศได้ มสธ มสธ มสธ2. อธิบายและวินจิ ฉัยปัญหาเกี่ยวกับความเป็นมาเกย่ี วกับกฎหมายพาณชิ ยข์ องไทยได้

1-28 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอ้ื ขาย เชา่ ทรัพย์ เช่าซื้อ มสธเรื่องท่ี 1.3.1 ความเป็นมาเกี่ยวกับกฎหมายพาณิชย์ของต่างประเทศ มสธ มสธสำ� หรบั แนวคิดเกยี่ วกับกฎหมายพาณิชยข์ องตา่ งประเทศในเรื่องที่ 1.3.1 นี้ จะเปน็ การอธบิ ายถึง แนวคดิ ของกฎหมายพาณชิ ยแ์ ละองคก์ รศาลของประเทศทใ่ี ชร้ ะบบลายลกั ษณอ์ กั ษร (Civil Law) เหมอื น กบั ประเทศไทย และประเทศท่ีใชร้ ะบบกฎหมายจารตี ประเพณี (Common Law) โดยแบง่ ได้ ดงั น้ี 1. ประเทศฝร่ังเศส มสธประเทศฝร่งั เศลเปน็ ประเทศที่มรี ะบบกฎหมายเหมอื นกบั ประเทศไทย กลา่ วคอื เปน็ ประเทศทใี่ ช้ กฎหมายในระบบลายลกั ษณ์อกั ษร (Civil Law) แตป่ ระเทศฝร่งั เศสไดม้ กี ารแบ่งแยกประมวลกฎหมาย แพ่งและประมวลกฎหมายพาณิชย์ออกจากกัน โดยเหตุผลในการแยกน้ัน ศาสตราจารย์ ดร.ไผทชิต เอกจริยกร ได้กล่าวไว้ว่า สาเหตุในการแยกประมวลกฎหมายท้ังสองออกจากกัน เนื่องมาจากเหตุผล มสธ มสธในทางประวัติศสาตรแ์ ละเหตผุ ลในทางเทคนิค19 ส�ำหรับเหตุผลในทางประวัติศาสตร์เกิดข้ึนเนื่องจากประวัติศาสตร์จากค้าขายกับประเทศในทวีป ยโุ รปและประเทศใกลเ้ คยี ง สง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นากฎหมายทางพาณชิ ยแ์ ละระบบศาลของประเทศฝรงั่ เศส อีกด้วย ส�ำหรับเหตุผลในด้านเทคนิคนั้น สามารถกล่าวได้ว่า การมีกฎหมายเฉพาะทางพาณิชย์ถือเป็น ความจ�ำเป็นในการประกันความรวดเร็วในการด�ำเนินธุรกิจ การค้าและกฎหมายพาณิชย์ยังเป็นเคร่ืองมือ ในการอ�ำนวยความสะดวกใหแ้ กก่ ารพฒั นาในดา้ นเครดิต20 มสธประมวลกฎหมายพาณชิ ยข์ องฝรง่ั เศสไดเ้ กดิ ขนึ้ ครงั้ แรกในปี ค.ศ. 1807 และไดน้ ำ� มาใชบ้ งั คบั จรงิ ในปี ค.ศ. 1808 โดยครอบคลุมในเร่ืองใหญๆ่ ทางพาณิชย์ ซ่งึ แบ่งไดเ้ ปน็ ธรุ กรรมทางพาณชิ ย์ ธุรกรรม ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพาณชิ ย์ และธรุ กรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พอ่ คา้ พาณชิ ย์ โดยทปี่ ระมวลกฎหมายพาณชิ ยข์ อง ฝรั่งเศสได้ก�ำหนดใหธ้ รุ กรรมตา่ งๆ เหลา่ นี้เป็นธรุ กรรมทางพาณิชย์ ได้แก2่ 1 1. การซือ้ ขายสินค้าและโภคภณั ฑ์โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อจะน�ำมาขายต่อหรอื ใหเ้ ชา่ มสธ มสธ2. ธรุ กรรมทเ่ี กย่ี วข้องกบั การธนาคาร นายหนา้ การใหส้ ว่ นลดการผลิตเพอื่ จำ� หนา่ ย 3. ธุรกรรมของตวั แทนทางธุรกจิ และของผูท้ อดตลาด 4. ธรุ กรรมทเี่ กย่ี วกับการบนั เทงิ สาธารณะ 5. ธรุ กรรมเกย่ี วกับการรับขนทางบก ทางอากาศ 19 ไผทชิต เอกจริยกร. การแยกคดีพาณิชยอ์ อกจากคดแี พง่ . ดุลพาห, กนั ยายน-ธันวาคม 2550 เลม่ ที่ 3 ปี 54, หน้า 90. มสธ20 เร่ืองเดียวกัน. หน้า 90. 21 เปมิกา วิวฒั นพงศพ์ นั ธ.์ ผลกระทบของนิตกิ รรมและสัญญาอนั เนือ่ งมาจากการไมแ่ ยกกฎหมายแพง่ ออกจากกฎหมาย พาณิชย์. (สารนพิ นธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวชิ ากฎหมายธุรกิจ มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม. 2550. หน้า 53.

