สญั ญาซ้ือขาย 1 3-51 (3) แมม่ า้ เปน็ มา้ แข่งมาแตเ่ ดิม แสดงวา่ ได้ใชง้ านแลว้ อยู่ในบงั คบั ท่ีตอ้ งท�ำตัว๋ มสธรปู พรรณ การซือ้ มา้ ดงั กล่าวไปผสมพนั ธ์ุ ก็ยงั อยใู่ นบังคับของ ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหนึง่ ฎ. 1539/2526 แม่ม้าเป็นม้าแข่งมาแต่เดิม แสดงว่าได้ใช้งานแล้ว อยู่ในบังคับ ที่ต้องให้ท�ำต๋ัวรูปพรรณ จึงต้องเป็นสัตว์พาหนะตามความหมายของ พ.ร.บ. สัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482 มาตรา 4 ตกอยู่ใต้บังคับ ป.พ.พ. มาตรา 456 การซ้ือไปเพื่อผสมพันธุ์ ไม่เป็นเหตุให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง มสธ มสธจดทะเบียนการซ้ือขายต่อเจ้าพนักงาน (4) กระบือที่มีต๋ัวรูปพรรณแล้ว แต่ซ้ือไปฆ่าเพื่อท�ำลูกช้ินท่ีโรงงาน ไม่อยู่ใน บงั คับของ ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหน่งึ ฎ. 3523/2535 กระบือทั้ง 6 ตัว ท่ีโจทก์ขายให้จ�ำเลยทั้งสามมีตั๋วรูปพรรณแล้ว จึงเป็นสัตว์พาหนะตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พ.ศ. 2483 ซ่ึงการซื้อขายต้องท�ำเป็น หนงั สอื และจดทะเบยี นตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 456มฉิ ะนน้ั มสธเป็นโมฆะ แต่จ�ำเลยท้ังสามได้ซ้ือกระบือจากโจทก์เพ่ือน�ำไปฆ่าท�ำลูกชิ้นท่ีโรงงานของจ�ำเลยที่ 1 จึงไม่ เป็นการซื้อขายสัตว์พาหนะซึ่งต้องท�ำเป็นหนังสือและจดทะเบียนตามกฎหมายไม่เป็นโมฆะ (5) สญั ญาซื้อขายสัตวพ์ าหนะทต่ี กเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรค หนึ่ง น้ัน กรรมสทิ ธย์ิ ังเป็นของผู้ขาย และผูข้ ายจะฟอ้ งให้ผู้ซ้ือช�ำระราคาไมไ่ ด้ ฎ. 303/2503 การซ้ือกระบือน้ัน เมื่อยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตามพ มสธ มสธระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482 มาตรา 14 และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 กรรมสิทธ์ิในกระบือท่ีขายยังเป็นของผู้ขายอยู่ ผู้ขายเอากระบือมาจากผู้ซ้ือแล้วเอาไปขายให้ผู้อื่น ยังไม่ เป็นความผิดฐานลักทรัพย์ ฎ. 746/2516 จ�ำเลยซื้อโคจากโจทก์โดยไม่ได้ท�ำหนังสือสัญญา และไม่ได้จด ทะเบียนการซ้ือขายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การซื้อขายโคดังกล่าวเป็นโมฆะ โจทก์จึงไม่อาจฟ้องให้จ�ำเลย ช�ำระราคาโค มสธฎ. 3259/2527 การซ้ือขายสัตว์พาหนะถ้ามิได้ท�ำเป็นหนังสือแลจดทะเบียนต่อ พนักงานเจ้าหน้าท่ีย่อมตกเป็นโมฆะ ดังที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคแรก เม่ือผู้ร้องซื้อโคของ กลางซ่ึงสัตว์พาหนะมา แต่การซื้อขายมิได้จดทะเบียนตามกฎหมาย กรรมสิทธิ์จึงยังไม่โอนมาเป็นของผู้ ร้อง ทั้งผู้ร้องยังมิได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1382 ผู้ร้องจึงไม่เป็นเจ้าของ แท้จริงตาม ป.อ. มาตรา 36 ท่ีจะขอให้ศาลส่ังคืนโคของกลางที่ถูกริบแก่ผู้ร้อง มสธ มสธข้อสังเกต อยา่ งไรกด็ ี หากเป็นคดีผบู้ ริโภค23 ในกรณที ่ีบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมายบังคบั ให้ สัญญาที่ท�ำข้ึนระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจจะต้องท�ำตามแบบอย่างใดอย่างหน่ึง ถึงแม้สัญญาดัง กล่าวมิได้ท�ำให้ถูกต้องตามแบบน้ัน แต่หากผู้บริโภคได้วางมัดจ�ำหรือช�ำระหน้ีบางส่วนแล้ว ให้ผู้บริโภค มสธ23 ดรู ายละเอียดเพิม่ เติมใน พ.ร.บ. วธิ ีพจิ ารณาคดผี ู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 3
3-52 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซอ้ื มีอ�ำนาจฟ้องบังคับให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดท�ำสัญญาให้เป็นไปตามแบบที่กฎหมายก�ำหนดหรือช�ำระหน้ี มสธเป็นการตอบแทนได้ (พ.ร.บ. วิธพี จิ ารณาคดีผบู้ ริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 10 วรรคสอง) น่นั คอื หากเปน็ คดีผบู้ รโิ ภค แม้สญั ญาซอ้ื ขายอสงั หาริมทรัพย์หรอื สังหาริมทรัพย์ชนิดพเิ ศษนนั้ จะมิไดท้ ำ� เป็นหนังสอื และ จดทะเบยี นตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี หากผบู้ รโิ ภคไดว้ างมดั จำ� หรอื ชำ� ระหนบี้ างสว่ นแลว้ ผบู้ รโิ ภคกม็ อี ำ� นาจ ฟ้องบังคับให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดท�ำสัญญาน้ันให้เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม มสธ มสธป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหนงึ่ ได้ นอกจากน้ี ในการดำ� เนนิ คดีดงั กล่าว มิให้น�ำมาตรา 94 แห่ง ป.วิ.แพ่ง (หา้ มมิ ให้ศาลยอมรับฟังพยานบุคคลในกรณีขอสืบพยานบุคคลแทนเอกสาร เม่ือไม่สามารถน�ำเอกสารมาแสดง และกรณขี อสบื พยานบคุ คลประกอบขอ้ อา้ งอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เมอ่ื ไดน้ ำ� เอกสารมาแสดงแลว้ วา่ ยงั มขี อ้ ความ เพ่ิมเตมิ ตดั ทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขขอ้ ความในเอกสารน้ันอยู่อกี ) มาใช้บังคบั แก่ผบู้ รโิ ภคและในการ ฟอ้ งคดผี บู้ รโิ ภค และการพสิ จู นถ์ งึ นติ กิ รรมหรอื สญั ญาทท่ี ำ� ขนึ้ ระหวา่ งผบู้ รโิ ภคกบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ (พ.ร.บ. มสธวิธีพิจารณาคดผี ้บู ริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 10 วรรคสาม) หมายเหตุ บทบัญญัติตาม พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคฯ ดังกล่าว มุ่ง คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค จงึ ใหส้ ทิ ธเิ ฉพาะผบู้ รโิ ภค สำ� หรบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ หามสี ทิ ธเิ ชน่ นนั้ ไม่ ซง่ึ ยอ่ มเปน็ ไปตาม บทบัญญัติแหง่ ป.พ.พ. นัน่ เอง อนง่ึ การจดทะเบยี นทรพั ย์สนิ ตามกฎหมายอนื่ เชน่ อาวุธปนื รถยนต์ เป็นตน้ มสธ มสธหาใช่การจดทะเบียนเพอื่ โอนกรรมสทิ ธิ์แต่อย่างใด อุทาหรณ์ ฎ. 4547/2545 การซ้ือขายรถยนต์ระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยที่ 1 มีผลใช้บังคับได้ ตามกฎหมายและเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาด กรรมสิทธิ์ในรถยนต์พิพาทตกเป็นของโจทก์ แม้จะยัง ไม่ได้จดทะเบียนรถยนต์เป็นช่ือของโจทก์ ก็หาท�ำให้การซื้อขายรถยนต์ระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยที่ 1 ไม่สมบูรณแ์ ต่อยา่ งใด เพราะการจดทะเบยี นรถยนตไ์ มใ่ ช่หลักฐานแหง่ กรรมสทิ ธต์ิ ามกฎหมาย เปน็ เพียง มสธหลักฐานท่ีก�ำหนดข้ึนเพื่อความสะดวกในการควบคุมของเจ้าพนักงานเท่าน้ัน อยา่ งไรกต็ าม “เครอ่ื งจกั ร” ตาม พ.ร.บ. จดทะเบยี นเครอ่ื งจกั ร พ.ศ. 2514 การ จดทะเบยี นซอื้ ขายเครอื่ งจกั ร เปน็ การจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธ์ิ ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งจกั ร พ.ศ. 2514 มาตรา 4 ประกอบมาตรา 3 อุทาหรณ์ มสธ มสธฎ. 1455/2529 จ�ำเลยที่ 2 ขายเคร่ืองจักรผลิตปุ๋ยเคมีซึ่งมีหนังสือส�ำคัญแสดง การจดทะเบียนเคร่ืองจักรให้โจทก์ โจทก์ช�ำระราคาครบถ้วนและรับมอบเครื่องจักรแล้ว แต่ยังมิได้จด ทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ซ่ึงการโอนกรรมสิทธ์ิต้องจดทะเบียนให้ถูกต้องตาม พ.ร.บ. เคร่ืองจักร พ.ศ. มสธ2514 ด้วย ดังน้ันกรรมสิทธิ์ในตัวทรัพย์คือเคร่ืองจักรจึงยังไม่เปล่ียนมือไปยังโจทก์
สญั ญาซือ้ ขาย 1 3-53 ส�ำหรับเจา้ พนักงานผ้มู อี ำ� นาจจดทะเบยี น มีดงั น้ี มสธ1) อสังหาริมทรพั ย์ ตาม ป. ที่ดนิ พ.ศ. 2497 มาตรา 71 ให้เจ้าพนักงานทีด่ ินเปน็ พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ สำ� หรับอสงั หาริมทรัพยท์ ่ีอยใู่ นเขตท้องที่สำ� นกั งานทด่ี ินจังหวดั หรอื ส�ำนกั งานทีด่ นิ สาขานน้ั ในกรณีท่ีส�ำนักงานท่ีดินหรือส�ำนักงานที่ดินสาขานั้นน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มสธ มสธและการส่ือสารมาใช้ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมแล้ว ให้เจ้าพนักงานที่ดินเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร สำ� หรบั อสังหารมิ ทรัพย์ทอี่ ยูใ่ นเขตทอ้ งทสี่ �ำนักงานทีด่ นิ จงั หวัดหรอื สำ� นกั งานทด่ี นิ สาขาอน่ื ได้ดว้ ย เว้นแต่การจดทะเบยี นทีต่ อ้ งมีการประกาศหรอื ตอ้ งมีการรงั วดั ทั้งน้ี ตาม หลักเกณฑ์และวธิ ีการทอี่ ธิบดปี ระกาศก�ำหนดในราชกิจจานุเบกษา 2) สงั หารมิ ทรัพยช์ นิดพเิ ศษ ดงั นี้ มสธ(1) เรือ ต้องท�ำสัญญาซื้อขายต่อนายอ�ำเภอ (พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. 2457 มาตรา 32) และเจา้ ทา่ แกไ้ ขใบอนญุ าตเปลยี่ นชอ่ื ในบญั ชที ะเบยี น (พ.ร.บ. เดนิ เรอื ในนา่ นนำ้� ไทย พ.ศ. 2456 มาตรา 145) (2) แพ ตอ้ งทำ� เปน็ หนงั สอื และจดทะเบยี นตอ่ นายอำ� เภอ (พ.ร.บ. ปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 132) มสธ มสธ(3) สัตว์พาหนะ นายทะเบียน คือ นายอ�ำเภอหรือผู้ท�ำการแทน หรือผู้ซ่ึง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งต้ัง (พ.ร.บ.สัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482 มาตรา 4) เป็นผมู้ ีหน้าทจ่ี ด ทะเบียนโอนกรรมสทิ ธ์ิ (พ.ร.บ. สตั วพ์ าหนะ พ.ศ. 2482 มาตรา 14) สำ� หรบั คา่ ฤชาธรรมเนยี มในการซอื้ ขายน้ี มบี ญั ญตั ไิ วใ้ น ป.พ.พ. มาตรา 457 ดงั นี้ มาตรา 457 ค่าฤชาธรรมเนียมท�ำสัญญาซื้อขายน้ัน ผู้ซ้ือผู้ขายพึงออกใช้เท่า กันท้ังสองฝ่าย มสธตามบทบัญญัตดิ ังกล่าว ค่าฤชาธรรมเนยี มในการซอ้ื ขายนน้ั ใหผ้ ู้ซอ้ื และผ้ขู าย ออกฝา่ ยละครง่ึ อยา่ งไรกด็ ี บทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วมใิ ชบ่ ทบญั ญตั อิ นั เกยี่ วดว้ ยความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรม อนั ดขี องประชาชน คสู่ ญั ญาจงึ ตกลงกนั เปน็ อยา่ งอนื่ ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 151 จะใหฝ้ า่ ยผขู้ ายหรอื ฝา่ ย ผู้ซ้ือเป็นฝ่ายออกเองทั้งหมด หรือจะแบ่งส่วนกันเป็นประการใดก็ได้ เพียงแต่หากไม่มีข้อตกลงกันเป็น อยา่ งอ่นื ก็เปน็ ไปตามบทบัญญัติดังกลา่ ว น่นั คือ แบ่งสว่ นกันออกฝ่ายละครึ่งน่นั เอง มสธ มสธอุทาหรณ์ ฎ. 1397/2559 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 457 บัญญัติให้ผู้ซื้อ และผู้ขายพึงออกใช้เท่ากันทั้งสองฝ่าย โจทก์ท�ำสัญญากับผู้ซ้ือให้ผู้ซื้อช�ำระค่าธรรมเนียมท้ังส้ินเป็นคู่ กรณีสัญญาตกลงกันเป็นอย่างอื่น และค่าธรรมเนียมดังกล่าวผู้ซ้ือจ่ายให้แก่กรมท่ีดินไม่ใช่กรณีท่ีจ่ายให้ โจทก์ ค่าธรรมเนียมท่ีผู้ซ้ือออกแทนโจทก์จึงไม่เป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อัน มีมูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับอันเน่ืองมาจากการประกอบกิจการของโจทก์ กรณีไม่เข้าลักษณะเป็นรายรับ มสธท่ีจะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร มาตรา 91/1 (1)
3-54 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรพั ย์ เช่าซ้อื 1.2 สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดท่ีไม่มีแบบ สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดส�ำหรับสังหาริมทรัพย์ มสธทั่วไปทุกชนิดไม่มีแบบของสัญญาแต่อย่างใด แม้เป็นการตกลงด้วยวาจา ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ไม่มี การวางมัดจ�ำ หรือไม่มีการช�ำระหนี้บางส่วนประการใดเลย ก็ใช้บังคับกันได้ เพียงแต่สัญญาซื้อขาย สังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป กฎหมายก�ำหนดหลักเกณฑ์การฟ้องร้องบังคับคดีไว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสาม ดังน้ี มสธ มสธมาตรา 456 วรรคสาม บทบัญญัติท่ีกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บังคับถึงสัญญาซื้อขาย สังหาริมทรัพย์ซ่ึงตกลงกันเป็นราคาสองหมื่นบาท หรือกว่านั้นข้ึนไปด้วย ตามบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว สญั ญาซอื้ ขายสงั หารมิ ทรพั ยท์ ว่ั ไปทม่ี รี าคาตงั้ แต่ 20,000 บาทขน้ึ ไป จะ ฟอ้ งรอ้ งบงั คบั คดีได้ ตอ้ งมอี ย่างหนึ่งอย่างใด ต่อไปนี้ 1) มีหลกั ฐานเปน็ หนังสอื อย่างใดอย่างหนงึ่ ลงลายมอื ชื่อฝา่ ยทตี่ อ้ งรับผิดเป็นสำ� คญั ตัวอย่าง ก. สง่ จดหมายมาขอซอื้ แหวนเพชรวงหนง่ึ จาก ข. ในราคา 80,000 บาท ข. ตกลง มสธโดยนดั สง่ มอบแหวนและชำ� ระราคาในวนั สนิ้ เดอื น ถงึ ถงึ กำ� หนดนดั ก. เปลยี่ นใจไมซ่ อื้ เชน่ นี้ ข. ใชจ้ ดหมาย ทม่ี ีการลงลายมอื ชื่อทา้ ยจดหมายของ ก. เป็นหลกั ฐานในการฟ้องรอ้ งบังคบั คดีได้ ข้อสังเกต อยา่ งไรกด็ ี หากเปน็ คดผี บู้ รโิ ภค24 บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายทบ่ี งั คบั ใหน้ ติ กิ รรมใดตอ้ งมหี ลกั ฐานเป็นหนังสอื ลงลายมือช่ือฝ่ายท่ีตอ้ งรบั ผิดจงึ ฟ้องรอ้ งบังคับคดไี ด้น้นั มิใหน้ ำ� มาใชบ้ งั คบั แกผ่ บู้ ริโภคใน มสธ มสธการฟอ้ งบงั คบั ใหผ้ ปู้ ระกอบธรุ กจิ ชำ� ระหน้ี (พ.ร.บ. วธิ พี จิ ารณาคดผี บู้ รโิ ภค พ.ศ. 2551 มาตรา 10 วรรคหนง่ึ ) และในการด�ำเนินคดดี ังกล่าว มิให้น�ำมาตรา 94 แหง่ ป.วิ.แพ่ง (ห้ามมิใหศ้ าลยอมรับฟังพยานบคุ คลใน กรณขี อสบื พยานบุคลแทนพยานเอกสาร เม่อื ไมส่ ามารถนำ� เอกสารมาแสดง และกรณขี อสืบพยานบคุ คล ประกอบข้ออ้างอยา่ งใดอย่างหนง่ึ เมอ่ื ไดน้ �ำเอกสารมาแสดงแลว้ ว่า ยังมขี ้อความเพมิ่ เติม ตดั ทอน หรอื เปลย่ี นแปลงแกไ้ ขขอ้ ความในเอกสารนน้ั อยอู่ กี ) มาใชบ้ งั คบั แกผ่ บู้ รโิ ภคในการฟอ้ งคดผี บู้ รโิ ภคและการพสิ จู น์ ถึงนติ กิ รรมหรือสญั ญาท่ีทำ� ขน้ึ ระหวา่ งผู้บริโภคกบั ผูป้ ระกอบธรุ กิจ (พ.ร.บ. วิธพี จิ ารณาคดีผ้บู รโิ ภค พ.ศ. มสธ2551 มาตรา 10 วรรคสาม) หมายเหตุ บทบญั ญตั ิตาม พ.ร.บ. วิธพี ิจารณาคดีผบู้ รโิ ภคฯ ดงั กลา่ ว มุ่งค้มุ ครองผบู้ ริโภค จึงให้สิทธิเฉพาะผู้บริโภค ส�ำหรับผู้ประกอบธุรกิจหามีสิทธิเช่นนั้นไม่ ซ่ึงย่อมเป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. น่นั เอง 2) ไดว้ างประจำ� ไว้ หรอื มกี ารวางมัดจำ� น่ันเอง สว่ นมดั จำ� ดงั กลา่ วจะมากหรือนอ้ ยเพียงใด มสธ มสธไมใ่ ชส่ าระสำ� คญั หากไดม้ กี ารวางมดั จำ� ไวย้ อ่ มฟอ้ งรอ้ งบงั คบั คดไี ด้ มดั จำ� นนั้ ตอ้ งใหแ้ กก่ นั ไวใ้ นวนั ทำ� สญั ญา ซ้ือขาย ซง่ึ จะเปน็ เงนิ หรอื ทรัพยส์ ินอย่างอ่นื กไ็ ด้ ข้อสังเกต กรณขี อ้ ตกลงใหผ้ ซู้ อื้ ตอ้ งจดั หาอปุ กรณม์ าประกอบกบั ทรพั ยส์ นิ ทผ่ี ขู้ ายจะสง่ มอบใหแ้ กผ่ ซู้ อื้ ด้วย อปุ กรณท์ ่ีผูซ้ ือ้ จดั หามาให้ผู้ขายในลักษณะดงั กล่าวมิใช่มดั จำ� แต่ประการใด มสธ24 ดูรายละเอียดเพ่มิ เติมใน พ.ร.บ. วธิ พี จิ ารณาคดีผบู้ ริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 3
สญั ญาซือ้ ขาย 1 3-55 อุทาหรณ์ มสธฎ. 2014/2538 โจทก์ซ้ือรถยนต์บรรทุกจากจ�ำเลย ในการซื้อรถยนต์บรรทุกดังกล่าว โจทก์ จะต้องเป็นผู้จัดหาเครนและปั๊มฉีดน้�ำมันไฮดรอลิกมาให้จ�ำเลย เพ่ือท่ีให้จ�ำเลยน�ำไปติดต้ังบนรถยนต์ บรรทุก ดังนั้นเครนและปั๊มฉีดน�้ำมันไฮดรอลิกที่โจทก์มอบให้จ�ำเลยยังเป็นทรัพย์สินของโจทก์ซึ่งจ�ำเลย จะตอ้ งนำ� มาตดิ ตง้ั บนรถยนตบ์ รรทกุ และมอบใหโ้ จทกพ์ รอ้ มรถยนตบ์ รรทกุ ทโี่ จทกส์ งั่ ซอ้ื จงึ ไมม่ ลี กั ษณะ มสธ มสธเป็นมัดจ�ำตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 เพราะไม่อาจริบหรือจัดเอาเป็นการใช้เงิน บางส่วนในเมื่อมีการละเลยไม่ช�ำระหน้ี หรือในเม่ือมีการขอปฏิบัติการช�ำระหนี้ตามสัญญา ตามมาตรา 378 เม่ือไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือช่ือจ�ำเลย โจทก์จึงไม่อาจฟ้องบังคับจ�ำเลยตามสัญญาซื้อขาย รถยนต์บรรทุกได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรคสอง และวรรคสาม 3) ไดช้ ำ� ระหนบ้ี างสว่ นแลว้ การชำ� ระหนบี้ างสว่ นดงั กลา่ วจะมากหรอื นอ้ ยเพยี งใดไมส่ ำ� คญั และไมจ่ ำ� กัดว่าจะตอ้ งเป็นฝ่ายใดชำ� ระหนี้ หากฝา่ ยหนึง่ ฝา่ ยใดช�ำระหนี้บางส่วนแล้วกย็ อ่ มฟ้องรอ้ งบงั คบั มสธคดกี นั ได้ มีปัญหาว่า หากฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดช�ำระหนี้ทั้งหมดจะฟ้องร้องบังคับคดีได้หรือไม่ ในเรื่องน้ี แม้การช�ำระหนี้บางส่วนกฎหมายยังให้ความคุ้มครอง เหตุในการช�ำระหน้ีท้ังหมด ซ่ึงแน่นอนว่ามากกว่า บางส่วน กฎหมายจะไม่คุ้มครอง ฉะน้ัน ไม่ว่าจะเป็นการช�ำระหน้ีบางส่วนหรือทั้งหมด ก็ย่อมฟ้องร้อง บังคับคดไี ด้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสาม มสธ มสธอุทาหรณ์ (1) ไดช้ ำ� ระราคาบ้างแล้ว ถอื เปน็ การช�ำระหนีบ้ างสว่ น ย่อมฟอ้ งรอ้ งบังคับคดีได้ ฎ. 1049/2487 ซื้อขายข้าวเปลือกกันเป็นเงิน 20,000 บาท ได้ช�ำระราคาบ้างแล้ว แม้ ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็ฟ้องบังคับคดีได้ ฎ. 3102/2529 โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์ได้ช�ำระค่าโอนสิทธิการเช่าโทรศัพท์แก่ จ�ำเลยแล้ว 30,000 บาท ดังนั้น แม้ข้อตกลงในการโอนสิทธิการเช่าโทรศัพท์เป็นการขายสิทธิอันเป็น มสธทรัพย์สินชนิดหนึ่ง ก็ได้มีการช�ำระหนี้เนื่องในการซ้ือขายน้ีแล้ว แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็หาต้อง ห้ามมิให้ฟ้องร้องบังคับคดีตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสามไม่ (2) ไดส้ ง่ มอบทรพั ยส์ นิ บา้ งแลว้ ถอื เปน็ การชำ� ระหนบี้ างสว่ น ยอมฟอ้ งรอ้ งบงั คบั คดไี ด้ ฎ. 7735/2555 ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม นอกจะบัญญัติให้การ ซอ้ื ขายสงั หาริมทรพั ย์ซง่ึ ตกลงกนั เปน็ ราคาสองหมน่ื บาท หรอื กวา่ นน้ั ขึ้นไป ตอ้ งมหี ลกั ฐานเปน็ หนงั สอื มสธ มสธอย่างหน่ึงอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นส�ำคัญ จึงจะฟ้องร้องให้บังคับคดีกันได้แล้ว ยังได้ บัญญัติอีกว่า “...หรือได้วางประจ�ำไว้ หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว...” ก็ย่อมฟ้องร้องให้บังคับคดีได้เช่น กัน คดีน้ีข้อเท็จจริงได้ความว่า ในการซ้ือขายต้นอ้อยกันน้ันโจทก์และจ�ำเลยไม่ได้ท�ำหนังสือสัญญาซ้ือ ขาย หรือมีหลักฐานการซื้อขายเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายโจทก์หรือจ�ำเลยผู้ต้องรับผิดไว้เป็นส�ำคัญ แต่ในวันที่ตกลงซื้อขายกัน โจทก์ได้ส่งมอบกรรมสิทธิ์ต้นอ้อยให้แก่จ�ำเลยและจ�ำเลยเข้าไปตัดต้นอ้อย ของโจทก์ไปขายให้แก่โรงงานน�้ำตาล อันถือได้ว่าโจทก์ช�ำระหนี้ตามสัญญาซ้ือขายคือส่งมอบต้นอ้อยให้ มสธจำ� เลยแลว้ โจทกย์ อ่ มมสี ทิ ธทิ จ่ี ะฟอ้ งรอ้ งบงั คบั ใหจ้ ำ� เลยชำ� ระราคาตน้ ออ้ ยไดต้ ามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย ดังกล่าว
3-56 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้ือขาย เช่าทรัพย์ เช่าซือ้ ฎ. 7188/2551 จ�ำเลยสั่งซ้ือสินค้าและได้รับสินค้าจากโจทก์แล้ว ถือได้ว่าการซ้ือขาย มสธสินค้ารายน้ีโจทก์ผู้ขายได้ช�ำระหนี้ให้แก่จ�ำเลยผู้ซื้อแล้ว โจทก์ไม่จ�ำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือและมี ลายมือชื่อของจ�ำเลยมาแสดง การซื้อขายชอบด้วย ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม จ�ำเลย ต้องช�ำระค่าสินค้าพร้อมดอกเบี้ยให้โจทก์ตามฟ้อง ฎ. 2856/2558 สัญญาซ้ือขายระหว่างโจทก็กับจ�ำเลยท่ี 1 เป็นสัญญาซื้อขาย มสธ มสธสังหาริมทรัพย์ซ่ึงตกลงกันเป็นราคาเกินกว่าสองหม่ืนบาท กรณีต้องด้วย ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง และวรรคสาม ซ่ึงบัญญัติให้การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซึ่งตกลงกันเป็นราคาสองหมื่นบาทหรือกว่านั้น ขนึ้ ไป ถ้ามไิ ด้มีหลกั ฐานเป็นหนงั สอื อย่างหนง่ึ อย่างใดลงลายมอื ช่ือฝ่ายผตู้ ้องรบั ผดิ เปน็ สำ� คญั หรอื ไดว้ าง ประจ�ำไว้ หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ โจทก์ฟ้องจ�ำเลยท่ี 1 ผู้ซ้ือซึ่งได้ รับมอบสินค้าจากโจทก์ผู้ขายแล้วผิดนัด ขอให้บังคับช�ำระค่าสินค้า กรณีจึงไม่จ�ำต้องวินิจฉัยว่าโจทก์ซ่ึง เป็นผู้ขายลงลายมือช่ือในสัญญาซ้ือขายหรือไม่25 มสธ2. สัญญาจะซื้อจะขาย ในเรอ่ื งสัญญาจะซื้อจะขายน้ี มีบญั ญตั ไิ วใ้ น ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ดงั ต่อไปน้ี มาตรา 456 วรรคสอง สัญญาจะขายหรือจะซื้อ หรือค�ำม่ันในการซื้อขายทรัพย์สิน ตามท่ีระบุ มสธ มสธไว้ในวรรคหน่ึง ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือช่ือฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นสำ� คัญ หรือได้วางประจ�ำไว้ หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว ท่านว่าจะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ ตามบญั ญตั ดิ งั กลา่ วใชค้ ำ� วา่ “สญั ญาจะขายหรอื จะซอื้ ” แตค่ ำ� ทน่ี กั กฎหมายใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย คอื “สญั ญาจะซอื้ จะขาย” เกอื บไมม่ ใี ครพดู วา่ “สญั ญาจะขายจะซอื้ ”26 สำ� หรบั หลกั เกณฑใ์ นการพจิ ารณา ว่าเป็นสัญญาจะซอื้ จะขายหรือไม่นัน้ สาระสำ� คญั อยู่ที่ “คู่สัญญามเี จตนาจะไปจดทะเบียนโอนทรพั ย์สนิ ที่ ซ้ือขายในภายหลัง”27 หากขาดเจตนาดังกล่าว ก็ไม่เป็นสัญญาจะซ้ือจะขาย แต่เป็นสัญญาซื้อขายเสร็จ เดด็ ขาดดงั กลา่ วมาแลว้ แตเ่ จตนาเปน็ เรอ่ื งทอ่ี ยภู่ ายในจติ ใจยากทจี่ ะหยง่ั รไู้ ด้ จงึ ตอ้ งพจิ ารณาประกอบจาก มสธขอ้ ความในสญั ญาและพฤตกิ ารณอ์ นื่ ทแ่ี สดงออกวา่ ประสงคจ์ ะไปจดทะเบยี นโอนทรพั ยส์ นิ ทซ่ี อื้ ขายในภาย หลังหรือไม่ ก) ขอ้ ความในสญั ญาระบวุ า่ จะไปจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธห์ิ รอื โอนทรพั ยส์ นิ ทซ่ี อ้ื ขายในภายหลงั อุทาหรณ์ มสธ มสธ(1) มีข้อตกลงว่าจะไปจดทะเบียนแบ่งแยกและโอนให้เมื่อได้น�ำท่ีดินไปออกหนังสือรับรอง การทำ� ประโยชนแ์ ล้ว เป็นสญั ญาจะซอื้ จะขาย ฎ. 4793/2546 โจทกซ์ อื้ ทด่ี นิ พพิ าทจากจำ� เลย แตก่ ารทโ่ี จทกจ์ ำ� เลยตกลงซอื้ ขายทด่ี นิ พพิ าท โดยมีข้อตกลงว่าจะไปจดทะเบียนแบ่งแยกและโอนให้โจทก์เมื่อจ�ำเลยน�ำท่ีดินพิพาทไปออกหนังสือ 25 ฎ. 2613/2517, 2205/2519, 1730/2520, 3014/2543, 4886/2558 วินิจฉยั ในแนวเดียวกนั มสธ26 ไพจิตร ปุญญพนั ธุ.์ อา้ งแล้ว. หนา้ 44. 27 ฎ. 2983/2529, 3454/253, 1951/2535, 3945/2535
สัญญาซอ้ื ขาย 1 3-57 รับรองการท�ำประโยชน์แล้ว การซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างโจทก์จ�ำเลยจึงเป็นสัญญาจะซื้อจะขายกัน มสธตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง โจทก์ท�ำสัญญาจะซ้ือจะขายท่ีดินกับจ�ำเลย และได้ช�ำระเงินให้จ�ำเลย ครบถว้ น จำ� เลยมอบการครอบครองทด่ี นิ พพิ าทใหโ้ จทกแ์ ลว้ โจทกย์ ดึ ถอื ครอบครองทดี่ นิ พพิ าทในฐานะ ผู้จะซ้ือตลอดมาตามสัญญาจะซื้อจะขายท่ีท�ำไว้กับจ�ำเลย แม้สิทธิครอบครองจะยังไม่โอนมาเป็นของ โจทก์ เพราะคู่สัญญาประสงค์จะให้มีการโอนทางทะเบียนก็ตาม แต่โจทก์ก็ย่อมมีสิทธิยึดหน่วงที่ดิน มสธ มสธพพิ าทไวจ้ นกวา่ จะมกี ารโอนกรรมสทิ ธไ์ิ ด้ โจทกผ์ ทู้ รงสทิ ธยิ ดึ หนว่ งยอ่ มมสี ทิ ธบิ งั คบั ใหจ้ ำ� เลยจดทะเบยี น โอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/27 และ 241 แม้โจทก์จะฟ้องคดีเกิน 10 ปี คดี โจทก์ก็ไม่ขาดอายุความ (2) มขี ้อตกลงในสญั ญาวา่ เม่ือชำ� ระครบถ้วนแล้ว จะโอนทด่ี ินให้ เป็นสญั ญาจะซอ้ื จะขาย ฎ. 5416/2552 ตามสัญญาซ้ือขาย โจทก์กับจ�ำเลยตกลงกันว่าโจทก์จะต้องช�ำระค่าที่ดิน พพิ าท ซง่ึ เปน็ ทด่ี นิ ทไี่ มม่ หี นงั สอื สำ� คญั อกี สองงวด เมอื่ โจทกช์ ำ� ระครบถว้ นแลว้ จำ� เลยจะโอนทดี่ นิ พพิ าท มสธให้ สัญญาดังกล่าวจึงไม่ใช่สัญญาท่ีตกลงกันให้ความเป็นเจ้าของและการครอบครองที่ดินพิพาทโอนไป ทันทีที่มีการท�ำสัญญา แต่เป็นเพียงสัญญาจะซ้ือจะขายซ่ึงต้องการเพียงหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่ง อย่างใด ลงลายมือช่ือฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นส�ำคัญ หรือได้วางประจ�ำไว้ หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้วก็ สามารถฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ดังน้ัน การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงเป็น สัญญาจะซื้อจะขายไม่ใช่สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด แม้การซื้อขายท่ีดินพิพาทน้ันจะไม่ได้จดทะเบียนต่อ มสธ มสธพนักงานเจ้าหน้าท่ี สัญญาก็ไม่เป็นโมฆะ (3) สัญญาระบุว่าผู้ซ้ือต้องไปรับจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิที่ดินและอาคารพาณิชย์ภายใน 7 วัน เป็นสญั ญาจะซ้อื จะขาย ฎ. 3878/2554 หนังสือสัญญาซ้ือขายอาคารพาณิชย์และที่ดิน ข้อ 3 ระบุว่า ผู้ซื้อต้องช�ำระ ราคาแก่ผู้ขายในวันท�ำสัญญาจ�ำนวน 600,000 บาท และข้อ 5 ส�ำหรับราคาอาคารพาณิชย์และท่ีดินส่วน ทเี่ หลอื อกี จำ� นวน 2,100,000 บาท ผซู้ อื้ ตอ้ งชำ� ระในวนั รบั โอนกรรมสทิ ธอิ์ าคารพาณชิ ยแ์ ละทด่ี นิ ดงั กลา่ ว มสธตามสัญญาน้ี โดยผู้ขายจะเป็นผู้น�ำผู้ซื้อไปจดทะเบียนท่ีส�ำนักงานท่ีดิน ผู้ซื้อต้องไปจดทะเบียนรับโอน กรรมสิทธ์ใิ นท่ีดนิ และอาคารพาณิชย์ภายในก�ำหนด 7 วนั นบั แตว่ ันทไี่ ด้รับแจง้ เป็นลายลักษณอ์ กั ษรจาก ผูข้ าย แสดงวา่ หนงั สือสญั ญาซ้ือขายดงั กล่าวเปน็ สญั ญาจะซื้อจะขายทีด่ นิ และอาคาร ไม่ใชส่ ัญญาซอ้ื ขาย เสร็จเด็ดขาด (4) มขี อ้ ตกลงในสญั ญาวา่ จะจดทะเบยี นโอนแกก่ นั หลงั จากทำ� สญั ญาซอ้ื ขาย 5 ปเี ศษ เปน็ มสธ มสธสญั ญาจะซื้อจะขาย ฎ. 7221/2552 คดีน้ีโจทก์เบิกความว่า เมื่อท�ำสัญญาซ้ือขายแล้ว อ. ได้ส่งมอบท่ีดินกับบ้าน พิพาทท่ีโจทก์ครอบครองอยู่ก่อนแล้วตามสัญญาเช่าให้โจทก์ครอบครองท�ำประโยชน์และโจทก์ ก็ได้ครอบครองท�ำประโยชน์ตลอดมา แต่ข้อเท็จจริงได้ความว่าการซื้อขายระหว่างโจทก์กับ อ. มิได้จด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี จึงเป็นเรื่องท่ีโจทก์อ้างว่าเป็นเจ้าของสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทตาม สัญญาซ้ือขายที่โจทก์และ อ. ท�ำข้ึนแก่กัน โดยก�ำหนดข้อตกลงให้คู่สัญญาไปจดทะเบียนโอนแก่กันหลัง มสธจากท�ำสัญญาซื้อขาย 5 ปีเศษ ดังนี้ สัญญาซื้อขายท่ีท�ำกันจึงเป็นเพียงสัญญาจะซื้อจะขาย
3-58 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซื้อ ข) พฤติการณ์อื่นทแี่ สดงออกวา่ ประสงค์จะไปจดทะเบียนโอนทรพั ย์สนิ ท่ซี ือ้ ขายกนั ในภายหลงั มสธอุทาหรณ์ ฎ. 781/2541 แม้ใบสั่งจองบ้านและที่ดินฉบับพิพาทมีข้อความว่าโจทก์กับจ�ำเลยจะท�ำหนังสือ สัญญาซ้ือขายกันเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกัน นับต้ังแต่วันสั่งจองเป็นต้นไป และโจทก์จ�ำเลยยังไม่ได้ท�ำ หนงั สอื สญั ญาซอื้ ขายดงั กลา่ วกนั กต็ าม แตใ่ บสง่ั จองฉบบั ดงั กลา่ วไดร้ ะบรุ าคาขายบา้ นและทด่ี นิ ดงั กลา่ ว มสธ มสธไว้และระบุว่าในวันสั่งจองโจทก์ได้วางเงินจ�ำนวน 100,000 บาท กับระบุถึงค่าโอนกรรมสิทธิ์ไว้ว่าผู้ซ้ือ และผู้ขายออกฝ่ายละครึ่ง แสดงให้เห็นเจตนาของจ�ำเลยและโจทก์ว่าตกลงจะโอนกรรมสิทธิ์บ้านและ ที่ดินดังกล่าวให้แก่กันต่อไป ใบสั่งจองบ้านและท่ีดินจึงเป็นสัญญาจะซื้อจะขายบ้านและที่ดินระหว่าง โจทก์กับจ�ำเลย และเงินท่ีโจทก์วางในวันส่ังจองจ�ำนวน 100,000 บาท เป็นเงินมัดจ�ำอันเป็นพยานหลัก ฐานว่าสัญญาดังกล่าวได้ท�ำกันข้ึนแล้ว ท้ังเงินมัดจ�ำนี้ยังเป็นประกันการท่ีจ�ำเลยและโจทก์จะปฏิบัติตาม สัญญาจะซื้อจะขายบ้านและท่ีดินน้ันด้วย ท้ังนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 และ มสธ456 วรรคสอง การจองบ้านและท่ีดินจึงมิใช่นิติกรรมท่ีมีเงื่อนไขบังคับก่อนที่ยังไม่มีผลบังคับตาม กฎหมายจนกว่าจะได้ท�ำหนังสือสัญญาซ้ือขายกันเป็นลายลักษณ์อักษร อย่างไรกต็ าม หากชำ� ระราคาและส่งมอบการครอบครองทด่ี นิ แลว้ ไมม่ ีพฤติการณใ์ ดแสดงว่าจะ ไปจดทะเบียนโอนในภายหลังอกี เปน็ สัญญาซอ้ื ขายเสร็จเดด็ ขาดมใิ ชส่ ญั ญาจะซอ้ื จะขาย อุทาหรณ์ มสธ มสธฎ. 6503/2545 การวินิจฉัยว่าสัญญาท่ีโจทก์และจำ� เลยกระท�ำต่อกันเป็นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ด ขาดหรือเป็นสัญญาจะซื้อจะขาย ต้องพิจารณาถึงข้อความในสัญญาประกอบกับเจตนาของโจทก์และ จ�ำเลยในขณะท�ำสัญญายิ่งกว่าชื่อของสัญญาท่ีท�ำต่อกัน แต่สัญญาจะซ้ือจะขายในคดีนี้เป็นแบบพิมพ์ท่ี ให้คู่ความกรอกข้อความตามท่ีต้องการเอาเองซึ่งไม่ปรากฏข้อความไว้ว่าทั้งสองฝ่ายตกลงจะไปจด ทะเบียนโอนกันเมื่อใด แม้จะมีการก�ำหนดราคาท่ีดินว่าไร่ละ 19,687.50 บาท ซึ่งค�ำนวณตามเน้ือที่ดิน แล้วเป็นเงิน 68,906.25 บาทเศษ ก็ตาม แต่เมื่อเงินมัดจ�ำที่โจทก์วางแก่จ�ำเลยระบุจ�ำนวน 63,000 บาท มสธแล้ว และในช่องจ�ำนวนเงินส่วนที่ต้องช�ำระอีกกลับมีการขีดไว้ แสดงว่าไม่มีราคาท่ีดินท่ีจะต้องช�ำระกัน อีก ทั้งการท่ีจ�ำเลยมอบการครอบครองที่ดินให้โจทก์ต้ังแต่วันท�ำสัญญาก็ไม่มีพฤติการณ์ใดที่แสดงว่า โจทกก์ บั จำ� เลยมขี อ้ ตกลงจะไปจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ ในภายหนา้ อกี สว่ นราคาทดี่ นิ ทค่ี า้ งชำ� ระอกี 5,906.25 บาท ก็แสดงว่าจ�ำเลยไม่ติดใจที่จะรับจากโจทก์แล้ว จึงมีลักษณะเป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด มิใช่ สัญญาจะซ้ือจะขาย มสธ มสธข้อสังเกต (1) ช่ือสัญญาไม่ส�ำคัญ แม้จะระบุว่าเป็นสัญญาซ้ือขาย แต่คู่สัญญามีเจตนาจะไปโอน ทรัพยส์ นิ ทซ่ี ื้อขายกนั ในภายหลงั ก็เป็นสญั ญาจะซอื้ จะขาย อุทาหรณ์ ฎ. 5504/2549 แม้หนงั สือสญั ญาซื้อขายดงั กลา่ วจะระบชุ ือ่ สญั ญาวา่ เปน็ หนังสอื สัญญาซื้อ ขาย อันจะแปลได้ว่าเป็นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดก็ตาม แต่เม่ือพิจารณาเน้ือหาข้อตกลงในสัญญาข้อ มสธ2 ซึ่งคู่สัญญาตกลงกันว่าในระหว่างที่ผู้ขายยังไมได้ส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผู้ซื้อ ให้ถือว่ายังไม่มีการ
สญั ญาซอ้ื ขาย 1 3-59 ซื้อขาย แสดงว่าก่อนส่งมอบทรัพย์สินยังไม่มีการซื้อขาย และท่ีดินท่ีโจทก์กับจ�ำเลยตกลงท�ำสัญญาซ้ือ มสธขายกันในคดีนี้ก็มีหลักฐานเป็นโฉนดที่ดิน การส่งมอบทรัพย์สิน คือท่ีดินในโฉนดเพียงบางส่วนจ�ำนวน 1 ห้อง เน้ือท่ีกว้าง 5 เมตร ยาวประมาณ 20 เมตร ยังต้องมีการรังวัดแบ่งแยกที่ดินแล้วจดทะเบียนโอน กรรมสิทธิ์ให้โจทก์ในวันท่ีโจทก์ผ่อนช�ำระราคาค่าท่ีดินครบถ้วนตามข้อตกลงในสัญญา จึงเป็นข้อบ่งชี้ ว่าคู่สัญญามีเจตนาจะไปโอนทรัพย์สินท่ีซื้อขายกันในภายหลัง หามีเจตนาจะให้กรรมสิทธิ์ในท่ีดินโอน มสธ มสธจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีในวันท�ำสัญญาไม่ หนังสือสัญญาซื้อขายดังกล่าวจึงเป็นสัญญาจะซ้ือจะขาย ไม่ใช่สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด (2) สญั ญาจะซอื้ จะขายเปน็ เพยี งบคุ คลสทิ ธิ แตห่ ากผจู้ ะซอื้ ไดช้ ำ� ระราคาครบถว้ นแลว้ ผจู้ ะ ซ้ือจะเป็นบุคคลผู้อยู่ในฐานะอันจะจดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1300 มีสิทธิ ฟอ้ งขอเพกิ ถอนการจดทะเบยี นโอนทรพั ยส์ นิ นน้ั อนั เปน็ ทางเสยี เปรยี บแกต่ นได้ หรอื มสี ทิ ธฟิ อ้ งขอใหป้ ลอ่ ย ทรัพย์สินน้ันท่ถี ูกยึดไว้ได้ มสธอุทาหรณ์ ฎ. 7198/2558 ผู้ร้องท�ำสัญญาจะซื้อจะขายท่ีดินพิพาทกับจ�ำเลยที่ 2 และช�ำระราคาครบ ถ้วนแล้ว เพียงแต่ยังไม่ได้ไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์เป็นของตน ผู้ร้องจึงเป็นบุคคลผู้อยู่ในฐานะอัน จะใหจ้ ดทะเบยี นสทิ ธขิ องตนไดอ้ ยกู่ อ่ นตาม ป.พ.พ. มาตรา 1300 และโดยเหตทุ กี่ ารบงั คบั คดแี กท่ รพั ยส์ นิ ของลกู หนต้ี ามคำ� พพิ ากษายอ่ มไมก่ ระทบกระทงั่ ถงึ บรุ มิ สทิ ธหิ รอื สทิ ธอิ น่ื ๆ ซง่ึ บคุ คลภายนอกอาจรอ้ งขอ มสธ มสธให้บังคับเหนือทรัพย์สินที่ยึดไว้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 287 ดังนั้น โจทก์จึงไม่มีสิทธิน�ำยึดท่ีดินพิพาทพร้อม ส่ิงปลูกสร้างเพ่ือบังคับคดีอันเป็นการกระทบกระท่ังถึงสิทธิผู้ร้องตามบทกฎหมายดังกล่าว ผู้ร้องจึงมี สิทธิร้องขอให้ปล่อยท่ีดินพิพาทพร้อมสิ่งปลูกสร้างได้ ดังกล่าวมาแล้วว่า สัญญาจะซ้ือจะขายคือ สัญญาที่คู่กรณีมีเจตนาที่จะไปจดทะเบียนโอน กรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินที่ซื้อขายในภายหลัง ฉะน้ัน ทรัพย์สินท่ีจะท�ำสัญญาจะซื้อจะขายได้ ต้องเป็น ทรพั ย์สนิ ที่มีการโอนกรรมสทิ ธ์ิโดยทางทะเบยี นเท่านัน้ ซ่งึ ไดแ้ ก่ อสงั หารมิ ทรพั ย์และสังหารมิ ทรพั ยช์ นิด มสธพิเศษ คอื เรอื ทมี่ ีระวางตั้งแต่ 5 ตนั ขึ้นไป แพ และสตั วพ์ าหนะเท่านนั้ สังหารมิ ทรัพยท์ ่วั ไป กรรมสิทธิ์ โอนขณะเม่อื ได้ท�ำสัญญาซือ้ ขายกนั ตาม ป.พ.พ. มาตรา 458 ไมม่ ีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ฉะนัน้ สงั หารมิ ทรพั ย์ท่วั ไปจงึ ไม่อาจท�ำสัญญาจะซอื้ จะขายกันได้ การทำ� สญั ญาจะซ้อื จะขายอสงั หารมิ ทรัพยห์ รอื สังหารมิ ทรัพยช์ นดิ พิเศษดังกล่าว จะตอ้ งมี อย่างหนง่ึ อย่างใดใน 3 ประการตอ่ ไปน้ี จงึ จะฟ้องร้องบังคบั คดไี ด้ มสธ มสธ1) มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหน่ึงอย่างใดลงลายมือช่ือฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นส�ำคัญ ซ่ึงหมายความว่า จะต้องมีลายมือช่ือฝ่ายท่ีถูกฟ้องให้รับผิดในหลักฐานเป็นหนังสือนั้นน่ันเอง จึงจะฟ้อง รอ้ งบังคับคดฝี า่ ยนัน้ ได้ อุทาหรณ์ ฎ. 14241/2553 สัญญาระหว่างโจทก์และจ�ำเลยเป็นการจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ซ่ึงกฎหมายก�ำหนดรูปแบบและหลักฐานในการท�ำสัญญากันไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ว่า มสธสัญญาจะขายหรือจะซื้ออสังหาริมทรัพย์ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือช่ือ
3-60 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอ้ื ขาย เชา่ ทรัพย์ เช่าซอ้ื ฝา่ ยผตู้ อ้ งรบั ผดิ เปน็ สำ� คญั หรอื ไดว้ างประจำ� ไว้ หรอื ไดช้ ำ� ระหนบี้ างสว่ นแลว้ ทา่ นวา่ จะฟอ้ งรอ้ งใหบ้ งั คบั มสธคดีหาได้ไม่ จากบทกฎหมายดังกล่าว หากคู่สัญญาจะท�ำสัญญาจะซ้ือขายให้มีผลทางกฎหมายในการฟ้อง ร้องบังคับคดีกันได้ต้องเลือกกระท�ำอย่างใดอย่างหนึ่ง คือท�ำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลง ลายมือช่ือฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นส�ำคัญ หรือวางประจ�ำ หรือมัดจ�ำ หรือมีการช�ำระหน้ีบางส่วน เม่ือโจทก์ และจำ� เลยเลอื กรปู แบบของสญั ญาโดยทำ� สญั ญาจะซอ้ื ขายหรอื สญั ญาวางมดั จำ� กนั ไว้ ถอื เปน็ กรณที ำ� หลกั มสธ มสธฐานเป็นหนังสืออย่างหน่ึงอย่างใดโดยลงลายมือช่ือโจทก์จ�ำเลยไว้เพ่ือให้คู่สัญญาฟ้องบังคับฝ่ายท่ีผิด สัญญาได้ จึงเป็นกรณีที่หากฟ้องร้องบังคับคดีต้องมีสัญญาจะซื้อขายมาแสดงตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 ดัง นั้น จ�ำเลยจะขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง เม่ือน�ำสัญญาจะซ้ือขายหรือสัญญา วางมัดจ�ำมาแสดงแล้ว อ้างว่ายังมีข้อตกลงด้วยวาจาว่าโจทก์จะช�ำระเงินที่เหลือภายใน 1 เดือน จึงต้อง ห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข) อยา่ งไรก็ดี การท�ำหนงั สือสัญญาจะซอื้ จะขายตอ่ กัน ถอื วา่ มีหลกั ฐานเปน็ หนังสืออยู่ ในตัวแล้ว และหนงั สือสญั ญานน้ั ยอ่ มมีการลงลายมือช่ือซึง่ ค่กู รณที ้งั ฝ่ายผู้ซือ้ และฝ่ายผขู้ าย ฉะน้นั เมอ่ื มี มสธหนงั สอื สัญญาจะซอื้ จะขายแลว้ ไม่วา่ ผู้ซือ้ หรือผขู้ ายก็ฟ้องรอ้ งบังคับคดไี ด้ อุทาหรณ์ ฎ. 2154/2552 สญั ญาซอื้ ขายทดี่ นิ ระหวา่ งโจทกก์ บั จำ� เลยมขี อ้ ความวา่ เนอื่ งจากทดี่ นิ พิพาทติดจ�ำนองกับธนาคาร ถ้าโจทก์ไถ่ถอนจ�ำนองเมื่อไรจะจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิให้แก่จ�ำเลยทันที มสธ มสธสัญญาซื้อขายฉบับน้ีจึงเป็นสัญญาจะซื้อขายท่ีดินตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ซ่ึงต้องมีหลักฐาน เป็นหนังสือหรือได้วางประจ�ำไว้หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้วจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้ เม่ือสัญญาจะ ซอ้ื จะขายทด่ี นิ รายนไ้ี ดท้ ำ� เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร มขี อ้ ความวา่ โจทกร์ บั ราคาดงั กลา่ วไปจากจำ� เลยเสรจ็ แลว้ ตั้งแต่วันท่ี 23 มกราคม 2541 การรับฟังพยานหลักฐานของศาลจึงต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 94 (ข) โจทก์จะน�ำพยานบุคคลมาสืบว่า ความจริงแล้วโจทก์ได้รับเงินค่าท่ีดินเพียง 90,000 บาท เงินค่าที่ดินส่วนท่ีเหลือให้จ�ำเลยไปช�ำระต่อธนาคาร พ. เพ่ือช�ำระหนี้ท่ีโจทก์จำ� นองที่ดินดังกล่าวไว้แก่ มสธธนาคารไม่ได้ เพราะเป็นการสืบพยานบุคคลเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารน้ัน ข้อสังเกต อยา่ งไรกด็ ี หากเปน็ คดผี บู้ รโิ ภค28 บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายทบี่ งั คบั ใหน้ ติ กิ รรมใดตอ้ ง มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายท่ีต้องรับผิดจึงฟ้องร้องบังคับคดีได้นั้น มิให้น�ำมาใช้บังคับแก่ ผบู้ รโิ ภคในการฟอ้ งบงั คบั ใหผ้ ปู้ ระกอบธรุ กจิ ชำ� ระหนี้ (พ.ร.บ. วธิ พี จิ ารณาคดผี บู้ รโิ ภค พ.ศ. 2551 มาตรา มสธ มสธ10 วรรคหนึง่ ) และในการด�ำเนนิ คดดี ังกลา่ ว มิใหน้ ำ� มาตรา 94 แห่ง ป.วิ.แพ่ง (ห้ามมิใหศ้ าลยอมรบั ฟัง พยานบุคคลในกรณีขอสืบพยานบุคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่สามารถน�ำเอกสารมาแสดง และกรณีขอ สบื พยานบคุ คลประกอบขอ้ อ้างอย่างใดอย่างหนงึ่ เมอื่ ได้นำ� เอกสารมาแสดงแล้วว่า ยงั มขี อ้ ความเพม่ิ เติม ตดั ทอน หรอื เปลยี่ นแปลงแกไ้ ขขอ้ ความในเอกสารนนั้ อยอู่ กี ) มาใชบ้ งั คบั แกผ่ บู้ รโิ ภคในการฟอ้ งคดผี บู้ รโิ ภค และการพสิ ูจน์ถงึ นิตกิ รรมหรอื สัญญาทท่ี ำ� ข้ึนระหวา่ งผู้บรโิ ภคกับผูป้ ระกอบธุรกจิ (พ.ร.บ. วิธพี ิจารณาคดี ผู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 10 วรรคสาม) มสธ28 ดูรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ใน พ.ร.บ. วิธพี ิจารณาคดีผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2551 มาตรา 3
สญั ญาซอื้ ขาย 1 3-61 2) ไดว้ างประจำ� ไว้ หรอื มกี ารวางมดั จำ� นน่ั เอง โดยปกตใิ นการซอ้ื ขายฝา่ ยทวี่ างมดั จำ� มสธกค็ อื ฝา่ ยผซู้ อ้ื นนั่ เอง แตเ่ มอ่ื มกี ารวางมดั จำ� แลว้ ไมว่ า่ จะเปน็ ฝา่ ยผซู้ อื้ หรอื ฝา่ ยผขู้ ายกฟ็ อ้ งรอ้ งบงั คบั คดไี ด้ อุทาหรณ์ ฎ. 2927/2547 จ�ำเลยท้ังสองให้การรับว่าได้ท�ำสัญญาจะซื้อจะขายกับโจทก์จริง แต่ อ้างว่าโจทก์เป็นฝ่ายผิดสัญญา จึงไม่มีประเด็นเรื่องโจทก์ไม่ใช่คู่สัญญากับจ�ำเลยทั้งสองและไม่มีอ�ำนาจ มสธ มสธฟ้อง แม้เรื่องอ�ำนาจฟ้องจะเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลยกข้ึนวินิจฉัย ได้เองตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ก็ตาม แต่คดีน้ีจ�ำเลยท้ังสองรับว่าได้วางมัดจ�ำไว้ตามสัญญาจะซ้ือจะ ขายจ�ำนวน 100,000 บาท ซึ่ง ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ระบุว่าสัญญาจะซื้อจะขายหากมีการวาง มัดจ�ำไว้แล้ว แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องให้บังคับคดีกันได้ ดังนั้น การตั้งตัวแทนหรือมอบ อ�ำนาจของโจทก์ในการท�ำสัญญาจะซ้ือจะขายที่ท่ีได้วางมัดจ�ำไว้แล้วแม้โจทก์จะไม่ได้ท�ำหนังสือมอบ อ�ำนาจให้บริษัท ส. ท�ำสัญญาจะซ้ือจะขายกับจ�ำเลยท้ังสอง โจทก์ก็มีอ�ำนาจฟ้อง กรณีไม่ต้องห้ามตาม มสธป.พ.พ. มาตรา 798 อยา่ งไรกต็ าม กรณที ม่ี กี ารวางมดั จำ� และคกู่ รณตี กลงกนั ใหถ้ อื วา่ เงนิ มดั จำ� นนั้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการช�ำระหนีด้ ้วย ถอื วา่ เป็นการช�ำระหนบ้ี างสว่ น ซ่งึ ก็เป็นผลเช่นเดยี วกันคือ ฟอ้ งรอ้ งบังคับคดีได้ อุทาหรณ์ ฎ. 1735/2554 ในการทำ� สญั ญาจะซ้อื จะขายทด่ี นิ โจทกว์ างเงินมดั จำ� ให้แก่จำ� เลยเป็น มสธ มสธเงิน 500,000 บาท ซ่ึงตามสัญญาคู่สัญญาตกลงกันให้เงินมัดจ�ำดังกล่าวเป็นส่วนหน่ึงของการช�ำระเงิน ค่าท่ีดินตามสัญญาด้วย จึงถือเป็นการช�ำระค่าท่ีดินบางส่วน กรณีเช่นนี้ไม่จ�ำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็ฟ้องร้องบังคับคดีได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง ทั้งมิใช่กรณีท่ีกฎหมายบังคับให้ต้องมีเอกสาร มาแสดง จ�ำเลยย่อมมีสิทธิน�ำสืบพยานบุคคลว่าโจทก์กับจ�ำเลยไม่มีเจตนาผูกพันกันตามข้อความเกี่ยวกับ การถมดินในสัญญาได้ ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 94 3) ไดช้ ำ� ระหนบ้ี างสว่ นแลว้ การชำ� ระหนบี้ างสว่ นดงั กลา่ ว ไมว่ า่ จะเปน็ ฝา่ ยผซู้ อ้ื ชำ� ระ มสธราคา หรอื ฝ่ายผขู้ ายสง่ มอบทรัพยส์ ินหรือสง่ มอบการครอบครองทรพั ย์สนิ ทซ่ี ือ้ ขายนั้นกไ็ ด้ และหากได้มี การช�ำระหน้ีบางส่วนแล้ว ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายใดช�ำระ ทั้งสองฝ่ายต่างก็ฟ้องร้องบังคับคดีได้ มิใช่ว่าฝ่ายท่ี ช�ำระหนี้บางส่วนเท่าน้ันจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้ นอกจากน้ี การช�ำระหน้ีทั้งหมดก็ถือเป็นการช�ำระหน้ี บางสว่ นแล้ว ตามบทบัญญัตแิ ห่ง ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง29 อุทาหรณ์ มสธ มสธ(1) ผู้ขายส่งมอบที่ดินและบ้านให้ผู้ซื้อเข้าซ่อมแซมครอบครอง ถือว่าได้ช�ำระ หน้ีบางสว่ นแลว้ ยอ่ มฟอ้ งรอ้ งบงั คบั คดไี ด้ ฎ. 2041/2547 จ�ำเลยที่ 1 ตกลงขายที่ดินและบ้านพิพาทให้แก่โจทก์ท้ังสองโดย ได้มีการส่งมอบที่ดินและบ้านพิพาทให้แก่โจทก์ทั้งสองเข้าซ่อมแซมครอบครองตลอดมา อันเป็นการ ช�ำระหน้ีบางส่วน ข้อตกลงจะซ้ือจะขายที่ดินและบ้านพิพาทจึงมีผลผูกพันบังคับต่อกันได้แล้ว มสธ29ฎ. 4796/2537
3-62 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้ือขาย เชา่ ทรัพย์ เชา่ ซอ้ื (2) ผ้ขู ายยินยอมใหผ้ ซู้ ื้อเขา้ ปลกู บา้ นและครอบครองทด่ี นิ บางส่วน ถอื วา่ ไดม้ ี มสธการชำ� ระหนีบ้ างส่วนแลว้ ยอ่ มฟอ้ งรอ้ งบงั คบั คดีได้ ฎ. 7142/2556 โจทก์ตกลงจะขายท่ีดินตามที่ ก. ขอซื้อ กับยินยอมให้ ก. และ จ�ำเลยเข้าปลูกบ้านและครอบครองที่ดินบางส่วนของที่ดินท่ีขอซ้ือ เห็นได้ว่าเป็นการตกลงจะซ้ือจะขาย ท่ีดินแก่กัน เมื่อโจทก์ให้ ก. และจ�ำเลยเข้าปลูกบ้าน แม้ไม่ครบจ�ำนวนเน้ือท่ีดินตามท่ี ก. ขอซื้อ ก็ฟังได้ มสธ มสธว่าโจทก์ได้ช�ำระหน้ีบางส่วนให้ ก. แล้ว ส่วนข้อตกลงท่ีว่าเม่ือมีเงินพอช�ำระค่าที่ดินที่ขอซื้อก็จะขายให้ น้ัน ก็คือจะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ข้อตกลงและพฤติการณ์ดังกล่าวจึง เป็นเรื่องที่โจทก์ และ ก. ตกลงท�ำสัญญาจะซ้ือจะขายท่ีดินต่อกันและมีการช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว จึงมี ผลบังคับได้ตามกฎหมาย แต่การท่ีโจทก์ยินยอมให้ ก. และจ�ำเลยเข้าปลูกบ้านและอาศัยในที่ดินที่ขาย โดยแจง้ วา่ หาก ก. และจ�ำเลยมีเงินพอช�ำระราคาทด่ี นิ เม่ือใดกจ็ ะขายให้ แสดงวา่ โจทก์ยังมไิ ดม้ ีเจตนามอบ กรรมสิทธ์ิท่ีดินให้แก่ ก. และจ�ำเลย จนกว่าบุคคลทั้งสองจะมีเงินค่าที่ดินมาช�ำระให้ครบถ้วน การครอบ มสธครองท่ีดินพิพาทของ ก. และจ�ำเลยจึงเป็นการครอบครองแทนโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ แม้จะ ครอบครองเกินกว่า 10 ปี ก็หาได้กรรมสิทธ์ิไม่ (3) การตกลงให้ผู้ขายหักเงินจากหน้ีเดิมออกจากราคาทรัพย์สินท่ีซื้อขาย ถือ เป็นการช�ำระหนบี้ างสว่ น ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง แล้ว ฎ. 1959/2538 จ�ำเลยตกลงขายท่ีดินพิพาทคืนโจทก์ท้ังสอง แต่ยอมให้หักเงิน มสธ มสธที่โจทก์ท้ังสองช�ำระให้ในการตกลงซื้อคืนคร้ังก่อน ก่อนท่ีจ�ำเลยจะปฏิเสธไม่ยอมขายให้ในเวลาต่อมา และนัดจดทะเบียนซื้อขายกัน ข้อตกลงนี้เป็นสัญญาจะซื้อจะขายที่พิพาทและถือว่าการท่ีจ�ำเลยยอมให้ หักเงินดังกล่าวออกจากราคาที่พิพาทที่ตกลงกันในครั้งหลังเป็นการช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว โจทก์ทั้งสอง จึงมีสิทธิฟ้องได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง จ�ำเลยตกลงขายที่พิพาทคืนโจทก์ 2 ครั้ง คร้ังแรกวาง มัดจ�ำไว้แล้วโจทก์ผิดสัญญาจึงมีการตกลงราคากันใหม่ในคร้ังที่สอง โดยจ�ำเลยยอมให้หักเงินมัดจ�ำครั้ง แรกออกจากราคาครงั้ หลงั ถอื ไดว้ า่ การทจ่ี ำ� เลยยอมใหห้ กั เงนิ ดงั กลา่ วเปน็ การชำ� ระหนบี้ างสว่ นของโจทก์ มสธตามสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง กิจกรรม 3.2.2 ก. ท�ำหนังสือสัญญาจะซ้ือจะขายที่ดินมีโฉนดท่ีดินแปลงหนึ่งให้แก่ ข. โดยได้ช�ำระราคาและส่ง มสธ มสธมอบที่ดินกนั เรยี บร้อยแลว้ 5 ปีตอ่ มา ราคาทด่ี นิ สงู ขน้ึ กว่าเดิมมาก ก. จงึ เรียกให้ ข. ส่งมอบท่ดี ินคนื โดย อา้ งว่า การซอ้ื ขายไมไ่ ด้มีการจดทะเบยี นโอนทีด่ นิ จึงตกเปน็ โมฆะ ให้ทา่ นวินจิ ฉยั วา่ ขอ้ อ้างของ ก. รับ มสธฟงั ได้หรอื ไม่
สญั ญาซ้อื ขาย 1 3-63 มสธแนวตอบกิจกรรม 3.2.2 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหนึ่ง การซือ้ ขายอสงั หารมิ ทรัพย์ ถา้ มิไดท้ �ำเป็นหนงั สอื และจด ทะเบยี นตอ่ พนกั งานเจ้าหน้าทเี่ ปน็ โมฆะ วธิ ีนี้ให้ใชถ้ ึงซอื้ ขายเรือมีระวางตั้งแตห่ ้าตนั ขึ้นไป ทั้งซ้ือขายแพ และสัตวพ์ าหนะดว้ ย ตามปัญหา ก. ท�ำหนังสือสัญญาจะซ้ือจะขายที่ดินมีโฉนดที่ดินแปลงหน่ึงให้แก่ ข. โดยได้ช�ำระ มสธ มสธราคาและสง่ มอบทด่ี นิ กนั เรยี บรอ้ ยแลว้ แมจ้ ะทำ� สญั ญาเปน็ ชอ่ื สญั ญาจะซอื้ จะขาย แตไ่ มม่ ขี อ้ ความใดระบุ ว่าคู่สัญญาจะไปจดทะเบียนโอนทรัพย์สินท่ีซ้ือขายกันในภายหลัง และตามพฤติการณ์ได้มีการช�ำระราคา และส่งมอบท่ีดินกนั เรียบรอ้ ยแลว้ จนเวลาลว่ งเลยมาถึง 5 ปี แสดงให้เหน็ ว่าค่สู ัญญาไม่ได้มเี จตนาท่ีจะไป จดทะเบยี นโอนท่ดี ินกนั ในภายหลงั แตอ่ ยา่ งใด ฉะนั้น สญั ญาดงั กล่าวจึงมใิ ช่สญั ญาจะซ้อื จะขาย หากแต่ เปน็ สัญญาซ้อื ขายเสรจ็ เด็ดขาด จึงอยูใ่ นบงั คับของ ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหน่งึ เม่ือคู่สัญญามไิ ด้ท�ำ เป็นหนังสอื และจดทะเบยี นต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จึงตกเป็นโมฆะ มสธฉะนนั้ ข้ออ้างของ ก. รบั ฟงั ได้ตามเหตุผลดงั กล่าว มสธ มสธเร่ืองที่3.2.3 การโอนกรรมสิทธ์ิ ในเรอื่ งการโอนกรรมสทิ ธน์ิ ้ี จะไดจ้ ำ� แนกอธบิ ายออกเปน็ 3 หวั ขอ้ คอื (1) กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ย์สนิ มสธย่อมโอนไปนับแต่ท�ำสัญญาซ้ือขาย (2) สัญญาซื้อขายมีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลา และ (3) การซ้ือขาย ทรพั ยส์ นิ ที่ยังไมเ่ ป็นทรพั ย์เฉพาะส่ิงหรือทรัพยส์ นิ ทีย่ ังไมก่ ำ� หนดราคาแนน่ อน 1. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินย่อมโอนไปนับแต่ท�ำสัญญาซื้อขาย สญั ญาซอื้ ขายสงั หารมิ ทรพั ยท์ วั่ ไปยอ่ มเปน็ สญั ญาซอื้ ขายเสรจ็ เดด็ ขาด จะเปน็ สญั ญาจะซอ้ื จะขาย มสธ มสธไมไ่ ด้ เพราะสญั ญาจะซอ้ื จะขายจะมไี ดเ้ ฉพาะกบั ทรพั ยส์ นิ ทมี่ กี ารโอนทางทะเบยี น ซง่ึ ไดแ้ กอ่ สงั หารมิ ทรพั ย์ และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ดังกล่าวมาแล้ว สัญญาซ้ือขายสังหาริมทรัพย์ทั่วไปซึ่งเป็นสัญญาซ้ือขาย เสรจ็ เด็ดขาด เปน็ หลักทว่ั ไปทีม่ บี ญั ญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 458 ดงั น้ี มาตรา 458 กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินที่ขายน้ัน ย่อมโอนไปยังผู้ซ้ือต้ังแต่ขณะเม่ือได้ท�ำสัญญาซื้อ ขายกัน ตามบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว สญั ญาซอื้ ขายสงั หารมิ ทรพั ยท์ ว่ั ไป กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยส์ นิ ทซ่ี อ้ื ขาย ยอ่ ม มสธโอนไปยังผู้ซื้อต้ังแต่ขณะเมื่อได้ท�ำสัญญาซ้ือขายกัน ซ่ึงเป็นหลักท่ัวไปดังกล่าว เว้นแต่จะเป็นสัญญาซ้ือ
3-64 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซ้อื ขาย เช่าทรพั ย์ เช่าซื้อ ขายมเี งอื่ นไขหรอื เงอื่ นเวลาตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 หรอื เปน็ การซอ้ื ขายทรพั ยส์ นิ ทย่ี งั ไมเ่ ปน็ ทรพั ยเ์ ฉพาะ มสธสง่ิ หรอื ทรพั ยส์ ินท่ียงั ไมก่ �ำหนดราคาแนน่ อน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 460 ซงึ่ จะได้กลา่ วต่อไป ส�ำหรบั การชำ� ระราคาหรอื การสง่ มอบทรัพยส์ ินท่ซี อ้ื ขายน้ัน เป็นเรอื่ งสิทธิในทางหนี้ ไมเ่ กยี่ วกับ การโอนกรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส์ นิ ฉะนน้ั หากไดท้ ำ� สญั ญาซอื้ ขายกนั แลว้ กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส์ นิ ทซ่ี อ้ื ขายยอ่ ม โอนไปยังผู้ซอ้ื ทันที แมจ้ ะยังมิได้ชำ� ระราคาหรอื สง่ มอบทรัพย์สนิ ทซ่ี ้อื ขายแก่กนั ก็ตาม มสธ มสธอุทาหรณ์ (1) การซ้ือขายรถยนต์ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ย่อมโอนไปยังผู้ซ้ือทันทีตั้งแต่ขณะได้ท�ำสัญญา ซอ้ื ขายกนั แมจ้ ะยงั มไิ ดจ้ ดทะเบยี นเปลย่ี นชอื่ ในคมู่ อื จดทะเบยี นกต็ าม เพราะทะเบยี นรถยนตม์ ใิ ชห่ ลกั ฐาน แห่งกรรมสทิ ธ์ิ แตเ่ ป็นเพียงหลักฐานเพ่อื ความสะดวกในการควบคุมยานพาหนะของเจ้าพนักงานเทา่ น้นั ฎ. 6502/2546 การซ้ือขายรถยนต์และบันทึกข้อตกลงการมอบการครอบครองรถยนต์คันเกิด เหตุได้มีการตกลงซื้อขายกันเมื่อปี 2538 จึงต้องถือว่ากรรมสิทธ์ิในรถยนต์คันเกิดเหตุได้ตกมาเป็นของ มสธโจทก์ที่ 2 นับแต่การตกลงซ้ือขายส�ำเร็จแม้ขณะที่บริษัทโจทก์ที่ 1 ให้เช่ารถยนต์คันเกิดเหตุไป ยังมิได้ จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงในคู่มือจดทะเบียนของกรมการขนส่งก็ตาม เพราะการจดทะเบียนแสดงความ เป็นเจ้าของในคู่มือจดทะเบียนของกรมการขนส่งมิใช่หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ (2) การแบ่งการชำ� ระราคาเปน็ งวด แมจ้ ะชำ� ระราคาไม่ครบถ้วน กรรมสิทธใิ์ นทรพั ย์สินท่ีซอื้ ขาย ก็โอนไปยังผู้ซือ้ แลว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 358 มสธ มสธฎ. 2733/2546 ตามสัญญาซ้ือขายท่ีท�ำขึ้นระหว่างผู้คัดค้านกับจ�ำเลยที่ 2 มีข้อความระบุแต่เพียง ว่า ผู้คัดค้านได้ขายรถยนต์ของกลางให้แก่จ�ำเลยที่ 2 ในราคา 320,000 บาท ได้รับเงินมัดจ�ำไว้ 170,000 บาท ส่วนที่เหลือ 150,000 บาท จะช�ำระในวันท่ี 29 มกราคม 2541 สัญญาซื้อขายดังกล่าวจึงเป็นสัญญา ซื้อขายเสร็จเด็ดขาดที่มีการแบ่งช�ำระราคาซ้ือขายเป็น 2 งวดเท่าน้ัน ดังนั้น เมื่อท�ำสัญญาเสร็จแล้ว กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ย่อมโอนไปยังจ�ำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ซ้ือทันที ตาม ป.พ.พ. มาตรา 458 มิใช่สัญญาซ้ือ ขายที่มีเงื่อนไขในการโอนกรรมสิทธ์ิตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 ผู้คัดค้านจึงมิใช่เจ้าของรถยนต์ของกลาง มสธจึงไม่มีสิทธิย่ืนค�ำคัดค้าน ขอให้ศาลมีค�ำส่ังคืนรถยนต์ของกลางให้แก่ผู้คัดค้านได้30 2. สัญญาซื้อขายมีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลา สัญญาทม่ี เี งือ่ นไขหรอื เงอื่ นเวลามีบัญญตั ิไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 459 ดงั นี้ มสธ มสธมาตรา 459 ถ้าสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข หรือเง่ือนเวลาบังคับไว้ท่านว่ากรรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน ยังไม่โอนไปจนกว่าจะได้เป็นไปตามเง่ือนไขหรือถึงก�ำหนดเงื่อนเวลานั้น ตามบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว เปน็ สญั ญาซอื้ ขายทม่ี เี งอ่ื นไขหรอื เงอ่ื นเวลา กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยส์ นิ ยงั ไมโ่ อน ไปจนกวา่ การจะไดเ้ ปน็ ตามเงอื่ นไขหรอื ถงึ กำ� หนดเวลานน้ั ซงึ่ เปน็ ขอ้ ยกเวน้ หลกั ทวั่ ไป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 458 ดงั กล่าวมาแลว้ มสธ30 ฎ. 9603/2553 (ประชมุ ใหญ)่ , 10314/2553 วินิจฉยั ในแนวเดียวกัน
สญั ญาซื้อขาย 1 3-65 เง่ือนไขหรือเง่ือนเวลา ตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 นั้น จะต้องเป็นเงื่อนไขบังคับก่อน กล่าวคือ มสธกรรมสิทธิใ์ นทรพั ย์สินทีซ่ อ้ื ขายยังไม่โอนไปยังผ้ซู อื้ จนกวา่ เง่อื นไขนัน้ จะส�ำเร็จ หรอื ตอ้ งเป็นเงอื่ นเวลาเริ่ม ต้นเท่าน้นั กล่าวคอื กรรมสิทธ์ใิ นทรัพยส์ ินทซี่ อื้ ขายยงั ไม่โอนไปยังผูซ้ อื้ จนกว่าจะถึงเวลาทก่ี ำ� หนดไว้ ซึ่ง ไม่เกีย่ วกับเงอื่ นเวลาบงั คับหลงั หรอื เงือ่ นเวลาส้ินสุดแต่ประการใด ตัวอย่าง 1 สญั ญาซ้อื ขายมีเงอ่ื นไขบังคบั กอ่ น มสธ มสธก. ท�ำหนังสือสญั ญาขายนาฬกิ าโบราณเรอื นหนึ่งในราคาเพยี ง 10,000 บาท ให้แก่ ข. หาก ข. เรียนจบนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เช่นนี้ สัญญาซ้ือขายดังกล่าวเป็นสัญญามี เงื่อนไข กรรมสิทธ์ิยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อจนกว่าเงื่อนไขน้ันจะส�ำเร็จ นั่นคือ ข. เรียนจบนิติศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าชแล้วน่ันเอง ตัวอย่าง 2 สัญญาซ้ือขายมีเงอ่ื นเวลาเรม่ิ ต้น ก. ทำ� หนงั สอื สญั ญาในวนั ท่ี 1 เดอื นมนี าคม ตกลงขายรถยนตค์ นั หนง่ึ ใหแ้ ก่ ข. ในราคา 300,000 มสธบาท โดยตกลงให้กรรมสิทธิ์โอนไปในวันท่ี 1 พฤษภาคม เช่นนี้กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ยังไม่โอนไปยัง ข. จนกว่าจะถงึ วันท่ี 1 พฤษภาคม ซ่ึงกอ่ นวันที่ 1 พฤษภาคม กรรมสทิ ธิ์ในรถยนต์คันนน้ั ยงั เป็นของ ก. อยู่ อนึ่ง โดยหลกั แล้วราคาทรพั ย์สินทต่ี ้องช�ำระแกก่ นั เป็นเพยี งองค์ประกอบหนึง่ แหง่ สญั ญาซ้อื ขาย หาใช่เง่ือนไขการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินไม่31 อย่างไรก็ตาม คู่กรณีอาจตกลงให้การช�ำระราคาเป็น เงอื่ นไขการโอนกรรมสิทธใิ์ นทรัพยส์ นิ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 กไ็ ด้ มสธ มสธอุทาหรณ์ ฎ. 155/2535 สัญญาซื้อขายระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยท่ี 1 ผู้ซ้ือ ข้อ 3 ระบุว่ากรรมสิทธ์ิในรถยนต์ จะตกไปอยู่แก่ผู้ซ้ือเม่ือผู้ซ้ือช�ำระราคาตามเง่ือนไขครบถ้วน ข้อ 6 ระบุว่า ในกรณีท่ีผู้ซื้อผิดนัดขาดการ ช�ำระเงินงวดใดจ�ำนวนใด ผู้ขายย่อมมีสิทธิที่จะเรียกให้ผู้ซ้ือช�ำระราคาที่เหลืออยู่ในขณะน้ันเสียโดยครบ ถ้วนโดยพลันก็ได้นั้น มีสาระส�ำคัญแตกต่างกับสัญญาเช่าซ้ือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 572, 574 จึงเป็นสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไข เมื่อในระหว่างท่ียังช�ำระเงินค่างวดอยู่รถยนต์ท่ีซื้อขาย มสธได้สูญหายไปเพราะถูกคนร้ายลัก แม้จะไม่ใช่ความผิดของจ�ำเลยท่ี 1 จ�ำเลยท่ี 1 ก็ต้องรับผิดตามสัญญา ข้อ 5 โดยจ�ำเลยท่ี 2 ผู้ค�้ำประกันสัญญาดังกล่าวต้องร่วมรับผิดด้วย ฎ. 2489/2536 สัญญาซ้ือขายรถยนต์พิพาทระบุว่ากรรมสิทธ์ิจะตกแก่ผู้ซ้ือต่อเม่ือช�ำระราคาเป็น งวดๆ ตามที่ก�ำหนดไวค้ รบถ้วนแลว้ จงึ เปน็ สญั ญาซือ้ ขายมเี งอ่ื นไข กรรมสทิ ธ์ิในรถยนต์พิพาทยงั ไม่โอน เป็นของผู้ซ้ือจนกว่าจะช�ำระราคาครบถ้วนตามงวด มสธ มสธอย่างไรก็ดี หากในหนังสือสัญญามิได้ระบุค�ำว่า การโอน “กรรมสิทธิ์” ในทรัพย์สินท่ีซื้อขายไว้ โดยตรงก็ต้องพิจารณาว่ามีถ้อยค�ำในท�ำนองเดียวกันที่แสดงเจตนาการหน่วงกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินน้ันไว้ หรอื ไม่ มสธ31ฎ. 1834/2554
3-66 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอ้ื ขาย เช่าทรัพย์ เช่าซือ้ อุทาหรณ์ มสธ(1) ขอ้ ความวา่ แมจ้ ะไดส้ ง่ มอบตอ่ ผซู้ อื้ แลว้ กย็ งั เปน็ ทรพั ยส์ นิ ของผขู้ ายอยจู่ นกวา่ ผซู้ อ้ื จะไดช้ ำ� ระ ราคาเรยี บร้อย เป็นสญั ญาซ้อื ขายมีเงอื่ นไขการโอนกรรมสทิ ธิ์ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 ฎ. 1786/2551 การซ้ือขายสินค้าระหว่างโจทก์และจ�ำเลยมีใบส่งสินค้าซึ่งมีข้อความว่า สินค้า ตามรายการข้างต้น แม้จะได้ส่งมอบต่อผู้ซื้อแล้ว ก็ยังเป็นทรัพย์สินของผู้ขายอยู่จนกว่าผู้ซ้ือได้ช�ำระเงิน มสธ มสธเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ แมใ้ บสง่ สนิ คา้ จะไมป่ รากฏลายมอื ชอ่ื ของผรู้ บั สนิ คา้ และผสู้ ง่ ของ แตเ่ อกสารดงั กลา่ ว เป็นส�ำเนาภาพถ่ายตรงกับเอกสารท้ายฟ้องซ่ึงโจทก์ได้กล่าวในค�ำฟ้องและน�ำสืบถึงข้อความในเอกสาร ดังกล่าวไว้ชัดแจ้งแล้วส�ำหรับต้นฉบับสูญหาย โดยจ�ำเลยให้การรับว่า ได้ซื้อสินค้าจากโจทก์ตามเอกสาร ดังกล่าวจริง และไม่ได้ให้การปฏิเสธกับน�ำสืบโต้แย้งว่าไม่รู้เห็นด้วยกับข้อความในเอกสารดังกล่าว จึง ฟังได้ว่า สัญญาซ้ือขายระหว่างโจทก์และจ�ำเลยมีเง่ือนไขกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินท่ีซื้อขายยังไม่โอนไป จนกว่าการจะได้เป็นไปตามเง่ือนไขตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 ดังนี้ เม่ือโจทก์ยังไม่ได้รับช�ำระราคาสินค้า มสธกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซ้ือขายจึงยังอยู่กับโจทก์ (2) ขอ้ ความว่าเครอื่ งจกั รและอุปกรณท์ ีร่ ะบใุ นสัญญายังเปน็ สมบตั ขิ องผูข้ าย เป็นสญั ญาซ้ือขาย มเี ง่ือนไขการโอนกรรมสิทธิ์ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 ฎ. 4643/2551 โจทก์บรรยายค�ำฟ้องว่า สัญญาซ้ือขายระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยมีเง่ือนไขว่าหาก การช�ำระเงินตามสัญญายังไม่เสร็จส้ิน เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ที่ระบุในสัญญายังคงเป็นสมบัติของโจทก์ มสธ มสธโจทก์มีสิทธิน�ำกลับในสภาพสมบูรณ์ได้ทุกเวลา ดังนี้สัญญาซื้อขายระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยจึงเป็นสัญญา ซอ้ื ขายโดยมเี งอ่ื นไขในการโอนกรรมสทิ ธติ์ าม ป.พ.พ. มาตรา 459 เมอื่ จำ� เลยผดิ สญั ญาซอื้ ขาย โจทกบ์ อก เลิกสัญญาแล้ว โจทก์และจ�ำเลยย่อมกลับคืนสู่ฐานะเดิม จ�ำเลยต้องคืนเคร่ืองจักรผลิตน้�ำร้อนพร้อม อุปกรณ์แก่โจทก์ การท่ีโจทก์น�ำคดีมาฟ้องบังคับให้จ�ำเลยคืนเครื่องจักรผลิตน�้ำร้อนพร้อมอุปกรณ์ หาก คืนไม่ได้ให้ใช้ราคา จึงเป็นกรณีที่โจทก์ในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ติดตามเอาทรัพย์คืนจากจำ� เลยผู้ไม่มี สิทธิจะยึดถือไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 ซ่ึงไม่มีอายุความ กรณีไม่ใช่เรื่องโจทก์ซ่ึงเป็นผู้ประกอบการ มสธค้าเรียกเอาค่าของท่ีได้ส่งมอบตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/34(1) มีปัญหาว่า การจดทะเบียนโอนรถยนต์มิใช่เป็นการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์เป็นเพียงหลักฐาน ทกี่ ำ� หนดขน้ึ เพอ่ื ความสะดวกในการควบคมุ ของเจา้ พนกั งานเทา่ นน้ั หากในสญั ญาซอื้ ขายรถยนตม์ ขี อ้ ความ ระบุเง่ือนไขในการจดทะเบียนโอนรถยนต์น้ัน จะถือว่าเป็นเงื่อนไขในการหน่วงกรรมสิทธ์ิหรือไม่ กรณีนี้ ต้องพิจารณาจากข้อความอื่นในสัญญาประกอบ หากมีข้อความว่า ผู้ขายจะโอนทะเบียนรถยนต์ให้เม่ือ มสธ มสธผูซ้ ื้อไดช้ �ำระราคาครบถ้วนแลว้ เป็นการบง่ ช้ใี หเ้ หน็ เจตนาว่า หากชำ� ระราคายงั ไมค่ รบถ้วนกจ็ ะยังไม่โอน กรรมสทิ ธใ์ิ นรถยนต์ให้เป็นของผู้ซ้ือ จงึ เป็นสัญญาซอ้ื ขายมีเง่อื นไข ตาม ป.พ.พ. มาตรา 459 อุทาหรณ์ ฎ. 3067/2530 สัญญาซื้อขายรถยนต์มีข้อความว่าผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ขายจะส่งมอบรถให้แก่ผู้ซ้ือใน วันที่โอนทะเบียน ผู้ซ้ือจะช�ำระเงิน 10,000 บาท และจะโอนทะเบียนกันในเดือนพฤศจิกายน 2527ดังนี้ มสธเป็นสัญญาซื้อขายท่ีมีเง่ือนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 459 กรรมสิทธิ์ในรถยนต์
สญั ญาซอ้ื ขาย 1 3-67 ยังไม่โอนไปจนกว่าผู้ซื้อจะได้ช�ำระราคาและโอนทะเบียนแล้วเม่ือผู้ซ้ือยังช�ำระราคาไม่ครบและยังไม่ได้ มสธโอนทะเบียนกันกรรมสิทธ์ิในรถยนต์ของกลางยังคงเป็นของผู้ร้อง ฎ. 5309/2551 โจทก์ซ้ือรถพิพาทไปจากจ�ำเลย ช�ำระราคาบางส่วนและรับมอบรถพิพาท ไปครอบครองใชป้ ระโยชน์แลว้ มีข้อตกลงใหโ้ จทก์ต้องช�ำระราคาบางส่วนท่เี หลือใหห้ มดภายในกำ� หนด 2 ปี จ�ำเลยจึงจะโอนทะเบียนรถพิพาทให้เป็นช่ือโจทก์ ตราบใดท่ีโจทก์ยังช�ำระเงินส่วนท่ีเหลือให้จ�ำเลย มสธ มสธไม่ครบภายในก�ำหนด 2 ปี จ�ำเลยก็จะไม่โอนทะเบียนรถให้เป็นช่ือโจทก์ เป็นการเอาเง่ือนไขการช�ำระหน้ี เป็นการหน่วงนิติกรรมการซื้อขายไว้มิให้เป็นผลจนกว่าโจทก์จะช�ำระหน้ีส่วนท่ีเหลือให้จ�ำเลยครบถ้วน แล้วกรรมสิทธิ์ในรถพิพาทจึงยังไม่โอนไปยังโจทก์ทันทีที่ตกลงซ้ือขายรถพิพาทกัน ข้อตกลงซื้อขายรถ พิพาทไม่ใช่เป็นการซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด 3. การซ้ือขายทรัพย์สินท่ียังไม่เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งหรือทรัพย์สินที่ยังไม่ก�ำหนดราคา มสธแน่นอน การซื้อขายทรัพย์สินท่ียังไม่เป็นทรัพย์เฉพาะส่ิงหรือทรัพย์สินท่ียังไม่ก�ำหนดราคาแน่นอน มี บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 460 ดงั นี้ มาตรา 460 ในการซอื้ ขายทรพั ยส์ นิ ซงึ่ มไิ ดก้ ำ� หนดลงไวแ้ นน่ อนนนั้ ทา่ นวา่ กรรมสทิ ธยิ์ งั ไมโ่ อนไป มสธ มสธจนกวา่ จะไดห้ มาย หรอื นบั ชง่ั ตวง วดั หรอื คดั เลอื ก หรอื ทำ� โดยวธิ อี น่ื เพอื่ ใหบ้ ง่ ตวั ทรพั ยส์ นิ นน้ั ออกเปน็ แน่นอนแลว้ ในการซอ้ื ขายทรพั ยส์ นิ เฉพาะสง่ิ ถา้ ผขู้ ายยงั จะตอ้ งนบั ชง่ั ตวง วดั หรอื ทำ� การอยา่ งอนื่ หรอื ทำ� สงิ่ หนงึ่ สงิ่ ใดอนั เกยี่ วแกท่ รพั ยส์ นิ เพอ่ื ใหร้ กู้ ำ� หนดราคาทรพั ยส์ นิ นนั้ แนน่ อน ทา่ นวา่ กรรมสทิ ธยิ์ งั ไมโ่ อนไป ยังผซู้ ือ้ จนกวา่ การหรอื ส่ิงนน้ั ไดท้ �ำแล้ว ตามบัญญัติดังกล่าว เป็นการซื้อขายทรัพย์สินท่ียังไม่เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและทรัพย์สินท่ียังไม่ มสธกำ� หนดราคาแน่นอน ซงึ่ เป็นข้อยกเว้นหลักท่วั ไป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 458 ซงึ่ จะได้จำ� แนกอธิบาย ดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 การซื้อขายทรัพย์สนิ ทยี่ ังไมเ่ ป็นทรพั ย์เฉพาะส่ิง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 460 วรรคหน่งึ กล่าว คือ เป็นการซื้อขายทรัพย์สินซึ่งมิได้ก�ำหนดลงไว้แน่นอน กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าจะได้หมาย นับ ชั่ง ตวง วดั คัดเลอื ก หรือทำ� โดยวิธอี นื่ เพอ่ื บ่งตัวทรัพย์สินน้นั ใหอ้ อกเป็นแน่นอนแลว้ เช่น ซอื้ โทรศัพท์ มสธ มสธมือถอื 1 เครอ่ื ง ต้องช้หี รอื เลอื กกอ่ นวา่ เป็นเครื่องใด ซือ้ น้ำ� ตาล 10 กิโลกรมั ต้องช่งั ก่อน ซอ้ื ขา้ วเปลือก 100 ถงั ตอ้ งตวงออกมาจากยุ้งขา้ วก่อน เปน็ ตน้ เหตุท่ีกฎหมายก�ำหนดให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินยังไม่โอนจนกว่าจะได้ “บ่งตัวทรัพย์สิน” หรือ ทำ� ใหเ้ ปน็ “ทรพั ยเ์ ฉพาะสง่ิ ” เชน่ นนั้ กเ็ พราะอาจเกดิ ปญั หาวา่ จะคดั เลอื กทรพั ยใ์ ด อยา่ งไรไปสง่ มอบและ หากเกดิ ภยั พบิ ตั ขิ น้ึ กอ่ นทจี่ ะสง่ มอบทรพั ยส์ นิ ทซี่ อ้ื ขาย จะรบั ผดิ กนั อยา่ งไร และฝา่ ยใดตอ้ งรบั ผดิ กฎหมาย มสธจงึ ก�ำหนดว่าหากยงั ไมบ่ ง่ ตวั ทรพั ยส์ ินนนั้ ออกเป็นแนน่ อน กรรมสิทธ์ิยังไม่โอนไปยังผู้ขาย
3-68 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซอ้ื ขาย เชา่ ทรพั ย์ เชา่ ซ้อื อุทาหรณ์ มสธ(1) ถอื ว่าเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแลว้ ฎ. 1074/2546 การที่โจทก์ส่งมอบข้าวเปลือกให้จ�ำเลยสีเป็นข้าวสาร แล้วส่งคืนข้าวสาร แก่โจทก์ โดยโจทก์ให้ค่าตอบแทนแก่จ�ำเลยเป็นปลายข้าวและร�ำข้าว ถือเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่าง หน่ึง จ�ำเลยมีหน้าท่ีจะต้องน�ำข้าวเปลือกจ�ำนวนท่ีได้รับมอบจากโจทก์อันก�ำหนดไว้แน่นอนมาด�ำเนิน มสธ มสธการสีเป็นข้าวสารส่งมอบให้แกโ่ จทก์ ต่อมาเกิดไฟไหมโ้ รงสีของจำ� เลย ซง่ึ ขณะน้ันในโรงสีข้าวของจ�ำเลย ไม่มีข้าวเปลือกมีแต่ข้าวสาร แสดงว่าข้าวสารที่จ�ำเลยจะต้องส่งมอบแก่โจทก์เป็นทรัพย์เฉพาะส่ิงแล้ว ฉะนนั้ การทจ่ี ำ� เลยไมส่ ามารถสง่ มอบขา้ วสารใหแ้ กโ่ จทกไ์ ดเ้ พราะเหตไุ ฟไหมท้ ไ่ี มป่ รากฏวา่ เกดิ จากการก ระท�ำของผู้ใด จึงถือไม่ได้ว่าเหตุท่ีเกิดไฟไหม้โรงสีน้ันเนื่องมาจากพฤติการณ์ท่ีจ�ำเลยต้องรับผิดชอบ การ ช�ำระหน้ีของจ�ำเลยด้วยการส่งมอบข้าวสารแก่โจทก์ย่อมกลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ซึ่งลูกหน้ีไม่ ต้องรับผิดชอบตาม ป.พ.พ. มาตรา 219 วรรคหนึ่ง มสธ(2) ยังไม่ถือว่าเป็นทรัพยเ์ ฉพาะสิง่ ฎ. 5774/2534 เม่ือกรมสารบรรณทหารได้ซื้อแบตเตอร่ีจากโจทก์ และขอฝากแบตเตอร่ีที่ ซ้ือไว้กับโจทก์ แต่โจทก์ยังมิได้ก�ำหนดแบ่งแยกไว้แน่นอนว่าจะขายแบตเตอร่ีหม้อใดให้ แบตเตอร่ีจึงยัง เป็นของโจทก์เพราะกรรมสิทธิ์ในแบตเตอร่ียังไม่โอนไปยังกรมสารบรรณทหาร ผู้ซื้อตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 460 โจทก์จึงเป็นผู้เสียหายมีอ�ำนาจฟ้องจ�ำเลยให้ชดใช้แบตเตอรี่ท่ีเอา มสธ มสธไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ฎ. 9145/2549 พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษฯ บัญญัติค�ำนิยามของค�ำว่า จ�ำหน่าย หมายความ ว่า ขาย จ่าย แจก แลกเปล่ียน ให้ ซึ่งมีความหมายกว้างกว่าการซ้ือขายตาม ป.พ.พ. แม้เป็นการจ่าย แจก ซ่ึงไม่มีค่าตอบแทนก็ถือว่าเป็นการจ�ำหน่าย แสดงว่าถือเอาการส่งมอบทรัพย์สินท่ีซ้ือขายเป็นส�ำคัญ แม้ จะมีการตกลงซ้ือขายกัญชากันแล้ว แต่สายลับยังไม่ได้ส่งมอบเงินให้แก่จ�ำเลยท้ังสอง และจ�ำเลยทั้งสอง เพียงเอากัญชาของกลางจากที่ซ่อนเพ่ือให้สายลับดู ยังไม่ทันได้ส่งมอบกัญชาของกลางให้แก่สายลับ เจ้า มสธพนักงานต�ำรวจเข้าจับจ�ำเลยทั้งสองกับพวกเสียก่อน ท้ังกัญชาของกลางที่ยึดไว้มีเพียง 40 กิโลกรัม ไม่ ครบจ�ำนวน 50 กิโลกรัม ตามที่สายลับตกลงซื้อจากพวกของจ�ำเลยทั้งสอง การท่ีสายลับเพียงแต่ได้ดู กัญชาของกลาง ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการส่งมอบกัญชาของกลางโดยปริยาย การซื้อขายกัญชาของกลาง ระหว่างจ�ำเลยท้ังสองและพวกกับสายลับจึงไม่ส�ำเร็จบริบูรณ์ การกระท�ำของจ�ำเลยท้ังสองจึงเป็นความ ผิดฐานร่วมกันพยายามจ�ำหน่ายกัญชาของกลาง มสธ มสธ3.2 การซ้อื ขายทรัพยส์ ินท่ียังไมไ่ ด้กำ� หนดราคาทรพั ย์สนิ น้ันแนน่ อน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 460 วรรคสอง กล่าวคอื ในการซ้อื ขายทรัพย์สินที่เปน็ ทรพั ยเ์ ฉพาะสงิ่ แลว้ ถ้าผ้ขู ายยังจะตอ้ งนบั ชง่ั ตวง วัด ทำ� การอยา่ งอนื่ หรอื ทำ� สง่ิ หนง่ึ สง่ิ ใดอนั เกย่ี วแกท่ รพั ยส์ นิ เพอ่ื ใหร้ รู้ าคาทรพั ยส์ นิ นนั้ แนน่ อน กรรมสทิ ธย์ิ งั ไม่โอนไปยังผู้ซื้อ จนกว่าการหรือสิ่งนั้นได้ท�ำแล้ว เช่น ซื้อส้มโชกุนเหมายกเข่งในราคากิโลกรัมละ 120 บาท ดังนี้ ซื้อสม้ เหมายกเข่งถือว่าเปน็ ทรัพย์เฉพาะสิ่งแลว้ แมจ้ ะรู้วา่ ราคากิโลกรัมละเท่าไร แตย่ งั ไมร่ ้วู ่า มสธทง้ั เขง่ เป็นเงนิ เทา่ ไร จะต้องชั่งเพ่ือให้รู้กำ� หนดราคาทแี่ นน่ อนกอ่ น กรรมสิทธ์จิ ึงจะโอนไปยังผซู้ ้ือ เปน็ ต้น
สัญญาซอ้ื ขาย 1 3-69 หากก�ำหนดราคาทรัพย์สินแน่นอนแล้ว เพียงแต่ตรวจสอบการส่งมอบว่าถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาซ้ือ มสธขายหรอื ไมเ่ ท่านั้น มใิ ชก่ รณตี าม ป.พ.พ. มาตรา 460 วรรคสอง อุทาหรณ์ ฎ. 2607/2531 บรษิ ทั อ. นำ� นำ�้ มนั เตาจำ� นวน 12,000 ลติ ร ทโ่ี จทกร์ ว่ มสง่ั ซอ้ื ไปสง่ ยงั บรษิ ทั โจทก์ ร่วม โดยบรรทุกน�้ำมันและจะรับรู้หรือรับผิดชอบถ้าหากลวดซีลท่ีฝาปิดเปิดอยู่ในสภาพไม่เรียบร้อย มสธ มสธแสดงว่าบริษัท อ. ผู้ขายได้หมาย หรือ นับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกบ่งตัวทรัพย์สินคือน้�ำมันเตาที่โจทก์ ร่วมสั่งซื้อไว้แน่นอนเป็นจ�ำนวน 12,000 ลิตร และบรรจุไว้ในรถเรียบร้อยแล้ว กรรมสิทธ์ิในน�้ำมันเตาท่ี ซ้ือขายย่อมโอนไปเป็นของโจทก์ร่วม การที่โจทก์ร่วมน�ำรถบรรทุกน�้ำมันไปชั่งน้�ำหนักอีกทีหนึ่งเป็น เพียงวิธีการตรวจสอบว่าบริษัท อ. ได้ส่งมอบน้�ำมันเตาท่ีสั่งซื้อให้โจทก์ร่วมครบถ้วนหรือไม่เท่านั้น หา ใช่เป็นการกระท�ำเพื่อให้ทราบราคาที่แน่นอนไม่ เมื่อจ�ำเลยลักน้�ำมันเตาไป 4,000 ลิตร โจทก์ร่วมจึงเป็น ผู้เสียหาย มสธเหตุที่กฎหมายก�ำหนดให้กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อจนกว่าจะได้รู้ราคาท่ีแน่นอน กเ็ พอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาขอ้ พพิ าทในเรอื่ งการใชร้ าคา เชน่ ทรพั ยส์ นิ นนั้ เกดิ ความเสยี หายหรอื สญู หาย จะคดิ ราคากันอย่างไร เป็นตน้ ซ่งึ หากร้รู าคาทแ่ี นน่ อนแล้ว กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สนิ ที่ซื้อขายยอ่ มโอนไปยัง ผซู้ ื้อ แม้จะยังมไิ ด้ชำ� ระราคาหรือยังช�ำระราคายงั ไมค่ รบถ้วนก็ตาม ดังกลา่ วมาแลว้ ข้อสังเกต มสธ มสธกรณีซื้อขายเหมาและได้ก�ำหนดราคาเหมาแล้ว เช่น ซ้ือผลทุเรียนเหมายกสวน 500,000 บาท ดังน้ี เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและรู้ก�ำหนดเวลาที่แน่นอนแล้ว กรรมสิทธ์ิในผลทุเรียนย่อมโอนไปยังผู้ซ้ือ ไม่ ต้องด้วยกรณีตาม ป.พ.พ. มาตรา 460 กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินย่อมโอนไปขณะเมื่อได้ท�ำสัญญาซื้อขาย ตาม ป.พ.พ. มาตรา 458 แมเ้ มอื่ เกบ็ ผลทง้ั สวนแลว้ จะไดม้ ากหรอื นอ้ ยกวา่ ทค่ี าดการณไ์ ว้ กต็ อ้ งรบั ทราบ สภาพนั้น เช่น เมื่อได้น้อยผู้ซื้อจะขอลดราคา หรือได้มากผู้ขายจะขอเพิ่มราคา ก็หามีสิทธิดังกล่าวไม่ เปน็ ต้น มสธอุทาหรณ์ ฎ. 1223/2496 ท�ำสัญญาขายเหมาอิฐ 2 เตา อิฐประมาณ 2 แสน 2 หม่ืนแผ่น ซึ่งอยู่ที่ลานเป็น เงิน 7,000 บาท ดังน้ี เป็นการขายอิฐเป็นเตาซ่ึงมีจ�ำนวนแน่นอน คือ 2 เตา ราคาก็แน่นอนคือ 7,000 บาท แม้จะได้กล่าวถึงจ�ำนวนอิฐไว้ด้วย ก็เป็นการกล่าวไว้โดยประมาณพอให้เข้าใจว่าอิฐที่ขายมีปริมาณสัก เท่าใด กรรมสิทธิ์ในอิฐย่อมผ่านจากผู้ขายไปยังผู้ซ้ือตั้งแต่ขณะท�ำสัญญากันแล้ว กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา มสธ มสธ460 ฎ. 400/2501 สัญญาจะซ้ือขายท่ีดิน แม้จะไม่ระบุว่าขายเหมา ถ้าข้อสัญญาแสดงว่าซ้ือขายกัน ท้ังแปลงตามท่ีระบุและท�ำแผนท่ีสังเขปไว้โดยตกลงราคาแน่นอน ระบุเนื้อท่ีดินแต่โดยประมาณ ไม่ ก�ำหนดว่าตารางวาละเท่าใด ฯลฯ ถือเป็นการขายเหมา เนื้อท่ีเกินจากท่ีประมาณไว้ ผู้ขายจะเรียกราคา มสธเพิ่มไม่ได้
3-70 กฎหมายพาณชิ ย์ 1: ซอื้ ขาย เช่าทรัพย์ เช่าซอ้ื ฎ. 1283/2513 การซ้ือขายแบบซื้อเหมา และท่ีซ้ือมีจ�ำนวนแน่นอน ไม่ต้องมีการตรวจนับอย่าง มสธใดอกี กรรมสทิ ธยิ์ อ่ มโอนไปยงั ผซู้ อ้ื แตข่ ณะทำ� สญั ญาซอ้ื ขาย ตามมาตรา 458 สว่ นเรอื่ งการสง่ มอบทรพั ย์ ท่ีซื้อขายกัน เป็นอีกเร่ืองหนึ่งไม่เก่ียวกับการโอนกรรมสิทธิ์ มสธ มสธกิจกรรม3.2.3 ก ตกลงซ้ือขา้ วเปลอื กจากยงุ้ ขา้ วของ ข. จำ� นวน 100 ถงั โดยตกลงราคาต่อถังกันเรียบรอ้ ยแลว้ และ ก. ตวงขา้ วเปลอื กออกมาวางไว้ข้างยุง้ ข้าวแล้ว 70 ถงั และได้ขนออกไปแล้ว 50 ถัง ปรากฏว่าคนื นน้ั มพี ายฝุ นตกหนกั ขา้ วเปลอื กในยงุ้ ขา้ วและทก่ี องไวข้ า้ งยงุ้ ขา้ วเสยี หายหมด เชน่ น้ี ก. จะมาทวงเปลอื ก อีก 50 ถงั จาก ข. ไดห้ รอื ไม่ มสธแนวตอบกิจกรรม 3.2.3 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 460 วรรคหน่งึ ในการซอื้ ขายทรพั ย์สนิ ซ่งึ มไิ ดก้ ำ� หนดลงไว้แน่นอนน้ันทา่ น ว่ากรรมสิทธยิ์ ังไม่โอนไปจนกวา่ จะได้หมาย หรอื นับ ช่ัง ตวง วดั หรือคดั เลือก หรอื ท�ำโดยวิธีอนื่ เพ่อื ให้ บ่งตัวทรัพย์สินน้ันออกเปน็ แน่นอนแลว้ ตามปัญหา ก. ตกลงซอ้ื ข้าวเปลือกจากยุง้ ข้าวของ ข. จำ� นวน 100 ถงั โดยตกลงราคาตอ่ ถงั กนั มสธ มสธเรยี บร้อยแลว้ และ ก. ตวงข้าวออกมาวางไวข้ า้ งยุง้ ข้าวแลว้ 70 ถัง เมือ่ ได้ตวงออกมาแล้ว ข้าวเปลอื ก 70 ถังดังกลา่ วย่อมเป็นทรัพยเ์ ฉพาะสิ่ง กรรมสทิ ธ์ใิ นข้าวเปลือก 70 ถงั ไดโ้ อนไปยงั ก. แล้ว แมว้ า่ ก. จะขน เอาไปแลว้ เพยี ง 50 ถงั ก็ตาม ส่วนอีก 30 ถัง ท่ี ก. ยงั ไมไ่ ด้ตวงออกมาจากยุ้งข้าวของ ข. กรรมสทิ ธ์จิ ึง ยังไมโ่ อนไปยัง ก. ดังนน้ั ก. จึงทวงขา้ วเปลอื กจาก ข. ไดเ้ พียง 30 ถงั เทา่ นน้ั ฉะนน้ั ก. จะทวงขา้ วเปลอื กอกี 50 ถงั จาก ข. ไมไ่ ด้ คงมสี ทิ ธทิ วงไดอ้ กี เพยี ง 30 ถงั เทา่ นนั้ ตาม มสธ มมสสธธ มสธเหตผุ ลดังกลา่ว
มสธบรรณานุกรม สญั ญาซ้อื ขาย 1 3-71 บัญญัติ สุธีระ. (2518). ค�ำอธิบายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ วา่ ด้วยทรพั ย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพศ์ าสนา. ประพนธ์ ศาตะมาน และไพจิตร ปุญญพันธ์. (2525). ค�ำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มสธ มสธลักษณะซ้ือขาย. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พมิ พ์นิติบรรณการ. ไพจิตร ปุญญพันธ์. (2525). ค�ำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยขายฝาก. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก พมิ พ์นิตธิ รรมบรรณาการ. . (2547). หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของผขู้ าย และหนา้ ทขี่ องผซู้ อื้ . ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ ากฎหมาย พาณชิ ย์ 1, เล่ม 1, หน่วยที่ 3. นนทบรุ ี: สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. วิษณุ เครืองาม. (2540). ค�ำอธิบายกฎหมายว่าด้วยซื้อขาย แลกเปล่ียน ให้. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์นิติบรรณ การ. มสธศรีราชา เจริญพานิช. (2559). สภาพและหลักส�ำคัญของสัญญาซ้ือขาย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมาย พาณิชย์ 1, เลม่ 1, หนว่ ยที่ 1. นนทบรุ :ี สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธสมยศ เชอื้ ไทย. (2543). หลกั กฎหมายซ้อื ขาย แลกเปลย่ี น ให.้ กรุงเทพฯ: วญิ ญูชน.
Search