งานตักบาตรเทโวโรหนะประจ�ำปีของวัดสังกัสรตั นครี ี พระพทุ ธมงคลศักด์สิ ิทธ์ิ พทุ ธศิลป์ แบบสุโขทัย เดิมประดิษฐานอยู่ท่ี วดั ขวดิ ตอ่ มามกี ารรอ้ื ถอนเสนาสนะ ของวัดขวิดเพื่อเปิดพื้นที่ส�ำหรับ การพัฒนา จึงได้มีการอัญเชิญมา ประดษิ ฐานในพระมณฑปที่เชิงเขา สะแกกรังในวดั สงั กัสรัตนคีรี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 99
ภาพมมุ สูงบรรยากาศตลาดเชา้ ท่ีตลาดสดเทศบาลอุทยั ธานี ภาพโดย: อิสรชยั บรู ณะอรรจน์ 100 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ย่านส�ำคัญ ในพ้ืนที่ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 101
แ ม ่ น้ น ำ ส ะ แ ก ก รั ง 1 3 สญั ลักษณ์ 2 ย่านส�ำคัญ ในพืน้ ทีเ่ มืองเก่าอทุ ัยธานี 1. ตลาดสดเทศบาล และตลาดริมน�ำ้ สะแกกรงั 2. ย่านการคา้ รมิ ถนนทา่ ชา้ ง 3. ตรอกโรงยา 102 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ย่านสำ� คัญ ในพ้ืนท่ีเมอื งเกา่ อุทัยธานี ตกึ แถวรมิ ถนนชยั พฤกษล์ อ้ มรอบ 1. ตลาดสดเทศบาล และตลาดรมิ นำ�้ สะแกกรงั ตลาดสดเทศบาลริมน�้ำสะแกกรัง เป็นอาคารแบบสมัยใหม่ช่วงต้น “ย่านตลาดสดเทศบาล” และ “ตลาดริมน้�ำสะแกกรัง” ในปัจจุบัน (Early Modern) สร้างขึ้นหลัง ปลูกขึ้นหลังเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในตัวเมืองอุทัยธานีเม่ือปี พ.ศ. 2478 จากเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้คร้ังใหญ่ จึงมกี ารจัดผังของเมืองใหม่ มีการปรบั ปรุงและตดั ถนนใหม่ในพื้นท่ี 3 สาย เม่ือปี พ.ศ. 2478 คอื “ถนนศรีอุทยั ” “ถนนมหาราช” และ “ถนนชยั พฤกษ์” จึงไดด้ ำ� เนนิ การ ย้ายเสนาสนะและนมสั การพระสงฆ์จากวดั ขวดิ เขา้ รวมกบั วดั ทุ่งแก้ว เมอ่ื มกี ารการจดั รปู และพฒั นาพน้ื ทข่ี น้ึ ใหมน่ นั้ มกี ารกอ่ สรา้ งตกึ แถว ทต่ี อบโจทยท์ ง้ั การอยู่อาศยั และพาณชิ ยกรรมอยใู่ นอาคารหลังเดยี วกนั และ เลือกใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสมัยใหม่ช่วงต้น (Early Modern) ท่ีมี ความนยิ มแพรห่ ลายในชว่ งเวลาดังกล่าว โดยรปู แบบทางสถาปัตยกรรมนนั้ แสดงถึงความต้องการใช้สอยที่แท้จริง แสดงลักษณะความมั่นคงแข็งแรง ไมต่ กแตง่ รายละเอยี ดมากสอดคลอ้ งกบั การใชง้ าน และการดแู ลรกั ษา อาคาร ชั้นล่างใช้ในกิจการพาณิชยกรรมจึงมีบาทวิถีด้านหน้าที่มีการยื่นชายคา กันสาดออกมาเพ่อื กนั แดดกันฝนใหก้ ับผทู้ ่มี าจับจ่ายใชส้ อยและใชท้ างเดิน พระอโุ บสถวดั ขวิด วงเวียนนำ�้ พุ โรงภาพยนตรน์ วิ เฉลิมอุทัย ตลาดสดเทศบาล ตลาดริมน�้ำสะแกกรงั ตึกแถว เรือนแถวไม้ แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 103
ภาพโดย: รฐั นคร ปยิ ะศริ ิโสฬส 104 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ภาพโดย: รัฐนคร ปิยะศิรโิ สฬส บรรยากาศ และความคกึ คกั ของตลาดสดรมิ แมน่ ำ้� สะแกกรงั ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ภาพโดย: รฐั นคร ปยิ ะศิริโสฬส แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 105
โรงภาพยนต์นวิ เฉลมิ อทุ ัย ตรอกโรงยา สะพานฉลองกรุงรัตนโกสนิ ทร์ 225 ปี ตลาดสดเทศบาล วัดอโุ ปสถาราม 11 3 22 106 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
2. ยา่ นการค้ารมิ ถนนท่าช้าง ตลอดแนวถนนทา่ ชา้ ง ซงึ่ เรมิ่ ตน้ ตง้ั แตท่ า่ ชา้ งซงึ่ เปน็ ทา่ นำ้� สำ� คญั ของเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี ซ่ึงปัจจุบันได้มีการก่อสร้างสะพานฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เช่ือมระหว่างฝั่งเมืองเก่า อุทัยธานีกับเกาะเทโพ จากท่าช้างตัดถนนตรงเข้าไปยังท่ีต้ังของวัดสังกัสรัตนาราม ซึ่งต้ังอยู่ ทางทิศใต้ของหัวเขาสะแกกรัง ถนนท่าช้างจึงเปรียบเป็นแกนส�ำคัญทางจิตวิญญาณของเมือง อทุ ัยธานี และในปจั จบุ ันก็เปน็ ถนนที่มเี สน้ ทางเชื่อมตอ่ จากเส้นทางเข้าเมือง ท�ำให้ถนนทา่ ช้าง เปรียบเป็นประตูทางเข้าสู่เมืองอทุ ัยธานี ในอดตี บรเิ วณรา้ นค้านบั ตัง้ แตร่ า้ นข้าวมนั ไก่โกตี๋ ฝัง่ เดยี วกนั เร่อื ยมาจนมาถึงซอยถนน สุขเกษมเป็นทีต่ ัง้ ของรา้ นค้าขายสังฆภัณฑ์ ซ่ึงอยู่ในละแวกวดั หลวงราชาวาส ปัจจุบันยา่ นถนน ท่าช้างเปน็ ทตี่ ัง้ ของภาคธรุ กิจส�ำคัญ อาทิ ธนาคาร ร้านคา้ ร้านอาหาร และรา้ นกาแฟสมยั ใหม ่ เนอ่ื งจากเปน็ แกนถนนทเี่ ชอื่ มมาจากทางเขา้ เมอื งอทุ ยั ธานี ทวา่ แมจ้ ะมกี ารพฒั นาเพอ่ื ตอบโจทย์ การใชส้ อยร่วมสมัย แตก่ ็ยังรักษาส�ำนกึ ในถ่นิ ที่และบรรยากาศของเมอื งเก่ากย็ งั คงอยคู่ กู่ ับบา้ น เรือนเกา่ แก่ไวไ้ ด้ นอกจากน้ี ในย่านถนนท่าช้างยังเป็นที่ตั้งของบ้านของบุคคลส�ำคัญในอดีต เช่น บ้าน ขุนกอบกัยกิจ และร้านค้าดั้งเดิมท่ีอยู่คู่กับเมืองเก่าอุทัยธานีมาอย่างยาวนานมากกว่า 40 ปี เชน่ รา้ นกาแฟโบราณของปา้ ทอง และรา้ นยาแผนโบราณของหมอวิรตั ิ เป็นตน้ 3. ตรอกโรงยา “ตรอกโรงยา” เป็นย่านที่ได้รับการพัฒนาพื้นที่ตลอดสองฟากถนนด้วยการก่อสร้าง เรอื นแถวไม้ และมโี รงยาฝน่ิ ของเถา้ แกจ่ ก๊ ซอย จงึ เปน็ ทม่ี าของชอื่ ตรอกแหง่ นี้ ในอดตี ตรอกโรงยา จึงท�ำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอีกแหล่งนอกเหนือไปจากย่านชุมชนตลาดริมน�้ำ จึงมี ท้ังโรงแรมที่พัก ร้านอาหาร และสถานบันเทิงต่าง ๆ สร้างความคึกคักและฐานะทางเศรษฐกิจ แก่ผปู้ ระกอบการธรุ กิจในย่านอย่างมาก ต่อมามีการประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 37 โดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ลงวันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ. 2501 ใหเ้ ลกิ จำ� หน่ายและเสพฝ่นิ โดยเด็ดขาดต้งั แตว่ นั ท่ี 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2502 โรงยาฝน่ิ กเ็ ลกิ กจิ การไป นบั จากนนั้ ตรอกโรงยาในฐานะของแหลง่ โรงยาฝน่ิ กซ็ บเซาลงดว้ ย เป็นแต่เพียงชุมชนส�ำหรับการอยู่อาศัยและการค้าขายท่ีไม่เข้มข้นเช่นในอดีต บ้านเรือนต่าง ๆ จงึ ปดิ หนา้ บา้ นกนั เป็นจ�ำนวนมาก ทวา่ ในเวลาตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2558 เกดิ การรวมกลมุ่ กนั ของชาวตรอกโรงยา ชมุ ชนอทุ ยั เมอื งวไิ ล ภายใตก้ ารหนนุ เสรมิ ความรแู้ ละความเขม้ แขง็ จากหนว่ ยงานวชิ าการ คอื มหาวทิ ยาลยั นเรศวร และหน่วยงานภาครัฐ คือ การเคหะแห่งชาติ ได้ด�ำเนินโครงการส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้และเสริมศักยภาพของชุมชนท้องถ่ิน จนน�ำไปสู่การจัดต้ังคณะกรรมการชุมชนและริเริ่ม การจดั กจิ กรรมถนนคนเดนิ เพอ่ื ฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชนผา่ นการอนรุ กั ษแ์ หลง่ เรยี นรู้ และการจดั การ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ซึ่งชุมชนตรอกโรงยากลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของอุทัยธานี ในปจั จุบัน แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 107
ภภาาพพลบา่นง:: คบวรารมยคากึกคาศกั ตขรอองกกาโรรงจยดั ากในจิ ตกอรรนมกถลนานงวคนั นเดนิ ตรอกโรงยาซง่ึ จดั กจิ กรรมชว่ งเยน็ ถงึ หวั คำ่� ทใี่ นตรอกโรงยา 108 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ก า ร จ� ำ แ น ก รู ป แ บ บ การอยู่อาศยั ในพืน้ ที่ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 109
รูปแบบท่อี ยอู่ าศยั ในพ้ืนทีเ่ มอื งเกา่ อุทัยธานี 110 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
การจ�ำแนกรูปแบบที่อยู่อาศยั ในพนื้ ที่เมอื งเกา่ อุทัยธานี จากโครงการศึกษาเพื่อก�ำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานีได้ก�ำหนดขอบเขต “พนื้ ท่เี มืองเก่า” หรอื “พืน้ ทีห่ ลัก (Core Zone)” มีเนื้อท่ีรวมกันทงั้ หมด 1.69 ตารางกิโลเมตร หรอื 1,058.87 ไร่ ทั้งนี้ จากแผนที่ในหนา้ 110 แสดงการจำ� แนกรูปแบบอาคารตามอยู่อาศยั โดยก�ำหนดให้ สีน�้ำเงิน คือ เรือนแพ สีน�้ำตาล คือ บ้านร้านค้าและอาคารแถว สีเขียว คือ บ้านเดี่ยว และสีส้ม คือ ศาสนสถาน ส�ำหรับพื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานีมีการตั้งถิ่นฐานและรูปแบบท่ีอยู่อาศัยท่ีหลากหลาย ทั้ง “ชุมชนฐานนำ�้ (Water-Based Community)” และ “ชมุ ชนฐานแผน่ ดิน (Landed-Base Community)” ท้ังนี้ ชมุ ชนเรือนแพก่อสร้างทอี่ ยู่อาศัยเปน็ “เรือนลอยนำ�้ ” หรือ “เรอื นแพ” ในแม่น้ำ� สะแกกรัง ซ่ึงมีการปรับตัวและปรับท�ำเลที่ต้ังของเรือนแพตามพลวัตของกระแสน้�ำ โดยเลือก ท�ำเลจอดอยู่บริเวณท่ีมีท่าน�้ำหรือชายตล่ิงสาธารณะที่สามารถเชื่อมข้ึนไปยังบนฝั่งได้โดยง่าย ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ เรือนแพจะจอดอยฝู่ ่งั เกาะเทโพมากกวา่ ฝั่งเมืองเก่าอุทยั ธานี จากการสัมภาษณ์ ท�ำใหท้ ราบวา่ สาเหตุท่ชี าวแพนิยมจอดแพรมิ ตลิ่งฝ่ังเกาะเทโพ เพราะมีลกั ษณะกายภาพไมช่ ัน จนเกนิ ไป เพราะตล่งิ ฝง่ั เมอื งกอ่ สรา้ งเป็นเขอื่ นและถมหนิ จนตลงิ่ มีความสูงและชัน หากระดบั น�ำ้ ลดลงอย่างรวดเร็ว จนชาวแพไม่อาจยา้ ยแพได้ทนั ทว่ งที จนแพเกยแห้งก็จะท�ำใหโ้ ครงสรา้ ง ของเรือนแพเสียหาย อีกทั้งพ้ืนที่ฝั่งเมืองในปัจจุบันไม่มีท�ำเลท่าน�้ำท่ีจะเช่ือมต่อลงไปยังแพ แมจ้ ะมที า่ นำ�้ สาธารณะบรเิ วณตลาดสดเทศบาลทพ่ี ฒั นาขน้ึ เพอื่ เปน็ ทพ่ี กั ผอ่ นหยอ่ นใจทเี่ ขา้ ถงึ ได้ โดยสาธารณชน ซงึ่ รสู้ กึ ไมเ่ ป็นสว่ นตวั จึงไมน่ �ำแพมาจอดบริเวณทา่ นำ้� รมิ ฝั่งตลาดสดดังกลา่ ว สำ� หรบั การตง้ั ถนิ่ ฐานในพนื้ ทขี่ อบเขตเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานมี กี ารกอ่ สรา้ งบา้ นเรอื นรว่ มกนั เป็นย่านการค้ามาต้ังแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 โดยกอ่ สร้างในรูปแบบบา้ นร้านค้า (Shop House) เปน็ เรือนแถวไม้ (Wooden Row House) ซึ่งตอ่ มาประสบอัคคภี ัยในปี พ.ศ. 2478 จึงมีการจัดรูปพ้นื ท่ี พฒั นาเส้นทางสัญจร ตลอดจน การกอ่ สรา้ งระบบสาธารณปู โภคขนึ้ ใหม่ จงึ กอ่ สรา้ งอาคารตกึ แถวคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ขน้ึ แทนท่ี ต่อมาเมืองอุทัยธานีออกไปตามเส้นทางถนนศรีอุทัย ถนนท่าช้าง และถนนสายอ่ืน ๆ ก็มีการ ก่อสร้างอาคารตกึ แถวคอนกรตี เสริมเหล็กอยเู่ คยี งคดู่ ว้ ย ทั้งนี้ อาคารทเี่ ป็นบ้านร้านค้าทัง้ เรือน แถวไมแ้ ละตกึ แถวคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ไดก้ ำ� หนดใหแ้ สดงในแผนทดี่ ว้ ยสนี ำ้� ตาล ซงึ่ จะเหน็ วา่ เกาะตวั อยตู่ ลอดแนวถนนหลักทเ่ี ปน็ ยา่ นการคา้ ทง้ั นี้ อาคารทก่ี ำ� หนดใหเ้ ปน็ สเี ขยี ว คอื อาคารทอ่ี ยอู่ าศยั แบบอาคารเดยี่ ว ซง่ึ จะเหน็ วา่ มีการกระจายตัวออกมาจากย่านการค้าตามถนนสายต่าง ๆ โดยรอบพ้ืนท่ีเมืองเก่าอุทัยธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 111
ภาพถ่ายมมุ สูงแสดงย่านพาณิชยกรรมในเมืองเกา่ อทุ ัยธานี 1ภ12าพโดย:แอผิสนรทชัยี่มรบดรู กณทะอารงรวจัฒน์ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
พั ฒ น า ก า ร รู ป แ บ บ บ้านร้านค้า ในพื้นท่ี เมืองเก่าอุทัยธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 113
รูปแบบบ้านค้าขาย ในพนื้ ท่เี มืองเกา่ อทุ ัยธานี 114 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
พัฒนาการรปู แบบบา้ นร้านคา้ ในพ้ืนทเี่ มอื งเกา่ อุทยั ธานี แบบแผนในการมีพ้ืนท่ีอยู่อาศัยและพื้นที่พาณิชยกรรมอยู่ภายใน อาคารหลงั เดยี วกัน เปน็ เอกลกั ษณข์ องการจัดการพนื้ ท่ใี ชส้ อยในบา้ นเรอื น ทีต่ ง้ั ถิ่นฐานอยใู่ นย่านการค้าขายในชมุ ชนเมืองตา่ ง ๆ ของชาวจนี เรยี กบา้ น ตามแบบแผนนวี้ า่ “บา้ นรา้ นคา้ (Shop House)” ทง้ั นี้ นบั เปน็ พนั ปมี าแลว้ ที่พ่อค้าวาณิชชาวจีนได้ออกเดินทางมาจากดินแดนมาตุภูมิเพื่อแสวงหาโชค และโอกาสท่ีจะสร้างความมั่งคั่งและเพ่ือจะน�ำทรัพย์สินส่งกลับไปยังดินแดน ต้นทาง ท้ังนี้ เมื่อคนจีนโพ้นทะเล (Oversea Chinese) ได้เคลื่อนย้ายเข้า มาตง้ั ถน่ิ ฐานในเมอื งทา่ ตา่ ง ๆ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และในประเทศไทย ก็ลงหลักปักฐานตามเมืองท่าเร่ิมต้นประกอบธุรกิจและแสวงหาโอกาสทาง ธุรกิจเพิ่มเติมเพื่อสร้างความม่ังค่ัง ซ่ึงแรกเร่ิมน้ันตั้งถ่ินฐานอยู่บริเวณปาก แมน่ ำ�้ สายตา่ ง ๆ ทไี่ หลมาบรรจบกบั ทะเล อาทิ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา แมน่ ำ�้ ทา่ จนี แม่น�้ำแม่กลอง และแม่น�้ำบางปะกง ต่อมาได้ขยับตัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานและ แสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจยังดินแดนหลังเมืองท่าท่ีอยู่ตอนในแผ่นดินของ แมน่ ำ้� สายตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ เอง สำ� หรับอุทัยธานี กลุ่มชาวจนี ทเ่ี ขา้ มาตัง้ ถ่ินฐานเปน็ กลมุ่ แรก ๆ คือ “ชาวจีนแตจ้ วิ๋ ” ซ่ึงในพน้ื ที่ภาคกลางตอนบนมคี นจีนแตจ้ วิ๋ เขา้ มาต้งั ถ่นิ ฐาน มาแลว้ ต้ังแตส่ มยั ปลายกรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นอยา่ งช้า ดงั ตัวอยา่ ง พระราชบิดา ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีก็เป็นชาวจีนแต้จ๋ิวจากเมืองเฉิงไห่ที่อพยพมา ลงหลกั ปกั ฐานทเ่ี มืองตาก เปน็ ต้น สำ� หรับ “ชาวจนี ไหหลำ� ” นน้ั กเ็ ป็นผู้มี บทบาทในเมืองอทุ ัยธานี แตเ่ ดินทางเข้ามาในพ้ืนที่เป็นล�ำดับต่อมา จากการศึกษาพบว่า ในเมืองเก่าอุทัยธานีมีชาวไทยเช้ือสายจีนท่ี ตั้งถ่ินฐานอยู่เป็นผู้มีเช้ือสายจีนแต้จ๋ิวและจีนไหหล�ำเป็นหลัก ซึ่งได้น�ำพา สมั ภาระทางวฒั นธรรม (Cultural Baggage) ดา้ นแบบแผนในการอยู่อาศัย ในลักษณะของบา้ นร้านคา้ (Shop House) มาปลูกสรา้ งเปน็ ส่วนหนึง่ ของ การพฒั นาความเป็นย่านพาณิชยกรรมในเมอื งเกา่ อุทัยธานีดว้ ย จากการศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมทางสถาปัตยกรรมบ้าน ร้านค้าในอุทัยธานีใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ และพระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 เม่ือการเสด็จ ประพาสอุทัยธานี ครง้ั ท่ี 2 ปี พ.ศ. 2449 ซง่ึ เปน็ ท่ีนา่ สนใจว่า มีการสรา้ ง เรอื นแถวไมร้ มิ ถนนและกอ่ สรา้ งเปน็ อาคารสองชนั้ นบั เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการ พฒั นายา่ นพาณชิ ยกรรมดว้ ยการกอ่ สรา้ งตลาด และเรอื นแถวไมใ้ นยา่ นตลาด เมืองอุทยั ธานี และสามารถจำ� แนกรูปแบบไดด้ งั นี้ แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 115
สถาปตั ยกรรมบ้านรา้ นคา้ แบบที่ 1 สถาปัตยกรรมบ้านร้านค้าแบบที่ 1 เป็นรูปแบบที่ก่อสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2449 ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นต้นทางของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอาคารบ้านร้านค้าในย่านตลาดเมือง อทุ ยั ธานี ดงั มหี ลกั ฐานยนื ยนั จากภาพถา่ ยฝพี ระหตั ถพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 ที่ทรงบนั ทึกไวใ้ นคราวเสด็จประพาสยงั อุทัยธานคี รง้ั ท่ี 2 เมอ่ื วันท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2449 และทรงมพี ระราชหตั ถเลขากลา่ วถงึ ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมวา่ เปน็ อาคาร 2 ชน้ั หลังคามุงจาก ปัจจุบันไม่พบเรือนแถวกลุ่มน้ีแล้ว สันนิษฐานว่าคงประสบเหตุในคราวอัคคีภัย ใหญบ่ ริเวณตลาดนนั่ เอง จากภาพแสดงลักษณะว่าเป็นเรือนแถวไม้สร้างต่อเนื่องกันสองฟากถนน มีความสูง 1-2 ชน้ั หลังคาทรงจั่วมงุ ดว้ ยกระเบ้ืองดนิ เผาและสงั กะสี และจากพระราชหตั ถเลขาแสดงให้ เหน็ วา่ ยงั ใช้หลงั คาทที่ ำ� จากใบไมน้ ำ� มามุงหลังคาดว้ ย โครงสร้างเสาไมซ้ งุ กลม ผนงั ไม้กระดาน ด้านหน้าอาคารชั้นล่างย่ืนหลังคากันสาดมุงด้วยสังกะสีคลุมทางเดินเท้า ส่วนผนังท้ังสองชั้นมี ระยะถอยลกึ เขา้ ไปภายในอาคารเพอ่ื ใชง้ านพน้ื ทดี่ งั กลา่ ว ชนั้ บนใชง้ านเปน็ ระเบยี ง สว่ นชนั้ ลา่ ง ใชง้ านเปน็ พนื้ ทค่ี า้ ขาย ประตทู างเขา้ หลกั เปน็ บานเฟย้ี มไมส้ ามารถเปดิ เปน็ ชอ่ งโลง่ ไดต้ ลอดชว่ ง แนวเสา สว่ นค้�ำยันหรอื ระเบียงกนั ตกนัน้ เปน็ ไม้เรียบเกล้ยี ง ไม่มีการประดบั ตกแตง่ ใด ๆ ภาพถา่ ยฝพี ระหัตถ์พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั เม่ือปี พ.ศ. 2449 แสดงรปู สถาปัตยกรรมบ้านร้านค้า แบบท่ี 1 ในย่านตลาดสดทไี่ ดเ้ สด็จพระราชดำ� เนนิ ผ่าน 116 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แบบสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมบ้านรา้ นคา้ แบบท่ี 1 เขยี นจากภาพถา่ ยฝพี ระหตั ถ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 5 เมอ่ื ปี พ.ศ. 2449 เป็นบ้านสองชั้น โครงสร้างเสาไม้ มีระเบียงดา้ นหน้า และกันสาด ใชพ้ ืน้ ท่ีใตร้ ะเบยี งหนา้ ส�ำหรบั การออกรา้ น ค้าขาย สถาปตั ยกรรมบา้ นรา้ นคา้ แบบที่ 2 สถาปัตยกรรมบ้านร้านค้าแบบที่ 2 สร้างระหวา่ งปี พ.ศ. 2450-2465 ใชก้ รณีศกึ ษา จากเรือนขุนกอบกัยกิจ และเรือนแถวไม้ท่ีอยู่แถบถนนศรีอุทัยชุมชน 8 บ้านเหนือ บ้านเดิม สะพานยาว มีท�ำเลทตี่ ง้ั อย่ไู มไ่ กลจากบา้ นฮกแซตึ๊ง รปู แบบทางสถาปตั ยกรรมของบา้ นรา้ นคา้ แบบท่ี 2 มลี กั ษณะเปน็ อาคารไม้ สงู 1-2 ชน้ั หลังคาทรงจั่วมุงด้วยกระเบื้องดินเผาและสังกะสี ส่วนโครงสร้างอาคารมีท้ังไม้ซุงกลม และ ไม้เน้ือแข็งไสปรับผิวให้เรียบ ผนังด้านหน้าอาคารชั้นบน-ล่างต้ังอยู่ในระนาบเดียวกันวางชิดริม ทางเดินเทา้ ย่ืนหลังคากนั สาดมุงดว้ ยสงั กะสคี ลมุ ทางเดนิ นน้ั ผนงั ตีไม้ตชี ิดใช้ไม้หนา้ กว้าง และ เซาะร่องเพ่ือทอนของแผ่นไม้ให้มีขนาดดูสมสัดส่วน ประตูทางเข้าหลักมี 2 แบบ คือ ประตู บานเฟย้ี มไม้ และประตบู านเปดิ คไู่ มซ้ งึ่ ใชร้ ว่ มกบั บานฝาถงั ทงั้ นเ้ี พอื่ ความสะดวกในการเปดิ พนื้ ท่ี ด้านหนา้ ให้โล่งตลอดช่วงเสา เหนือประตูเป็นช่องระบายอากาศ หน้าต่างชั้นบนเป็นบานเปิดคู่ พบหลายรูปแบบทงั้ ลูกฟกั บานทึบ ลกู ฟักกระดานดนุ บานเกล็ดติดตาย และหน้าต่างบานเปดิ คู่ รว่ มกบั ชอ่ งลมกระเบอื้ งปรลุ วดลายอยา่ งจนี อกี ดว้ ย มลี กั ษณะทโี่ ดดเดน่ จากองคป์ ระกอบตกแตง่ แบบจีนทัง้ งานไม้แกะสลักและภาพเขียนสี บา้ นขนุ กอบกยั กจิ เปน็ กรณศี กึ ษาทหี่ าไดย้ ากยง่ิ ของรปู แบบเรอื นรา้ นคา้ แบบที่ 2 และมี ความน่าสนใจในเร่ืองภูมิปัญญาในการก่อสร้างซ่ึงใช้โครงสร้างไม้ไผ่สานฉาบด้วยดินแล้วไล้ด้วย น�้ำปนู ขาว เพ่ือลดนำ�้ หนกั ผนังของอาคารลง ทวา่ ภาพรวมยังคงรกั ษาบรรยากาศและความร้สู ึก ถึงเปน็ อาคารเครอ่ื งกอ่ ตามแบบแผนการก่อสร้างของจนี ไดอ้ ยา่ งน่าสนใจอีกด้วย แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 117
ผนังไม้แผน่ ใหญ่ ตแี นวนอน ประตบู านเฟีย้ มไมแ้ ผน่ ใหญ่ ภูมิปัญญาในการก่อสร้างฝาผนังเป็น โครงไมไ้ ผส่ าน ฉาบดว้ ยดนิ ผสมเศษ วัสดุก่อสร้างและไล้ด้วยน้�ำปูนขาว สร้างบรรยากาศภาพรวมให้แสดง คุณลักษณะเป็นอาคารเครือ่ งก่อ สถาปัตยกรรมบ้านร้านค้า แบบที่ 2 สร้างระหว่างปี พ.ศ. 2450-2465 โดยมีเรือนกรณี ศกึ ษาสำ� คญั คอื เรอื นขุนกอบกัยกิจ และเรอื นแถวไมล้ ะแวกบา้ นฮกแซตึง๊ สถาปตั ยกรรมบ้านร้านคา้ แบบที่ 3 สถาปตั ยกรรมบา้ นรา้ นคา้ แบบท่ี 3 เปน็ รปู แบบทส่ี รา้ งขน้ึ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2465-2478 ลักษณะเป็นอาคารไม้ มีความสูง 1-2 ชั้น หลังคาทรงจั่วมุงด้วยกระเบ้ืองดินเผา และสังกะสี โครงสรา้ งอาคารเปน็ ไมเ้ นอื้ แขง็ ไสปรบั ผวิ ผนงั อาคารชนั้ บน-ลา่ งเปน็ ผนงั ไมต้ ซี อ้ นเกลด็ ดา้ นหนา้ อาคารมีหลังคากนั สาดมงุ ดว้ ยสังกะสีคลมุ ทางเดินเท้า ประตเู ป็นบานเฟยี้ มไม้ เหนือประตเู จาะ ช่องลมระบายอากาศ หน้าต่างชน้ั บนเปน็ บานเปดิ คู่ อาคารบางหลังมชี ่องหน้าตา่ งทีเ่ ปดิ ลงจรด ระดบั พ้ืนชั้นสองและมีราวกันตกคล้ายกับเป็นช่องประตู บ้านร้านค้าแบบนี้สร้างแพร่หลายบน ถนนท่าชา้ ง ถนนศรอี ุทัย 118 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ความหลากหลายของรูปแบบสถาปัตยกรรมบ้านร้านค้า แบบที่ 3 มีช่วงเวลาการก่อสร้าง ระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2465-2478 พบกระจายตวั อยูบ่ นถนนศรีอทุ ยั และถนนทา่ ชา้ ง แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 119
สถาปัตยกรรมบ้านร้านคา้ แบบที่ 4 สถาปัตยกรรมบ้านร้านค้าแบบที่ 4 เป็น “ตึกแถว” ซ่ึงหากจัดหมวดหมู่ตามรูปแบบ พัฒนาการทางสถาปัตยกรรมจะจัดอยู่ในสมัยใหม่ช่วงต้น (Early Modern) มีการก่อสร้างอยู่ ระหว่างปี พ.ศ. 2481-2495 ตัวอาคารสูง 2 ชั้น ระบบการก่อสร้างแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ ในการกอ่ สรา้ งในช่วงเวลาดังกลา่ ว ท้ังน้ี ด้วยเทคโนโลยีการกอ่ สรา้ งดงั กลา่ วนนั้ สามารถกอ่ รูป ทรงได้หลากหลายกว่าอาคารโครงสร้างไม้ ตลอดจนสามารถมีระยะย่ืนของโครงสร้างออกจาก โครงสรา้ งหลกั ไดโ้ ดยไมต่ ้องมีเสารับน้�ำหนักทปี่ ลายสว่ นย่นื นอกจากน้ี ทศั นคตทิ มี่ ตี อ่ คณุ สมบตั ขิ องคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ยงั ตอบโจทยใ์ นการพฒั นา ในพน้ื ทอี่ ทุ ยั ธานี ซงึ่ นอกเหนอื จากการใหภ้ าพลกั ษณข์ องการเขา้ สคู่ วามเปน็ สมยั ใหมแ่ ลว้ อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กท่ีก่อสร้างขึ้นเหล่านี้ยังช่วยสร้างความม่ันใจว่ามีความคงทนถาวรมากกว่า อาคารทกี่ ่อสรา้ งดว้ ยไม้ เนื่องจากยา่ นตลาดสดเมอื งอุทยั ธานีน้ันไดส้ ญู ลงจากเหตุมหาอัคคภี ยั เมือ่ ปี พ.ศ. 2478 นน่ั เอง ส�ำหรับโครงสร้างอาคารเป็นเสา-คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังด้านหน้าอาคารช้ันบน และช้ันล่างต้ังอยู่บนระนาบเดียวกัน ผนังอาคารก่อด้วยอิฐมอญ มีการใช้แผงบังแดด (Fin) ใน ระนาบตงั้ และนอน มกี นั สาดคอนกรตี คลมุ ทางเดนิ เทา้ บานประตเู ปน็ บานเหลก็ ยดื เหนอื ขนึ้ ไป เปน็ ชอ่ งระบายอากาศกรเุ หลก็ ดดั หนา้ ตา่ งชนั้ บนมที งั้ บานเปดิ คู่ และบานเปดิ เดยี่ ว ลกั ษณะบาน มีท้ังลูกฟักบานทึบและลูกฟักกระจก โดยเหนือหน้าต่างเป็นช่องแสงกระจก ซึ่งกระจกเป็นอีก วสั ดสุ มยั ใหมท่ ่ีใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายในชว่ งน้ี หลังคาอาคารเปน็ หลังคาราบ (Slab) หรือทเ่ี รียกว่าเป็นดาดฟ้า มีกนั สาด และมแี ผง กรอบอาคาร (Parapet) หลงั คาดาดฟา้ คอนกรตี เสรมิ เหลก็ ชว่ ยเพม่ิ พน้ื ทแ่ี ละความหลากหลาย ของรูปแบบการใช้สอย ทว่าด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้างและคุณสมบัติของวัสดุท�ำให้มีน�้ำร่ัวซึม ท�ำให้มีการแก้ปัญหาด้วยการสร้างโครงสร้างหลังคามุงด้วยกระเบ้ืองซีเมนต์เพื่อแก้ปัญหาใน อาคารบางหลัง ตึกแถวในกลุ่มนี้มีจ�ำนวนที่เข้มข้นบริเวณตลาดสดริมแม่น้�ำสะแกกรังบนถนนมหาราช ถนนท่าช้าง และถนนศรีอุทัย ซ่ึงบริเวณนี้เป็นย่านที่มีการจัดรูปและก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน ใหม่หลังจากเหตุเพลิงไหม้ใหญ่ในปี พ.ศ. 2478 จึงได้ร้ือเสนาสนะของวัดขวิดออกไปรวมกับ วดั ทุ่งแก้ว ในปี พ.ศ. 2481 เอื้อใหส้ ามารถพัฒนาและจดั การพืน้ ท่ีบริเวณอยา่ งมคี ณุ ภาพ และ คงได้ปลูกสร้างตึกแถวกลุ่มนี้ขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ทั้งนี้ จากการศึกษาภาพถ่ายมุมสูงในปี พ.ศ. 2494 (ในหนา้ 76-77) จะเห็นว่ามีการก่อสรา้ งตกึ แถวชุดดงั กล่าวแลว้ นน่ั เอง 120 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ความหลากหลายของรปู แบบสถาปตั ยกรรมบา้ นรา้ นคา้ แบบที่ 4 เรม่ิ กอ่ สรา้ งตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2478 เปน็ ตน้ มา สรา้ งกระจายตวั อยบู่ นถนนมหาราช ถนนศรอี ทุ ยั และถนนทา่ ชา้ ง ซงึ่ เปน็ พนื้ ทท่ี ี่มีการพัฒนาและจดั รูปพน้ื ท่ีข้ึนใหม่ภายหลงั เหตุการณไ์ ฟไหมใ้ หญใ่ นปี พ.ศ. 2478 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 121
สถาปตั ยกรรมบ้านรา้ นคา้ แบบท่ี 5 สถาปัตยกรรมบ้านร้านแบบท่ี 5 มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบ “ตึกแถวสมัยใหม่ (Modern)” กอ่ สรา้ งระหวา่ งปี พ.ศ. 2495-2515 มรี ะบบการกอ่ สรา้ งแบบคอนกรตี เสรมิ เหลก็ สูง 2-4 ชนั้ ผนังกอ่ อฐิ หลงั คาเปน็ หลังคาแบน (Slab) และมแี ผงหน้าจ่ัว (Parapet) มีการ ยืน่ กนั สาด และระเบยี งออกจากระนาบผนงั อาคารเพือ่ ใช้สอยประโยชนพ์ นื้ ที่ดังกลา่ ว มกี ารใช้ แผงบงั แดด (Fin) แนวตงั้ -นอน ประตูทางเข้าเปน็ บานเหลก็ ยืด เหนือประตเู ป็นช่องลมกรุ เหลก็ ดดั หน้าตา่ งมีทั้งแบบบานเปดิ คู่ และบานเปิดเดีย่ ว ลกั ษณะเปน็ บานลกู ฟักกระจก เหนอื หน้าต่างเป็นช่องแสงกระจก ทง้ั น้ี สถาปัตยกรรมแนวคิดสมัยใหม่ (Modern) มหี ลกั คิดสำ� คัญในการขับเคลื่อน คือ “แนวคิดหน้าท่ีนิยม (Functionalism)” สร้างอาคารท่ีค�ำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยสูงสุด ไม่เน้น การประดับตกแต่ง วัสดุก่อสร้างท่ีนิยมใช้ควบคู่กับอาคารรูปแบบสมัยใหม่น้ี ตัวอย่างเช่น การใชห้ นา้ ตา่ งเหลก็ คกู่ บั ลกู ฟกั กระจก อยา่ งไรกด็ ี พบวา่ ในภมู ภิ าคซงึ่ มขี อ้ จำ� กดั เรอื่ งเทคนคิ วธิ ี ในการก่อสร้างและการใช้วัสดุก่อสร้างแบบอุตสาหกรรมท่ียังไม่แพร่หลายกว้างขวางนักในช่วง เวลาดงั กลา่ ว จงึ พบมกี ารประยกุ ตใ์ ชห้ นา้ ตา่ งไมล้ กู ฟกั กระจกทดแทนงานเหลก็ ซง่ึ ตกึ แถวแบบนี้ มีการก่อสร้างกระจายตัวอยู่ทั่วไปในเมืองเก่าอุทัยธานี สัมพันธ์กับการขยายตัวของเนื้อเมือง ออกไปจากพืน้ ท่ศี ูนย์กลางทางเศรษฐกจิ ในพื้นทเ่ี มอื งเกา่ อุทัยธานี รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสมัยใหม่ ก่อสร้างระหว่างปี พ.ศ. 2495-2515 กรณีศึกษา ตวั อยา่ ง คอื “โรงแรมพิบูลย์สุข” จะเห็นได้ว่าในช่วงเวลาในการก่อสร้างนั้น โรงแรมถือ เป็นการท่ีใช้สอยของอาคารแบบใหม่ ๆ ท่ีเกดิ ข้ึนสมั พันธก์ บั การพัฒนาและการขยายตวั ของเมืองเข้าสคู่ วามเป็นสมยั ใหม่ 122 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ความหลากหลายของรปู แบบสถาปตั ยกรรมบา้ นร้านค้า แบบท่ี 5 การก่อสรา้ งนบั ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2495-2515 พบการกอ่ สรา้ งกระจายตวั อยบู่ นถนนศรอี ทุ ยั และถนนทา่ ชา้ ง ในชว่ งที่ เป็นพื้นท่ีขยายตัวต่อเน่ืองออกมาจากย่านศูนย์กลางเศรษฐกิจหลักเดิมของเมืองขยายตัว ออกมา ตวั อาคารจงึ มขี นาด สดั สว่ น ความสงู จำ� นวนชน้ั มากกวา่ อาคารทก่ี อ่ สรา้ งกอ่ นหนา้ แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 123
พ.ศ. 2449 | รัชกาลที่ 5 เสดจ็ ประพาสอทุ ัยธานี พ.ศ. 2468 | รัชกาลที่ 7 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2453 | รชั กาลท่ี 6 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2475 | เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2478 | รชั กาลท่ี 8 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2478 | ไฟไหมใ้ หญใ่ นเมอื งอทุ ยั ธานี 2450 2460 2470 2480 บ้านร้านค้าแบบท่ี 1 บ้านร้านคา้ แบบท่ี 2 บา้ นรา้ นคา้ แบบท่ี 3 ก่อนปี พ.ศ. 2449 พ.ศ. 2450-2465 พ.ศ. 2465-2478 ความสูง: 1-2 ช้ัน ความสูง: 1-2 ช้ัน โครงสรา้ ง: โครงสรา้ ง: - ไม้ซุงและไม้แปรรูปผิวเรยี บ - ไมซ้ ุงกลม - ผนงั ตีไม้ตีชิดและเซาะร่อง - ผนังไม้กระดาน ลักษณะเฉพาะ: หนา้ กวา้ ง - ประตูบานเฟี้ยมไม้ยาวตลอดช่วงเสา ลักษณะเฉพาะ: เพ่ือเปิดพ้ืนท่ีด้านให้โล่งเพ่ือการค้าขาย - มีระยะผนังท่ีถอยร่น - ประตู-หน้าต่าง มีท้ังลายลูกฟักบานทบึ ทางด้านหน้าของอาคาร ลกู ฟักกระดานดุน บานเกลด็ ตดิ ตาย เพ่ือเปน็ พนื้ ทค่ี า้ ขายใน และชอ่ งลมกระเบอื้ งปรลุ วดลายอยา่ งจนี ชน้ั ลา่ ง และเป็นระเบียง ชั้นบน ความสูง: 1-2 ชนั้ - มีหลังคากันสาดคลุม โครงสรา้ ง: ทางเดิน - ไมแ้ ปรรปู ผวิ เรยี บ - ผนังตีไม้ซอ้ นเกลด็ ลักษณะเฉพาะ: - มีหลังคากันสาด คลุมทางเดิน - ประตเู ปน็ บานเฟ้ียมไม้ เหนือประตทู �ำ ชอ่ งลมระบายอากาศ - หน้าตา่ งบานเปิดคู่ ยาวจรดพ้ืน 124 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
พ.ศ. 2489 | รัชกาลที่ 9 ขนึ้ ครองราชย์ พ.ศ. 2500 | แผนพฒั นาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2500 | เขือ่ นเจา้ พระยาสรา้ งแลว้ เสร็จ พ.ศ. 2522 | รชั กาลที่ 9 เสดจ็ อุทัยธานี 2490 สง่ ผลกระทบกบั อทุ ัยธานี 2500 2510 2520 บา้ นรา้ นคา้ แบบที่ 4 บา้ นรา้ นคา้ แบบท่ี 5 พ.ศ. 2481-2495 พ.ศ. 2495-2515 ความสูง: 2-3 ช้ัน ความสูง: 2-4 ชน้ั โครงสรา้ ง: คอนกรีตเสริมเหลก็ โครงสร้าง: คอนกรตี เสริมเหลก็ ลักษณะเฉพาะ: ลักษณะเฉพาะ: - สถาปัตยกรรมแบบสมัยใหม่ช่วงต้น - หลังคาแบนเรียบ (Flat Slab) (Early Modern) - แผงหน้าจ่วั (Parapet) - หลังคาแบน (Flat Slab) - แผงครีบบังแดด (Fin) แนวต้ัง และแนวนอน - แผงครีบบังแดด (Fin) เหนือช่องเปิด - ประตูพับเหล็กยืด และแผงเหล็กดัด - หน้าต่างบานเหล็กลูกฟักกระจก - หน้าต่างบานเหล็กลูกฟักกระจก แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 125
126 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองภเากพ่าโดอยุท: รัยัฐธนคารนปี ิยะศริ ิโส12ฬ7ส
บรรยากาศชุมชนชาวแพยามเช้า พระสงฆ์เสร็จ กจิ จากการบณิ ฑบาตโดยใชเ้ รอื กำ� ลงั เดนิ ทางกลบั ไปยังวัดอุโปสถารามโดยมีลูกศิษย์วัดเป็นผู้พาย 1ภ28าพโดย:แผกนนกท่ีมสุไรลดมกันทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เ รื อ น แ พ ชุมชนลอยน้�ำ ในพ้ืนที่ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 129
แผนที่สำ� รวจแม่นำ�้ สะแกกรงั องคป์ ระกอบของเมืองเกา่ และเรอื นแพ เมอื่ การสำ� รวจในปี พ.ศ. 2546 ทีม่ า: อรศริ ิ ปาณนิ ท์. (2546). หมูบ่ า้ นลอยนำ้� ของไทย. กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสิรินธร. 130 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เรือนแพ: ชุมชนลอยน้�ำ ในพนื้ ท่ีเมอื งเกา่ อุทัยธานี 1 อรศิริ ปาณินท์. (2546). หมู่บา้ น แม่น้�ำสะแกกรังเป็นสายน�้ำแห่งชีวิตที่สัมพันธ์ใกล้ชิดกับชาวเมือง ลอยน�้ำของไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ อทุ ัยธานมี าตง้ั แตอ่ ดตี ในยุคกอ่ รา่ งสรา้ งชมุ ชน จนกระท่ังถงึ ยคุ รุ่งเรืองของ มานุษยวิทยาสิรินธร. เมืองอุทัยธานีท่ียังฉายภาพอยู่ในความทรงจ�ำของผู้ทรงวัยวุฒิในเมืองเก่าก็ จะต้องกล่าวกันว่าด้วยมีสายน�้ำสะแกกรังเป็นเคร่ืองหนุนเสริมสร้างให้เกิด 2 รายงานวจิ ยั เพอ่ื การวางและจดั ทำ� ความเจรญิ รุดหนา้ ดา้ นพาณิชยกรรม ทวา่ ในปจั จบุ ันวิถีผ้คู นไดถ้ อยหา่ งจาก ผงั เมอื งรวมอทุ ยั ธานี ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี แม่น�้ำมากข้ึนด้วยการพัฒนาท่ีเน้นหนักไปสู่การพัฒนาบนฐานของการขนส่ง 1/2534. อา้ งถงึ ใน อรศริ ิ ปาณนิ ท.์ ทางบก ซง่ึ ปรากฏการณด์ งั กลา่ วไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ กบั แมน่ ำ�้ สะแกกรงั เพยี งสายเดยี ว (2546). หมู่บ้านลอยน้�ำของไทย. ทวา่ แมน่ �้ำทกุ สายของประเทศไทยก็ถกู ลดความสำ� คัญเชน่ เดียวกนั กรงุ เทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร. อย่างไรก็ดี แม้ว่าบทบาทและความหมายของสายน�้ำที่มีต่อผู้คน และการตง้ั ถน่ิ ฐานจะเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ มาก แตแ่ มน่ ำ�้ สะแกกรงั กย็ งั เปน็ หน้า 38. แม่น้�ำท่ีลมหายใจแทบจะเป็นแม่น�้ำสายสุดท้ายของประเทศไทยที่ยังมีผู้คน มกี ารอยอู่ าศยั และดำ� รงชพี รว่ มกบั สายนำ้� อยา่ งใกลช้ ดิ โดยเฉพาะการกอ่ สรา้ ง 3 อรศริ ิ ปาณนิ ท์. (2546). หมบู่ ้าน “เรอื นแพ” อยอู่ าศยั รว่ มกนั เปน็ “ชมุ ชนลอยน�้ำ” แหง่ สดุ ท้ายของประเทศ ลอยน�้ำของไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ จากการศึกษาเร่ือง “หมู่บ้านลอยน้�ำของไทย” 1 โดยศาสตราจารย์ มานุษยวิทยาสิรินธร. หน้า 38 เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท์ เมื่อปี พ.ศ. 2546 ให้ข้อมูลว่า จากการส�ำรวจ รูปทรงภายนอกของตัวเรือนแพสามารถจำ� แนกออกไดเ้ ปน็ 3 รปู แบบ คอื เรอื นจวั่ เดี่ยว เรอื นจ่ัวแฝด และเรอื นสามจั่ว ท้ังนรี้ ปู ทรงหลงั คานนั้ มที ง้ั ท่ี เปน็ แบบหลงั คาทรงจว่ั และหลงั คาแบบปน้ั หยา สำ� หรบั โครงสรา้ งของตวั แพ แบ่งออกเป็น 3 สว่ น คือ สว่ นฐานซง่ึ เปน็ ทุน่ สำ� หรับประคองตวั เรอื นมีทงั้ ที่ ยังใช้ไม้ไผ่มัดรวมกันเป็นฟ่อนขนาดใหญ่จนมีก�ำลังมาพอท่ีจะหนุนให้ตัว เรอื นนั้นลอยบนผิวนำ้� ได้ เรียกทุ่นไมไ้ ผ่ว่า “แพลกู บวบ” และแบบท่ีเปน็ ทนุ่ โลหะซึ่งเรยี กกันวา่ “เท้ง” ซงึ่ เปน็ รปู แบบของทุ่นท่ีมาทดแทนการใชล้ ูกบวบ ไมไ้ ผใ่ นปจั จบุ นั ทวา่ มรี าคาสงู ในการลงทนุ กอ่ สรา้ งครง้ั แรกแตม่ อี ายกุ ารใชง้ าน ท่ียาวนานและการซอ่ มแซมดูแลนอ้ ยกว่าแพลกู บวบไม้ไผ่ จึงเป็นทางเลือก ของชาวชมุ ชนชาวแพในสถานการณท์ ไ่ี มไ้ ผเ่ รมิ่ มจี ำ� นวนนอ้ ยลง ตลอดจนเวลา และทกั ษะในการบ�ำรงุ รกั ษาและซ่อมแซมของผู้อยูอ่ าศยั บนแพนั้นมนี ้อยลง ส�ำหรับจำ� นวนเรือนแพในแมน่ ำ้� สะแกกรงั มีดังน้ี “รายงานวจิ ยั เพ่อื การวางและจดั ทำ� ผงั เมอื งรวมอุทัยธานี ปรับปรงุ คร้ังท่ี 1/2534” ใหข้ อ้ มูล จำ� นวนเรอื นแพ 307 หลงั 2 ขอ้ มลู จากโครงการวจิ ยั “หมบู่ า้ นลอยนำ�้ ของไทย” ปี พ.ศ. 2546 ให้ข้อมูลจำ� นวนเรือนแพวา่ มี 225 หลัง3 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 131
ภาพมุมสูงมุมมองจากวัดอุโปสถารามเห็นแม่น้�ำ สะแกกรังด้านหน้าวัดซึ่งมีชุมชนเรือนแพ ข้ามฟาก แมน่ ำ้� ไปคอื ตลาดสดและเมอื งเกา่ อุทยั ธานี ภาพโดย: รฐั นคร ปยิ ะสิรโิ สฬส พ้ืนไม้ 1 x 4 น้วิ อกไกไ่ ม้ เสาไม้ 4 x 4 น้วิ หลังคามงุ สังกะสี ขาแพ 121 x 2 น้ิว เแจสปันาทไไมมัน้้ 1ไม421้ 1xx2142xนน3วิ้วิ้ น้ิว หลังคามงุ สงั กะสี หลังคาแบบประทนุ เรอื จแนั ปทไมนั ้ไ1ม21้ 1x21 2 นวิ้ ทุ่นโลหะ-เท้งโลหะ แปไม้ 121 x 2 น้ิว x 3 น้วิ เสาไม้ 4 x 4 น้ิว คานไม้ 2 x 4 นว้ิ เมตร เสาไม้ 4 x 4 นวิ้ ขาแพ 121 x 2 นวิ้ ลูกบวบไม้ไผ่ 0 1 2 3 เมตร ทุ่นโลหะ-เทง้ โลหะ 012 3 แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Cross Section) เรือนแพท่ใี ช้ทุน่ แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Cross Section) เรือนแพ ลอยทที่ �ำจากฟอ่ นไม้ไผม่ ัดรวมกนั ทีเ่ รยี กวา่ “ลกู บวบ” หลังคาทรงไทยทใี่ ชท้ นุ่ โลหะ หรือทเี่ รยี กกนั วา่ “เทง้ โลหะ” ทม่ี า: อรศริ ิ ปาณนิ ท.์ (2546). หมบู่ า้ นลอยนำ�้ ของไทย. กรงุ เทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวิทยา ท่ีมา: อรศิริ ปาณินท์. (2546). หมู่บ้านลอยน้�ำของไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ สริ ินธรฯ. มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธรฯ. 132 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ภาพมุมสงู บันทึกภาพจากเกาะเทโพมองเขา้ ไปยังพน้ื เมืองเกา่ อุทัยธานี มมุ ลา่ งซา้ ยของภาพ คือ วัดอุโปสถาราม อนั ประกอบดว้ ยศาลาการเปรียญ หมกู่ ุฏิ ถดั ออกไปยังพืน้ ทร่ี ิมแมน่ ำ�้ สะแกกรงั คือ ฐานไพทีทยี่ กสงู เปน็ ท่ตี ้งั ของอุโบสถ และวิหาร ใกลก้ ับชายตลิ่ง คอื มณฑปผังแปดเหล่ียมอนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องวดั อโุ ปสถาราม อกี ฟากฝ่งั ของแมน่ ้ำ� สะแกกรัง คือ พ้นื ทเ่ี มืองเกา่ อุทยั ธานี บริเวณตลาดสดเทศบาลและยา่ นพาณชิ ยกรรมหลกั ของ เมอื งเก่าอุทยั ธานี ท้ังนี้ จะเหน็ ว่ากล่มุ ของเรือนแพจอดเรียงรายขนานกนั ตามแนวลำ� แมน่ ำ�้ อยู่ท่ีรมิ ตลิง่ ฝั่งเกาะเทโพเปน็ สว่ นใหญ่เนือ่ งจากชายตล่งิ ฝ่ังตลาดไดม้ ีการก่อสร้างเป็นเข่อื นและตลิง่ ถมหิน รวมทง้ั ชมุ ชนชาวแพตอ้ งการพนื้ ท่ีท่เี ป็นจดุ เชื่อมกับแผ่นดนิ ในปจั จุบนั เรอื นแพสว่ นใหญจ่ งึ เลือก จอดเรยี งรายตลอดแนวตลงิ่ ฝ่ังเกาะเทโพบรเิ วณชายตล่งิ วดั อุโปสถารามซ่ึงสะดวกแก่การเช่ือมตอ่ ข้ึนฝ่งั มากกวา่ ฝ่ังตลาดสดเทศบาล แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 133
134 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี ภาพท่ผี ่านการประมวลผลด้วยเทคนคิ โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry) ภาพโดย: อสิ รชยั บรู ณะอรรจน์
จากการส�ำรวจภาคสนามในโครงการวิจัยเพ่ือการจัดท�ำหนังสือ “แผนท่ีมรดกวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี” ในการศึกษาน้ีใช้วิธีการส�ำรวจ และบนั ทกึ ภาพถา่ ยทางอากาศชมุ ชนลอยนำ้� ดว้ ยอปุ กรณอ์ ากาศยานไรค้ นขบั (Unmanned Aerial Vehicle - UAV) โดยด�ำเนินการในระหว่างวันท่ี 1-2 มกราคม พ.ศ. 2564 ซงึ่ เปน็ ชว่ งเวลาทแี่ มน่ ำ�้ สะแกกรงั แหง้ ลงเปน็ ประวตั กิ าร ในรอบหลายสิบปี จึงเป็นโอกาสส�ำคัญในการส�ำรวจแม่น้�ำสะแกกรัง และ การน�ำข้อมูลไปปรับปรุงฐานข้อมูลจ�ำนวนเรือนแพในแม่น�้ำสะแกกรังท่ีอยู่ ในเขตพ้ืนที่เมืองเก่าอุทัยธานี และน�ำข้อมูลมาประมวลผลด้วยเทคโนโลยี “โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry)” ซึ่งน�ำเข้าข้อมูลภาพถ่ายของวัตถุ และสิ่งแวดล้อมเพื่อการประมวลผลให้ได้ภาพแผนที่ส�ำหรับการศึกษาวิจัย ตอ่ เน่ือง ทงั้ นี้ ภาพถา่ ยทน่ี ำ� มาใชใ้ นกระบวนการประมวลผลเปน็ ภาพทบ่ี นั ทกึ จากอากาศยานไร้คนขับ ซ่ึงแต่ละภาพจะมีข้อมูลอ้างอิงพิกัดทางภูมิศาสตร์ และพกิ ดั ของระดับความสงู (Altitude) จดุ ท่เี ครื่องมือได้ท�ำการบันทกึ ภาพ ทำ� ใหช้ ดุ ของภาพถา่ ยทไี่ ดม้ ขี อ้ มลู สำ� คญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การประมวลผลทม่ี แี มน่ ยำ� ในการส�ำรวจได้ก�ำหนดเส้นทางการบินตามแนวล�ำแม่น�้ำสะแกกรังซึ่งเป็น ลำ� นำ้� ในสว่ นทอ่ี ยใู่ นเขตพนื้ ทเ่ี มอื งเกา่ ซงึ่ ไดบ้ นั ทกึ ภาพไดท้ ง้ั สนิ้ 1,191 ภาพ สำ� หรบั การประมวลผล จากการประมวลผลข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูลที่เป็น ผลลพั ธจ์ ากกระบวนการโฟโตแกรมดว้ ยเทคนคิ การสมั ผสั ระยะไกล (Remote Sensing) พบวา่ เรอื นแพในแมน่ ำ้� สะแกกรงั ทม่ี ที ำ� เลทจี่ อดอยใู่ นขอบเขตพนื้ ท่ี เมืองเกา่ อุทยั ธานี มีจ�ำนวนประมาณ 120 หลงั โดยใชก้ ารส�ำรวจและนบั จ�ำนวนจากผืนหลังคาของเรือนแพที่ปรากฏจากการประมวลผลภาพถ่าย ทางอากาศดว้ ยเทคนคิ โฟโตแกรมเมตรี ทงั้ น้ี การประเมนิ จำ� นวนของเรอื นแพในครงั้ น้ี เปน็ การประเมนิ จาก สภาพทางกายภาพจากภาพถา่ ยทางอากาศเปน็ สำ� คญั จำ� นวนขอ้ มลู เรอื นแพ จงึ อาจจะคลาดเคลือ่ นไปจากฐานข้อมูลทะเบยี นราษฎร์ซ่ึงเปน็ ขอ้ มลู จ�ำนวน เรือนแพท่ีจดทะเบียนบ้าน ซ่ึงเรือนแพจ�ำนวนหน่ึงนั้นได้พังหรือเปล่ียนมือ เจา้ ของไปแลว้ นอกจากนี้ ขอบเขตพนื้ ทศี่ กึ ษาเมอื งเกา่ อุทยั ธานี ดว้ ยเหตุน้ี เรือนแพท่ีมีท�ำเลท่ีตั้งนอกพ้ืนที่เมืองเก่าและพื้นท่ีต่อเนื่องก็ไม่ได้ส�ำรวจ จ�ำนวนไวใ้ นการศึกษานี้ ส�ำหรับข้อมูลสถานการณ์การอนุรักษ์ของเรือนแพในปัจจุบันน้ัน จะเหน็ ไดว้ า่ หนว่ ยงานภาคสว่ นตา่ ง ๆ ไดเ้ รมิ่ ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ เรอื นแพ อาทิ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยกลไก แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 135
คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าที่ได้ก�ำกับและขับเคล่ือนการ ศกึ ษาเพ่ือการประกาศขอบเขตพ้นื ทเ่ี มอื งเกา่ อุทยั ธานี และให้ความส�ำคัญต่อชุมชนลอยน้ำ� และ เรอื นแพในฐานะองคป์ ระกอบสำ� คญั อนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องพนื้ ทเ่ี มอื งเกา่ อทุ ยั ธานี นอกจากนี้ ยงั มี หน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ อาทิ การเคหะแห่งชาติ รวมท้ังสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การ มหาชน) ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านการพัฒนา ทีอ่ ยูอ่ าศัยอยา่ งเหมาะสม ตา่ งเล็งเห็นความสำ� คญั ของการอนรุ ักษ์และพฒั นาชุมชนลอยนำ้� ใน แมน่ �ำ้ สะแกกรงั ทอ่ี ย่ใู นขอบเขตพ้ืนท่เี มืองเกา่ อทุ ยั ธานี เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวติ และการ อนรุ ักษเ์ รอื นแพอนั เป็นไปตามขอบเขตอำ� นาจหนา้ ทข่ี องหน่วยงานดว้ ย จากการส�ำรวจพบว่า ผู้อยู่อาศัยบนเรือนแพในแม่น้�ำสะแกกรังยังประกอบอาชีพการ ท�ำประมงเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยง “ปลาแรด” ซ่ึงได้จดทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ ทางภมู ศิ าสตรข์ องจงั หวดั อทุ ยั ธานี และยงั คงมกี ลมุ่ สหกรณผ์ ปู้ ระกอบอาชพี แปรรปู สตั วน์ ำ้� เพอื่ การถนอมอาหารท่ีต้ังอยู่บนเกาะเทโพ และยังคงมีเรือนแพหลังสุดท้ายที่ยังประกอบอาชีพ การทำ� ปลายา่ ง ปลากรอบ และการทำ� นำ�้ พรกิ ชนดิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาดง้ั เดมิ โดยมที ำ� เลทต่ี ง้ั ของเรอื นแพทอี่ ยอู่ าศยั และประกอบการอยฝู่ ง่ั เกาะเทโพตรงขา้ มกบั วดั โคง่ นอกจากนี้ ยงั มกี ลมุ่ เกษตรกรผูป้ ลูกตน้ เตยบนแพลกู บวบทล่ี อยบนผิวน�ำ้ อยู่ดา้ นใต้ของสะพานหน้าวดั อุโปสถาราม กอปรกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ีแนวคิดเร่ืองการท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมเพ่ือเรียนรู้ และการทำ� ความเขา้ ใจความหลากหลายทางวฒั นธรรมมบี ทบาททสี่ งู ขน้ึ ชมุ ชนเรอื นแพในแมน่ ำ้� สะแกกรังในเขตพื้นท่ีเมืองเก่าอุทัยธานีจึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ท่ีเร่ิมได้รับความนิยมมากขึ้น โดยในปจั จบุ นั มผี ปู้ ระกอบเรอื นำ� เทยี่ วแมน่ ำ�้ สะแกกรงั ทง้ั ทเ่ี ปน็ เรอื ขนาดใหญ่ และเรอื ขนาดยอ่ ม เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารแกผ่ มู้ าเยอื น พรอ้ มมบี รรยายชช้ี มแหลง่ มรดกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ยามท่ีเรือแล่นผ่านเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจต่อภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนเรือนแพในแม่น�้ำ สะแกกรงั จากการส�ำรวจและการสัมภาษณ์พบว่า เรือนแพในแม่น�้ำสะแกกรังก�ำลังตกอยู่ใน ภาวะเส่ียงต่อการหมดบทบาทลง เนื่องด้วยเหตุผลแวดล้อมหลายประการ อาทิ ค่าใช้จ่าย ในการซ่อมแซมเรอื นแพซ่งึ นับวันจะสูงข้นึ ทง้ั ในแง่ของคา่ แรงและค่าวสั ดุ นอกจากนี้ ยังมีปจั จัย สำ� คญั อกี ประการทส่ี ่งผลต่อวิถีชีวติ ชาวแพ คือ การเปลยี่ นแปลงคณุ ลักษณะของพ้นิื ทชี่ ายตลิ่ง ในลักษณะของเข่อื นซึง่ ทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการจอดแพและการใช้ชวี ิตของชาวแพ ดังจะเห็นไดว้ า่ เรือนแพเกือบท้ังหมดขยับไปจอดท่ีชายตลิ่งฝั่งเกาะเทโพซึ่งคงคุณลักษณะแบบตลิ่งธรรมชาติ ในการนี้ จงึ เปน็ ข้อพึงคำ� นึงในการพัฒนาพื้นทแี่ ละการกอ่ สรา้ งที่จะสรา้ งความเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพต่อพื้นท่ีชายตลิ่ง หากปราศจากความเข้าใจและไม่ได้ออกแบบอย่างเกื้อกูลต่อบริบท ของสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และวถิ ชี วี ติ กจ็ ะสง่ ผลกระทบตอ่ วถิ ชี าวแพและชมุ ชนเรอื นแพ โบราณแหง่ สุดทา้ ยของประเทศ 136 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เมืองเก่าอุทัยธานี ต้นทุนในการพัฒนา เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรม ในบริบทสังคมร่วมสมัย แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 137
การปรบั ปรงุ บ้านร้านคา้ ทเี่ ปน็ เรือนแถวไมใ้ ห้เปน็ รา้ นหนงั สอื ขนาดเลก็ ประจำ� เมอื ง กรณีศึกษา ร้านหนังสอื Booktopia บรรยากาศถนนคนเดินตรอกโรงยา ในค�ำ่ คนื วันเสาร์ การปรับปรุงบ้านท่ีอยู่อาศัยทรงคุณค่าเป็นพิพิธภัณฑ์ส่วนบุคคลท่ี แสดงเรอ่ื งราวของวถิ ชี วี ิต สงั คม และเศรษฐกจิ ของเมืองอทุ ัยธานี ในอดีตผ่านข้าวของ เคร่ืองใช้ สินค้าสาธารณูปโภคต่าง ๆ และมี รายได้เพื่อดูแลพื้นที่ทางวัฒนธรรมจากการจ�ำหน่ายเคร่ืองด่ืม ต่าง ๆ กรณีศึกษา พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นจงรัก 1ภ3าพ8โดย: ธเแนผศ นรตั ทนกี่มุลรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เมอื งเกา่ อุทัยธานี ตน้ ทนุ ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรม ในบริบทสงั คมรว่ มสมยั เมืองเก่าอุทัยธานี สามารถรักษาต้นทุนมรดกทางวัฒนธรรมของ พ้ืนที่ไว้ได้เป็นอย่างดีตลอดหน้าประวัติศาสตร์พัฒนาการเมืองเก่าอุทัยธานี ท้งั “มรดกทางวฒั นธรรมจบั ต้องได้ (Tangible Cultural Heritage)” และ “มรดกทางวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage)” ในช่วงเวลารุ่งโรจน์การค้าและการสัญจรโดยอาศัยแม่น้�ำสะแกกรังมีบทบาท สำ� คญั ในการสญั จรเชอ่ื มโยงกบั พนื้ ทอี่ นื่ ๆ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วนน้ั พน้ื ทเี่ มอื ง อทุ ยั ธานกี ไ็ ดก้ อ่ รปู กอ่ รา่ งขนึ้ เปน็ เนอ้ื เมอื ง และมกี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณ์ และการ กอ่ สรา้ งมรดกทางสถาปตั ยกรรมตา่ ง ๆ ขน้ึ ทงั้ เสนาสนะตา่ ง ๆ ในวดั วาอาราม การกอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ อาคารบา้ นเรอื น เรอื นแถว ตกึ แถว ตลาดสด และ ย่านการค้าพาณิชยกรรม ตลอดจนองค์ประกอบของเมืองอ่ืน ๆ ต่อมาเม่ือ การสัญจรทางน�้ำได้ลดบทบาทลงภายหลังจากการสร้างเข่ือนเจ้าพระยา ซง่ึ เป็นส่วนหน่ึงของโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ เพ่ือการพัฒนา ลุ่มน�้ำเจ้าพระยาส�ำหรับการเพาะปลูกในพื้นท่ีราบภาคกลางสองฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยา อันเป็นเหตุให้เรือขนส่งและเรือโดยสารที่เคยเช่ือมโยงอุทัยธานี เขา้ กบั กรงุ เทพมหานคร และชมุ ชนอนื่ ๆ ในลมุ่ นำ้� เจา้ พระยาไดห้ มดบทบาทลง รวมทง้ั การขนสง่ ทางรางและการขนสง่ ทางบกทต่ี ดั เชอ่ื มขน้ึ ไปสภู่ าคเหนอื กอ็ ยู่ ห่างออกจากท�ำเลที่ต้ังเมืองเก่าอุทัยธานีออกไป ท�ำให้การอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกจิ ของอทุ ยั ธานีนน้ั ลดลงจากเดมิ มาก การเติบโตและพฒั นาอยา่ งชา้ ๆ ของเมอื งเก่าอทุ ัยธานใี นทา่ มกลาง กระแสโลกาภวิ ตั นท์ สี่ รา้ งความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ทว่าเมืองเก่าอุทัยธานีกลับยังสามารถรักษาต้นทุนมรดกทางวัฒนธรรม และองคป์ ระกอบอนั ทรงคณุ คา่ ของเมอื งเก่าไว้ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ดังจะเห็นได้ว่าอุทัยธานีเป็นเพียงจังหวัดเดียวในพื้นที่ภาคกลาง ของไทยที่ยังคงรักษาวิถีชีวิตชุมชนชาวแพที่ยังมีลมหายใจสืบทอดมาจาก อดีตจนกระทัง่ ปจั จบุ นั ไว้ได้ นับเป็นตน้ ทนุ สำ� คัญท่ีรอคอยให้มกี ารศึกษาและ การวางแนวทางการบริหารและจัดการต้นทุนอันทรงคุณค่าดังกล่าวนี้อย่าง เหมาะสม ในฐานะของที่อยูอ่ าศยั ท่มี คี ุณภาพส�ำหรับบรบิ ทร่วมสมยั ทยี่ งั คง รักษาคุณค่าและความสัมพันธ์อันใกล้ชิดและเกื้อกูลกับสายน�้ำเช่นในอดีต และเป็นแหล่งท่ีมีศักยภาพท่ีจะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้วิถีชีวิตของคนไทย แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 139
กบั สายนำ�้ ผา่ นการทอ่ งเทย่ี วทางวฒั นธรรม และการพกั คา้ งตามวถิ เี จา้ ของบา้ น (Home Stay) ทเ่ี นน้ ใหผ้ มู้ าเยอื นไดเ้ รยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมของทอ้ งถนิ่ ผา่ นเจา้ ของบ้านเรอื นทผ่ี มู้ าเยือนไดพ้ กั แรม เป็นตน้ นอกจากน้ี เมอื งเกา่ อทุ ยั ธานยี งั รกั ษาทศั นยี ภาพภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม ริมแม่น้�ำสะแกกรังบนเกาะเทโพซ่ึงอยู่ฝั่งตรงข้ามกับลานสะแกกรังซึ่งเป็น พื้นท่ีลานอเนกประสงค์ริมน�้ำหน้าตลาดสดไว้ได้เป็นอย่างดี ภาพมรดกทาง สถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่าของวัดอุโปสถารามท�ำหน้าที่เป็นประธานของ ฉากทัศนียภาพ โดยมีสุมทุมพุ่มพฤกษ์ของ “ต้นยางนา” ขนาดใหญ่ เป็นฉากหลังเป็นภาพจ�ำท่ที ุกคนทีม่ าเยือนอุทยั ธานมี ีความทรงจำ� ร่วม ทง้ั น้ี ทัศนียภาพแบบดังกล่าวนั้นเคยเป็นภาพที่สามารถพบเห็นท่ัวไปของชุมชน ริมแม่น้�ำในเขตภาคกลางของไทย ทว่าในปัจจุบันกลับกลายเป็นตัวอย่างที่ หาได้ยากยิ่งเพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจนหมดส้ิน ทว่ายังรักษาไว้ได้ที่ อทุ ยั ธานี ดว้ ยเหุตผลดงั กลา่ วมาข้างต้นแสดงให้เห็นวา่ องค์รวมของภูมิทศั น์ วัฒนธรรมดังกล่าวทรงคุณค่าอย่างย่ิงและควรค่าแก่การรักษาให้คู่กับ เมืองเกา่ อุทัยธานตี ่อไป ส�ำหรับย่านตลาด ย่านการค้า ในพ้ืนท่ีเมืองเก่าอุทัยธานีท่ีเต็มไป ด้วย “เรอื นแถวไม”้ และ “ตึกแถว” ทีท่ �ำหนา้ เปน็ “บา้ นรา้ นค้า” รองรับการ ใช้สอยทั้งพาณิชยกรรมและการอยู่อาศัยก่อให้เกิดเป็นบรรยากาศท่ีงดงาม ของ “ภูมิทัศน์ชุมชนและย่านประวัติศาสตร์ (Historic Commnunity and Urban Landscape)” ทบ่ี ง่ บอกถงึ ประวตั ศิ าสตรก์ ารพฒั นาของพน้ื ทเี่ มอื งเกา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นอกจากน้ี ในย่านพาณิชยกรรมเมืองเก่าอุทัยธานียังมีร้านอาหาร หลายรา้ นทดี่ ำ� เนนิ กจิ การมาอยา่ งยาวนาน ซงึ่ ยงั คงรกั ษาคณุ ภาพ และรสชาติ แบบดงั้ เดิม เชน่ สมั ภาระทางวัฒนธรรม (Cutural Baggage) ทางดา้ น อาหารของชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานในอุทัยธานี ได้แก่ กว๋ ยเตยี๋ วไก่ ขา้ วหมแู ดง ขา้ วมนั ไก่ และเปด็ พะโล้ รวมทง้ั สำ� รบั อาหารทป่ี รงุ จากวตั ถดุ บิ อนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถน่ิ อาทิ ปลาแรด สม้ ซา่ และเหด็ โคน ในปจั จบุ นั ย่านพาณชิ ยกรรมในพนื้ ทเ่ี มอื งเก่าอทุ ยั ธานที ำ� หน้าทเี่ ปน็ ทรัพยากรในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรม (Cultural Based Economy) ของจังหวัดอุทัยธานี ซ่ึงตอบโจทย์การท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม (Cultural Tourism) และการท่องเท่ียวสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ซ่ึงปัจจุบันมีแนวโน้มว่านักท่องเท่ียวจะให้ความสนใจกับการท่องเที่ยวใน ฐานะของการเรียนรู้ และการสร้างประสบการณ์ (Experience Tourism) ใหก้ บั ผมู้ าเยอื น อาทิ “ถนนคนเดนิ ตรอกโรงยา” ซงึ่ เคยซบเซาลงไปหลงั จาก ทม่ี ีประกาศห้ามสูบยาฝิ่นในราวปี พ.ศ. 2500 และ “ยา่ นตลาดพัฒนา” ซึ่ง เป็นย่านท่ีพัฒนาข้ึนในยุคท่ีกิจการโรงเล่ือยแปรรูปไม้มีบทบาทอยู่ในพ้ืนที่ 140 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ตัวอย่างการปรับประโยชน์ใช้สอย และไมแ้ ปรรปู ยังมรี าคาไม่สูงนัก ผู้ประกอบการเจา้ ของพื้นทีจ่ ึงลงทุนพฒั นา ใหม่ของตัวอาคารท่ียังคงรักษา พื้นท่ี โดยน�ำไม้แปรรูปดังกล่าวมาลงทุนก่อสร้างเป็นกลุ่มอาคารเรือนแถว คุณค่าทางสถาปัตยกรรมของ สองชั้น คร่ึงปูนคร่ึงไม้ ให้เช่าเป็นที่อยู่อาศัยและประกอบธุรกิจ โดยมี อาคารไว้ กรณศี กึ ษา โรงแรมอทุ ยั ผังการก่อสร้างเป็นกลุ่มอาคารล้อมรอบพ้ืนท่ีเปิดโล่งซ่ึงเดิมเคยเป็นสถานี เฮอริเทจ ซ่ึงปรับปรุงอาคารของ ขนส่งอุทัยธานี และเมื่อสถานีขนส่งย้ายออกไปเทศบาลเมืองอุทัยธานี โรงเรยี นเอกชนเก่าเปน็ โรงแรม ได้พัฒนาเปน็ ลานสำ� หรบั ออกก�ำลังกายของชุมชน ทงั้ นี้ ยา่ นตลาดพฒั นาในปจั จบุ นั นน้ั เปน็ พนื้ ทที่ ม่ี กี ารลงทนุ ประกอบ 1 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. ธุรกิจที่เป็นความต้องการและวิถีใหม่ตามบริบทสังคมร่วมสมัย ซึ่งใช้ต้นทุน การขออนญุ าตประกอบกจิ การโรงแรม. มรดกทางสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์เป็นจุดดึงดูดความสนใจของผมู้ า สืบค้นจาก: https://www.dopa. เยือน อาทิ ท่ีพัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ พื้นท่ีแสดงงานศิลปะ ซึ่งกิจกรรม go.th/ ทางเศรษฐกิจใหม่ที่เกิดขึ้นเหล่าน้ี นอกจากจะสร้างรายได้ให้แก่ผู้ประกอบ 2 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. กิจการแลว้ ยงั เปน็ กลไกสำ� คญั ทสี่ ง่ เสรมิ การอนรุ กั ษอ์ าคารแถวไมท้ รงคณุ คา่ การออกหนังสือแจ้งสถานที่พักที่ไม่ เหลา่ นไ้ี วด้ ว้ ย เป็นโรงแรม. สืบค้นจาก: https:// ทั้งนี้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 www.dopa.go.th/ และภาวะชะงักงันท่ีเกิดจากบริบทแวดล้อมทั้งภายในบริบทประเทศไทยและ บรบิ ทโลก นบั แต่ปี พ.ศ. 2563 ซ่ึงสง่ ผลกระทบตอ่ สงั คมและเศรษฐกจิ ของ ประเทศอย่างสูง วิกฤตการณ์ดงั กล่าวทำ� ใหช้ าวอุทยั ธานีท่ไี ปแสวงหาโอกาส ยงั พนื้ ทอี่ นื่ ๆ ไดห้ วนกลบั คนื ถน่ิ ฐาน และไดน้ ำ� ความรู้ ความสามารถ ตลอดจน ประสบการณ์มาใชพ้ ัฒนากิจการเดมิ ของครอบครัว รวมทงั้ มกี ารสร้างธรุ กิจ ใหม่ ๆ ทต่ี อบโจทยค์ วามตอ้ งการของวถิ ชี วี ติ ในบรบิ ทสงั คมรว่ มสมยั ทวา่ เปน็ กจิ การบนฐานการเคารพในมิติคุณคา่ ของเมืองเกา่ และมรดกทางวฒั นธรรม นับเป็นนิมิตหมายที่ดีส�ำหรับการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าอุทัยธานีท่ีมุ่ง สรา้ งคณุ ภาพชีวติ และโอกาสใหแ้ ก่ผ้อู ยอู่ าศยั เป็นสำ� คัญ จะเห็นได้ว่า ในปัจจุบันเมืองเก่าอุทัยธานีเร่ิมมีการปรับปรุงอาคาร และท่ีอยู่อาศัยเพื่อการยื่นขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม1 และจดแจ้ง เปน็ สถานทพี่ กั ทไ่ี มเ่ ปน็ โรงแรม2 และมกี ารลงทนุ ประกอบธรุ กจิ ตามแนวทาง เศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative Economy) ทใี่ ชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการ ตอ่ ยอดตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมเพอ่ื ตอบโจทยว์ ถิ ชี วี ติ รปู แบบใหม่ ๆ นบั เปน็ การ รกั ษาคณุ คา่ ของมรดกทางสถาปตั ยกรรมไวด้ ว้ ยการปรบั ประโยชนใ์ ชส้ อยใหม่ ใหก้ บั ตวั อาคาร อาทิ บา้ นพกั เกสตเ์ ฮา้ ส์ (Guest House) รา้ นกาแฟ รา้ นหนงั สอื ตลอดจนมีพ้ืนท่ีส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และพ้ืนท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ ซึ่ง ดำ� เนินการโดยภาคเอกชน ซ่ึงนับเปน็ จุดเร่ิมตน้ ทด่ี ีสำ� หรบั การขับเคลือ่ นให้ เกิดการอนรุ กั ษ์และการพฒั นาเมืองเก่าโดยกระบวนการมสี ่วนรว่ มและกลไก การขับเคล่ือนของภาคประชาชน และภาคธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับการ ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าตามแนวทางท่ีระดับนานาชาติได้ ขบั เคล่ือนอยใู่ นปจั จุบัน แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 141
อาคารเรอื นแถว 2 ชนั้ ครง่ึ ปนู ครงึ่ ไม้ ยา่ นตลาดพฒั นา ปจั จบุ นั เปน็ ยา่ นทอ่ี ยใู่ นความสนใจของผปู้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ ทเ่ี ล็งเหน็ โอกาสในการใชต้ ้นทุนทางสถาปตั ยกรรมของยา่ นเปน็ จุดดึงดดู นกั ทอ่ งเทยี่ วทม่ี าเยือนอุทยั ธานี จงึ มธี รุ กิจ รา้ นกาแฟ ร้านอาหาร ร้านขายสนิ คา้ ท่รี ะลึก และทีพ่ กั ซึ่งปรับปรุงและปรบั ประโยชนใ์ ชส้ อยอาคารใหม่เพอ่ื ตอบ โจทย์กบั ความตอ้ งการและบริบทในสังคมร่วมสมัย ทีย่ งั คงรักษาคณุ ค่าทางสถาปัตยกรรมของยา่ นในภาพรวมไว้ได้ เป็นอย่างดี การปรับปรุงพ้ืนท่ีภายในของอาคารบ้านร้านค้าในย่านตลาดพัฒนามาเพื่อรองรับธุรกิจใหม่ ภาพซ้าย คือ การปรับปรุงอาคารเป็นสถานท่ีพักส�ำหรับผู้มาเยือน กรณีศึกษา ค่�ำนี้ท่ีอุทัย ภาพขวา คือ กรณีศึกษาการปรับปรุงอาคาร เป็นสถานท่ีพัก พ้ืนท่ีจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึก และพื้นที่แสดงผลงานศิลปะ กรณีศึกษา เส้น นอน วาด กาแฟส้มซ่า กรณีศึกษา โตนคาเฟ่ การปรบั ปรุงบา้ นคา้ ขายเปน็ รา้ นจ�ำหนา่ ยหนังสือ กรณีศึกษา กาลครง้ั หนงึ่ 142 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี ภาพโดย: รัฐนคร ปยิ ะศิริโสฬส
บทสรุป แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 143
เรอื นแพในแม่น�้ำสะแกกรงั ที่เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัย มีการเพาะเล้ียง สัตวน์ ำ�้ ในกระชัง และปลูกต้นเตยแบบแพลอยน�้ำ 1ภ4า4พโดย:แรผัฐนทคร่ีมรปดยิ กะสทิราโิ สงฬวัฒส นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
บทสรุป “เมอื งเกา่ อทุ ยั ธาน”ี เปน็ พน้ื ทเ่ี มอื งเกา่ เปา้ หมายในการขบั เคลอ่ื นกลไกการอนรุ กั ษแ์ ละ พฒั นาเมอื งเกา่ ผา่ นการศึกษาวจิ ยั การจดั ทำ� ฐานข้อมูล ตลอดจนการรบั ฟังความคดิ เหน็ ของ ทกุ ภาคสว่ นในทอ้ งถนิ่ เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารประกาศพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรใี นปี พ.ศ. 2564 เมอื งเกา่ อทุ ยั ธานสี ามารถธำ� รงรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมและสถาปตั ยกรรม ตลอดจน ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ ด้วยเป็นเมืองที่มีการอยู่อาศัยและมีพัฒนาการทางสงั คม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจท่ีสมั พันธ์กับแมน่ ้�ำสะแกกรงั กอ่ รปู ภมู ทิ ศั น์วฒั นธรรมชมุ ชนรมิ แม่น้�ำ ทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์ทน่ี า่ สนใจตง้ั แต่อดตี จวบจนกระทัง่ ปจั จุบัน อกี ท้ังยังรกั ษาวิถชี วี ติ ชมุ ชนฐานนำ้� ที่มีเรือนแพส�ำหรับการอยู่อาศัยเป็นแหล่งสุดท้ายของไทยไว้ได้ จากคุณค่าที่กล่าวมาข้างต้น ทำ� ใหอ้ ุทัยธานีมีต้นทุนในการขับเคลื่อนไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ฐานวัฒนธรรมเพ่ือการพัฒนา อย่างยั่งยืนโดยมีการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญ รวมไปถึงการพัฒนาเมือง ใหน้ า่ อยบู่ นฐานตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรม จากคุณค่าความส�ำคัญดังกล่าวมาข้างต้นจึงมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการสร้างกลไก สง่ เสริมการอนุรักษ์และการพัฒนาเมืองเก่า ผ่านการศึกษาวิจัยเพ่ือรวบรวมข้อมูลในมิติต่างๆ ไปจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู และนำ� เสนอความรแู้ ละคณุ คา่ ผา่ น “แผนทท่ี างวฒั นธรรม” เนอ่ื งจากแผนท่ี เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญท่ีสามารถอธิบายความเช่ือมโยงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ท่ีมีพิกัดเป็นเครื่องมือ ในการสร้างอ้างอิงกับท�ำเลท่ีตั้งบนผิวโลก เข้ากับข้อมูลในแง่มุมต่าง ๆ ของพื้นที่ ทั้งที่เป็น ลักษณะทางกายภาพทเ่ี หน็ ประจกั ษ์ และขอ้ มลู ทเี่ ปน็ นามธรรมตา่ งกส็ ามารถเชอ่ื มโยงเขา้ หากนั ภายใต้พิกัดทางภูมศิ าสตร์ อันจะน�ำไปสู่การวิเคราะห์เพ่อื หาบริบทแวดล้อมและความสมั พนั ธ์ ของข้อมูล เพอื่ สร้างทำ� ใหเ้ หน็ คุณค่า ความหมาย ตลอดจนคุณลกั ษณะเฉพาะตวั ของเมืองเก่า อทุ ยั ธานใี นด้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวเน่อื งเชือ่ มโยงกนั และกันอยา่ งซับซ้อน ท้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือถอดรหัสความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรม อนั จะน�ำไปสกู่ ระบวนการสง่ เสริมการเรยี นรู้ เพอื่ สร้างให้เกดิ ความเขา้ ใจและความตระหนักรใู้ น คุณคา่ ของพ้นื ทเ่ี มอื งเกา่ ในมิติต่าง ๆ อาทิ การตัง้ ถนิ่ ฐาน ประวตั ิศาสตร์ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม และเศรษฐกจิ ตลอดจนการบ่งชแ้ี หลง่ มรดกทางวฒั นธรรมต่าง ๆ และน�ำเสนอท�ำเลท่ีต้ังของ แหล่งมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ผ่านกระบวนการค้นคว้าวิจัยอย่างเป็นระบบโดยใช้ เครอื่ งมอื กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของผคู้ นในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ใหไ้ ดแ้ ลกเปลย่ี นขอ้ มลู ดา้ นตา่ ง ๆ ของ พน้ื ท่ี ตลอดจนทศั นะความคดิ ของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เพอื่ เปน็ เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะนำ� ไปสู่การอนุรกั ษ์และ พัฒนาเมืองเก่าบนฐานของการตระหนักถึงคุณค่าความส�ำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมได้อย่าง เหมาะสมตอ่ ไป แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 145
บรรณานุกรม - Shyam Singh. (1995). “International Geoid Commission National Report for India” in International Geoid Commission Activity Report 1991-1995. pp. 91-101. - กรมศิลปากร. (2531). บ้านหลุมเข้า: รายงานเบ้อื งต้นเรื่องช้นั ดินและหลกั ฐาน ทางโบราณคดบี างประเภท. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. - เกรียงไกร เกิดศิริ และอิสรชัย บูรณะอรรจน์. (2561). คู่มือการน�ำเสนอแหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งมรดกทางธรรมชาติเป็นแหล่งมรดกโลก. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. - เกรียงไกร เกิดศิริ. และกึกก้อง เสือดี. (2553). แผนท่ีที่อยู่อาศัยทรงคุณค่าทาง วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม. กรงุ เทพฯ: คณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. - จลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว, พระบาทสมเดจ็ พระ. (2508). พระราชหัตถเลขาคราว เสดจ็ มณฑลฝา่ ยเหนอื ในรัชกาลท่ี 5. พระนคร: กรมศลิ ปากร. - ตรงึ ใจ บูรณสมภพ. (2543). อทุ ยั ธาน:ี โครงการรักษาเอกลักษณ์สถาปัตยกรรม ทอ้ งถ่ินและส่ิงแวดลอ้ มเพ่ืิอดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยว. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศิลปากร. - พลาดิศยั สิทธธิ ัญกจิ (2559). เมอื งอไุ ทยธานี. กรงุ เทพฯ: โครงการศึกษาประวัติ ศาสตร์และโบราณคดีเมืองอไุ ทยธานี. - พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2550). จดหมายเหตุเมืองอุทัยธานี. อุทัยธานี: สมาคม ชาวอุทยั ธาน.ี - มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. (2552). แผนพฒั นาทอี่ ยอู่ าศยั และแผนปอ้ งกนั /แกป้ ญั หา ชุมชนแออดั ในเขตเมืองอุทัยธานี. กรงุ เทพฯ: การเคหะแหง่ ชาติ และคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. - มหาวิทยาลยั ศิลปากร. (2563). โครงการก�ำหนดขอบเขตพืน้ ที่เมอื งเกา่ อุทัยธานี. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. - ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2550). กฎหมายตราสามดวงฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานจดั พมิ พ์ ตามต้นฉบบั หลวง. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. - สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั . (2559). โครงการพพิ ธิ ภณั ฑ์ เสมอื นเรอ่ื งทอ่ี ยอู่ าศยั ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณส์ ะทอ้ นถงึ อตั ลกั ษณค์ วามเปน็ ชมุ ชน เมืองอทุ ัยธาน.ี กรงุ เทพฯ: การเคหะแหง่ ชาติ และคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั . 146 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
- สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม. (2541). โครงการ จัดท�ำแผนการจัดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติบริเวณเขาปลาร้าและ เขาฆ้องชัย จังหวัดอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. - ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม. (2563). โครงการ อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาเมอื งเกา่ :เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. - สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม. (2563). โครงการ ก�ำหนดขอบเขตพื้นท่ีเมืองเก่าอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. - อมรดรุณารักษ์, จมื่น. (2512). พระราชกรณียกิจส�ำคัญในพระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว เลม่ 6. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารคา้ ครุ สุ ภา. - อรศิริ ปาณินท.์ (2546). หมู่บา้ นลอยน้ำ� ของไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานษุ ยวทิ ยา สิรนิ ธร องค์การมหาชน. - เอนก นาวิกมลู และธงชยั ลิขติ พรสวรรค์. (2561). ของสวยของงามอุทัยธาน.ี กรงุ เทพฯ: ต้นฉบับ. - เอนก นาวิกมูล และธงชัย ลิขิต พรสวรรค์. (2561). สมุดภาพเมืองอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: ตน้ ฉบับ. แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 147
แผนทม่ี รดกทางวัฒนธรรมเมืองเกา่ อทุ ยั ธานี วดิ ที ัศน์ โครงการศึกษา สำ� รวจ และจดั ท�ำแผนทมี่ รดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทยั ธานี วิดที ศั น์ เกา่ -ใหม่ หลงใหลอทุ ยั ธานี โดย Research Cafe สำ� นักงานนโยบายและแผน คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม มหาวิทยาลยั ศิลปากร 148 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151