แนวคิด หลักการเกยี่ วกบั สญั ญา การควบคมุ สัญญาและแนวคดิ เก่ยี วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-29 มสธ6. กจิ การเหมืองแร่ 7. ธรุ กรรมทเี่ กย่ี วกบั การพาณชิ ยน์ าวี การซอื้ ขายสนิ คา้ ระหวา่ งประเทศ การประกนั ภยั ทางทะเล และสัญญาต่างๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การพาณชิ ยน์ าวี 8. ต๋ัวเงิน มสธ มสธนอกจากทปี่ ระเทศฝรัง่ เศสจะมีประมวลกฎหมายพาณิชยแ์ ลว้ ประเทศฝรงั่ เศสไดม้ ีการจดั ตั้งศาล พาณิชย์ขึ้นเพื่อแยกพิจารณาคดีแพ่งและคดีพาณิชย์ออกจากกัน ศาลพาณิชย์จะมีหน้าท่ีในการพิจารณา คดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับเร่ืองทางการค้า หรือทางปฏิบัติในทางการค้า ไม่ว่าจะเกิดจากพ่อค้าด้วยกันหรือ บคุ คลใดท่ีเก่ียวกับทางการคา้ และรวมถึงพิจารณาคดีล้มละลายด้วย22 2. ประเทศเยอรมนี23 มสธประเทศเยอรมนเี ปน็ ประเทศทใ่ี ชร้ ะบบกฎหมายเชน่ เดยี วกนั กบั ประเทศฝรง่ั เศส และประเทศไทย ส�ำหรับประมวลกฎหมายของเยอรมนีประกอบไปด้วยประมวลกฎหมายท้ังส้ิน 4 ฉบับ ได้แก่ ประมวล กฎหมายแพ่ง ประมวลกฎหมายพาณชิ ย์ ประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายประกนั สังคม จากทไ่ี ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ประเทศเยอรมนนี ไี้ ดแ้ ยกประมวลกฎหมายแพง่ และประมวล มสธ มสธกฎหมายพาณิชย์ออกจากกันเหมือนเช่นประเทศฝรั่งเศส โดยเหตุผลและความจ�ำเป็นในการแยกน้ัน สามารถกล่าวได้ว่า เนื่องจากความจ�ำเป็นในทางธุรกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างพ่อค้าซึ่งมีอยู่อย่าง หลากหลายจงึ เห็นควรท่ีจะต้องรวบรวมประเพณกี ารคา้ และจดั ทำ� ให้เปน็ ระบบอันหนงึ่ อันเดียว ส�ำหรบั การจดั ทำ� กฎหมายพาณิชยข์ องเยอรมนีได้มีการรเิ ริ่มในปี ค.ศ. 1861 แตไ่ ด้มีการปรับปรงุ แก้ไขและพัฒนามาจน ปี ค.ศ. 1900 และมีการบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดี มีข้อน่าสังเกต ประการหนึ่งคือ ประเทศเยอรมนีมีประมวลกฎหมายพาณิชย์ก่อนที่จะมีประมวลกฎหมายแพ่ง เป็น มสธระยะเวลายาวนานถึง 39 ปี โดยเหตผุ ลทีเ่ ป็นเชน่ นี้กเ็ น่ืองมาจาก กฎหมายพาณชิ ยน์ น้ั สามารถจดั ท�ำได้ งา่ ยกวา่ เพราะเป็นเร่อื งของพ่อคา้ ดว้ ยกันเอง แต่ประมวลกฎหมายแพง่ เป็นเรอื่ งของบคุ คลทั่วไป ดงั นนั้ ขอบเขตและเนอ้ื หาจงึ มกี วา้ งขวางกวา่ กฎหมายพาณชิ ย์ ทำ� ใหก้ ารรา่ งประมวลกฎหมายแพง่ ใชเ้ วลายาวนานกวา่ หลักการส�ำคัญของประมวลกฎหมายพาณิชย์ของเยอรมนีท่ีแตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่ง สามารถอธิบายได้ ดงั นี้ มสธ มสธ1. ประมวลกฎหมายพาณิชย์รบั รองหลักการในเรอื่ งเสรภี าพในการแสดงเจตนาอย่างเต็มท่ี โดย อาศยั หลกั การทวี่ า่ คสู่ ญั ญาทเ่ี ปน็ พอ่ คา้ ตา่ งมคี วามสามารถในการตอ่ รองอยา่ งเทา่ เทยี มกนั หรอื มคี วามสามารถ ในการต่อรองในระดับท่ีใกล้เคียงกัน ท�ำให้สามารถคาดการณ์ถึงผลก�ำไร ขาดทุน และความเส่ียงต่างๆ ไดก้ อ่ นทจ่ี ะแสดงเจตนาผกู พันทางกฎหมาย 2. ประมวลกฎหมายพาณิชย์รองรับการแสดงเจตนาในการก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ทางกฎหมายท่ี ง่ายกวา่ ประมวลกฎหมายแพ่ง มสธ22 พมิ ลรตั น์ วรรธนะหทยั . ครัง้ หนงึ่ ทศี่ าลฎีกาฝรัง่ เศส. วารสารศาลยุติธรรม, 2560, หนา้ 57. 23 ไผทชติ เอกจรยิ ากร. การแยกคดพี าณิชยอ์ อกจากคดแี พง่ . หนา้ 93-98.

1-30 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซือ้ ขาย เช่าทรัพย์ เชา่ ซ้อื มสธ3. ประมวลกฎหมายพาณชิ ยส์ รา้ งความยดื หยนุ่ ในนิตสิ มั พนั ธ์ให้มากขน้ึ 4. ประมวลกฎหมายพาณิชย์รองรับฐานะทางกฎหมายของผู้จัดการธุรกิจการค้า โดยผู้จัดการ การคา้ จะมอี ำ� นาจจดั การอยา่ งกวา้ งขวางในการดำ� เนนิ กจิ การซง่ึ คกู่ รณไี มส่ ามารถตกลงยกเวน้ ได้ (ผจู้ ดั การ ธุรกิจการค้า คือผู้ที่ได้รับมอบหมายหรือคนท่ีได้รับการแต่งต้ังจากเจ้าของกิจการหรือผู้แทนของเจ้าของ มสธ มสธกิจการ) 5. ประมวลกฎหมายพาณิชย์ได้สร้างระบบทะเบียนการค้าเพื่อคุ้มครองบุคคลท่ัวไป โดยพ่อค้า จำ� พวกทก่ี ฎหมายไดก้ ำ� หนดไว้ มหี นา้ ทนี่ ำ� ขอ้ มลู ของตนเองไปจดทะเบยี นตอ่ ศาลชน้ั ตน้ เพอ่ื ใหบ้ คุ คลตา่ งๆ สามารถเขา้ ไปตรวจสอบได้โดยง่าย สำ� หรบั องคก์ รศาล ประเทศเยอรมนไี ดแ้ บง่ แยกศาลออกเปน็ 2 ระบบ คอื ศาลแหง่ สหพนั ธรฐั และ ศาลของมลรฐั แตม่ ไิ ดม้ กี ารแยกศาลในการพจิ ารณาคดแี พง่ และคดพี าณชิ ย์ ดงั เชน่ ศาลของประเทศฝรง่ั เศส มสธอย่างไรก็ดี การบริหารศาลของประเทศเยอรมนีได้มีการแบ่งไปตามแผนก คือ แผนกคดีแพ่ง แผนกคดี พาณชิ ย์ แผนกคดีครอบครัวและเด็ก แผนกคดีการเดนิ เรือ และแผนกคดีอาญา ในสว่ นการพจิ ารณาคดพี าณชิ ยไ์ มป่ รากฏวา่ มกี ระบวนการพจิ ารณาคดใี นรปู แบบทเี่ ปน็ พเิ ศษ แต่ เนน้ ทก่ี ารมสี ว่ นรว่ มของผู้พิพากษาสมทบที่เป็นผู้มคี วามรูค้ วามเช่ยี วชาญด้านพาณชิ ย์มาพจิ ารณาคดี มสธ มสธ3. ประเทศสหรัฐอเมริกา24 ประเทศสหรัฐอเมริกาใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) ซ่ึงแตกต่างจาก ประเทศไทย ประเทศฝร่ังเศล และประเทศเยอรมนีดงั ท่ไี ดก้ ลา่ วมาข้างต้น สำ� หรับประเทศสหรฐั อเมริกามี ลักษณะคล้ายคลึงกับประเทศไทย กล่าวคือ แม้ว่าประเทศสหรัฐอเมริกาจะใช้ระบบกฎหมายแบบจารีต ประเพณี ไม่มีประมวลกฎหมายแบบของประเทศไทย แต่ประเทศสหรัฐอเมริกาก็มิได้มีการแบ่งแยก มสธกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ออกจากกัน หรือกล่าวได้ว่า ไม่มีกฎหมายท่ีจะแยกพิจารณาหรือ การบงั คับคดรี ะหว่างคดีแพง่ และคดีพาณิชยท์ ่ีแตกต่างกนั ในส่วนของระบบศาล ประเทศสหรัฐอเมริกาก็มิได้มีการแบ่งแยกศาลพาณิชย์กับศาลแพ่งดังเช่น ทป่ี รากฏในประเทศฝรง่ั เศส ศาลของประเทศสหรัฐอเมริกาประกอบดว้ ยระบบเพยี ง 2 ระบบ คือ ศาลของ รัฐบาลกลาง (Federal Court) และศาลมลรัฐ (State Court) เพียงเทา่ น้นั ไมม่ ีศาลพิเศษท่ีจะพิจารณา มสธ มสธคดพี าณชิ ยเ์ ปน็ การเฉพาะ มสธ24 สถาบันวิจัยและให้ค�ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โครงการวิจัยการแยกคดีพาณิชย์ออกจากคดีแพ่ง. ส�ำนักงานศาลยุติธรรม, 2550, หนา้ 3-89 – 3-111.

แนวคิด หลกั การเกย่ี วกบั สญั ญา การควบคุมสัญญาและแนวคดิ เกี่ยวกับกฎหมายพาณิชย์ 1-31 มสธกิจกรรม 1.3.1 1. ประมวลกฎหมายพาณิชย์ของฝรั่งเศสไดก้ ำ� หนดให้ธรุ กรรมใดบ้างเป็นธรุ กรรมทางพาณชิ ย์ 2. จงอธิบายหลักการส�ำคัญของประมวลกฎหมายพาณิชย์ของเยอรมนีที่แตกต่างจากประมวล มสธ มสธกฎหมายแพ่ง แนวตอบกิจกรรม 1.3.1 1. ธุรกรรมทางพาณชิ ย์ ได้แก่ 1) การซ้ือขายสินคา้ และโภคภัณฑ์โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อจะน�ำมาขายตอ่ หรอื ให้เช่า 2) ธุรกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการธนาคาร นายหนา้ การให้ส่วนลดการผลติ เพ่อื จ�ำหนา่ ย มสธ3) ธุรกรรมของตวั แทนทางธุรกจิ และของผู้ทอดตลาด 4) ธุรกรรมทเี่ กยี่ วกบั การบันเทิงสาธารณะ 5) ธรุ กรรมเก่ียวกบั การรับขนทางบก ทางอากาศ 6) กิจการเหมืองแร่ 7) ธุรกรรมท่ีเกี่ยวกับการพาณิชย์นาวี การซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ การประกันภัย มสธ มสธทางทะเล และสญั ญาต่างๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั การพาณชิ ย์นาวี 8) ต๋วั เงิน 2. หลกั การสำ� คญั ของประมวลกฎหมายพาณชิ ยข์ องเยอรมนที แี่ ตกตา่ งจากประมวลกฎหมายแพง่ สามารถอธบิ ายได้ ดังน้ี 2.1 ประมวลกฎหมายพาณิชย์รับรองหลักการในเรื่องเสรีภาพในการแสดงเจตนาอย่าง เตม็ ที่ โดยอาศยั หลกั การทวี่ า่ คสู่ ญั ญาทเ่ี ปน็ พอ่ คา้ ตา่ งมคี วามสามารถในการตอ่ รองอยา่ งเทา่ เทยี มกนั หรอื มสธมีความสามารถในการต่อรองในระดับท่ีใกล้เคียงกัน ท�ำให้สามารถคาดการณ์ถึงผลก�ำไร ขาดทุน และ ความเสยี่ งต่างๆ ไดก้ อ่ นทจ่ี ะแสดงเจตนาผูกพันทางกฎหมาย 2.2 ประมวลกฎหมายพาณิชย์รองรับการแสดงเจตนาในการก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ทาง กฎหมายท่งี ่ายกว่าประมวลกฎหมายแพง่ 2.3 ประมวลกฎหมายพาณชิ ย์สรา้ งความยดื หยุ่นในนิติสมั พนั ธ์ให้มากข้นึ มสธ มสธ2.4 ประมวลกฎหมายพาณิชย์รองรับฐานะทางกฎหมายของผู้จัดการธุรกิจการค้า โดย ผจู้ ดั การการคา้ จะมอี ำ� นาจจดั การอยา่ งกวา้ งขวางในการดำ� เนนิ กจิ การซง่ึ คกู่ รณไี มส่ ามารถตกลงยกเวน้ ได้ (ผจู้ ัดการธรุ กิจการคา้ คอื ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมายหรอื คนท่ไี ดร้ ับการแตง่ ต้ังจากเจา้ ของกจิ การหรอื ผู้แทนของ เจา้ ของกิจการ) 2.5 ประมวลกฎหมายพาณิชย์ได้สร้างระบบทะเบียนการค้าเพ่ือคุ้มครองบุคคลท่ัวไป โดย พอ่ คา้ จำ� พวกทกี่ ฎหมายไดก้ ำ� หนดไว้ มหี นา้ ทน่ี ำ� ขอ้ มลู ของตนเองไปจดทะเบยี นตอ่ ศาลชน้ั ตน้ เพอื่ ใหบ้ คุ คล มสธตา่ งๆ สามารถเข้าไปตรวจสอบได้โดยงา่ ย

1-32 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรพั ย์ เชา่ ซือ้ มสธเรื่องท่ี 1.3.2 ความเป็นมาเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์ของไทย มสธ มสธประเทศไทยเป็นประเทศท่ีใช้ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law) มีกฎหมายภายใน หลายรปู แบบไมว่ า่ จะเปน็ ในรปู แบบของประมวลกฎหมาย หรอื พระราชบญั ญตั ิ ฯลฯ ในรปู แบบของประมวล กฎหมาย ประเทศไทยประกอบไปด้วยประมวลกฎหมายทีใ่ ชบ้ งั คับในปจั จุบันทง้ั ส้ิน 7 ฉบบั อันได้แก่ - ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ - ประมวลกฎหมายอาญา มสธ- ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง่ - ประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา - ประมวลกฎหมายรัษฏากร - ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มสธ มสธ- ประมวลกฎหมายอาญาทหาร ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ถือได้ว่าเป็นกฎหมายที่ส�ำคัญ เนื่องจากเป็นกฎหมายท่ีมีการ บัญญัติในสว่ นแพง่ คือ เรอื่ งของบุคคล หนี้ ทรัพยส์ นิ ครอบครัว มรดก และในสว่ นพาณิชย์ คือ เอกเทศ สัญญาไว้ในกฎหมายฉบับเดียวกัน ดังน้ัน หากจะกล่าวถึงกฎหมายพาณิชย์ คงจ�ำเป็นท่ีจะต้องพิจารณา จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นพ้นื ฐานในการพจิ ารณา คำ� วา่ กฎหมายพาณชิ ยน์ ี้ หากพจิ ารณาความหมายจากพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 จะพบว่า มสธ“กฎหมายพาณิชย์ หมายถึง กฎหมายที่วางระเบียบความเก่ยี วพนั ทางการค้าหรือธุรกิจระหวา่ ง บุคคล เชน่ กฎหมายว่าดว้ ยการซื้อขาย การเชา่ ทรัพย์ การจำ� นอง การจ�ำนำ� ตัว๋ เงนิ หนุ้ สว่ น บริษทั ”25 แต่หากจะพิจารณาความหมายจากหนว่ ยงานหรอื บุคคล ผใู้ หค้ ำ� นิยามของกฎหมายพาณิชย์แล้ว จะพบวา่ มกี ารใหน้ ิยามความหมายท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ มสธ มสธส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้นิยามความหมายของค�ำว่า “กฎหมายพาณิชย์ หมายถงึ กฎหมายเอกชนท่ีเก่ียวกับสิทธิ หนา้ ทแี่ ละความสัมพนั ธข์ องบุคคลในส่วนท่ีเกยี่ วกบั การคา้ หรือ ธรุ กิจ เชน่ ซ้ือขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรพั ย์ เช่าซอ้ื จา้ งแรงงาน จา้ งทำ� ของ รับขน คำ�้ ประกัน จำ� นอง จำ� นำ� ตว๋ั เงนิ หนุ้ ส่วนและบรษิ ัท เปน็ ตน้ ”26 มสธ25 คน้ คืน 10 เมษายน 2562. จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. 26 สำ� นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ คน้ คนื 10 เมษายน 2562. จาก https://www.etda.or.th/terminology- detail/943.html.

แนวคดิ หลกั การเกยี่ วกบั สัญญา การควบคุมสญั ญาและแนวคิดเกยี่ วกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-33 มสธกฎหมายพาณชิ ยอ์ าจหมายถงึ “กฎหมายทคี่ มุ้ ครองความเกยี่ วพนั กนั ตามกฎหมาย ซงึ่ มแี นวคดิ แสวงหาก�ำไรเป็นที่ต้ังเป็นส�ำคัญ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับหุ้นส่วนบริษัทฯ การรับขนของ การประกันภัย การเกษตร อตุ สาหกรรม ปศสุ ัตว์ การบริการ”27 มสธ มสธ1. ความเป็นมา เนอ่ื งจากประเทศไทยมไิ ดม้ กี ารแบง่ แยกกฎหมายแพง่ และกฎหมายพาณชิ ยอ์ อกจากกนั ทำ� ใหใ้ น การพจิ ารณาคดไี มว่ า่ จะเปน็ คดใี นทางแพง่ หรอื คดพี าณชิ ยต์ า่ งกต็ อ้ งนำ� ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาใช้ในการพจิ ารณา การทศ่ี าลตอ้ งนำ� ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าใชพ้ จิ ารณาคดพี าณชิ ยท์ ำ� ใหม้ เี สยี งวพิ ากษ์ วจิ ารณข์ นึ้ เนอ่ื งจากขอ้ กำ� หนดหรอื บทบญั ญตั ทิ อี่ ยใู่ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยข์ องไทยสว่ นใหญ่ มสธเปน็ บทบญั ญตั ริ องรบั นติ กิ รรมระหวา่ งเอกชนกนั เอกชน ในลกั ษณะของการบรโิ ภคใชส้ อยในชวี ติ ประจำ� วนั แต่ความสัมพันธ์ระหว่างนักลงทุน นักธุรกิจ หรือพ่อค้าเป็นลักษณะของการซ้ือมาขายไป เป็นการลงทุน เพื่อแสวงหาก�ำไร มิใชก่ ารซ้อื มาเพอื่ อปุ โภค บริโภคในครวั เรอื น ดงั นั้น การนำ� ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณชิ ยม์ าใชก้ บั การพาณชิ ยจ์ งึ ไมส่ อดคลอ้ งและเปน็ อปุ สรรคตอ่ การคา้ และการลงทนุ เนอื่ งจากมขี อ้ จำ� กดั มสธ มสธหลายประการ28 นอกจากน้ี การทร่ี ะบบกฎหมายไทยมไิ ดแ้ ยกกฎหมายแพง่ และกฎหมายพาณชิ ยอ์ อกจากกนั อยา่ ง ชัดเจน ท�ำให้ระบบกฎหมายพาณิชย์ถูกครอบง�ำด้วยระบบกฎหมายแพ่ง กล่าวคือ ผู้ใช้กฎหมายจ�ำนวน ไม่น้อยท่ีเผลอน�ำเอาหลักของกฎหมายแพ่งมาใช้กับนิติสัมพันธ์ของพ่อค้าพาณิชย์ ท�ำให้เกิดผลลัพธ์อัน ไม่พึงประสงค์ ไม่สอดคลอ้ งกบั การท�ำงานหรอื กลไกทางพาณชิ ย์29 อุทาหรณ์ มสธค�ำพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3651/2537 สญั ญาซอ้ื ขายขา้ วระหวา่ งโจทกก์ บั จำ� เลยที่ 1 มไิ ดม้ กี ฎหมาย ก�ำหนดแบบให้ต้องท�ำเป็นหนังสือ ทั้งโจทก์และจ�ำเลยท่ี 1 มิได้ตกลงให้ท�ำสัญญาซื้อขายกันเป็นหนังสือ เมื่อจ�ำเลยท่ี 1 และโจทก์ได้ตกลงซื้อขายข้าวกันตามที่ได้เสนอสนองและตกลงกันได้ตามโทรพิมพ์ และ สำ� เนาโทรพมิ พ์ เมอ่ื คำ� เสนอและคำ� สนองของโจทกแ์ ละจำ� เลยท่ี 1 ในการซอ้ื ขายขา้ วถกู ตอ้ งตรงกนั สญั ญา ขายขา้ วระหวา่ งโจทก์และจำ� เลยที่ 1 ย่อมเกดิ ขึน้ โดยสมบรู ณ์แลว้ โจทก์และจ�ำเลยท่ี 1หาจำ� ตอ้ งทำ� สญั ญา มสธ มสธซ้ือขายข้าวเป็นหนังสอื ไม่ สัญญาซื้อขายข้าวระหว่างโจทก์และจ�ำเลยท่ี 1 เป็นสัญญาซ้ือขายสังหาริมทรัพย์ท่ีตกลงกันเป็น ราคาห้าร้อยบาทหรือกว่าน้ันข้นึ ไป เม่ือไม่ปรากฏว่า จ�ำเลยที่ 1 ได้ลงลายมือช่ือไว้ในโทรพิมพ์ดงั กลา่ วแต่ อย่างใด สัญญาซือ้ ขายขา้ วจึงไมม่ หี ลกั ฐานเปน็ หนังสือลงลายมือชอื่ จำ� เลยที่ 1 ซึ่งเป็นฝ่ายตอ้ งรบั ผิดเปน็ 27 ณฐั ปวชิ ญ์ คงเกยี รติภาคนิ . สัญญาทางแพง่ พาณชิ ย์ และธุรกจิ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร (Contract LAW). มสธ28 พฤกษา เครอื แสง. แนวทางการปฏริ ปู ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยไ์ ทย สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น. บทความ พเิ ศษ ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ . ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 1 (มกราคม–มถิ นุ ายน 2557), หน้า 93. 29 ไผทชติ เอกจริยกร. การแยกคดพี าณชิ ยอ์ อกจากคดแี พง่ . หนา้ 89.

1-34 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซ้ือขาย เชา่ ทรัพย์ เช่าซอื้ มสธส�ำคัญ ท้ังไม่มีการวางประจ�ำ และไม่มีการช�ำระหน้ีบางส่วนโดยจ�ำเลยท่ี 1 โจทก์จึงไม่มีหลักฐานในการ ฟอ้ งร้องบังคบั คดีแก่จ�ำเลยที่ 1 ตามสัญญาซ้ือขายข้าวได้ การท่ีโจทก์ผู้ซ้ือช�ำระหน้ีให้แก่จ�ำเลยที่ 1 ผู้ขาย โดยโจทก์เปิดเลตเตอร์ออฟเครดิตกับธนาคาร ต่างประเทศ มายังธนาคารในประเทศไทยนั้นต้องถือว่าธนาคารต่างประเทศเป็นเพียงตัวแทนของผู้ซ้ือใน มสธ มสธต่างประเทศ และธนาคารในประเทศไทยเป็นตัวแทนของธนาคารต่างประเทศอีกต่อหนึ่ง แม้ผู้ซ้ือใน ตา่ งประเทศจะไดช้ ำ� ระเงนิ เพอื่ เปดิ เลตเตอรอ์ อฟเครดติ แลว้ กเ็ ปน็ เพยี งการชำ� ระเงนิ ใหแ้ กต่ วั แทนของตน เทา่ นนั้ หาอาจจะถอื วา่ เปน็ การชำ� ระหนใ้ี หแ้ กผ่ ขู้ ายหรอื ตวั แทนของผขู้ ายไม่ เมอ่ื จำ� เลยที่ 1 ผขู้ ายยงั ไมไ่ ด้ ไปรบั เงินจากธนาคารตามเลตเตอรอ์ อฟเครดติ นนั้ จงึ ถือไม่ไดว้ ่าโจทกไ์ ด้ช�ำระราคาสินค้าข้าวตามสญั ญา ซ้ือขายขา้ วใหแ้ กจ่ ำ� เลยท่ี 1 แลว้ จากค�ำพิพากษาดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงการน�ำเอาหลักของกฎหมายแพ่งมาใช้เป็นหลักใน มสธการพิจารณา แต่ส�ำหรับการค้าการพาณิชย์ พ่อค้านักธุรกิจต่างยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติระหว่างกันเป็น การเฉพาะ ดังน้ันการน�ำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้กับธุรกิจ การค้าการลงทุนจึงก่อให้เกิด ความไม่สอดคลอ้ งตอ้ งกันระหวา่ งบทบัญญัตทิ างกฎหมายกับธรรมเนียมปฏบิ ตั ิทางการคา้ 30 นอกจากปญั หาดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ยงั มปี ญั หาในดา้ นกระบวนการพจิ ารณา โดยเฉพาะปญั หาใน มสธ มสธด้านความล่าช้าของกระบวนการพิจารณา เนื่องจากคดีหรือข้อพิพาททางพาณิชย์นั้นมีความซับซ้อนกว่า ข้อพิพาทหรือนิติสัมพันธ์ในทางแพ่งทั่วไป31 เวลาถือเป็นส่ิงส�ำคัญในเชิงพาณิชย์อย่างยิ่ง ท้ังต่อผู้ลงทุน หรอื นกั ธรุ กจิ หากปลอ่ ยใหก้ ระบวนการพจิ ารณาเนน่ิ นาหรอื ลา่ ชา้ อาจทำ� ใหธ้ รุ กจิ ประสบปญั หาการขาดทนุ หรอื อาจจะต้องปดิ กจิ การลงได้ เม่ือกฎหมายของไทยมิได้เป็นไปตามความต้องการหรือตามธรรมเนียมทางการค้าของนักลงทุน นักธุรกจิ ดังนน้ั ในปจั จุบันเม่ือเกดิ ขอ้ พิพาทข้นึ คูส่ ัญญาก็มกั จะเลือกที่จะใช้วิธีระงบั ขอ้ พิพาทในรปู แบบ มสธของอนญุ าโตตลุ าการมากขนึ้ เนอ่ื งจากนกั ธรุ กจิ หรอื นกั ลงทนุ สามารถทจี่ ะกำ� หนดไดว้ า่ จะใชก้ ฎหมายของ ประเทศใด หรือจะน�ำเอากฎหมายฉบับใดมาบังคับใช้กับข้อพิพาทท่ีเกิดขึ้นได้ และกระบวนการในการ พจิ ารณากม็ ีความรวดเร็วกว่าการขน้ึ ศาลปกติ อย่างไรก็ดี แม้ว่ากฎหมายของประเทศไทยยังมิได้มีการแบ่งแยกกฎหมายแพ่งและกฎหมาย พาณชิ ยอ์ อกจากกนั อยา่ งชดั เจน แตป่ ระเทศไทยไดม้ กี ารพฒั นาจดั ตงั้ องคก์ รศาลทพี่ จิ ารณาคดที างพาณชิ ย์ มสธ มสธข้ึนเป็นการเฉพาะ โดยจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางข้ึน32 เพ่ืออ�ำนวย ความยตุ ิธรรมแก่ประชาชน ในปี พ.ศ. 2540 30 พฤกษา เครอื แสง. แนวทางการปฏริ ปู ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยไ์ ทย สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น. บทความ มสธพเิ ศษ สำ� นักงานผตู้ รวจการแผ่นดิน. หน้า 99. 31 เรื่องเดยี วกนั . หน้า 109. 32 ผ้เู ขยี นเห็นว่าคดีการคา้ ระหวา่ งประเทศเปน็ คดพี าณิชย ์

แนวคดิ หลักการเก่ียวกบั สัญญา การควบคมุ สญั ญาและแนวคดิ เกีย่ วกับกฎหมายพาณชิ ย์ 1-35 มสธสำ� หรบั คดที างพาณชิ ยท์ ข่ี นึ้ สศู่ าลทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศกลาง เชน่ คดแี พง่ เก่ียวกับการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่ คดีแพ่งเกี่ยวกับการซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าหรือตราสาร การเงินระหว่างประเทศ การให้บริการระหว่างประเทศ การขนส่งระหว่างประเทศ การประกันภัยและ นติ กิ รรมทเี่ กย่ี วเนอ่ื ง คดแี พง่ เกยี่ วกบั เลตเตอรอ์ อฟเครดติ ทรสั ตร์ ซี สี รวมทง้ั การประกนั ภยั เกยี่ วกบั กจิ การ มสธ มสธดงั กลา่ ว คดแี พง่ เกยี่ วกบั การกกั เรอื การทมุ่ ตลาดและการอดุ หนนุ สนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารจากตา่ งประเทศ33 2. สถานการณ์ในปัจจุบัน กฎหมายพาณิชย์ถือเป็นกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการค้าและการพาณิชย์ แต่เน่ืองจากท่ี ประเทศไทยยังมิได้มีการบัญญัติกฎหมายพาณิชย์แยกออกจากกฎหมายแพ่ง หรือกล่าวได้ว่ายังไม่มีการ แยกกฎหมายพาณชิ ยอ์ อกจากประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ดงั นน้ั หากจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ กฎหมาย มสธพาณิชย์ของไทยปรากฏอยู่ท่ีใด อาจจะตอบได้เพียงว่ากฎหมายพาณิชย์ของไทยแทรกอยู่ในประมวล กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (ในบรรพ 3 เรอื่ งเอกเทศสญั ญา) นอกจากนี้ กฎหมายพาณิชยย์ งั มีปรากฏใหเ้ ห็นอยูใ่ นพระราชบญั ญตั ิตา่ งๆ เช่น พระราชบญั ญัติ แขง่ ขนั ทางการคา้ พ.ศ. 2542 พระราชบญั ญตั กิ ารธนาคารพาณชิ ย์ พ.ศ. 2505 พระราชบญั ญตั กิ ารตอบโต้ มสธ มสธการทมุ่ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา้ จากตา่ งประเทศ พ.ศ. 2542 พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั ชวี ติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติการซื้อสินคา้ เกษตรลว่ งหน้า พ.ศ. 2542 เปน็ ตน้ 34 ส�ำหรับในส่วนขององค์กรตุลาการ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางถือ ได้วา่ เปน็ ศาลท่ีท�ำหนา้ ท่ีตัดสนิ คดพี าณิชยต์ ่างๆ โดยมพี ันธกิจหลกั ในการพิจารณาพิพากษาคดที รพั ย์สิน ทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศ เพอ่ื คุ้มครองสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล มสธอุทาหรณ์ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5591/2551 แมจ้ ะไม่อาจถอื วา่ จ�ำเลยที่ 2 เปน็ ตัวแทนของจำ� เลยที่ 1 ใน การท�ำสัญญาจะจ�ำหน่ายหนังสือ เพราะขณะนน้ั ยังไม่มกี ารจัดตง้ั จำ� เลยท่ี 1 แตพ่ ฤตกิ ารณ์ต่อมาแสดงให้ เห็นวา่ จ�ำเลยที่ 1 ซ่งึ มจี ำ� เลยที่ 2 เปน็ กรรมการผมู้ ีอ�ำนาจกระทำ� การแทนนั้นไดร้ บั และถอื เอาประโยชน์ จากการทจี่ �ำเลยที่ 2 ตกลงทำ� สัญญากับโจทก์ โดยการจัดจำ� หน่ายหนังสือนวนยิ าย 6 เรื่องตอ่ ไป ถือว่า มสธ มสธจำ� เลยท่ี 1 โดยจำ� เลยท่ี 2 ทราบและถูกผกู พันตามขอ้ ตกลงสัญญาดังกล่าว 33 ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง. ค้นคืน 12 เมษายน 2562. จาก http://www.ipitc.coj. มสธgo.th/about.html. 34 สถาบนั วิจยั และใหค้ �ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. โครงการวจิ ัยการแยกคดพี าณชิ ย์ออกจากคดีแพ่ง. หนา้ 3-8.

1-36 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้ือขาย เชา่ ทรัพย์ เช่าซ้อื มสธการที่หนังสือนวนิยาย 11 เร่ืองยังคงมีวางจ�ำหน่ายหลังจากระยะเวลาท่ีมีการอนุญาตให้ใช้สิทธิ ผา่ นพน้ ไปแลว้ เปน็ เวลานาน ไมอ่ าจใชเ้ ปน็ ขอ้ สนั นษิ ฐานรบั ฟงั ใหเ้ ปน็ โทษแกจ่ ำ� เลยที่ 1 ได้ และการทรี่ าคา หนงั สอื นวนยิ ายแตกตา่ งกนั อาจเปน็ เพราะสาเหตอุ นื่ เชน่ มกี ารจดั พมิ พห์ นงั สอื นวนยิ ายนน้ั มาเปน็ เวลานาน โดยกรรมวิธีแบบเก่าจึงไม่สามารถจ�ำหน่ายในราคาท่ีแข่งขันกับหนังสือนวนิยายฉบับที่พิพม์ใหม่ได้ยัง มสธ มสธไม่อาจรบั ฟังได้ว่า หนงั สอื นวนยิ ายของกลางเปน็ งานทล่ี ักลอบพมิ พ์ใหมห่ รือท�ำซา้ํ โดยละเมิดลิขสิทธขิ์ อง โจทก์ ลำ� พงั การทจี่ ำ� เลยที่ 1 มหี นงั สอื นวนยิ ายดงั กลา่ ววางจำ� หนา่ ยยอ่ มไมอ่ าจถอื วา่ เปน็ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ ของโจทก์ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 13157/2555 ท่ีโจทก์อุทธรณ์ขอให้ก�ำหนดค่าเสียหายเพิ่มจากท่ีศาล ทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางก�ำหนดไว้ให้เป็นจ�ำนวนตามค�ำฟ้องของโจทก์น้ัน แมจ้ ำ� นวนทุนทรัพย์ทโ่ี จทก์อทุ ธรณข์ อใหช้ �ำระเพม่ิ ขึ้นไม่ถงึ 200,000 บาท ซงึ่ ต้องหา้ มอุทธรณ์ในปัญหา มสธข้อเท็จจริงตาม พ.ร.บ. จัดต้ังศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศและวิธีพิจารณาคดี ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2539 มาตรา 41 แตเ่ มอ่ื ศาลทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศกลางรับอุทธรณ์ส่งมายังศาลฎีกาแล้ว และปรากฏว่าศาลทรัพย์สินทางปัญญา และการคา้ ระหวา่ งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั พยานหลกั ฐานไมค่ รบถว้ น ศาลฎกี าแผนกคดที รพั ยส์ นิ ทางปญั ญา มสธ มสธและการค้าระหว่างประเทศเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมและจ�ำเป็นต้องแก้ไขข้อผิดพลาด ดังกล่าวจึงรับพิจารณาให้ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศและ วิธพี จิ ารณาคดีทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2539 มาตรา 44 จ�ำเลยที่ 5 ยืน่ ค�ำแกอ้ ทุ ธรณ์ แตอ่ ้างถึงเหตทุ ่ีจ�ำเลยท่ี 5 ไมต่ อ้ งรบั ผิดเพอ่ื ให้ยกฟอ้ ง กรณีเชน่ นี้ ต้องยื่นอุทธรณ์โต้แย้งค�ำพิพากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง เม่ือยื่นเป็น คำ� แก้อทุ ธรณ์มาโดยไมช่ อบ จึงไม่วนิ ิจฉัยให้ มสธจากท่ีได้กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปแนวคิดเก่ียวกับกฎหมายพาณิชย์ของประเทศไทยได้ว่า ประเทศไทยยงั มไิ ดม้ กี ารแบง่ ประมวลกฎหมายในสว่ นแพง่ และในสว่ นพาณชิ ยอ์ อกจากกนั ทำ� ใหก้ ารปรบั ใช้กฎหมายต้องน�ำหลักการในส่วนแพ่งมาปรับใช้กับส่วนของพาณิชย์ด้วย แต่อย่างไรก็ดี หากจะต้อง พิจารณาว่ากฎหมายพาณิชย์ของไทยปรากฏอยู่ที่ใด อาจจะตอบได้เพียงว่ากฎหมายพาณิชย์ของไทย แทรกอย่ใู นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ (ในบรรพ 3 เรอื่ งเอกเทศสญั ญา) และปรากฏให้เห็นอยู่ใน มสธ มสธพระราชบัญญัติต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการธนาคาร พาณิชย์ พ.ศ. 2505 พระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ มสธพ.ศ. 2542 เปน็ ต้น

แนวคิด หลักการเกย่ี วกบั สญั ญา การควบคุมสญั ญาและแนวคิดเกย่ี วกบั กฎหมายพาณิชย์ 1-37 มสธกิจกรรม 1.3.2 1. จงยกตัวอย่างกฎหมายพาณชิ ยใ์ นประเทศไทยไมน่ ้อยกวา่ 3 ฉบับ 2. การที่ประเทศไทยไม่แยกกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ออกจากกันก่อให้เกิดผลเสีย มสธ มสธอยา่งไร แนวตอบกิจกรรม 1.3.2 1. กฎหมายพาณชิ ยใ์ นประเทศไทย ปรากฏอย่ใู นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยใ์ นบรรพ 3 เรือ่ งเอกเทศสัญญา และปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัตติ า่ งๆ อาทิ พระราชบัญญัติประกันชวี ติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 มสธพระราชบญั ญตั กิ ารซอื้ สนิ คา้ เกษตรลว่ งหนา้ พ.ศ. 2542 เปน็ ตน้ 2. ผลเสยี ทป่ี รากฏใหเ้ หน็ เชน่ การทศ่ี าลตอ้ งนำ� ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าใชพ้ จิ ารณา คดพี าณชิ ยท์ ำ� ใหม้ เี สยี งวพิ ากษว์ จิ ารณข์ น้ึ เนอื่ งจากขอ้ กำ� หนดหรอื บทบญั ญตั ทิ อี่ ยใู่ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ของไทยส่วนใหญ่ เป็นบทบัญญัติรองรับนิติกรรมระหว่างเอกชนกันเอกชน ในลักษณะของ การบริโภคใช้สอยในชีวิตประจ�ำวัน แต่ความสัมพันธ์ระหว่างนักลงทุน นักธุรกิจ หรือพ่อค้าเป็นลักษณะ มสธ มสธของการซ้ือมาขายไป เป็นการลงทุนเพ่ือแสวงหาก�ำไร มิใช่การซื้อมาเพื่ออุปโภค บริโภคในครัวเรือน ดังนน้ั การน�ำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์มาใชก้ ับการพาณิชย์จึงไมส่ อดคลอ้ งและเปน็ อุปสรรคตอ่ การคา้ และการลงทุน เน่อื งจากมีขอ้ จำ� กัดหลายประการ นอกจากนี้ การทร่ี ะบบกฎหมายไทยมไิ ดแ้ ยกกฎหมายแพง่ และกฎหมายพาณชิ ยอ์ อกจากกนั อยา่ ง ชัดเจน ท�ำให้ระบบกฎหมายพาณิชย์ถูกครอบง�ำด้วยระบบกฎหมายแพ่ง กล่าวคือ ผู้ใช้กฎหมายจ�ำนวน ไม่น้อยที่เผลอน�ำเอาหลักของกฎหมายแพ่งมาใช้กับนิติสัมพันธ์ของพ่อค้าพาณิชย์ ท�ำให้เกิดผลลัพธ์อัน มสธ มมสสธธ มสธไม่พึงประสงค์ ไมส่ อดคล้องกับการท�ำงานหรอื กลไกทางพาณิชย์

1-38 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรพั ย์ เชา่ ซื้อ มสธบรรณานุกรม ณฐั จกั ร ปัทมสงิ ห์ ณ อยุธยา. (2560). วชิ านติ ิกรรม-สัญญา. ใน รวมคำ� บรรยาย ภาคหนึง่ สมัยท่ี 70 ปกี าร มสธ มสธศกึ ษา 2560 เล่ม 9. ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณั ฑติ ยสภา. ณฐั ปวชิ ญ์ คงเกยี รตภิ าคนิ . สญั ญาทางแพง่ พาณชิ ย์ และธรุ กจิ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร (Contract LAW), ค้นคืน 20 มีนาคม 2562. จาก www.poolprop.com/Article.aspx/สัญญาทางแพ่ง-พาณิชย์-และ ธุรกจิ -เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไรContract-LAW?ArticleId=359. ประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ือง ก�ำหนดแบบสัญญาจะซื้อจะขายและสัญญาซ้ือขายห้องชุดตามพระราชบัญญัติ อาคารชดุ พ.ศ. 2522. มสธประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ือง ก�ำหนดแบบสัญญาจะซ้ือจะขายและสัญญาซื้อขายห้องชุดตามพระราชบัญญัติ อาคารชดุ พ.ศ. 2522. เปมกิ า ววิ ฒั นพงศพ์ นั ธ.์ (2550). ผลกระทบของนติ กิ รรมและสญั ญาอนั เนอื่ งมาจากการไมแ่ ยกกฎหมายแพง่ ออก จากกฎหมายพาณชิ ย.์ (สารนพิ นธป์ รญิ ญานติ ศิ าสตรมหาบณั ฑติ ). สาขาวชิ ากฎหมายธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ . มสธ มสธไผทชิต เอกจริยกร. (2550). การแยกคดีพาณิชย์ออกจากคดีแพ่ง. ดลุ พาห, 54, 3 (กนั ยายน-ธนั วาคม 2550). พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. พฤกษา เครือแสง. (2557). แนวทางการปฏิรูปประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไทย สู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี น. บทความพิเศษ สำ� นักงานผ้ตู รวจการแผ่นดนิ , 7, 1 (มกราคม–มถิ ุนายน 2557). พิมลรตั น์ วรรธนะหทยั . (2560). ครงั้ หนง่ึ ทีศ่ าลฎีกาฝร่งั เศส, วารสารศาลยุติธรรม. พระราชบัญญตั ิคุ้มครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. 2522. มสธพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผู้บรโิ ภค (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2541. พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540. วรงคพ์ ร จริ ะภาค. (2556). ปญั หาขอ้ สญั ญาทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม ศกึ ษากรณสี ญั ญาทจ่ี อดรถยนต.์ (สารนพิ นธห์ ลกั สตู ร ผบู้ รหิ ารกระบวนการยตุ ธิ รรมระดงั สงู (บ.ย.ส.) รนุ่ ที่ 17). วทิ ยาลยั การยตุ ธิ รรม สำ� นกั งานศาลยตุ ธิ รรม. วรนารี สงิ โต. (2558). หลกั สจุ รติ . ใน แนวการศกึ ษาชดุ วชิ ากฎหมายแพง่ ลกั ษณะสญั ญาและลกั ษณะละเมดิ และ หลกั กฎหมายเปรยี บเทยี บชนั้ สงู . หนว่ ยท่ี 1. นนทบรุ :ี สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. มสธ มสธศาลทรัพยส์ นิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง, จาก http://www.ipitc.coj.go.th/about.html. สถาบันวิจัยและให้ค�ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2550). โครงการวิจัยการแยกคดีพาณิชย์ออกจาก คดแี พ่ง. ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม. สำ� นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, จาก http://www.krisdika.go.th. สำ� นกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค, จาก http://www.ocpb.go.th/news_view.php?nid=7. มสธสำ� นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์, จาก https://www.etda.or.th/terminology-detail/943.html.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook