Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore น.ส.พรพิภัส ใจกระจ่าง 38

น.ส.พรพิภัส ใจกระจ่าง 38

Published by Guset User, 2021-12-01 12:54:27

Description: น.ส.พรพิภัส ใจกระจ่าง 38

Search

Read the Text Version

ชีวิต.... ลักษณะภูมิ อากาศ คือ การออกไป ค้นหาเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ภูมิภาคต่างๆ ของโลก ที่ไม่มีสิ้นสุด

1 2 ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศคือภาพรวมของ สิ่งสำคัญที่ทำให้ภูมิอากาศในโลกแตก ลักษณะอากาศในรอบปี ส่วนลมฟ้าอากาศ ต่างกันในแต่ละพื้นที่ก็คือชั้นบรรยากาศ คือลักษณะอากาศที่เกิดขึ้นและ เป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งในแต่ละชั้นจะมีความ เปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน แตกต่างกันโดยแบ่งออกได้ 5 ชั้น ดังนี้

3 4 วัฏจักรของน้ำ 1.โทรโพสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่สูงจากพื้นดินขึ้น ไปประมาณ 0-10 กิโลเมตรชั้นนี้จะมี ลม เมฆ พายุ ฝน หิมะ ลูกเห็บ เป็นชั้นที่ เราอาศัยอยู่นั่นเอง

5 6 หยาดน้ำฟ้าเกิดขึ้นได้จากไอน้ำที่ลอยขึ้นสู่ ทำให้เขตหลังเขามีไอน้ำน้อยลงฝนอาจจะ ชั้นอากาศเย็นแล้วจับตัวเป็นก้อนเมฆจนอิ่ม ไม่ตกหรือตกน้อยซึ่งเรียกว่า \"เงาฝน\" ตัวแล้วตกลงมาเป็นหยดน้ำซึ่งเรียกว่า \"ฝน\" ถ้าอากาศเย็นกับอากาศร้อนมาปะทะกัน หยาดน้ำฟ้าปะทะกับภูเขาเกิดขึ้นจากการที่ไอ อากาศร้อนจะมีมวลอากาศเบากว่า น้ำจับกลุ่มเป็นก้อนเมฆบวกกับโดนพายุหรือ ลอยตัวมาปะทะกับอากาศเย็นที่มีมวล ลมพัดพาให้ลอยสูงปะทะกับความดันอากาศ หนักกว่า จึงทำให้มวลอากาศเย็นดัน หนาวบนยอดเขาทำให้ฝนตกบริเวณหน้าเขา อากาศร้อนให้คายไอน้ำลงมาเป็นหยดน้ำ มากกว่าหลังเขา

7 8 2.สตราโทสเฟียร์ 3.มีโซสเฟียร์ เป็นชั้นที่เกิดปรากฎการณ์เรือน อยู่ในช่วง 50-80 กิโลเมตรจาก กระจก มีความสูงจากพื้นดิน พื้นดิน ชั้นนี้จะมีอุณหภูมิที่หนาว ประมาณ 10-50 กิโลเมตร ซึ่งเป็นชั้น เหมาะแก่การบินของเครื่องบิน ชั้นนี้ อย่างเช่นยอดเขา จะมีก๊าซซึ่งช่วยสกัดความร้อนหรือ แสงอัลตร้าไวโอเลต (UV)จากดวง อาทิตย์ไม่ให้สู่พื้นโลกมากเกินไป แต่ ถ้าชั้นนี้เก็บกักความร้อนไว้มากเกิน จนเกิดเป็นก๊าซคาร์บอนไดซ์อ๊อกไซด์ ก็จะทำให้เกิดภาวะโลกร้อนหรือที่ เรียกว่า \"เรือนกระจก\"

9 10 4.เทอร์โมสเฟียร์ 5.เอกโซสเฟียร์ อยู่ในช่วง80-600 กิโลเมตรจากพื้นดิน อยู่ในช่วง 600กิโลเมตรขึ้นไปจากผิว อากาศจะเบาบางมีแก๊สที่เป็นอนุภาค โลกองค์ประกอบส่วนใหญ่จะเป็นแก๊ส ประจุไฟฟ้า เรียกว่า ไอออนหรือเรียกอีก ไฮโดรเจนและฮีเลียม เป็นชั้นบนสุดก่อน ชื่อว่า ไอโอโนสเฟียร์ ชั้นนี้ที่เป็นชั้นทำให้ ถึงชั้นอวกาศพ้นจากแรงดึงดูดของโลก เกิดปรากฏการณ์ฟ้าร้องฟ้าผ่านั่นเอง

11 ปั จจัยที่ทำให้อากาศแตก 12 ต่างกัน 2.ความใกล้ไกลทะเล คือ ความชื้น ความร้อนที่ได้รับจาก 1.ที่ตั้งตามละติจูด ส่วนที่ร้อนเพราะได้ ทะเล รับแสงจากดวงอาทิตย์มากจะมีผลทำให้ เกิดฝนและพายุบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่จะเป็น 3.ความสูงของพื้นที่ ถ้ายิ่งสูง เขตทะเลสาบ มหาสมุทร บริเวณนี้มักจะมี ขึ้นอากาศก็จะยิ่งหนาว ต้นไม้ขึ้นหนาทึบจนกลายเป็นป่าดงดิบ

13 14 4.กระแสน้ำในมหาสมุทรที่ได้ 5.การเคลื่อนไหวของอากาศหรือเรียก รับอิทธิพลจากลมมรสุมพัดไปหา อีกอย่างว่า ลมมรสุม ถ้าเกิดฝนฟ้าคะนอง ฝั่งระหว่างกระแสน้ำอุ่นกับกระแส ส่วนใหญ่เป็นลมมรสุมเขตร้อนมักเกิดใน โซนภาคใต้ถึงภาคตะวันออก ถ้าเป็นภาค น้ำเย็น ใต้ของไทยจะเกิดฝนตกชุกทั้งปีเหมาะกับ การทำเกษตรสวนยางพาราซึ่งเป็นพืช เศรษฐกิจอันดับต้นๆของไทย

15 16 อากาศในโลกเรา เขตหนาว เป็นบริเวณพื้นที่ราบสูงอยู่ เขตร้อน สังเกตได้จากหญ้าสะวันนาและ ห่างไกลจากทะเล เช่น บนดอย ยอดเขาสูง ทะเลทราย เขตน้ำแข็งหรือจุดเยือกเย็น เป็นบริเวณ เขตอบอุ่นเป็นบริเวณที่ราบลุ่มหรือเนิน ที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์คือบริเวณเขตขั้ว เขามักจะเห็นหญ้าแพร์รี่ขึ้นในบริเวณเขตนี้ โลกเหนือและขั้วโลกใต้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook