Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่าอุทัยธานี

แผนที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่าอุทัยธานี

Published by oldtown.su.research, 2021-09-02 03:52:53

Description: จัดทำโดย
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords: oldtown,atlas,culture

Search

Read the Text Version

ภาพถา่ ยทางอากาศมองเขา้ ไปยงั พ้ืนทเี่ มืองเกา่ อทุ ยั ธานี จะเหน็ วา่ ภาพถา่ ยเกา่ จาก Augmented Reality Application บันทึก ภาพไว้ในชว่ งฤดแู ลง้ ทีน่ ำ�้ แห้งงวดลงขอดท้องแมน่ �้ำและยังมีเรอื นแพจ�ำนวนมากในแม่นำ�้ สะแกกรงั ภาพเก่ายงั เห็นวหิ ารวดั ขวิด ก่อนที่จะถูกรื้อลงในภายหลัง แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 49

ภาพถ่ายมมุ สูงวงเวียนน�้ำพแุ ละถดั ขนึ้ ไป คือ วงเวียนห้าแยกวิทยุ ซึง่ เปน็ จดุ เชอ่ื มระหวา่ งถนนเปรมประชา ถนนศรอี ุทยั และ ถนนทา่ ชา้ ง ถนนในเมอื งอุทยั ธานนี ้ันเกดิ ข้นึ มาจากการขยายตัวตามความต้องการใช้สอย ไมไ่ ดม้ กี ารวางผังเมืองโดยการตดั ถนน ข้นึ ก่อน ซ่งึ จะเหน็ ว่าจดุ ท่ถี นนสายต่าง ๆ ตดั มาบรรจบกนั นน้ั ไมต่ ง้ั ฉากกนั ถนนในพนื้ ท่ีเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานีจึงมคี วามคดโค้ง และ มตี รอกซอยจ�ำนวนมาก 50 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

การก�ำหนดขอบเขตพื้นที่ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 51

52 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ภาพทางอากาศเมืองเก่าอุทัยธานีจากเทคนิควิธี โฟแผโตนแทก่ีมรรมดเกมทตารงีวั(ฒPนhธoรtoรมgเrมaือmงmเกe่าtอrุทyัย)ธานี 53

เ ข า ส ะ แ ก ก ัร ง สญั ลกั ษณ์ ขอบเขตเมอื งเก่าอทุ ัยธานี ขอบเขตพน้ื ที่ตอ่ เนอื่ ง 54 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

เมอื งเก่าอุทัยธานี จากการศกึ ษาใน “โครงการกำ� หนดขอบเขตพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ อทุ ยั ธาน”ี เมอ่ื ปี พ.ศ. 2563 ได้ศึกษาองค์ประกอบของพื้นที่เมืองเก่าเพ่ือน�ำไปสู่การก�ำหนดขอบเขตพ้ืนท่ีเมืองเก่าอุทัยธานี โดยกระบวนการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ทัง้ นี้ ขอบเขตพน้ื ทเ่ี มอื งเก่าอุทยั ธานีมีพ้ืนท่ีครอบคลุมยา่ นส�ำคัญของเมือง คือ บรเิ วณ ถนนศรอี ทุ ยั ถนนทา่ ชา้ ง และบรเิ วณใกลเ้ คยี ง รวมถงึ ครอบคลมุ องคป์ ระกอบเมอื งเกา่ และพนื้ ท่ี ที่ส่งเสรมิ การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาเมืองเกา่ อทุ ยั ธานใี นอนาคต ซ่ึงในการด�ำเนินการน้ัน ได้ก�ำหนดขอบเขตพื้นที่เป็น 2 บริเวณ คือ “พื้นท่ีเมืองเก่า” และ “พ้ืนที่ตอ่ เนอ่ื ง” (ดูแผนที่ หน้า 54) ขอบเขตพนื้ ที่เมอื งเก่าอทุ ยั ธานี จากผลการศึกษาเพื่อก�ำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานี ได้ด�ำเนินการก�ำหนด “ขอบเขตพ้นื ทีเ่ มอื งเกา่ ” หรือ “พื้นทห่ี ลัก (Core Zone)” ซงึ่ เป็นขอบเขตทมี่ ีความส�ำคญั ด้วยมีองค์ประกอบท่ีมีคุณค่าของเมืองเก่าท่ีเกาะกลุ่มกันอย่างชัดเจน ตลอดจนยังธ�ำรงรักษา คณุ ค่าอนั โดดเดน่ ที่แสดงถงึ องคป์ ระกอบรว่ มกันอย่างสมบูรณ์ (Integrity) และความเปน็ ของ แท้ด้งั เดิม (Authenticity) ซึง่ มคี วามจ�ำเปน็ เรง่ ด่วนที่จะต้องมแี ผนการบริหารจดั การเพอ่ื รักษา คณุ คา่ ดว้ ยการอนรุ ักษแ์ ละการพัฒนาอยา่ งเหมาะสมในดา้ นต่าง ๆ ต่อไป ทั้งนี้ ขอบเขตพ้ืนท่ีเมืองเก่าอุทัยธานี มีเน้ือท่ีรวมทั้งหมด 1.69 ตารางกิโลเมตร หรอื 1,058.87 ไร่ โดยมีอาณาเขตและท่ตี ัง้ สัมพนั ธ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี ทศิ เหนอื จดทางแยกตดั ถนนศรเี มืองกับซอยแยกถนนศรีอทุ ยั บริเวณพิกัด X = 610030 และ Y = 1701801 ตอ่ เนือ่ งไปทางทิศตะวนั ออกตามแนวกง่ึ กลางซอยแยกถนนศรอี ทุ ยั จนสดุ ถนน บรเิ วณพิกัด X = 610817 และ Y = 1701574 ข้ามแมน่ �้ำสะแกกรัง และตอ่ เน่ืองเป็นเส้นตรง ไปจนจดแนวเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี (ขนานและห่างจากฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำสะแกกรัง ไปทางทิศตะวนั ออก 40 เมตร) บรเิ วณพกิ ัด X = 610872 และ Y = 1701432 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 55

ทศิ ตะวนั ออก จดแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี (ขนานและหา่ งจากฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้� สะแกกรงั ไปทางทิศตะวันออก 40 เมตร) บริเวณพิกัด X = 610872 และ Y = 1701432 ต่อเน่ือง ลงไปทางทศิ ใตต้ ามแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี จนกระทง่ั จดแนวเขตทด่ี นิ ของวดั อโุ ปสถาราม บริเวณพกิ ัด X = 610588 และ Y = 1701243 และต่อเน่ืองไปทางทิศตะวันออกตามแนวเขต ทดี่ นิ ของวดั อุโปสถาราม จนถงึ บริเวณจุดตัดกบั ถนนสะแกกรัง บรเิ วณพิกดั X = 610625 และ Y = 1701222 และตอ่ เน่อื งไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงใตต้ ามแนวเขตท่ีดนิ ของวดั อุโปสถาราม จนจดถนนโยธาธิการบริเวณพิกัด X = 610852 และ Y = 1701149 ต่อเน่ืองลงมาทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนโยธาธิการ จนจดแนวเขตที่ดินของวัดอุโปสถารามบริเวณ พกิ ดั X = 610756 และ Y = 1701084 และตอ่ เนอื่ งลงมาทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ จนจดแนวเขต เทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี (ขนานและหา่ งจากฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ�้ สะแกกรงั ไปทางทศิ ตะวนั ออก 40 เมตร) บรเิ วณพกิ ดั X = 610652 และ Y = 1701006 และลงมาทางทิศใต้ตามแนวเขต เทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี (ขนานและหา่ งจากฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้� สะแกกรงั ไปทางทศิ ตะวนั ออก 40 เมตร) จนกระทงั่ ถงึ บรเิ วณพิกดั X = 611238 และ Y = 1700458 ทศิ ใต้ จดแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี (ขนานและหา่ งจากฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ�้ สะแกกรงั ไปทางทศิ ตะวันออก 40 เมตร) บรเิ วณพกิ ัด X = 611238 และ Y = 1700458 ตอ่ เนอื่ งเปน็ เสน้ ตรงไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ขา้ มแมน่ �้ำสะแกกรัง และขึ้นฝั่งไปจดกบั ถนนศรอี ุทัยซอย 4 บริเวณพกิ ดั X = 611124 และ Y = 1700288 และตอ่ เน่ืองไปตามแนวกง่ึ กลางถนนศรีอทุ ยั ซอย 4 จนถงึ ทางแยกตดั ถนนศรอี ทุ ยั กบั ถนนศรอี ทุ ยั ซอย 7 ตอ่ เนอ่ื งไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ตามแนวกง่ึ กลางถนนศรอี ทุ ยั ซอย 7 เชอื่ มตอ่ กบั ถนนวงศาโรจน์ ซอย 10 เร่อื ยไปจนกระท่งั จดทางแยกตัดถนนวงศาโรจน์ บริเวณพกิ ดั X = 610947 และ Y = 1699910 ทศิ ตะวนั ตก จดทางแยกตดั ถนนวงศาโรจน์ ซอย 10 กบั ถนนวงศาโรจน์ บรเิ วณพิกัด X = 610947 และ Y = 1699910 ตอ่ เนอื่ งข้ึนไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ตามแนวกง่ึ กลางถนนวงศาโรจน์ ผา่ นทางแยกตดั ถนนศรนี ้�ำซมึ เช่ือมต่อถนนณรงคว์ ิถี ตอ่ เนอ่ื งไปตามแนวก่งึ กลางถนนณรงค์วิถี จนถึงทางแยกตดั ถนนพรพิบูลยอ์ ทุ ิศ บรเิ วณพิกัด X = 609988 และ Y = 1700514 และตอ่ เนอ่ื งไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใตต้ ามแนวกง่ึ กลางถนนพรพบิ ลู ยอ์ ทุ ศิ จนจดทางแยกตดั ถนนทา่ ชา้ ง ซอย 7 ต่อเน่ืองไปตามแนวก่ึงกลางถนนท่าช้าง ซอย 7 จนกระท่ังจดทางแยกตัดถนนท่าช้าง กับถนนมณีรัตน์ ซอย 3 และต่อเนื่องขึ้นไปทางทิศเหนือตามแนวกึ่งกลางถนนมณีรัตน์ ซอย 3 จนจดทางแยกตดั ถนนมณรี ตั น์ บรเิ วณพกิ ดั X = 609786 และ Y = 1700860 ตอ่ เนอื่ งไปทาง ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใตต้ ามแนวกง่ึ กลางถนนมณรี ตั น์ จนถงึ ทางแยกบรเิ วณพกิ ดั X = 609769 และ Y = 1700835 และตอ่ เนอ่ื งขนึ้ ไปทางทศิ เหนอื ตามแนวกงึ่ กลางถนนหลงั วดั มณสี ถติ กปฏิ ฐาราม 56 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

จนถึงทางแยกตัดถนนรักการดี 13 บริเวณพิกดั X = 609565 และ Y = 1701077 และขึ้น ไปทางทิศเหนือตามแนวเขตที่ดินของวัดมณีสถิตกปิฏฐาราม จนถึงบริเวณพิกัด X = 609558 และ Y = 1701184 ตอ่ เนอื่ งไปทางทศิ ตะวนั ออกตามแนวเขตทด่ี นิ ของวดั มณสี ถติ กปฏิ ฐาราม จนถึงบริเวณพิกัด X = 609784 และ Y = 1701180 และต่อเนื่องเป็นเส้นตรงไปทาง ทิศตะวันออกจนจดทางแยกตัดถนนเติบศิรกิ ับถนนศรเี มือง บรเิ วณพิกดั X = 610014 และ Y = 1701152 และต่อเน่ืองข้ึนไปทางทิศเหนือตามแนวก่ึงกลางถนนศรีเมือง จนกระท่ังจด ทางแยกตัดถนนศรีเมืองกับซอยแยกถนนศรีอุทัย บริเวณพิกัด X = 610030 และ Y = 1701801 พ้นื ทต่ี ่อเนื่องเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี พืน้ ทตี่ อ่ เน่ือง (Buffer Zone) ของเมืองเกา่ อทุ ัยธานีอยู่ถดั จาก “พ้ืนท่ีเมืองเกา่ ” หรือ “พนื้ ทห่ี ลกั ” ออกไปโดยรอบ ส�ำหรับพ้นื ท่ีตอ่ เนือ่ งนัน้ อาจมหี รืออาจไมม่ ีองคป์ ระกอบทีส่ �ำคัญ เฉกเช่นพ้นื ที่หลกั ก็ได้ ทวา่ พ้ืนท่ีส่วนนี้มคี วามสำ� คัญต่อการส่งเสริมกลไกการอนรุ ักษ์และพฒั นา ในพ้ืนท่ีเมืองเก่า กล่าวคือ ท�ำหน้าท่ีส่งเสริมให้พื้นที่หลักมีความโดดเด่น และเป็นพ้ืนที่ที่ช่วย แบ่งเบาภาระการใชส้ อยพนื้ ทอี่ ยา่ งเขม้ ขน้ รวมไปถงึ แบง่ ประเภทกจิ กรรม และการใชส้ อยพน้ื ที่ ทอี่ าจจะสร้างผลกระทบทางลบต่อพน้ื ทห่ี ลัก ทั้งนี้ ในการก�ำหนดพน้ื ทตี่ อ่ เนือ่ งนั้นกเ็ พือ่ ที่จะให้ หนว่ ยงานปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานภาคราชการตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดพ้ จิ ารณานำ� ไปสกู่ าร วางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมตอ่ ไป สำ� หรบั พนื้ ทตี่ อ่ เนอ่ื งเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี คอื บรเิ วณทอี่ ยโู่ ดยรอบพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ อทุ ยั ธานี ซง่ึ ครอบคลมุ พนื้ ทชี่ มุ ชนตา่ ง ๆ มเี นอื้ ทร่ี วมประมาณ 7.21 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 4,504.43 ไร่ โดยมีอาณาเขตดงั นี้ ทิศเหนอื จดทางแยกตดั บรเิ วณทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3220 กบั ถนนซอยวดั สงั กสั รตั นครี ี บริเวณพิกัด X = 609761 และ Y = 1703394 ต่อเน่ืองไปทางทิศใต้ตามแนวกึ่งกลาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3220 จนจดแนวเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี บริเวณพิกัด X = 609685 และ Y = 1703200 ต่อเนอื่ งไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใตต้ ามแนวเขตเทศบาล เมอื งอุทัยธานี จนถึงบริเวณพิกัด X = 609775 และ Y = 1703157 และต่อเน่ืองเป็นเส้น ตรงไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จนจดแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี บรเิ วณพกิ ดั X = 610621 และ Y = 1702286 และตอ่ เนอื่ งไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตต้ ามแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 57

ขา้ มแมน่ ำ้� สะแกกรงั จนกระทงั่ ไปจดแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี บรเิ วณพกิ ดั X = 610963 และ Y = 1701474 และตอ่ เนอ่ื งเปน็ เสน้ ตรงไปทางทศิ ตะวนั ออก เฉียงใต้ จนจดแนวกึ่งกลางถนนโยธาธิการ บริเวณพิกัด X = 611045 และ Y = 1701234 ทิศตะวันออก จดแนวก่ึงกลางถนนโยธาธิการ บริเวณพิกัด X = 611045 และ Y = 1701234 ต่อเนื่องเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงจุดตัด เส้นขนานระยะ 200 เมตร จากแนวเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี บริเวณพิกัด X = 611163 และ Y = 1700883 และต่อเนอ่ื งลงมาทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ ตามแนวเสน้ ขนานระยะ 200 เมตร จากแนวเขตเทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานี จนกระทง่ั จดแนวกึ่งกลางทางหลวงชนบท อน.5002 บริเวณพิกัด X = 612266 และ Y = 1699879 ทศิ ใต้ จดจุดตัดแนวเส้นขนานระยะ 200 เมตร จากแนวเขตเทศบาลเมือง อุทัยธานกี บั แนวก่งึ กลางทางหลวงชนบท อน.5002 บริเวณพกิ ัด X = 612266 และ Y = 1699879 ต่อเนื่องไปตามแนวกึ่งกลางทางหลวงชนบท อน.5002 ขา้ มแมน่ ำ้� สะแกกรงั และตอ่ เนอื่ งไปตามแนวกงึ่ กลางทางหลวงชนบท อน.5002 จนกระทง่ั จดทางแยกตดั ถนนบรริ กั ษก์ บั ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3265 บรเิ วณ พิกดั X = 611849 และ Y = 1699396 ทศิ ตะวันตก จดทางแยกตดั ทางหลวงชนบท อน.5002 ถนนบรริ กั ษ์ และทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 3265 บริเวณพิกัด X = 611849 และ Y = 1699396 ตอ่ เน่อื งไปทางทศิ ตะวันตกตามแนวก่งึ กลางถนนบรริ กั ษ์ จนกระทงั่ จดทางแยก ตดั ถนนรกั การดี บรเิ วณพกิ ดั X = 609486 และ Y = 1699798 และตอ่ เนื่อง เปน็ เสน้ ตรงไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื จนจดถนนเลยี บกำ� แพงวดั สงั กสั รตั นครี ี บริเวณพิกัด X = 609190 และ Y = 1699977 ต่อเนื่องไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนอื ตามแนวกง่ึ กลางถนนเลยี บกำ� แพงวดั สงั กสั รตั นครี ี จนกระทงั่ ไปเชอื่ มตอ่ กบั ถนนซอยวัดสังกัสรัตนครี ี บริเวณพิกดั X = 609097 และ Y = 1700210 และต่อเนื่องข้ึนไปทางทิศเหนือตามแนวก่ึงกลางถนนซอยวัดสังกัสรัตนคีรี จนกระท่ังไปจดทางแยกตัดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3220 บริเวณพิกัด X = 609761 และ Y = 1703394 58 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 59

3 2 คลองท่าโพ 5 60 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

7 แ ม ่ น้ น ำ ส ะ แ ก ก รั ง 1 19 6 23 16 4 21 13 17 21 27 20 21 15 19 28 25 26 24 10 9 18 8 11 21 22 14 12 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 61

บญั ชรี ายช่ือแหล่ง สถานที่ และโบราณสถานท่ีมีคุณค่า ในพน้ื ทีเ่ มอื งเก่าอุทยั ธานี และพน้ื ทีเ่ ก่ียวเนอ่ื ง หมายเลขอา้ งองิ : 1 แหล่ง: แมน่ ้ำ� สะแกกรัง พกิ ดั : 15°23’08.1”N 100°01’46.7”E ข้อมลู สังเขป: มตี น้ กำ� เนดิ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตแิ มว่ งก์ จงั หวดั กำ� แพงเพชร ไหลลงมาผ่านทางด้านตะวันออกของเมืองเก่าอุทัยธาน ี นับเปน็ แม่นำ้� สำ� คัญของเมอื งเกา่ อทุ ัยธานี หมายเลขอา้ งองิ : 2 แหลง่ : คลองท่าโพ พิกัด: 15°22’04.2”N 100°02’33.2”E ขอ้ มลู สงั เขป: ไหลมาจากพื้นทตี่ อนในแถบอำ� เภอหนองฉางมาบรรจบ กบั แมน่ ำ้� สะแกกรงั ทต่ี อนใตข้ องเมอื งอทุ ยั ธานี สนั นษิ ฐาน วา่ เปน็ เสน้ ทางสญั จรและการเดนิ ทพั ในสมยั โบราณดว้ ย หมายเลขอา้ งองิ : 3 แหลง่ : เขาสะแกกรงั พิกัด: 15°22’49.4”N 100°00’58.6”E ข้อมลู สงั เขป: เป็นภเู ขาลูกโดด วางตัวแนวเหนอื -ใต้ บนยอดเขาเป็น ที่ต้ังของวัดสังกัสรัตนคีรี พระราชานุสาวรีย์สมเด็จ พระปฐมบรมมหาชนก และหมุดแผนที่โลกซึ่งท�ำ หน้าที่เปน็ จดุ หมายตาสำ� คญั ของ จงั หวัดอทุ ัยธานี หมายเลขอา้ งอิง: 4 แหล่ง: วดั อุโปสถาราม (วดั โบสถ)์ พิกดั : 15°23’02.3”N 100°01’50.2”E โบราณสถาน: ประกาศเมือ่ 28 ตลุ าคม 2536 ข้อมลู สังเขป: ต้ังอยู่บนเกาะเทโพทางตะวันออกของแม่น�้ำสะแกกรัง ตรงขา้ มกบั ตลาดสดเทศบาลเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี ซง่ึ ภาพ ภูมิทัศน์วัดอุโปสถารามริมแม่น้�ำสะแกกรังเป็นมุมมอง ทเ่ี ป็นภาพเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานสี ำ� คัญท่คี นจดจ�ำ 62 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

หมายเลขอ้างอิง: 5 แหล่ง: วดั สังกัสรตั นคีรี พกิ ัด: 15°22’30.1”N 100°01’03.7”E ขอ้ มูลสงั เขป: เขตพทุ ธาวาสสว่ นหนงึ่ อยทู่ เ่ี ชงิ เขาสะแกกรงั และอกี สว่ น อยู่บนยอดเขา ซ่ึงเดิมเป็นซากโบราณสถาน และได้รับ การฟื้นฟูปฏิสงั ขรณเ์ สนาสนะตา่ ง ๆ จนมคี วามงดงาม หมายเลขอา้ งองิ : 6 แหลง่ : วดั มณสี ถิตกปฏิ ฐาราม (วดั ทุง่ แก้ว) พิกัด: 15°23’00.5”N 100°01’25.0”E ข้อมลู สงั เขป: เดิมช่ือ “วัดทุ่งแก้ว” ก่อสร้างราวปี พ.ศ. 2431 โดย นายพุ่ม นางพณิ สร้างศาลาเพื่อถวายพระอาจารยแ์ ยม้ วัดโมลีโลกยารามที่ธุดงค์มาพัก ต่อมาปี พ.ศ. 2481 วัดขวิดซึ่งตั้งอยู่กลางเมืองอุทัยธานีได้รับความเสียหาย จากเหตุการณ์ไฟไหม้ จงึ ยา้ ยมารวมกบั วดั ทุง่ แกว้ และ เปลย่ี นชื่อใหมเ่ ปน็ “วัดมณีสถติ กปิฏฐาราม” หมายเลขอา้ งอิง: 7 แหล่ง: วดั ธรรมโศภิต (วัดโค่ง) พิกดั : 15°23’17.5”N 100°01’46.3”E ขอ้ มูลสงั เขป: เดิมชื่อ “วัดราษฎร์จ�ำนงโค่ง” ตามช่ือผู้สร้างชาวพม่า ชอื่ “หมอ่ งโคง่ ” สนั นษิ ฐานวา่ สรา้ งในสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ชาวบา้ นนยิ มเรียกว่า “วดั โค่ง” ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2482 จงึ ไดเ้ ปล่ียนช่ือเปน็ “วดั ธรรมโศภติ ” หมายเลขอา้ งองิ : 8 แหลง่ : วดั ธรรมโฆษก (วดั โรงโค) พิกัด: 15°22’49.4”N 100°01’49.5”E ข้อมลู สงั เขป: เดิมช่ือ “วัดโรงโค” สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เม่อื ปี พ.ศ. 2325 เปน็ วัดส�ำคญั ของเมอื งเกา่ อุทัยธานี มีประวัติว่าเป็นสถานท่ีประกอบพิธีถือน�้ำพระพิพัฒน์- สตั ยาของข้าราชการเมอื งอุทัยธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 63

หมายเลขอา้ งอิง: 9 แหล่ง: วดั ใหม่จนั ทราราม พกิ ัด: 15°22’49.4”N 100°01’49.5”E ขอ้ มูลสงั เขป: เดมิ เป็นวัดรา้ ง ผังบรเิ วณเขตพุทธาวาสประกอบดว้ ย วิหารและอุโบสถสร้างคู่กันตามแบบแผนการวางผังวัด ในเมอื งอทุ ัยธานี หมายเลขอา้ งอิง: 10 แหลง่ : วดั หลวงราชาวาส พิกดั : 15°22’50.2”N 100°01’38.0”E ข้อมูลสงั เขป: สนั นษิ ฐานวา่ ถกู สรา้ งขนึ้ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย ผงั บรเิ วณ เขตพุทธาวาสประกอบด้วยวิหารและอุโบสถสร้างคู่กัน ตามแบบแผนการวางผงั วดั ในเมืองอทุ ัยธานี หมายเลขอา้ งองิ : 11 แหล่ง: วดั พชิ ยั ปุรณาราม พกิ ดั : 15°22’44.8”N 100°01’59.0”E ข้อมลู สงั เขป: เดมิ ชอื่ “วัดกร่าง” ตัววิหารของวัดเป็นสถาปัตยกรรม ก�ำหนดอายไุ ด้ราวอยธุ ยา ต่อมาปี พ.ศ. 2301 พระยา พิชัยสุนทรเจ้าเมืองอุทัยธานีได้เป็นแม่งานในการ บรู ณปฏสิ งั ขรณ์ และเปลยี่ นชอื่ เปน็ “วดั พชิ ยั ปรุ ณาราม” นอกจากวิหารเกา่ ในสมยั อยธุ ยาแลว้ ในวดั ยงั มอี ุโบสถ ทีส่ ร้างข้ึนต่อมาในช้นั หลัง และมีขนาดเล็กกว่าวิหาร หมายเลขอา้ งอิง: 12 แหล่ง: วดั อมฤตวารี (วดั หนองนำ้� คัน) พิกดั : 15°22’11.6”N 100°01’27.2”E ขอ้ มูลสงั เขป: สร้างข้ึนราวปี พ.ศ. 2325 เดิมชื่อ “วัดหนองน้�ำคัน” ต่อมาปี พ.ศ. 2482 พระสุนทรมุนี (พุฒ สุทัตโต) เจา้ คณะจังหวัด และสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจาร)ี เปลี่ยนช่ือให้ใหม่เป็น “วัดอมฤตวารี” หมายความว่า นำ�้ ทีม่ ีฤทธใิ์ ห้ผู้ด่มื เป็นอมตะ 64 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

หมายเลขอา้ งองิ : 13 แหล่ง: วัดขวิด พกิ ัด: 15°23’01.2”N 100°01’42.3”E ข้อมูลสังเขป: ปัจจุบันเป็นวัดร้าง คงเหลือเพียงอุโบสถอยู่หลังเดียว อยทู่ ่ามกลางวงล้อมของอาคารตลาดสด เนือ่ งจากเหตุ เพลงิ ไหมเ้ มอื่ ปี พ.ศ. 2478 ทำ� ใหม้ กี ารจดั ผงั เมอื งและ พ้ืนทีใ่ หม่ โดยยา้ ยเสนาสนะ คือ หมกู่ ุฏิ ไปสร้างรวมที่ วดั ทงุ่ แกว้ ทำ� ใหว้ ดั ขวดิ หมดบทบาทเปน็ วดั ทมี่ พี ระสงฆ์ จ�ำพรรษากลายเป็นวดั รา้ งไปในท่สี ดุ หมายเลขอ้างองิ : 14 แหล่ง: ศาลหลกั เมอื งอุทยั ธานี พกิ ดั : 15°22’23.5”N 100°02’23.6”E ข้อมูลสงั เขป: ตง้ั อยหู่ นา้ ศาลากลางจงั หวดั อทุ ยั ธานี สรา้ งขนึ้ ในปี พ.ศ. 2536 ทั้งน้ี รูปแบบสถาปัตยกรรมของศาลหลักเมือง เปน็ ศาลาผงั จตุรมขุ และมีเรือนยอดทรงปรางค์ หมายเลขอ้างอิง: 15 แหลง่ : ศาลเจา้ พ่อหลักเมอื ง (ปงุ เถ่ากง) พิกัด: 15°22’55.7”N 100°01’45.3”E ขอ้ มูลสงั เขป: ไม่ปรากฏปีที่สร้าง เดิมเป็นอาคารไม้ขนาดเล็ก ต่อมา นายพิพัฒน์ พัฒนาภรณ์ (จ๊กซอย แซ่ต้ัง) คหบดีเช้ือ สายจีนท่ีประกอบธุรกิจในตลาดอุทัยธานีได้ร่วมกับชาว ตลาดสรา้ งศาลขนึ้ ใหมเ่ มอื่ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2477 เปน็ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ โครงสรา้ งหลงั คาเปน็ ไม้ ตกแตง่ ดว้ ยองคป์ ระกอบแบบศิลปะจีน หมายเลขอ้างองิ : 16 แหล่ง: ศาลเจา้ พอ่ กวนอู พกิ ัด: 15°23’04.8”N 100°01’43.8”E ข้อมลู สงั เขป: เป็นศาลที่พ่อค้าชาวจีนท่ีค้าขายทางเรือนิยมมาจอด เรือบรรทุกสินค้าที่ท่าน�้ำหน้าศาลเจ้าในฤดูน�้ำหลาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2458 นายพิพัฒน์ พัฒนาภรณ์ (จ๊ก ซอย แซ่ตั้ง) ร่วมกับพ่อค้าชาวไทยเช้ือสายจีนสร้าง อาคารศาลเจา้ ขนึ้ มาใหม่เปน็ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ยกใต้ถุนสูง คล้ายกับศาลเจ้าพ่อหลักเมือง แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 65

หมายเลขอา้ งองิ : 17 แหล่ง: ศาลเจา้ แมท่ บั ทิมอุทัยธานี พกิ ัด: 15°22’59.8”N 100°01’36.2”E ขอ้ มลู สงั เขป: เดิมเป็นศาลเจ้าขนาดเล็กก่อสร้างด้วยไม้ของชาวจีน ไหหล�ำ ต่อมาแป๊ะหย่วน ชาวตรอกโรงยา เป็นแม่งาน ก่อสร้างใหม่ให้มีขนาดใหญ่กว่าเดิม ภายในประดิษฐาน รูปเคารพเจ้าแม่ทับทิมท่ีเป็นไม้แกะสลักที่อัญเชิญมา จากเกาะไหหล�ำ ประเทศจีน หมายเลขอา้ งองิ : 18 แหลง่ : ศาลเจา้ แมล่ ะอองส�ำลี พิกัด: 15°22’50.8”N 100°01’48.2”E ขอ้ มลู สงั เขป: สร้างก่อนศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จึงมีอายุราว 100 ปี ในปัจจุบันเป็นศาลเจ้าก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ยกพื้น แตย่ ังคงรกั ษาโครงสรา้ งหลังคาเปน็ ไม้เชน่ เดียว กับศาลเจา้ พ่อหลกั เมอื ง หมายเลขอา้ งองิ : 19 แหลง่ : ชมุ ชนเรอื นแพแมน่ �ำ้ สะแกกรัง พิกดั : 15°23’08.3”N 100°01’47.7”E ข้อมูลสงั เขป: เป็นชุมชนที่อยู่อาศัยในเรือนแพท่ีในแม่น�้ำสะแกกรัง รวมกลุ่มอยู่ในพ้ืนที่เขตเมืองเก่าอุทัยธานีเน่ืองจากเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ชาวแพส่วนใหญ่มีอาชีพเพาะ เลี้ยงสัตว์น้�ำ และปลูกพืชบนแพลอยน้�ำ ตลอดจนขึ้น ไปประกอบอาชพี อนื่ ๆ เชน่ การเกษตรกรรม การรบั จา้ ง ต่าง ๆ เป็นตน้ หมายเลขอา้ งองิ : 20 แหล่ง: ย่านชมุ ชนชาวจีนตรอกโรงยา พิกดั : 15°22’55.5”N 100°01’40.6”E ข้อมูลสงั เขป: ชื่อตรอกโรงยานั้นมาจากเถ้าแก่จ๊กซอยสร้างโรงยาฝิ่น ทำ� ให้ย่านนีม้ ีความคึกคกั ตอ่ มามีประกาศให้ฝ่นิ เป็นสง่ิ เสพติดและผิดกฎหมายในปี พ.ศ. 2500 ตรอกโรงยา จึงซบเซาลงโดยปริยาย ต่อมามีการฟื้นฟูเป็นพ้ืนท่ีจัด กจิ กรรมถนนคนเดินจงึ ทำ� ให้กลบั มาคกึ คักขึ้น 66 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

หมายเลขอ้างองิ : 21 แหล่ง: กลุม่ อาคารเกา่ เขตเทศบาลเมอื งอุทัยธานี พกิ ดั : 15°22’56.9”N 100°01’43.1”E ข้อมลู สังเขป: แบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ “กล่มุ บ้านคา้ ขายตกึ แถว ละแวกหา้ แยกวทิ ยุ และตลาดสดเทศบาล” “กล่มุ บ้าน ค้าขายเรือนแถวไม้ละแวกวัดธรรมโฆษก (ย่านตลาด พัฒนา)” และ “กลุ่มบ้านค้าขายเรือนแถวไม้ในตรอก โรงยา” หมายเลขอ้างอิง: 22 แหล่ง: อาคารไม้โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ พกิ ัด: 15°22’29.3”N 100°02’11.9”E ขอ้ มูลสงั เขป: เดมิ ตง้ั อยตู่ รงขา้ มบา้ นพกั ผพู้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาล ตอ่ มา ปี พ.ศ. 2461 ยา้ ยมาสรา้ งใหมด่ า้ นหลงั ทว่ี า่ การอำ� เภอ เมอื งอุทยั ธานี อาคารเดมิ น้นั มกี ารปรบั ปรุงต่อเตมิ และ รอื้ ถอนบางสว่ น ปจั จบุ นั ใชเ้ ปน็ พพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดอุทัยธานี หมายเลขอ้างองิ : 23 แหล่ง: บา้ นฮกแซตงึ้ พกิ ดั : 15°23’05.4”N 100°01’40.5”E ข้อมูลสงั เขป: เป็นอาคารไม้ซึ่งมีแบบแผนการตกแต่งแบบจีน เคยใช้ เป็นสมาคมเจรจาธุรกิจการค้าของชาวจีนในพ้ืนท่ีภาค กลางตอนบน และ “ส�ำนักฮกฮันตั๋ว” เป็นศูนย์กลาง กจิ กรรมในการกนิ เจ ตอ่ มาการคา้ ลดบทบาทลง ซนิ แส เลก็ แซ่ล้ี จึงเปิดแผนกรกั ษาโรคกบั ร้านขายยาจนี แบบ ก่งึ สาธารณกุศล และเปลี่ยนช่อื เป็น “ฮกแซตึง้ ” หมายเลขอ้างองิ : 24 แหล่ง: บา้ นขนุ กอบกยั กิจ พกิ ดั : 15°22’54.0”N 100°01’43.0”E ข้อมูลสงั เขป: เป็นเรอื นไม้ 2 ชัน้ สรา้ งขนึ้ โดยขนุ กอบกยั กิจ (นาย อุยสุ่น แซ่ตั้ง หรือตั้งอุยสุ่น) ต้นตระกูลกอบกัยกิจ สรา้ งในสมยั รชั กาลที่ 5 ราวปี พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 67

หมายเลขอา้ งอิง: 25 แหล่ง: บา้ นจงรัก พิกดั : 15°22’48.7”N 100°01’53.0”E ขอ้ มูลสังเขป: เปน็ เรอื นหมแู่ บง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คอื เรอื นแถวไม้ 2 ชน้ั อยู่ริมถนนศรีอุทัย ในปัจจุบันได้เปิดเป็นร้านกาแฟ และเรือนไทยสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 มีอายุมากกว่า 100 ปี หมายเลขอา้ งอิง: 26 แหลง่ : บา้ นพระยารามราชภักดี (ใหญ่ ศรลัมพ์) พิกัด: 15°22’49.6”N 100°01’55.6”E ขอ้ มูลสงั เขป: พระยารามราชภกั ด”ี (ใหญ่ ศรลมั พ)์ เปน็ ชาวอทุ ยั ธานี และได้รับต�ำแหน่งทางราชการที่สูงข้ึนจนย้ายไปเป็น ผู้ว่าราชการเมืองสุโขทัยในสมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อ ล่วงเข้าสู่วัยชราและเจ็บป่วย จึงไม่ได้รับราชการ และ กลับมาพ�ำนักท่ีอุทัยธานีและก่อสร้างเรือนหลังน้ี หมายเลขอา้ งองิ : 27 แหล่ง: โรงภาพยนตร์นิวเฉลิมอุทยั พกิ ัด: 15°22’59.8”N 100°01’43.4”E ขอ้ มูลสงั เขป: กอ่ สร้างขึ้นเม่อื พ.ศ. 2486 ในชว่ งการพฒั นาในพน้ื ท่ี เมอื งเกา่ อทุ ยั ธานหี ลงั จากไฟไหม้ เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบ สมัยใหม่ (Modern Architecture) ปัจจุบันทิ้งร้าง ไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ หมายเลขอา้ งองิ : 28 แหล่ง: วงเวยี นวิทยุ (วงเวยี นหา้ แยกวทิ ย)ุ พิกดั : 15°22’55.0”N 100°01’44.9”E ขอ้ มูลสงั เขป: ตงั้ อยบู่ นจดุ ตดั ถ.ศรอี ทุ ยั ถ.ทา่ ชา้ ง และ ถ.เปรมประชา ถอื เปน็ ใจกลางย่านพาณิชยกรรมของเมืองเก่าอุทัยธานี เปน็ ทตี่ ั้งของหอกระจายเสียงวทิ ยุที่สรา้ งข้นึ ราวปี พ.ศ. 2485 ถือเปน็ จุดหมายตา (Landmark) และเปน็ พ้ืนท่ี จัดกจิ กรรมส�ำคัญตา่ ง ๆ ของเมือง 68 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

เส้นทางสัญจร และท่าน้�ำ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 69

70 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ภาพมุมสูงชุมชนเรือนแพ ในแมน่ �ำ้ สะแกกรงั แผนท่ีมรดกทางวัฒนธภรรามพเโมดยือ:งเกกน่ากอุทสไุ ัยลธมาันนี 71

ทางหลวงหมายเลข 3221 ทางหลวงหมายเลข 3220 อทุ ยั ธานี-ทัพทนั แยกสะแกกรงั -โกรกพระ ทางหลวงหมายเลข 333 อ่ทู อง-ท่านำ้� อ้อย ทางหลวงหมายเลข 333 ถนนศรีเมอื ง อทู่ อง-ทา่ นำ�้ ออ้ ย ถนนศรีอทุ ัย แผนทโี่ ครงขา่ ยเส้นทางสัญจร ถนนทา่ ช้าง ในเมืองเกา่ อุทัยธานี ทางหลวงหมายเลข 3265 72 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี แยกโคกหมอ้ -ท่าซุง ถนนบริรักษ์

โครงข่ายเส้นทางสญั จรในเมอื งเก่าอทุ ยั ธานีจากอดีตสปู่ จั จุบัน เมืองอทุ ัยธานีเดมิ อยู่ในท้องท่ีอ�ำเภอหนองฉาง ปจั จบุ ันเรยี กพน้ื ทด่ี งั กลา่ วว่า “เมือง อุทัยธานีเก่า” มาต้ังที่ “บ้านสะแกกรัง” ซึ่งย้ายมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 3 ในอดีตบริเวณดงั กลา่ วอยู่ภายใต้การปกครองของเมืองมโนรมย์ ชยั นาท ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ ชอ่ื เดมิ ของ “วดั อโุ ปสถาราม” ซง่ึ เปน็ วดั สำ� คญั บนเกาะเทโพรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� สะแกกรงั เคยถูกเรยี กวา่ “วัดโบสถ์มโนรมย”์ เนอ่ื งจากท้องทีบ่ า้ นสะแกกรงั แห่งน้ีเคยขน้ึ กับเมอื งมโนรมย์ มากอ่ น ทงั้ นี้ เรยี กเมืองอุทยั ธานีทย่ี ้ายมาตั้งทบี่ า้ นสะแกกรงั นี้ว่า “เมอื งอทุ ัยใหม”่ เหตุผลส�ำคัญของการย้ายเมือง คือ ท�ำเลท่ีตั้งใหม่ได้รับประโยชน์จากความสะดวกใน การสญั จรทางนำ้� เปน็ อยา่ งมาก กล่าวคอื แม่นำ้� สะแกกรงั ไหลลงทางทศิ ใต้ ไปบรรจบกบั แมน่ ้�ำ เจ้าพระยาตรงท�ำเลที่ตั้ง “ตลาดคุ้งส�ำเภา” ซ่ึงเป็นชุมทางการค้าท่ีส�ำคัญของ “เมืองมโนรมย์” ซ่ึงขึ้นตรงกับ “เมืองชัยนาท” ท้ังน้ี ชาวอุทัยธานีเรียกจุดที่แม่น�้ำสะแกกรังไหลมาบรรจบกับ แม่น้�ำเจ้าพระยาตรงน้ีว่า “ปากคลอง” ท�ำเลที่ต้ังแห่งใหม่ที่บ้านสะแกกรังจึงได้รับประโยชน์ อย่างยงิ่ จากสายนำ้� สะแกกรงั ดว้ ยทำ� เลทตี่ ง้ั ของอทุ ยั ธานไี ดท้ ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ แหลง่ รวบรวมสนิ คา้ นานาชนดิ ทง้ั ขา้ วเปลอื ก ขา้ วสาร ตลอดจนสนิ ค้าและผลิตภณั ฑจ์ ากผนื ปา่ ท่ีอย่ตู อนในทางฟากตะวนั ตก จึงสรา้ งความ ม่ังค่ังแก่ชาวอทุ ยั ธานี ซงึ่ ส่วนใหญเ่ ปน็ ชาวไทยเช้อื สายจีน จากพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 เมื่อครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินมาประพาสเมืองอุทัยธานี ทรงกล่าวพรรณนาถึงตลาดริมน�้ำตรง บริเวณวัดขวิดไว้ว่ามีถนนหนทางตัดขึ้นจากท่าน�้ำ และมีการสร้างบ้านเรือนสองชั้นมุงหลังคา ดว้ ยวัสดธุ รรมชาติ แตถ่ นนหนทางนั้นยังไม่ไดก้ อ่ สร้างอย่างดนี ัก เป็นแต่เพียงถนนถมดนิ ซงึ่ จะ กลายเป็นโคลนเฉอะแฉะในช่วงฤดูฝน และกลายเป็นฝนุ่ ในฤดแู ล้ง ชาวอุทัยธานีได้ติดต่อค้าขายกับพ้ืนที่อ่ืน ๆ โดยใช้ “แม่น�้ำสะแกกรัง” เป็นเส้นทาง สัญจรหลักมาต้ังแต่แรกสร้างบ้านแปงเมือง การติดต่อค้าขายทางน้�ำย่ิงมีบทบาทมากขึ้นเม่ือ เข้าสู่ยุคของการใช้เรือยนต์เช่ือมต่อกันจากกรุงเทพมหานครไปยังเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เมืองต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีราบลุ่มภาคกลาง อาทิ สุพรรณบุรี อยุธยา นครสวรรค์ รวมท้ังอุทัยธานี โดยเรือยนต์ขนส่งมวลชนและสินค้าเดินทางจากท่าเตียนที่ปากคลองตลาดเชื่อมโยงเข้ากับ พน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ปากคลองตลาดจงึ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ แหลง่ รวบผลติ ภณั ฑแ์ ละสนิ คา้ นานาชนดิ จากพน้ื ทหี่ ลงั เมืองทา่ (Hinterland) ทอ่ี ยู่ลกึ เขา้ ไปตามลำ� แม่น�ำ้ สายต่าง ๆ ของภาคกลาง ประวัติศาสตร์บอกเล่ากล่าวถึงการเดินทางจากเมืองอุทัยธานีไปยังกรุงเทพมหานคร มีเรือโดยสาร คือ “เรือแดง” ด้วยเป็นเรือเหล็กสองชั้นทาสีแดงจอดที่ “ท่าตาแว่น” ตรงหน้า ตลาดสดซึ่งเป็นพื้นท่ีริมน้�ำท่ีเทศบาลปรับปรุงเป็นพื้นท่ีสาธารณะในนามของ “ลานสะแกกรัง” และ “เรือสีเลือดหมู” เป็นเรือไม้สองช้ัน ชื่อ“เรือศรีประจันต์” และ “เรือสุพรรณ” พื้นท่ีช้ันล่าง ของเรอื ใชบ้ รรทกุ สนิ คา้ และพ้ืนทช่ี ัน้ บนเปน็ ทน่ี ่ังผู้โดยสาร ออกเดนิ ทางประมาณหกโมงเช้าและ ถึงกรงุ เทพมหานครในเช้าวันรงุ่ ข้นึ ซึง่ ท่าเรอื จะอยู่ถดั จากท่าครอ้ หนา้ วัดขวดิ ขึ้นไป แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 73

เรอื เมลโ์ ดยสารทเ่ี ชอ่ื มโยงการขนสง่ มวลชนและสนิ คา้ ระหวา่ งอทุ ยั ธานแี ละเมอื งตา่ ง ๆ ในลุ่มแม่น้�ำเจ้าพระยา และกรุงเทพมหานคร ตลอดจนเรือขนข้าวซ่ึงเป็นของบรรดาพ่อค้า ที่เข้ามาซื้อข้าวเปลือกและข้าวสารลงไปขายสามารถสร้างรายได้และความมั่งค่ังให้แก่ชาว อทุ ยั ธานีอยา่ งมาก อย่างไรก็ดี ช่วงเวลารงุ่ เรืองในประวตั ิศาสตร์ความทรงจำ� ของชาวอุทัยธานี ได้สิ้นสุดลงเมื่อก่อสร้างเข่ือนเจ้าพระยาส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2500 ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาตทิ ใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั การสรา้ งถนนหนทาง ทำ� ใหเ้ รอื เมลท์ เี่ คยเปน็ ยานพาหนะ ทที่ ำ� หนา้ ท่เี ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งอทุ ยั ธานกี ับกรุงเทพมหานครยุตบิ ทบาทลง รูปแบบการสัญจรที่มีบทบาทข้ึนมาแทนที่การสัญจรทางแม่น�้ำ คือ ถนน และรถไฟ ทวา่ เสน้ ทางสญั จรทงั้ สองรปู แบบนน้ั ไมไ่ ดต้ ดั ผา่ นอทุ ยั ธานี ทำ� ใหก้ ารเดนิ ทางจากถนนพหลโยธนิ เข้ามายงั อทุ ัยธานตี อ้ งผา่ น “แยกหางนำ�้ สาคร” ทีต่ อ่ เชอ่ื มเขา้ มายัง “ตลาดคุง้ สำ� เภา” อ�ำเภอ มโนรมย์ จงั หวดั ชยั นาท ซงึ่ มที า่ แพขนานยนตท์ บ่ี รรทกุ รถและผโู้ ดยสารเพอื่ ขา้ มแมน่ ำ้� เจา้ พระยา ไปยงั ฟากตรงขา้ มทเี่ ปน็ เขตจงั หวดั อทุ ยั ธานี ตอ่ เชอื่ มระหวา่ งถนนทต่ี ดั ผา่ นวดั ทา่ ซงุ เปน็ เสน้ ทาง เชอ่ื มตอ่ ขนึ้ ไปยังเมอื งอทุ ัยธานี บรรยากาศการโดยสารแพขนานยนตข์ า้ มฟากจากฝง่ั ตลาดคงุ้ สำ� เภา อำ� เภอมโนรมย์ จงั หวดั ชยั นาท ขา้ มไปยงั ฝง่ั เมอื งอทุ ยั ธานี ซง่ึ ใหบ้ รกิ ารอยา่ งยาวนาน กอ่ นทจ่ี ะเลกิ กจิ การไปเมอ่ื ตน้ ปี พ.ศ. 2562 เมอ่ื การสรา้ งสะพาน ข้ามแม่น้ำ� เจ้าพระยาแลว้ เสร็จ เอ้อื เฟอ้ื ภาพ: คุณลัดดา สมัครการคา้ 74 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ภาพบน: ภาพถา่ ยทางอากาศแสดงทางแยกบนถนนศรีอทุ ยั แกนทางซา้ ยมอื เช่ือมตอ่ ไป ยงั ตลาดสด และลานสะแก ทางขวามอื แยกไปยงั ชมุ ชนตรอกโรงยา ปจั จบุ นั แยกดงั กล่าว เปล่ียนเป็นวงเวียนน้�ำพุ ถัดขึ้นไปเป็นเป็นวงเวียนขนาดเล็กปัจจุบันคือวงเวียนหอวิทยุ แกนทางซ้ายมอื ตรงไปยังทา่ ช้าง จากภาพยังปรากฏภาพโรงสีทา่ ตน้ จันทร์อยตู่ รงมมุ ซา้ ย บนของภาพ ถ่ายเมอ่ื ปี พ.ศ. 2494 เอือ้ เฟอ้ื ภาพ: คณุ ธงชยั ลิขติ พรสวรรค์ ส�ำนกั พิมพต์ ้นฉบบั ภาพในหน้าถัดไป: ภาพถา่ ยทางอากาศในขณะที่เครื่องบนิ อยเู่ หนือเกาะเทโพ และบันทึก ภาพในมมุ มองไปยงั พืน้ ทีช่ ุมชนตลาดสดอุทยั ธานี ในแม่นำ้� สะแกกรงั ยงั มเี รอื นแพอยู่เปน็ จำ� นวนมาก ถัดข้ึนไปเป็นตกึ แถวแบบสมยั ใหม่สรา้ งโอบลอ้ มโรงภาพยนตร์นิวเฉลมิ อุทยั และยงั เห็นวิหารของวดั ขวดิ ทอ่ี ยูร่ มิ แมน่ ้�ำยังไมถ่ ูกรอื้ ลง เออ้ื เฟ้ือภาพ: คุณธงชัย ลิขติ พรสวรรค์ สำ� นกั พิมพ์ต้นฉบับ แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 75

76 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ภาพถา่ ยทางอากาศท่บี นั ทกึ ในปี พ.ศ. 2494 มมุ มองจาก ฝง่ั เกาะเทโพมองยอ้ นกลบั ไปยงั ฝง่ั เมอื งเกา่ ถดั จากยา่ นชมุ ชน ออกไปยังเป็นสวนไม้ยืนต้นซึ่งมีบ้านเรือนต้ังแทรกตัวอยู่ ถัดไปเปน็ ทงุ่ นา ฉากหลังของภาพ คือ ภเู ขาสะแกกรงั จาก ภาพจะเห็นถนนทา่ ช้างซ่ึงเช่ือมต่อจากพ้ืนท่ีริมน�้ำต่อไปยัง หัวเขาสะแกกรังอันเป็นที่ตง้ั ของวัดสังกสั รตั นคีรี เอ้อื เฟอ้ื ภาพ: คุณธงชัย ลิขติ พรสวรรค์ สำ� นกั พมิ พ์ต้นฉบับ แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 77

ต่อมามีการสร้างถนนท่ีเชื่อมต่อจากถนนสายเอเซียเพิ่มเติมข้ึนตรงแยกท่าน้�ำอ้อย ในเขตอ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ โดยมี “สะพานสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)” ซ่ึงทอดตัวข้ามแม่น้�ำเจ้าพระยาท�ำหน้าท่ีเชื่อมโยงการคมนาคมจากถนนพหลโยธินเข้ามายัง ตวั เมืองอทุ ัยธานี จากการศึกษาโครงสรา้ งเสน้ ทางสญั จรภายในชมุ ชนตลาดเมืองเกา่ อทุ ยั ธานี จะเห็นวา่ เร่ิมขยายตัวจากพ้ืนท่ีชายตล่ิงแม่น�้ำสะแกกรังต่อเนื่องขึ้นไปบนลานตะพักริมแม่น้�ำและพื้นที่ ตอนใน ผงั ของชมุ ชนบรเิ วณตลาดไม่ไดม้ ีการวางแผนผังเมอื งอย่างเปน็ ระบบมาแตเ่ ดมิ เปน็ แต่ เพียงการขยายตัวตามความต้องการใช้สอยแบบพ้ืนถ่ิน ถนนหนทางเดิมน้ันจึงเล็กแคบ และมี การตง้ั ถ่ินฐานสรา้ งบา้ นเรอื นกันที่มคี วามหนาแน่นสงู ในปี พ.ศ. 2478 เกิดเหตุอัคคีภัยคร้ังใหญ่ท�ำให้อาคารบ้านเรือนที่ปลูกสร้างกันอย่าง แออดั ในชมุ ชนตลาดถกู เพลงิ ไหมเ้ สยี หายเปน็ จำ� นวนมาก และเปน็ เหตใุ หม้ กี ารเรม่ิ ตน้ จดั รปู พนื้ ที่ ของชุมชนใหมด่ ้วยการตัดถนนสายใหม่ การขยายขนาดของถนนเดมิ ทแี่ คบเล็ก ตลอดจนมกี าร รอ้ื่ ถอนเสนาสนะของ “วดั ขวดิ ” ซง่ึ แตเ่ ดมิ นนั้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ วดั สำ� คญั ทตี่ งั้ อยกู่ ลางเมอื งนำ� ไปสรา้ ง รวมกบั “วดั ทงุ่ แกว้ ” เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ทศี่ นู ยก์ ลางเศรษฐกจิ รมิ แมน่ ำ้� สะแกกรงั และเปล่ียนชอื่ เปน็ “วัดมณสี ถิตกปิฏฐาราม” จากการศึกษาภาคสนามผสานกบั การสมั ภาษณป์ ระวตั ศิ าสตรม์ ขุ ปาฐะพบวา่ โครงขา่ ย เสน้ ทางสัญจรหลกั ของเมืองแต่เดมิ คือ ถนนสองสายท่ีตัดขนานกับแมน่ ำ้� สะแกกรัง คือ “ถนน ศรีอทุ ยั ” และ “ถนนรักการดี” ทอดตัวขนานไปกบั แมน่ ำ้� สะแกกรัง เกิดพืน้ ท่ยี ่านพาณิชยกรรม ขึ้นเป็นแนวยาวตลอดสองฟากฝั่งของถนน โดยมีความเข้มข้นของการก่อสร้างอาคารเพื่อการ พาณิชย์และการอยู่อาศัยในรูปแบบของเรือนแถวไม้ และตึกแถวคอนกรีต เป็น “บ้านร้านค้า (Shop House)” อนั เปน็ แบบแผนการอยู่อาศยั และการท�ำธรุ กจิ ของผู้คนเชื้อสายจนี โดยมกี าร ก่อสร้างอย่างเข้มข้นบริเวณวงเวียนทั้ง 3 ซึ่งถือว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเมืองเก่า อทุ ยั ธานี กอ่ นทคี่ วามเขม้ ขน้ ของการใชส้ อยพน้ื ทจ่ี ะลดลงทป่ี ลายแกนทงั้ สองฟากตามระยะหา่ ง ท่ที อดตัวออกไปจากศนู ยก์ ลางเศรษฐกจิ นอกจากนี้ ในพื้นทย่ี า่ นศูนยก์ ลางธรุ กจิ ยงั มีการก่อสร้างอาคารธนาคาร อาทิ ธนาคาร กสิกรไทย ธนาคารกรงุ ไทย และธนาคารไทยพาณิชยอ์ ยใู่ นย่านศูนยก์ ลางธรุ กิจด้วย ทางทศิ ใต้ ของถนนศรีอทุ ัยเป็นทีต่ ้ังของศูนยร์ าชการ ท้ังนี้ ถนนสายหลักทงั้ 2 สายถูกเชอ่ื มกันด้วยถนน สายรอง และตรอกซอยขนาดเล็กเพือ่ ความสะดวกในการสัญจร ทั้งน้ี ยังมีถนนสายส�ำคัญอีกสาย คือ “ถนนท่าช้าง” ซ่ึงตัดตรงขึ้นมาจาก “ท่าช้าง” ทเ่ี ป็นท่าน้�ำสำ� คญั ของเมอื งอทุ ยั ธานี ผา่ นศาลเจา้ พ่อหลกั เมอื งซึ่งมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรม แบบจนี ถนนท่าชา้ งตัดมงุ่ ตรงไปยงั ดา้ นหวั ของเขาสะแกกรังซง่ึ เป็นที่ต้ังของบันไดขน้ึ สู่ยอดเขา สะแกกรงั อนั เปน็ ทตี่ ง้ั ของพระมณฑปอนั เปน็ จดุ หมายตาบนยอดเขา ยงิ่ ตอกยำ�้ ใหเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ และความหมายของภเู ขาสะแกกรงั ในฐานะภเู ขาศักดิส์ ทิ ธ์ิประจำ� เมอื งเกา่ อทุ ัยธานี 78 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ด้วยคุณลักษณะดังกล่าวมาข้างต้น “ถนนท่าช้าง” จึงท�ำหน้าท่ีเป็นระเบียงเช่ือมโยง พ้ืนที่ทางจิตวิญญาณอันเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของเมือง คือ “ภูเขาสะแกกรัง” และ “แม่น�้ำ สะแกกรัง” เข้าหากัน นับเป็นแนวถนนแกนส�ำคัญของเมืองเก่าอุทัยธานีที่ท�ำหน้าท่ีเป็นมรดก วัฒนธรรมทางกายภาพ หรือมรดกวัฒนธรรมจับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) ในท่ีนี้ ถนนท่าช้างยังเป็นเส้นทางวัฒนธรรม (Cultural Route) ท่ีเช่ือมโยงคุณค่าความหมาย ในมติ ขิ องมรดกวฒั นธรรมจบั ตอ้ งไมไ่ ด้ (Intangible Cultural Heritage) ระหวา่ งภเู ขาสะแกกรงั เข้ากับเมืองเกา่ อทุ ัยธานี ดงั ตวั อย่างอันเปน็ ประจักษข์ องเทศกาลประเพณีออกพรรษาซงึ่ มกี าร จัดงานตักบาตรเทโวโรหนะเป็นงานประจ�ำปีของเมืองอุทัยธานี โดยพระสงฆ์ได้เดินบิณฑบาต ลงจากยอดเขาสะแกกรังลงมายังลานหน้าวัดสังกัสรัตนคีรี จากนั้นจะมีขบวนแห่เข้ามายังตัว เมืองเก่าอทุ ยั ธานผี า่ นเส้นทางถนนทา่ ชา้ งเป็นประจำ� ทกุ ปีด้วย การตกั บาตรเทโว ณ วัดสังกัสรตั นคีรี เปน็ กิจกรรมส�ำคญั ในวนั ออกพรรษาของจงั หวัดอทุ ยั ธานี พระสงฆน์ บั รอ้ ยรูปเดิน ลงจากเขาสะแกกรังเพื่อออกรบั บิณฑบาตจากพทุ ธศาสนิกชนที่ลานวัดบริเวณเชงิ เขา เปน็ สัญลกั ษณถ์ ึงพุทธประวตั ติ อน พระพทุ ธเจา้ เสด็จกลับจากการโปรดพทุ ธมารดา ณ สวรรคช์ ัน้ ดาวดึงส์ ในวันออกพรรษา (วันข้ึน 15 ค่�ำ เดือน 11) ต�ำแหน่งที่เสด็จลงมา คือ “เมืองสังกัสสนคร” อันเป็นที่มาของช่ือ “วัดสังกัสรัตนคีรี” แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 79

เมืองเก่าอุทัยธานีมีถนนสายรอง ตรอก ซอก ซอย อีกหลายสาย ทตี่ ดั สานเพอ่ื เชอื่ มถนนสายหลกั เขา้ ดว้ ยกนั อาทิ ถนนศรนี ำ�้ ซมึ ถนนพบิ ลู ยศ์ ริ ิ ถนนบรู พาภผิ ล มลี กั ษณะดง่ั เครอื ขา่ ยใยแมงมงุ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั ไปมา เกดิ จาก ความต้องการใช้สอยแบบพืน้ ถ่นิ ไม่ไดเ้ กิดจากการออกแบบวางผังอย่างเปน็ ระบบมาแตต่ น้ เสน้ ทางสัญจรจึงมขี นาดเล็กและคดโค้ง นอกจากนี้ เสน้ ทางสญั จรในเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานยี งั มเี อกลกั ษณท์ ผี่ คู้ น ท่ีผ่านไปมากล่าวถึง คือ การออกแบบให้จุดท่ีถนนหลายสายมาตัดกันเป็น “วงเวียน” ไม่ว่าจะเป็นจุดตัดขนาดเล็ก หรือใหญ่ก็สร้างเป็นวงเวียนทั้งส้ิน ยกเวน้ จดุ ตดั หนา้ วดั ธรรมโฆษกทเี่ ปน็ สแี่ ยกไฟแดง ชาวอทุ ยั ธานีจะเรยี กขาน ชอื่ วงเวยี นตามลกั ษณะเฉพาะตวั ขององคป์ ระกอบหรอื สญั ลกั ษณท์ ี่กอ่ สรา้ งไว้ กบั วงเวยี นแตล่ ะแหง่ ทำ� ใหว้ งเวยี นไดก้ ลายเปน็ เอกลกั ษณส์ ำ� คญั ของเสน้ ทาง สญั จรภายในเมืองเกา่ อทุ ยั ธานีไปโดยปรยิ าย ภาพถา่ ยเมืองเก่าอทุ ัยธานี บันทึกเม่ือวนั ที่ 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2521 แสดงบรรยากาศ ถนนสายต่าง ๆ ภายในเมืองเกา่ อทุ ยั ธานีก่อนจะมกี ารขยายถนนในเวลาต่อมา เอ้ือเฟ้ือภาพ: คณุ อเนก นาวิกมูล 80 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

วงเวียนห้าแยกวิทยุในวันออกพรรษาซ่ึงเป็นงานส�ำคัญของเมืองอุทัยธานี ท่วี งเวียนหา้ แยกวทิ ยุมกี ารประดับตกแต่งดว้ ยรว้ิ ผา้ สตี า่ ง ๆ อย่างงดงาม วงเวียนหนา้ วดั ใหม่จันทราราม แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 81

ต�ำแหนง่ โรงสี 2 1 1 3 2 1 โรงสปี ล่องช้าง 2 โรงสีนายบว้ น 4 แ ก ก รั ง 3 โรงสีท่าต้นจันทร์ 5 4 โรงสีวัดใหม่ 5 โรงสีปลอ่ งเสอื 56 6 โรงสีนายอู 7 ต�ำแหนง่ ท่าเรือ 8 3 9 101แ1ม12่ น้ น1ำ3ส ะ 1 ทา่ วัดโค่ง 14 2 ทา่ โรงสปี ลอ่ งช้าง 6 3 ทา่ นายบว้ น 4 ท่าแร่ 4 5 ท่าเรอื สีเลือดหมู 6 ท่าครอ้ 7 ทา่ ตาแวน่ 8 ท่าช้าง 9 ท่าต้นจันทร์ 10 ทา่ โขด 11 ท่านายเสาร์ 12 ท่านายมงั กร 13 ท่าหลวงเพช็ ร 14 ทา่ พระยาราม ต�ำแหนง่ ทา่ เรือและโรงสี ในพน้ื ทีเ่ มืองเก่าอุทยั ธานี 82 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

ทา่ น้ำ� ท่าขา้ ว และโรงสีไฟ ชุมชนเมืองอุทัยธานีในอดีตมีพลวัตทางเศรษฐกิจท่ีสัมพันธ์กับการ คา้ ขา้ วเปน็ สำ� คญั แมว้ า่ ในเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานจี ะมธี รุ กจิ โรงสไี ฟสขี า้ วหลายแหง่ แต่ก็ยังมีข้าวเปลือกเหลือมากพอท่ีจะขายให้แก่โรงสีไฟที่พระนครศรีอยุธยา และกรงุ เทพมหานคร บรเิ วณรมิ แมน่ ำ�้ สะแกกรงั จงึ มที า่ เรอื หลายแหง่ สำ� หรบั การคมนาคม ขนส่งสินค้า และขนข้าวให้พ่อค้าข้าวท่ีใช้เรือโยงเดินทางเข้ามารับซ้ือข้าว ในฤดนู ำ�้ หลาก ส�ำหรบั ทา่ ขา้ วหลักของเมอื ง คือ “ทา่ พระยาราม” “ทา่ แร่” และ “ท่านายบ้วน” สว่ นทา่ เรอื โดยสาร ไดแ้ ก่ “ท่าช้าง” “ท่าตาแวน่ ” และ “ทา่ เรือสเี ลอื ดหมู” นอกจากน้ี ยังมีทา่ เรอื ขนาดเลก็ ของเอกชนอนั เปน็ ทต่ี ง้ั ยุ้งฉางของพ่อคา้ คนกลางทีร่ ับซือ้ ข้าวมาเกบ็ ไว้อกี หลายแห่ง ระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2490-2500 การค้าขายข้าวทางเรือและการ ใช้ท่าเรอื ต่าง ๆ เริ่มหมดบทบาทลงไป เพราะการคมนาคมทางบกในจังหวดั อุทัยธานีเร่ิมได้รับการพัฒนาและเริ่มมีรถยนต์ใช้มากขึ้น รวมทั้งการเปิดใช้ เข่อื นเจา้ พระยาอยา่ งเปน็ ทางการเมอื่ วันท่ี 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ท�ำให้ การสัญจรและการขนสง่ ทางเรือมาเสียเวลารอท่ีประตนู ้ำ� ทำ� ให้ทา่ ข้าว และ โรงสที เ่ี คยคกึ คกั กก็ ลบั ซบเซาลง และเมอ่ื การขนสง่ ทางบกเจรญิ รดุ หนา้ ทำ� ให้ โรงสีของท้องถิ่นลดบทบาทลงจนเลิกทำ� ธรุ กิจลงไปในทสี่ ุด เพราะจะบรรทุก ขา้ วไปขายยงั โรงสแี ละทา่ ขา้ วทใี่ หร้ าคาดกี วา่ และไมต่ อ้ งรอฤดกู าลเชน่ ในอดตี จากการศึกษาภาคสนาม และการสมั ภาษณผ์ ูท้ รงคุณวุฒใิ นทอ้ งถิ่น พบวา่ พ้นื ท่ีริมแม่น้�ำสะแกกรังในเขตเมอื งเกา่ อุทยั ธานี นบั จากบา้ นเหนือ ลงมายงั บา้ นใต้ มีท่าเรอื ดังน้ี 1) “ท่าวัดโค่ง” อยู่บริเวณหน้าวัดธรรมโศภิต (วัดโค่ง) ปัจจุบัน ยังคงใช้เป็นท่าน้�ำสำ� หรับชาวแพ 2) “ท่าโรงสีปล่องช้าง” เปน็ ทา่ เรอื ของโรงสปี ล่องช้าง ซง่ึ ปัจจบุ นั รอ้ื โรงเรอื นลงแล้วคงเหลอื เฉพาะปล่องไฟ ซ่งึ ต้ังอยู่ตดิ กบั รัว้ วดั โคง่ 3) “ท่านายบ้วน” บางทีเรียกกันว่า “ท่าครูไล้” หรือ “ท่าโกวา” ซ่ึงช่ือเรียกท่าเรือท่ีตา่ งกนั นน้ั เรยี กตามชอื่ ผบู้ รหิ ารทา่ เรอื ทเี่ ปลย่ี นไป คอื นายบว้ น ครไู ล้ (มโี รงสคี รไู ล)้ และโกวา ตามล�ำดบั 4) “ท่าแร”่ อยหู่ นา้ ศาลเจา้ พ่อกวนอู เป็นทา่ ส�ำหรับการคา้ ขายมดี การขนส่งแร่เหลก็ และโรงตีเหลก็ เปน็ ทา่ ข้าวทพี่ ่อคา้ จนี มาจอดเรือหมใู นฤดู นำ้� หลากเพอ่ื รอ ซอื้ ขา้ วเปลอื กจากฉางขา้ วนายขอม อบอาย ผ้เู ปน็ เจ้าของ ทา่ แร่ แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 83

นอกจากนี้ บรเิ วณบา้ นท่าแรย่ งั เปน็ นวิ าสสถานของสมเดจ็ พระวนั รัต (เฮง เขมจารี) ถอื กำ� เนดิ ในปี พ.ศ. 2425 และได้ดำ� รงต�ำแหน่งสมเด็จพระราชาคณะฝา่ ยมหานกิ าย ปัจจุบัน ท่ีท่าแร่น้ันยังคงใช้เป็นท่าน�้ำส�ำหรับชาวแพผู้อยู่อาศัยในแม่น้�ำสะแกกรังน�ำเรือมาจอดและข้ึน ฝั่งเพ่อื ไปประกอบอาชพี และกิจธรุ ะตา่ ง ๆ 5) “ท่าเรือสีเลือดหมู” อยู่ตรงแนวแกนถนนที่ตรงมาจากวงเวียนที่มีประติมากรรม ช้างตกแต่ง ในอดีตเป็นท่าเรือโดยสารที่เชื่อมต่อจากเมืองอุทัยธานีลงไปยังกรุงเทพมหานคร โดยมีเรือไม้สองชั้นชื่อ “เรือสุพรรณ” และ “เรือศรีประจันต์” ให้บริการโดยสาร 6) “ทา่ ครอ้ ” ตงั้ ชอ่ื ตามตน้ ตะครอ้ ทเี่ คยยนื ตน้ อยดู่ า้ นหนา้ วหิ ารวดั ขวดิ ซงึ่ ตอ่ มาวหิ าร ดงั กลา่ วกไ็ ดถ้ กู รอื้ ลง พน้ื ทบี่ รเิ วณนไ้ี ดพ้ ฒั นาเปน็ ตลาดสดเทศบาล ถนนและลานรมิ แมน่ �ำ้ 7) “ท่าตาแว่น” อยู่ทางทิศเหนือของท่าช้าง ตรงลานสะแกกรังที่เป็นท่าน�้ำของเมือง ชาวอุทยั ธานีในอดตี บา้ งเรยี กวา่ “ทา่ เจก็ แว่น” ท่ที า่ เรอื น้ียงั เปรยี บได้กับสถานขี นสง่ ในปัจจุบนั เพราะเป็นท่าเรือแดงโดยสารไปกรุงเทพมหานคร ออกจากอุทัยธานีในเวลา 6 โมงเช้า และ จะไปถึงท่าเตียนปากคลองตลาดทกี่ รุงเทพมหานคร 6 โมงเช้าของวนั รุง่ ขนึ้ 8) “ท่าช้าง” เป็นท่าน�้ำท่ีส�ำคัญมากที่สุดของเมืองอุทัยธานี ต้ังอยู่บริเวณศูนย์กลาง เมืองที่มีการค้าที่คึกคัก และมียุ้งข้าวอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ในอดีตเคยเป็นท่าน้�ำส�ำคัญส�ำหรับ ใช้ช้างขนลากซุงมาลงเรือเพ่ือน�ำซุงส่งไปขาย ซึ่งเป็นที่มาของการต้ังช่ือ “ถนนท่าช้าง” และยัง เปน็ ทีข่ นส่งสินค้าของร้านคา้ ขายสนิ ค้าเบด็ เตล็ดในเมอื งอุทยั ธานี ในขณะเดียวกันท่าช้างยังเป็นท่าน�้ำหลักส�ำหรับสัญจรข้ามฝั่งไปมาระหว่างฝั่งเทศบาล เมืองและฝั่งวัดอุโปสถารามที่อยู่บนเกาะเทโพ ด้วยการใช้เรือที่มีเชือกส�ำหรับสาวข้ามฟาก โดยไม่ต้องใช้คนพาย และยกเลกิ ไปเม่อื มกี ารสร้างสะพานฉลองกรุงรตั นโกสินทร์ ในปจั จบุ นั บริเวณทา่ ชา้ งปรับปรุงเปน็ ลานสะแกกรัง มตี ลาดสดในชว่ งเชา้ และเย็น และ เป็นทา่ นำ้� สำ� หรับการตกั บาตรยามเช้า และการจดั งานเทศกาลของจงั หวดั 9) “ท่าต้นจันทร์” ปัจจุบันคือท�ำเลท่ีตั้งของอาคารตรงเชิงสะพานท่ีใช้ข้ามไปยัง วัดอุโปสถาราม อยู่ริมน้�ำถัดจากบ้านคุณยายครอบ นฤนาถ ใกล้กบั ท่าโขด 10-12) “ท่าโขด” “ท่านายเสาร์” และ “ท่านายมังกร” ซึ่งเป็นท่าเรือขนาดเล็ก ต้งั เรียงกนั นับจากทศิ เหนอื ไปทศิ ใต้ บรเิ วณนีเ้ คยเป็นทีต่ งั้ ยงุ้ ข้าวของบรรดาพอ่ คา้ คนกลางทห่ี าซือ้ ขา้ วเปลือกมารวมไวร้ อขายให้กบั เรือโยงรบั ซ้อื ขา้ วทจี่ ะลอ่ งเขา้ มาในฤดนู ้ำ� หลาก 13) “ท่าหลวงเพ็ชร” อยรู่ มิ นำ�้ บริเวณดา้ นหนา้ โรงแรมพิบูลย์สุข 14) “ทา่ พระยาราม” อยรู่ มิ น้�ำหนา้ บ้านพระยารามราชภกั ดี 84 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

นอกจากทา่ เรอื และทา่ ขา้ วทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานดี งั กลา่ วมา ข้างต้น องค์ประกอบของเมอื งเกา่ ทีผ่ กู พันกบั ทา่ ข้าวและท่าเรอื คอื “โรงสไี ฟ” ท้ังน้ี จากการศึกษาจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ ภาพถ่ายเก่า และการสัมภาษณ์ ประวตั ิศาสตร์มขุ ปาฐะจากผู้ทรงคณุ วุฒใิ นชมุ ชนไดพ้ บวา่ โรงสีไฟเปน็ ตัวขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจใน การค้าขา้ ว ซ่งึ สง่ ผลตอ่ การขยายตวั ของเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี จนเมอ่ื กาลเวลาเปลย่ี นแปลงไปและ บริบทแวดล้อมของการค้าข้าวในอุทัยธานีซบเซาลง ท�ำให้โรงสีไฟต่าง ๆ ได้ถูกร้ือเพราะหมด ประโยชน์ใช้สอย แม้ว่าบางแห่งยังคงเหลือปล่องไฟเป็นจุดหมายตา บางแห่งคงเหลือแต่เป็น ภูมินามอยู่ในความทรงจ�ำของคนเกา่ แกช่ าวอุทยั ธานี ดังรายการต่อไปน้ี 1) “โรงสปี ลอ่ งช้าง” เป็นของนายห้างควร พรพิบูลย์ ตัง้ อย่ตู ิดกบั รัว้ วัดโค่ง 2) “โรงสีนายบ้วน” เป็นของนายบว้ น อยใู่ กลร้ มิ น้�ำทที่ า่ นายบว้ น 3) “โรงสีท่าต้นจันทร์” เป็นของนายห้างควร พรพิบูลย์ (เจ้าของอาคารพรพิบูลย์) อยู่ถดั ไปจากบา้ นคณุ ยายครอบ นฤนาถ ใกลก้ ับทา่ โขด 4) “โรงสีวัดใหม”่ เป็นของคหบดีชาวอุทัยธานีหลายคนเปน็ หนุ้ ส่วนกนั มที �ำเลที่ตง้ั อยู่ บรเิ วณตรงกันขา้ มกบั รา้ นหนังสอื บ๊คุ โทเปีย 5) “โรงสีปลอ่ งเสอื ” อยู่ใกล้กับวัดมณสี ถติ กปฏิ ฐาราม (วดั ทุ่งแก้ว) เปน็ ของคณุ ก�ำจดั วัฒโนภาส 6) “โรงสีนายอู” เปน็ ของคณุ ตาของภรรยาคุณอดุลย์ เหลอื งบริบูรณ์ โรงสเี คยอยู่ใน บรเิ วณเรอื นไทยของคณุ อดุลย์ เหลอื งบรบิ รู ณ์ อยู่ไม่ไกลจากบา้ นพระยารามราชภกั ดี ภาพเก่าแสดงทิวทศั นร์ ิมแม่น�้ำสะแกกรงั ทางซา้ ยมือของภาพ คือ โรงสปี ล่องชา้ งซึ่งต้ังอย่ตู ิดกับวดั โคง่ ซง่ึ จะ เหน็ ปลอ่ งควันของเมรวุ ดั โคง่ อยู่ดา้ นขา้ งกับปลอ่ งไฟโรงสี ซง่ึ ยังเป็นจุดหมายตาจนกระทงั่ ปจั จบุ ัน เนอ่ื งจาก ตัวโรงเรอื นได้รอ้ื ลงหมดแล้ว คงเหลอื แต่สว่ นของปลอ่ งไฟขนาดใหญต่ ง้ั ตระหงา่ นอยู่ เอือ้ เฟ้ือภาพ: คุณอเนก นาวิกมูล แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 85

ศาลเจา้ พ่อหลักเมือง (ปงุ เถ่ากง) 86ภาพโดยแ:ผนอิสทรี่มชรัยดบกูรทณาะงอวรัฒรจนน์ธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

วัด และ ศาลเจ้า ในพ้ืนที่ เมืองเก่าอุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 87

7 วัดมณีสถติ กปิฏฐาราม 11 วัดธรรมโศภิต (วัดโค่ง) (วัดทงุ่ แก้ว) ศาลเจา้ พ่อกวนอู 2 5 9 1 วดั อโุ ปสถาราม (วัดโบสถ์) วดั ขวดิ (รา้ ง) 12 แ ม ่ น้ น ำ ส ะ ศาลเจ้าพอ่ หลกั เมือง (ปุงเถ่ากง) ศาลเจา้ แมท่ ับทมิ แ ก ก รั ง 8 6 10 3 4 วัดหลวงราชาวาส วัดใหมจ่ ันทราราม ศาลเจา้ แม่ละอองสำ� ลี (ปงุ เถ่ามา่ ) วัดธรรมโฆษก (วัดโรงโค) วดั พิชยั ปรุ ณาราม สัญลักษณ์ ขอบเขตเมืองเกา่ อุทัยธานี ขอบเขตพ้ืนทตี่ ่อเนอื่ ง ถนน วัด แหลง่ น�้ำ ศาลเจ้า 88 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

วัด และศาลเจา้ ในเขตเมืองเกา่ อทุ ัยธานี เมืองเก่าอุทัยธานีที่ริมฝั่งแม่น�้ำสะแกกรังก่อร่างสร้างเมืองข้ึนอย่าง เปน็ ทางการในราวรชั กาลพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยเมืองอุไทยธานีเดิมที่ต้ังอยู่อ�ำเภอหนองฉางน้น หมดบทบาทลงไป ผู้ปกครองเมืองจึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ย้ายที่ตั้งเมืองมายังที่ตง้ั ปัจจบุ ัน จากการศกึ ษาขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตร์ และการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปสถาปตั ยกรรมของวดั วาอารามตา่ ง ๆ จะเหน็ วา่ ทำ� เลทต่ี งั้ เมอื งอทุ ยั ธานี ท่ีบ้านสะแกกรังมีการตั้งถ่ินฐานอย่างเก่าแก่มาต้ังแต่สมัยกรุงศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี ดังมีหลักฐานเชิงประจักษ์ คือ “วิหารวัดพิชัยปุรณาราม” เน่ืองจาก พระพุทธรูปประธานในวิหารมีพุทธศิลป์ที่ผสมผสานรูปแบบระหว่างศิลปะ แบบสโุ ขทยั และอยธุ ยาตอนตน้ นอกจากนี้ จากการศกึ ษาภาพถา่ ยเกา่ พบวา่ วหิ ารหลงั เกา่ ของวดั ขวดิ มรี ปู แบบศลิ ปสถาปตั ยกรรมแบบอยธุ ยาตอนปลาย ทว่าวิหารหลังดังกล่าวได้ถูกรื้อลงไปแล้ว ซึ่งปัจจุบันคือพื้นท่ีตลาดสด และ ลานรมิ แม่นำ้� สะแกกรังทเ่ี ทศบาลเมอื งอทุ ยั ธานีได้ปรับปรุงใหมน่ น่ั เอง จากการศึกษาภาพถ่ายทางอากาศซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของขั้นตอนการ จัดท�ำแผนที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี พบว่า ท�ำเลที่ตั้ง ของเมืองซึ่งอยู่ทางฟากตะวันตกของแม่น�้ำสะแกกรัง และอยู่ด้านหน้าภูเขา สะแกกรัง ท�ำให้ภาพรวมของภูมิทัศน์วัฒนธรรมเมืองอุทัยธานีมีหน้าเมือง คือ “แม่น�้ำ” และด้านหลังของเมือง คือ “ภูเขา” ถือเป็นชัยภูมิท่ีเป็นมงคล ตามแบบแผนวัฒนธรรมจีนดว้ ย นอกจากนี้ การต้ังเมืองให้หันหน้าลงสู่แม่น�้ำสะแกกรังซึ่งก็คือการ หันหน้าสูท่ ิศตะวนั ออกน้นั ท�ำใหก้ ารออกแบบกอ่ สรา้ งเสนาสนะภายในวดั ได้ หนั หนา้ ของตวั อาคารลงสแู่ มน่ ำ�้ เพอื่ เปดิ รบั การเขา้ ถงึ สทู่ างทศิ ตะวนั ออกตาม คตคิ วามเชอื่ ทางพทุ ธศาสนาได้ ทงั้ น้ี ในขอบเขตพ้นื ทเ่ี มอื งเกา่ อุทัยธานี และพน้ื ที่ตอ่ เน่ืองมแี หล่ง มรดกทางวัฒนธรรมท่ีเป็นวัด และศาลเจ้า 12 แหล่ง คือ วัดอุโปสถาราม (วัดโบสถ์) วัดธรรมโศภิต (วัดโค่ง) วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม (วัดทุ่งแก้ว) วัดขวิด (ปจั จบุ นั เปน็ วดั รา้ ง) วดั หลวงราชาวาส วดั ใหมจ่ นั ทราราม วดั ธรรม โฆษก (วัดโรงโค) วัดพิชัยปุรณาราม ศาลเจ้ากวนอู ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง (ปงุ เถา่ กง) ศาลเจา้ แม่ละอองสำ� ลี (ปุงเถา่ มา่ ) แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 89

1 ช่อื : วดั อุโปสถาราม (วัดโบสถ)์ ภาพโดย: รัฐนคร ปยิ ะศิรโิ สฬส พกิ ดั : 15°23'02.3\"N 100°01'50.2\"E ที่ตงั้ : ตำ� บลสะแกกรัง “วัดอุโปสถาราม” เรียกกันว่า “วัดโบสถ์” ต้ังอยู่บนเกาะเทโพซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับฝั่งเมืองเก่าอุทัยธานี มีประวัติว่าสร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2325 ภายในผังบริเวณมีอาคารส�ำคัญหลายหลัง อาทิ “แพโบสถ์น�้ำ” “ศาลาทา่ นำ้� ” “มณฑปแปดเหลย่ี ม” ถดั เขา้ ไปเปน็ ฐานยกสงู รองรบั “อโุ บสถ” “วหิ าร” และ “เจดยี ร์ าย” นอกจากนี้ มอี าคารยกใตถ้ ุนสูงมีหลงั คาทรงไทย คอื “หอประชมุ อทุ ัยพทุ ธสภา” ซ่ึงเกบ็ รักษาเอกสาร โบราณและโบราณวัตถุ ถัดลึกเข้าไปเปน็ “หม่กู ฏุ ิ” อาคารต่าง ๆ เหลา่ น้ีล้วนแต่เป็นมรดกทางสถาปตั ยกรรม ทรงคณุ ค่ายง่ิ ของเมืองอทุ ัยธานี 90 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

2 ชอ่ื : วัดขวิด พิกดั : 15°23’01.2”N 100°01’42.3”E ที่ต้งั : ถนนศรีอุทยั ต�ำบลอทุ ัยใหม่ “วัดขวดิ ” มที ำ� เลท่ตี ้ังอย่รู มิ แมน่ ้ำ� สะแกกรงั แต่เดมิ เป็นวัดขนาดใหญ่ ปัจจบุ ันเป็นวดั รา้ งเหลอื เพยี งอุโบสถหลังเดียว เนอื่ งมาจากมเี หตุเพลงิ ไหม้บริเวณตลาดและชุมชนทางทศิ ใต้ และทศิ ตะวันตกของวดั ขวดิ ใน พ.ศ. 2478 จากเหตุ ดังกล่าวท�ำให้มีการจัดผังพ้ืนท่ีใหม่เพ่ือสร้างตลาด และขยายพื้นที่พาณิชยกรรม จึงขอรื้อถอนเสนาสนะไปปลูกใหม่ ทวี่ ดั ทงุ่ แกว้ ซง่ึ ตอ่ มาไดเ้ ปลยี่ นชอื่ เปน็ “วดั มณสี ถติ กปฏิ ฐาราม” เพอื่ คงรกั ษาความหมายคำ� วา่ “แกว้ ” อนั เปน็ ชอื่ เดมิ ของ “วัดทุ่งแก้ว” และความหมายของค�ำว่า “มะขวิด” อันเป็นชื่อเดิมของ “วัดขวิด” ท่ีได้ผนวกเข้ามารวมเป็นวดั เดียวกนั แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 91

3 ชอ่ื : วดั ธรรมโฆษก (วดั โรงโค) พิกดั : 15°22’49.4”N 100°01’49.5”E ที่ต้ัง: ตำ� บลสะแกกรงั ภาพโดย: เกรยี งไกร เกิดศริ ิ “วดั ธรรมโฆษก” เดิมช่อื “วดั โรงโค” สร้างในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ ราวปี พ.ศ. 2325 มีประวตั ศิ าสตร์ บอกเล่ากันว่าเป็นวัดส�ำคัญที่เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีถือน้�ำพระพิพัฒน์สัจจาของข้าราชการเมือง อทุ ัยธานี และเคยเปน็ ลานประหารนกั โทษ ภายในวัดมีสถาปตั ยกรรมท่ีโดดเดน่ คอื “วิหาร” และ “อุโบสถ” ซึ่งวางผงั ใหอ้ ยเู่ คียงกัน หากมองเข้าไปจากหนา้ วัดวิหารอยู่ทางขวามอื และอุโบสถอยู่ทางซ้ายมอื ทัง้ น้ี ความโดดเดน่ ของอโุ บสถ คอื ผลงานศิลปกรรมตกแต่งซมุ้ ประตู-หนา้ ตา่ งดว้ ยปูนปนั้ ลวดลายพันธ์พุ ฤกษา และตวั ละครในรามเกียรตท์ิ ่ีลงสีตามแบบแผนของชา่ งจีน ซึ่งสันนิษฐานวา่ เปน็ ผลงานการบรู ณปฏิสงั ขรณ์ ในช้ันหลังในชว่ งที่เมอื งอุทัยธานมี ีชาวจนี เข้ามาตัง้ ถน่ิ ฐานเปน็ จำ� นวนมาก 92 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

4 ชอ่ื : วัดพชิ ัยปรุ ณาราม พกิ ดั : 15°22’44.8”N 100°01’59.0”E ทต่ี ้งั : ถนนศรอี ทุ ยั ตำ� บลอทุ ัยใหม่ “วัดพิชัยปุรณาราม” จากการศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวิหารและพุทธศิลป์พระประธาน จึงมี ข้อเสนอว่าเป็นวัดที่มีมาแล้วต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ท้ังน้ี มีประวัติศาสตร์บอกเล่าของวัดกล่าวว่ามี การบูรณปฏิสังขรณ์ครงั้ ใหญใ่ นราวปี พ.ศ. 2301 โดยพระยาพชิ ยั สนุ ทร ผเู้ ปน็ เจา้ เมอื งอทุ ยั ธานี ชกั ชวน พทุ ธศาสนกิ ชนรว่ มกนั และเปลี่ยนช่ือจาก “วดั กรา่ ง” เปน็ “วดั พิชยั ปรุ ณาราม” หรอื ทีน่ ิยมเรยี กกนั วา่ “วดั พชิ ัย” แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 93

5 ชอื่ : วัดมณสี ถิตกปฏิ ฐาราม พิกดั : 15°23’00.5”N 100°01’25.0”E ท่ตี ้งั : ตำ� บลอทุ ยั ใหม่ “วดั มณีสถิตกปฏิ ฐาราม” นามเดมิ คอื “วดั ทุง่ แก้ว” เร่มิ ก่อสรา้ งในปี พ.ศ. 2431 โดยพระอาจารย์แยม้ วัดโมลโี ลกยาราม ซ่ึงธุดงค์มาพกั ทีป่ า่ ไผ่ นายพมุ่ และนางพณิ จงึ ได้สร้างศาลาพ้นื กระดานถวายเป็นทพี่ ัก และไดพ้ ฒั นาขนึ้ เปน็ วดั ทงุ่ แกว้ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2481 เกดิ เหตเุ พลงิ ไหมค้ รง้ั ใหญใ่ นละแวกวดั ขวดิ ทร่ี มิ แมน่ ำ�้ สะแกกรงั ดว้ ยเปน็ ยา่ นพาณชิ ยกรรมหนาแนน่ จงึ มกี ารวางผงั พน้ื ทบี่ รเิ วณดงั กลา่ วใหม่ ประกอบกบั วดั ขวดิ ท่ีตั้งอยู่นั้นก็ลดบทบาทลงมาก เน่ืองจากต้ังอยู่ท่ามกลางพ้ืนที่การค้าขาย จึงได้รื้อถอนเสนาสนะออก รวมทั้งร้ือย้ายหมู่กุฏิเรือนไทยมาก่อสร้างไว้ที่วัดทุ่งแก้ว และเพ่ือรักษาความทรงจ�ำท่ีมีต่อชอื่ วดั ทุ่งแก้ว และวัดขวดิ จงึ เปลีย่ นช่อื วดั ทุ่งแกว้ เปน็ “วัดมณีสถิตกปฏิ ฐาราม” ดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ 94 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

6 ช่ือ: วัดใหม่จนั ทราราม พกิ ัด: 15°22’49.4”N 100°01’49.5”E ที่ตั้ง: ต�ำบลอทุ ัยใหม่ “วัดใหม่จันทราราม” แต่เดิมเป็นวัดร้าง และกลับมาฟื้นฟูอีกครั้ง รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบผสมผสาน ท้งั ศลิ ปะแบบไทย จนี และตะวันตกได้อยา่ งกลมกลืน เช่น การท�ำซุม้ ประต-ู ซุ้มหน้าต่างเป็นซุ้มโค้งแบบ ตะวันตกทาสีเหลือง หน้าบันตกแต่งด้วยภาชนะ และการปั้นปูนลงสีตามแบบชา่ งจนี เปน็ ตน้ แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 95

7 “วดั ธรรมโศภติ ” เดมิ มชี อื่ วา่ “วดั ราษฎร์ จำ� นงโคง่ ” ตง้ั ตามชื่อของ “หมอ่ งโค่ง” ชื่อ: วดั ธรรมโศภติ (วัดโคง่ ) ชาวพม่าผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์ พิกดั : 15°23’17.5”N 100°01’46.3”E สรา้ งวดั ทวา่ ชาวชมุ ชนเรยี กกนั สน้ั ๆ วา่ ทีต่ ั้ง: ถนนศรอี ทุ ัย ต�ำบลอทุ ัยใหม่ “วัดโคง่ ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 จงึ ได้ เปล่ยี นชอ่ื เปน็ “วดั ธรรมโศภิต” 8 ชื่อ: วัดหลวงราชาวาส พกิ ดั : 15°22’50.2”N 100°01’38.0”E ท่ีต้งั : ถนนทา่ ชา้ ง ต�ำบลอทุ ยั ใหม่ “วัดหลวงราชาวาส” หรือที่เรียกกันว่า “วัดหลวง” มีท�ำเลที่ต้ังอยู่บนถนนท่าช้างติดกับวัดใหม่ จันทราราม สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนในสมยั อยุธยาตอนปลาย และได้รับพระราชทานวสิ งุ คามสมี า ในปี พ.ศ. 2428 การวางผังวัดมีอุโบสถต้ังคู่วิหาร ในวิหารประดิษฐาน “หลวงพ่อในวิหาร” เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิท่ีมีพุทธศิลป์ท่ีสวยงาม มีดอกบัวรองรับพระหัตถ์ ตกแต่งเสาภายใน วิหารดว้ ยภาพวาดสญั ลกั ษณม์ งคล และเทพเจา้ แบบจีน 96 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี

9 ชอ่ื : ศาลเจ้าพอ่ หลกั เมือง (ปุงเถา่ กง) พกิ ดั : 15°22’55.7”N 100°01’45.3”E ท่ีตั้ง: 22 ถนนทา่ ช้าง ตำ� บลอุทัยใหม่ “ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง (ปงุ เถา่ กง)” ไมป่ รากฏปที ส่ี รา้ ง เดมิ เปน็ อาคารไมข้ นาดเลก็ ตอ่ มา นายพิพัฒน์ พัฒนาภรณ์ (จ๊กซอย แซ่ต้ัง) คหบดีเชื้อสายจีนได้ร่วมมือกับผู้ค้าในตลาด และผู้อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่าร่วมกันสร้างขึ้นใหมเ่ มอ่ื เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2477 เปน็ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ผสมไม้ ตกแตง่ ดว้ ยองคป์ ระกอบแบบศลิ ปะจีน 10 ช่ือ: ศาลเจา้ แมล่ ะอองส�ำลี พกิ ดั 15°22’50.8”N 100°01’48.2”E ทต่ี ัง้ : ตำ� บลอุทยั ใหม่ “ศาลเจ้าแม่ละอองส�ำลี” หรอื “ศาลเจา้ ปงุ เถ่ามา่ ” ต้ังอยู่บนถนนณรงค์วิถี บริเวณทาง แยกฝั่งตรงข้ามกับวัดใหม่จันทราราม สร้างก่อนศาลเจ้าพ่อหลกั เมือง จงึ มอี ายมุ ากกว่า 100 ปี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 97

11 ชอ่ื : ศาลเจา้ พ่อกวนอู พกิ ดั 15°23’04.8”N 100°01’43.8”E ทตี่ งั้ : ถนนศรอี ทุ ยั ตำ� บลอุทยั ใหม่ “ศาลเจ้าพ่อกวนอู” เป็นศาลท่ีพ่อค้าชาวจีนท่ีค้าขาย ทางเรือนิยมมาจอดเรือที่หน้าศาล ตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2458 นายพพิ ฒั น์ พฒั นาภรณ์ (จก๊ ซอย แซต่ งั้ ) รว่ มกบั กลมุ่ พอ่ คา้ ชาวไทย เชอ้ื สายจนี ในเมอื งอทุ ยั ธานรี ว่ มกนั สรา้ งศาลเจ้าพอ่ กวนอูขน้ึ มาใหม่ 12 ชอื่ : ศาลเจ้าแม่ทับทิมอุทยั ธานี พกิ ดั 15°22’59.8”N 100°01’36.2”E ท่ีต้ัง: 12 ซ.พระยาวฑิ ูรย์ ต�ำบลอุทยั ใหม่ “ศาลเจา้ แมท่ บั ทมิ อทุ ยั ธาน”ี หรอื “ศาลเจา้ จยุ๊ บว๊ ยเนยี้ ” เปน็ ศาลเจา้ ของชาวจนี ไหหลำ� ตอ่ มา แปะ๊ หยว่ น ตรอกโรงยารว่ มกนั สรา้ งใหม่ ประดษิ ฐานรปู เคารพเจา้ แมท่ บั ทมิ ทเ่ี ปน็ ไมแ้ กะสลกั 98 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook