Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทยกับแนวคิดภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์

การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทยกับแนวคิดภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์

Published by oldtown.su.research, 2021-09-02 05:59:06

Description: โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า:
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า

ความร่วมมือระหว่าง
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords: oldtown,culture,thailand

Search

Read the Text Version

สาํ นกั งานนโยบายและแผน คณะสถาปต ยกรรมศาสตร ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 174 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การอนรุ ักษและพฒั นาเมอื งเกา ในประเทศไทย กับแนวคดิ ภมู ิทศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 1

การอนรุ ักษแ ละพฒั นาเมืองเกาในประเทศไทย และแนวคิดภูมิทัศนเมอื งประวตั ิศาสตร จัดทาํ โดย กองจดั การส่งิ แวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม 60/1 ซอยพิบูลวฒั นา 7 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท 02-265-6500 โทรสาร 02-265-6511 คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท 02-433-9970 โทรสาร 02-433-9971 เรียบเรียง เกรียงไกร เกิดศริ ิ และ อิสรชัย บูรณะอรรจน กองบรรณาธกิ าร กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยธุ ยา - กติ ติคณุ จนั ทรแ ยม - ปทม วงคประดิษฐ ออกแบบปกและรปู เลม ปาริฉตั ร พรหมสวสั ด์ิ - ลัคนา อนงคไ ชย - อภัสนันท ทองใบ - สริ ชิ ัย รอ ยเทย่ี ง กราฟก ปณสิ รา ละออ - พิมพส ุภคั ติงมหาอนิ ทร ภาพถา ย กลุ พชั ร เสนวี งศ ณ อยธุ ยา - เกรียงไกร เกดิ ศิริ ภาพถายมมุ สงู กลุ พัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา - ธนกิ หม่ืนคาํ วงั จํานวนพมิ พ พิมพท ่ี อสิ รชยั บูรณะอรรจน - กุลพชั ร เสนวี งศ ณ อยธุ ยา พิมพค รัง้ แรก อสิ รชยั บูรณะอรรจน 300 เลม อ.ี ที.พับลิชชิง่ ซ.ลาดพราว 101 แขวงคลองจ่ัน เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 ตลุ าคม พ.ศ.2562 ขอ มูลทางบรรณานกุ รม สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอม. 31 เมืองเกา ในประเทศไทย. 2562 1. เมอื งเกา 2. Old Town ISBN 978-974-641-737-2 2 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ที่ปรกึ ษา เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม 1. ดร.รวีวรรณ ภรู เิ ดช รองเลขาธิการสาํ นักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม 2. นายพฒุ พิ งศ สุรพฤกษ รักษาการแทนผูอาํ นวยการกองจัดการสง่ิ แวดลอ ม ธรรมชาติและศลิ ปกรรม 3. นางสุกัลยา ปณ ฑะจักร คณะกรรมการกาํ กับโครงการ 1. นางสกุ ลั ยา ปณ ฑะจักร นักวชิ าการส่ิงแวดลอ มชาํ นาญการพเิ ศษ 2. นางสาวกนกกาญจน โกตริ มั ย นักวชิ าการส่งิ แวดลอ มชาํ นาญการพิเศษ 3. นางสาวสิริวรรณ สโุ อฬาร นกั วชิ าการสง่ิ แวดลอ มชํานาญการพิเศษ 4. นางสาวนํา้ ทิพย ศรวี งษฉาย นักวชิ าการสิ่งแวดลอ มชาํ นาญการ 5. นางสาวอรชลุ ี วเิ ชยี รประดิษฐ นักวชิ าการสิ่งแวดลอมปฏิบตั ิการ การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 3

สารบญั 5 7 คาํ นํา 11 กลา วนํา เมอื งเกา ในประเทศไทย 12 - ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการอนรุ กั ษและพฒั นา 14 กรุงรตั นโกสนิ ทร และเมอื งเกา - สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 16 กับเมอื งเกา 21 - ท่ีมาและความหมายของเมอื งเกา ในประเทศไทย - การจัดกลมุ เมอื งเกา ในประเทศไทยโดยสาํ นกั งานนโยบายและ 91 แผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม 97 องคป ระกอบของเมืองเกา 100 คณุ คา และความสําคญั ของการอนรุ ักษและพัฒนาเมืองเกา 103 - เมอื งเกา กบั สงิ่ คกุ คามตอ คุณคา 105 - การอนรุ กั ษแ ละพัฒนาเมืองเกากับเปาหมายการพฒั นาที่ย่งั ยืน 106 กลไกและมาตรการสง เสริมการอนรุ กั ษและพัฒนาเมืองเกา ของไทย 108 112 - กลไก และมาตรการภาครัฐในการสงเสรมิ การอนรุ กั ษแ ละพัฒนาเมืองเกา - ขอบญั ญตั ทิ องถ่ินเพ่อื การอนรุ ักษแ ละพฒั นาเมอื งเกา 117 - ตัวอยางการสรางแรงจูงใจใหเกิดการอนรุ ักษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ใน ตางประเทศ 121 - บทบาทคณะอนกุ รรมการอนุรักษแ ละพัฒนาเมืองเการายเมิืองกบั การ อนรุ กั ษและพฒั นาเมอื งเกา 126 ขอเสนอวาดวย ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร: การอนุรักษและพัฒนา 127 เมืองเกาในบรบิ ทสังคมรว มสมยั 128 - แนวคดิ ภมู ิทศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร: กระบวนทศั นใ หมในการ 130 อนุรกั ษและพัฒนาเมืองเกา - ขอ แนะนําวาดว ยภมู ิทศั นเมอื งประวัตศิ าสตร ขององคการยเู นสโก 131 - กรอบแนวทางวาดว ย “ภูมิทัศนเมืองประวตั ิศาสตร” - ความทาทายและโอกาสกับแนวคดิ ภูมทิ ศั นเ มืองประวัตศิ าสตรก บั เมอื งเกา 140 - แนวคิดภูมทิ ัศนเมืองประวัตศิ าสตรกบั นโยบายการอนุรกั ษแ ละพัฒนา เมืองเกา 143 - การสรา งกลไก และเครือ่ งมือการอนุรกั ษแ ละพัฒนาเมอื งเกาตาม แนวทางภูมิทัศนเมอื งประวัติศาสตร - บทสรปุ ภาคผนวก 4 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คํานํา “เมืองเกา” คือ เมืองหรือบริเวณของเมืองท่ีมีลักษณะพิเศษเฉพาะแหงสืบตอมาแต กาลกอ น ประกอบดว ยคุณคา ซง่ึ แสดงออกถงึ เอกลกั ษณของวัฒนธรรมทองถิน่ ตลอดจนคณุ คา ท่ีแสดงออกผานการวางผัง การกอสรางสถาปตยกรรมและศิลปกรรมเก่ียวเนื่อง เอกลักษณ ดังกลาวยังแสดงออกถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตรสังคมวัฒนธรรมในชวงเวลาท่ีเมืองเกา แหงน้ันกอ รา งและมพี ัฒนาการขึ้นมา และยังคงมพี ลวัตอยใู นสังคมปจจบุ ัน ดว ยความสาํ คญั ดงั กลา วมาขา งตน รฐั บาลจงึ ใหค วามสาํ คญั กบั การอนรุ กั ษแ ละพฒั นา เมืองเกาโดยกําหนดนโยบายการดําเนินงานเปนพิเศษเฉพาะพ้ืนที่เปนระเบียบสํานักนายก รัฐมนตรี วาดวยการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และเมืองเกา พ.ศ. 2546 ใหคณะ กรรมการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกามีอํานาจหนาที่ในการวางนโยบาย กําหนดพ้ืนที่และจัดทําแผนแมบทการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา โดยความเห็นชอบของคณะ รฐั มนตรี โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม (สผ.) กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ทําหนา ทเี่ ปน สาํ นักงานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ และ เพื่อใหก ารบริหารจัดการเมอื งเกา มกี ารขับเคลื่อนและดําเนินงานอยางเปน รูปธรรม กาวทันตอ สถานการณการเปลี่ยนแปลงและสิ่งคุกคามในพื้นที่เมืองเกา เพื่อธํารงรักษาคุณคาใหเมืองเกา เปนแหลงมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดความเจริญรุงเรืองทางดานศิลปวัฒนธรรมของชาติ ตลอดไป ปจ จบุ ัน (พ.ศ.2562) มีเมอื งเกา ทีไ่ ดรับการประกาศแลวท้งั สนิ้ 31 เมอื ง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเล็งเห็นความสําคัญใน การเผยแพรอ งคค วามรคู วามเขา ใจเกยี่ วกบั เมอื งเกา และแนวคดิ เกย่ี วกบั การอนรุ กั ษแ ละพฒั นา เมอื งเกา แกค ณะอนกุ รรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา รายเมอื ง หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งกบั พน้ื ที่ เมืองเกา ตลอดจนผูที่สนใจทั่วไป ซ่ึงมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร ดําเนินโครงการ “โครงการอนุรักษแ ละพฒั นาเมืองเกา : เสริมสรา งความรูความเขาใจ และกระบวนการเรียนรกู ารอนุรกั ษและพัฒนาเมอื งเกา ” และไดจ ดั ทําหนังสือ “การอนุรักษแ ละ พัฒนาเมอื งเกาในประเทศไทย และแนวคดิ ภมู ิทศั นเ มืองประวตั ศิ าสตร” สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ขอขอบคณุ ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศิริ และคณะ ที่เหน็ ความสําคญั ในการอนุรักษและพัฒนาเมอื งเกา จงึ ไดจดั ทําหนงั สือเลม น้ี และหวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนแกทุกภาคสวนในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาไปสู ความยั่งยนื ตอ ไป สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 5

ภาพมมุ สูงเมืองเกา เพชรบรุ ี มเี นอื้ ท่ี 1.85 ตารางกโิ ลเมตร 6ไดร บั กสาํารนปักรงะากนานศโยเขบตายพแน้ื ลทะแเี่ มผนอื ทงรเกัพายเามกอื่รธวรนั รมทช่ี 1า0ติแมลนี ะสาิ่งคแมวดพลอ.ศม. 2558

กลา วนาํ “เมืองเกา ” เปน ตนทนุ สาํ คญั ของการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของผคู ในบรบิ ทสงั คมรวมสมัย 7 จนเปน ทยี่ อมรบั กนั ทว่ั ไปในระดบั สากล ทงั้ น้ี เมอื งเกา นนั้ กอ รา งสรา งตวั ขน้ึ มาจากบรบิ ทประวตั ศิ าสตร อันเกาแกที่ยังตองทําหนาท่ีรับใชโลกรวมสมัยในปจจุบัน การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาใหธํารง รักษาคุณคาเอาไวไดนั้น ในขณะเดียวกันตองตอบสนองตอความตองการอันหลากหลายท่ีเกิดขึ้น จากกจิ กรรมทางสงั คม วฒั นธรรม การเมอื ง และเศรษฐกจิ ในขณะทส่ี ภาพทางกายภาพของเมอื งเกา ไมไดถูกออกแบบใหรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอยางฉับพลัน อันเกิดขึ้นมาจากปจจัย คกุ คามในรปู แบบตา งๆ จงึ มคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ยวดทห่ี นว ยงานทงั้ ระดบั นานาชาติ และระดบั ชาติ ไดบรรจุไวใ นวาระเรงดว นทต่ี องดําเนินการ ดวยความจําเปนเรงดวนดังกลาว สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอม จงึ รวมกบั คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ขบั เคล่ือนโครงการสรา ง ความรูความเขาใจในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทยที่ไดรับการประกาศขอบเขต เมอื งเกา แลว ทง้ั 31 เมอื ง ซง่ึ กระจายตวั อยใู นทกุ ภาคของไทย และมเี มอื งเกา ทท่ี รงคณุ คา ทร่ี อรบั การศึกษาและการประกาศขอบเขตเมืองเกาในอนาคต การศึกษาวิจัยและการเรียบเรียงหนังสือ เพื่อเผยแพรน้ีไดประยุกตกรอบแนวความคิดในระดับสากลเกี่ยวกับการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ภายใตแนวความคิด “ภมู ิทัศนเ มืองประวัติศาสตร (Historic Urban Landscape)” เปน ขอเสนอ แนะขององคการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรและวฒั นธรรมแหง สหประชาชาต-ิ ยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization – UNESCO) ใหค วามสาํ คญั กบั การบรหิ าร จดั การเมอื งเกา ใหส ามารถรบั ใชป จ จบุ นั ไดอ ยา งเตม็ ภาคภมู ิ ทวา การใชส อยในบรบิ ทสงั คมรว มสมยั จะตอ งไมทาํ ลายคณุ คา ดานตางๆ ของเมืองเกา และเปน กรอบแนวทาง ท่กี า วขามการมองเมืองเกา ท่เี หน็ ความสําคญั ตอ ส่ิงแวดลอมทางกายภาพเพียงอยางเดียวตามกรอบทศั นด ง้ั เดิม มาสกู ารเมอื ง เกา อยา งทาํ ความเขา ใจพลวตั และบรบิ ทแวดลอ มเพอ่ื ทาํ ความเขา ใจ และนาํ ไปสวู ธิ กี ารบรหิ ารจดั การ ทใ่ี หค วามสําคัญกับการสรา งเคร่อื งมือเฉพาะตวั ของแตละเมืองเกา ภายใตเครอ่ื งมือ 4 กลมุ คือ (1) เครอื่ งมอื การวางแผน และองคความรู (Planning and Knowledge Tools) (2) เครื่องมือ การผสานกําลังกับชุมชนทองถิ่น (Community Engagement Tools) (3) ระบบกฎเกณฑ (Regularity System) และ (4) เครื่องมือดานการเงิน (Financial Tools) เพ่ือทําใหเกิด กระบวนการอนุรกั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ท่สี อดคลอ งกับบริบทสังคมรว มสมยั ไดอยางแทจ รงิ ขอขอบพระคุณ อาจารยภราเดช พยัฆวิเชียร, ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท, รองศาสตราจารย ดร. ยงธนิศร พิมลเสถียร, รองศาสตราจารยโรจน คุณเอนก, ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. วลิ าวณั ย ภมรสวุ รรณ, อาจารย อศิ รา กนั แตง, อาจารย ดร. จเร สวุ รรณชาติ ท่ีกรุณาใหคําแนะนําอันเปนประโยชนในการดําเนินโครงการวิจัยนี้ รวมท้ังคณะกรรมการกํากับ โครงการฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคําแนะนําและ ใหขอ มลู ตา งๆ อนั เปนประโยชนอ ยางยิ่งสาํ หรบั โครงการวิจัย รวมทงั้ การเรียบเรียงหนงั สอื นี้ สุดทายหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมน้ีจะเปนเครื่องมือท่ีชวยทําความเขาใจคุณคาของ เมอื งเกา บนฐานของพลวตั เพอื่ ออกแบบเครอื่ งมอื การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา แตล ะเมอื งไดอ ยา ง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และใหความสําคัญตอกระบวนการมีสวนรวม โดยมีเปาหมายให เมืองเกาเปนตนทุนในมิติตางๆ สําหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูคนและสังคม ทวาธํารงรกั ษา คุณคาของเมืองเกาไวไดไ มเ สื่อมคลาย ผวู ิจัยและเรยี บเรยี ง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร

ภาพมมุ สูงเมืองเกา ภูเกต็ มเี นอื้ ที่ 2.76 ตารางกโิ ลเมตร 8ไดร บั กสาํารนปักรงะากนานศโยเขบตายพแน้ื ลทะแเ่ี มผนอื ทงรเกัพายเามกอ่ืรธวรนั รมทช่ี 1า2ติแพลฤะสษ่ิงภแาวคดลมอพม.ศ. 2560

เมอื งเกา ในประเทศไทย การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 9

ภาพมมุ สูงเมืองเกา ยะลา มเี นอ้ื ท่ี 1.10 ตารางกโิ ลเมตร 10 ไดร บั สกําานรักปงรานะกนาโยศบเขาตยแพลน้ื ะแทผเี่ นมทอื รงัพเยกาา กเมรธอ่ื รวรมนั ชทา่ี ต18ิแลสะสงิ ่ิหงแาวคดลมอพม.ศ. 2561

เมอื งเกาในประเทศไทย “เมืองเกา ” คือ สภาพทางกายภาพทเ่ี ปน ผลจากการดําเนินไปในวิถวี ฒั นธรรมมนุษย เร่ิม ตง้ั แตก ารคดั สรรทาํ เลทตี่ ง้ั ทเี่ หมาะสมกบั วถิ ชี วี ติ เชน ทาํ เลทต่ี งั้ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณเ หมาะสมแก การทําการเกษตร ทําเลที่ต้ังท่ีสัมพันธกับส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติที่ถูกใหความหมายในแงของ การเปนท่ีต้ังอันศักด์ิสิทธิ์และเปนมงคลตอการสรางบานแปงเมือง ทําเลที่ต้ังที่อยูบนเสนทางของ การคมนาคมเชื่อมตอกับพื้นท่ีอ่ืนๆ หรือทําเลท่ีตั้งที่สามารถสรางความม่ังคั่งจากการคาพาณิชย เปน ตน เมอื่ คดั สรรชัยภูมอิ นั เหมาะสมแลว บรรพชนในอดตี จงึ เริม่ ลงหลกั ปก ฐานสรางชมุ ชนและ ขยายตวั ตอ เนอ่ื ง จนเปน เมอื งทซ่ี บั ซอ นมากขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ ความหลากหลายของประเภทกจิ กรรมทมี่ ี การเคลอ่ื นไหวภายในเมอื ง ทวา หากเมอื่ กาลเวลาผา นไปจนทาํ เลทต่ี ง้ั ดงั กลา วนน้ั ไมอ าจตอบโจทย กับความตองการของวิถีชีวิตของพลเมืองท่ีมีความเปล่ียนแปลงไปอยางมีพลวัต หรือทําเลท่ีต้ัง ดงั กลาวอาจมีปญ หาทสี่ งผลตอ การดาํ เนินชีวติ หรือเกิดทุพภิกขภยั หรอื อาจเกดิ ภัยพบิ ตั ิทไ่ี มอาจ แกป ญ หาไดแ ละตอ งโยกยา ยเมอื งไป เพราะฉะนนั้ จงึ มเี มอื งเกา หลายเมอื งทถี่ กู ทง้ิ กลายเปน เมอื งรา ง และมีลักษณะเปน “เมืองโบราณ” อยางไรก็ตาม ยังมีเมืองท่ีมีอายุเกาแกอีกเปนจํานวนมากท่ีนับต้ังแตเมื่อแรกสรางบาน แปงเมืองมาต้ังแตคร้ังอดีตกาล แตยังคงดํารงบทบาทและมีพลวัตตราบมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน ซ่ึงถือเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่ประกอบสรางขึ้นมาในอดีตและมีพัฒนาการสืบทอดตอเนื่องอยาง ไมขาดสาย ทัง้ ยังคงธาํ รงบทบาทอยูในสงั คมปจจบุ นั ในท่ีนี้ เรียกเมอื งในลกั ษณะดังกลา ว วา เปน “เมืองเกา” หรือ “เมืองเกาที่มีพลวัต” ซ่ึงมีนิยามตรงตามวัตถุประสงคและสอดคลองกับการที่ คณะรัฐมนตรีไดประกาศเขตเมืองเกา ซ่ึงเมืองเกาที่มีพลวัตเปนคุณลักษณะของเมืองท่ีหนังสือ เลมนี้ตองการจะสื่อความถงึ ดว ยผา นกาลเวลามาอยา งยาวนานและเมอื งกลมุ นยี้ งั มพี ลวตั มาตลอดหนา ประวตั ศิ าสตร มจี ดุ รงุ โรจน มจี ดุ เสอื่ มถอย มกี ารวางแผนทางกายภาพ มกี ารแกป ญ หา และกย็ งั มพี ลวตั ตราบจน กระทงั่ ปจ จบุ นั เมอื งเกา เหลา นจี้ งึ เปน แหลง รวบรวมคณุ คา ทางวฒั นธรรมทง้ั ทเี่ ปน มรดกทางกายภาพ และมรดกวฒั นธรรมไรร ปู หรอื ทเ่ี ปน นามธรรม ลว นแตป ระกอบสรา งขน้ึ เปน ตน ทนุ สาํ คัญของการ พัฒนาอยางย่ังยืนบนฐานทรัพยากรในทอ งถน่ิ ของตน จากความสาํ คญั ของ “เมอื งเกา” ดังทไี่ ดกลาวแสดงมาน้ัน ทาํ ใหร ฐั บาลกาํ หนดนโยบาย การดาํ เนนิ งานเพอื่ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นา โดยออกระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการอนรุ กั ษ และพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา พ.ศ. 2546 ใหคณะกรรมการอนุรักษและพัฒนา กรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา มีอํานาจหนาท่ีในการวางนโยบาย ตลอดจนกําหนดขอบเขตพื้นที่ และจัดทําแผนแมบทการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพื่อให เมืองเกาน้ันทําหนาที่เปนแหลงอุมชูใหมรดกทางวัฒนธรรมอันเปนองคประกอบของเมืองนั้นดํารง อยูและสืบทอดความเจรญิ รุงเรืองทางดา นศลิ ปวฒั นธรรมของชาติตลอดไป การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 11

ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดวย การอนุรกั ษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร และเมอื งเกา สืบเน่ืองจากคุณคาและความหมายของเมืองเกา รัฐบาลจึงตระหนักถึงความสําคัญ ของการสรางกลไกขับเคลื่อนใหเกิดการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาใหธํารงคุณคาสืบตอไป จึงออก “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และ เมืองเกา” เพื่อกําหนดนโยบาย แผนงาน มาตรการ และแนวทางเกี่ยวกับการอนุรักษและ พฒั นาเมอื งเกา อยา งเปน ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั สง เสรมิ ใหภ าคเอกชน และประชาชน ไดม ีสว นรวมเพ่อื ธาํ รงรกั ษาคณุ คา ของเมอื งเกา สบื ไป ตามระเบยี บฯ ไดก าํ หนดใหคณะกรรมการอนุรกั ษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร และ เมืองเกา มีองคประกอบ คือ รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายใหกํากับการ บรหิ ารราชการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม เปน ประธานกรรมการ ผวู า ราชการ กรุงเทพมหานคร ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม ผอู าํ นวยการสาํ นกั งบประมาณ เลขาธกิ าร คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เลขาธิการพระราชวัง ผูอํานวยการ สํานักงานทรัพยสินพระมหากษัตริย ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและ จราจร อธิบดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง อธิบดกี รมสง เสริมการปกครองทอ งถิน่ อธิบดีกรม ธนารกั ษ อธบิ ดกี รมศลิ ปากร ผวู า การการทอ งเทยี่ วแหง ประเทศไทย นายกสมาคมอนรุ กั ษ ศลิ ปกรรมและสงิ่ แวดลอ ม นายกสมาคมสถาปนกิ สยามในพระบรมราชปู ถมั ภ และผทู รงคณุ วฒุ ิ ไมเ กนิ เจด็ คน1 ในทน่ี ี้ จะเหน็ วา คณะกรรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรแ ละเมอื งเกา ประกอบดว ยผมู อี าํ นาจหนา ทจ่ี ากหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งกบั เมอื งเกา โดยตรง เพอ่ื อาํ นวยใหก าร อนุรักษและพัฒนาเมืองเกาท่ีเก่ียวของกับหนวยงานตางๆ ขับเคลื่อนไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีผลสัมฤทธติ์ ามเปา ประสงคของระเบียบฯ ตอ ไป ดคณะกรรมการมีอาํ นาจหนา ท่ี ดังตอ ไปน้ี (1) วางนโยบาย กําหนดพ้ืนที่ และจัดทําแผนแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุง รัตนโกสนิ ทร และเมืองเกา โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (2) จัดทําแนวทาง แผนปฏิบัติการและมาตรการตางๆ เพื่อดําเนินการในพื้นที่ รบั ผิดชอบ (3) ใหค ําปรกึ ษาและความเห็นโครงการของรฐั ในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบ (4) สนบั สนนุ การจดั สรรงบประมาณใหแ กห นว ยงานของรฐั ทรี่ บั ผดิ ชอบ เพอ่ื ดาํ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารอนุรกั ษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร และเมอื งเกา 1 สํานักนายกรฐั มนตรี. (2546). “ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยการอนุรกั ษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร และเมืองเกา พ.ศ. 2546” ใน ราชกจิ จานเุ บกษา เลมที่ 120 ตอนพเิ ศษ 37 ง. 26 มนี าคม 2546. หนา 9-10. 12 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

(5) ออกระเบียบปฏิบัติเก่ียวกับการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และเมืองเกา เทา ท่ีไมข ัด หรือแยงกับกฎหมาย โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (6) สนับสนุน และประชาสัมพันธใหประชาชน และภาคเอกชนไดมีสวนรวมในการอนุรกั ษและพฒั นา กรุงรัตนโกสนิ ทร และเมอื งเกา (7) ประสานงาน ติดตาม ตรวจสอบและกาํ กบั ดแู ลใหก ารดําเนินงาน เปนไปตามแนวทางโครงการ และ แผนงานทีไ่ ดจดั ทําไว (8) เชญิ ผูแ ทนหนวยงานราชการและภาคเอกชน หรอื บคุ คลอื่นท่ีเกยี่ วของ มาใหคาํ ชแ้ี จงและขอมลู (9) แตง ตงั้ คณะอนกุ รรมการ หรอื คณะทาํ งานตามความจาํ เปน และเหมาะสม เพอื่ ทาํ การแทนคณะกรรมการ ในเรือ่ งทีไ่ ดรบั มอบหมาย (10) รายงานผลการดําเนินงานใหคณะรฐั มนตรีทราบตามท่ีเห็นสมควร (11) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีจําเปนตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี เพ่ือใหการอนุรักษและพัฒนา กรงุ รตั นโกสินทรและเมืองเกาประสบความสําเร็จ แผนภมู แิ สดงบทบาทและหนา ทขี่ องคณะกรรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรแ ละเมอื งเกา และคณะอนกุ รรมการ กลน่ั กรองและพจิ ารณาแผนการดาํ เนนิ งานในพืน้ ที่เมอื งเกา และคณะกรรมการอนุรกั ษแ ละพัฒนาเมืองเการายเมอื ง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 13

สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มกบั เมืองเกา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (สผ.) กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ทาํ หนา ทเ่ี ปน สาํ นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการเพอื่ ใหก ารบรหิ ารจดั การ เมืองเกามีการขับเคล่ือนและดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม และทันตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงอยา ง รวดเรว็ และสงิ่ คกุ คามตา งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทเ่ี มอื งเกา การกําหนดขอบเขตพื้นทีเ่ มอื งเกานัน้ มกี ารดาํ เนนิ งานหลายขน้ั ตอน ลาํ ดบั แรก คือ การศึกษา เพื่อใหทราบถึง “สถานภาพของเมืองเกา” หมายถึงการศึกษาเพื่อใหทราบถึงสภาพขอเท็จจริงของ พนื้ ทเี่ มอื งเกา วา อยใู นสถานการณอ ยา งไร องคป ระกอบของเมอื งเกา มอี ะไรบา ง มสี ถานการณก ารอนรุ กั ษ และการถูกคุกคามเปนอยางไร ผูมีอํานาจหนาท่ีหรือสิทธิในการครอบครองดูแลเปนอยางไร เปนตน ทงั้ นี้ กระบวนการศกึ ษาขอ มลู ตา งๆนนั้ ตอ งมหี ลกั ฐานอา งองิ มกี ารคน ควา จากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร หลกั ฐานทางโบราณคดี มรดกทางสถาปต ยกรรม ตลอดจนมรดกวฒั นธรรมทางประเภทตา งๆ ทั้งท่เี ปน กายภาพเปนประจักษ และมรดกวัฒนธรรมจับตองไมได ซ่ึงลวนประกอบสรางข้ึนเปนคุณลักษณะ เฉพาะตวั ของเมอื งเกา แตล ะเมอื ง ทงั้ น้ี ขอ มลู ตา งๆ ไดน น้ั จะนาํ เสนอผา นคณะอนกุ รรมการกลนั่ กรองและ พิจารณาแผนการดําเนนิ งานในพื้นทีเ่ มอื งเกาใหขอคดิ เห็นและขอ เสนอแนะในการกาํ หนดขอบเขตตอไป เม่อื ขอ มูลแวดลอมตางๆ ขา งตน ถกู จดั เกบ็ และวเิ คราะหอ ยางครบถว นสมบูรณแลว จะนาํ ไปสู การกาํ หนด “รา งขอบเขตพน้ื ทเี่ มอื งเกา ” ในขน้ั ตอนนจ้ี ะใหค วามสาํ คญั กบั การมสี ว นรว มของทกุ ภาคสว น ทั้งหนวยงานราชการในจังหวัด และหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับพ้ืนที่รางขอบเขตเมืองเกา ตลอดจนตอง ดําเนินการภายใตก ระบวนการมสี วนรว มรับรู และรวมในการตัดสนิ ใจของประชาชน ผมู ีสวนไดสว นเสีย ที่เกี่ยวของ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนและธุรกิจในทองถิ่น จากนั้นนําผลการประชุมระดมความคิด เห็น ขอเสนอแนะตางๆมาประมวล และเสนอตอ “คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเการะดับ เมือง” และ “คณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาแผนการดําเนินงานในพ้ืนท่ีเมืองเกา” พิจารณา และใหความเห็นชอบ จากนั้นจึงนํารางเขตพ้ืนท่ีเมืองเกาท่ีผานการมีสวนรวมในการตัดสินใจจากภาค สว นตา งๆ ของทอ งถนิ่ ทค่ี ณะอนกุ รรมการตา งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งพจิ ารณาใหข อ เสนอแนะ และ เหน็ ชอบแลว เสนอตอ “คณะกรรมการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา” เพื่อดําเนินการเสนอตอ “คณะรัฐมนตร”ี เพือ่ ดาํ เนินการ “ประกาศเขตพืน้ ที่เมอื งเกา ” ตอไป คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเการายเมืองมีหนาท่ีขับเคล่ือนการดําเนินงาน ตลอดจนการวางแผนการบรหิ ารจดั การตางๆ ในเขตพ้นื ทีเ่ มืองเกา ตามทป่ี ระกาศ โดยดําเนนิ การจดั ทาํ แผนและผังแมบทการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ในกระบวนการศึกษาวิจัยจะตองใหความสําคัญตอ การศึกษาขอมูลและบรบิ ทแวดลอมของเมืองเกา อยางครบถว นทุกมติ ิ และดําเนนิ การภายใตก ารมสี วน รว มในการตดั สนิ ใจของคนในทอ งถ่นิ รวมทงั้ ผูท่ีมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวขอ งกบั เมืองเกา ทัง้ นี้ เมื่อแผน และผงั แมบทไดรับการอนุมัติรับรองแลว หนวยงานรฐั ทุกภาคสวนท่เี กย่ี วขอ งกับเมอื งเกา นั้น จะตองนํา แผนไปปฏบิ ตั โิ ดยบรู ณาการเขา กบั งานประจาํ ตามพนั ธกจิ ของหนว ยงาน ภายใตแ นวทางของการอนรุ กั ษ และพัฒนาเมืองเกาตามแผนและผังแมบทที่ไดจัดทําขึ้น รวมท้ังขับเคลื่อนใหแผนและผังแมบทไดรับ การนําไปปฏิบัติใช กระจายความรู และแนวทางการปฏิบัติสูภาคประชาชน และภาคธุรกิจที่เก่ียวขอ ง กับเมืองเกาตอไป 14 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนภมู แิ สดงขนั้ ตอนการกาํ หนดขอบเขตพน้ื ทเี่ มอื งเกา นับต้งั แตป พ.ศ. 2549-2562 คณะรฐั มนตรีไดไดด าํ เนินการประกาศเขตเมืองเกา แลวทง้ั สนิ้ 31 เมอื ง คอื เมอื งเกา นาน เมอื งเกาเชยี งใหม เมืองเกา ลาํ พนู เมอื งเกาลําปาง เมอื งเกากําแพงเพชร เมืองเกา ลพบรุ ี เมอื ง เกา พิมาย เมอื งเกานครศรธี รรมราช เมืองเกา สงขลา เมอื งเกา แพร เมอื งเกา เพชรบุรี เมอื งเกา จันทบุรี เมืองเกา ปตตานี เมืองเกาเชียงราย เมืองเกาสุพรรณบุรี เมืองเกา ระยอง เมืองเกา บุรีรัมย เมอื งเกา ตะก่วั ปา เมืองเกา พะเยา เมืองเกาตาก เมืองเกานครราชสีมา เมืองเกาสกลนคร เมืองเกาสตูล เมืองเการาชบุรี เมืองเกาสุรินทร เมอื งเกา ภูเก็ต เมืองเการะนอง เมอื งเกาแมฮ องสอน เมืองเกากาญจนบรุ ี เมอื งเกายะลา และเมืองเกานราธวิ าส ดวยมีเปาหมายเพ่ือสงเสริมใหเกิดการอนุรักษและการพัฒนาอยางเหมาะสม เพ่ือธํารงรักษาคุณคาของ เมืองเกาไวในขณะที่มีการใชสอยในบริบทสังคมรวมสมัย เพ่ือใหเมืองเกาเหลาน้ีเปนตนทุนสําหรับการพัฒนา ประเทศชาตแิ ละสงั คมอยา งยง่ั ยนื สอดคลอ งกบั เปา หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื (Sustainable Development Goals) ซึ่งเปนวาระสาํ คัญของนานาชาตทิ ่ีกาํ ลังขบั เคลือ่ นตอไป การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 15

ทม่ี าและความหมายของเมอื งเกา ในประเทศไทย สบื เนอ่ื งจากสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม (สผ.) ภายใต กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ไดด าํ เนนิ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ตามระเบยี บ สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา พ.ศ. 2546 กาํ หนดนิยามของ “เมืองเกา” ไวว า 2 (1) เมือง หรือบริเวณของเมอื งท่มี ลี กั ษณะพิเศษเฉพาะแหงสืบตอ มาแตกาลกอ น หรือท่ี มลี กั ษณะเปน เอกลกั ษณข องวฒั นธรรมทอ งถน่ิ หรอื มลี กั ษณะจาํ เพาะของสมยั หนงึ่ ในประวตั ศิ าสตร (2) เมือง หรือบริเวณของเมืองท่ีมีรูปแบบผสมผสานสถาปตยกรรมตางถิ่น หรือมี ลักษณะเปน รปู แบบววิ ฒั นาการทางสังคมทสี่ บื ตอมาในยคุ ตา งๆ (3) เมืองหรือบริเวณของเมืองที่เคยเปนตัวเมืองดั้งเดิมในสมัยหนึ่งและยังคงมีลักษณะ เดนประกอบดวยโบราณสถาน (4) เมืองหรือบริเวณของเมืองซึ่งโดยหลักฐานทางประวัติศาสตร หรือโดยอายุหรือโดย ลกั ษณะแหง สถาปต ยกรรมมีคุณคา ในทางศิลปะ โบราณคดี หรอื ประวัติศาสตร จากนยิ ามของ “เมืองเกา” ตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรฯี พ.ศ. 2546 ดังท่กี ลาวมา ขา งตนนั้น เพ่ือใหเกิดความเขา ใจตอ บทบาทและหนา ทีข่ องเมืองเกา ท่ชี ดั เจนขึ้น ในป พ.ศ. 2548 จงึ สรา งอรรถาธบิ ายขยายความ คือ “เมืองหรือบรเิ วณของเมอื งที่มเี อกลกั ษณพิเศษเฉพาะแหง สืบ ตอมาแตกาลกอ น หรอื มรี ปู แบบผสมผสานของสถาปตยกรรมทอ งถน่ิ หรอื มีลกั ษณะของรูปแบบ วิวัฒนาการทางสังคมที่สืบตอมาของยุคตางๆ หรือเคยเปนตัวเมืองดั้งเดิมในสมัยหน่ึงหรือโดย หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร หรอื สถาปต ยกรรมมคี ณุ คา ในทางศลิ ปะ โบราณคดี หรอื ประวตั ศิ าสตร” 3 คณะกรรมการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกาไดจําแนกประเภทของ เมืองเกาโดยใชเกณฑของลักษณะทางกายภาพเปนเคร่ืองบงชี้ความแตกตางของเมืองเกาโดย สามารถจาํ แนกเปน 4 ประเภท โดยสรปุ ไดด ังนี้ คือ (1) เมอื งเกา ทไี่ มป รากฏหลกั ฐานทางกายภาพทบ่ี ง บอกถงึ ลกั ษณะอนั เดน ชดั ของโครงสรา ง เมืองในอดตี 4 เมืองในกลุมน้ีเปน “ชุมชนโบราณ” ท่ีมีหลักฐานทางโบราณคดีแสดงถึงการต้ังถิ่นฐานอัน เกาแก ต้งั แตส มัยกอ นประวัติศาสตรจ นเขา ถงึ สมัยประวตั ศิ าสตร ทวาตอ มาไดถูกทงิ้ รางลงไปดว ย เงื่อนไขตางๆ และไมมีพัฒนาการสืบเนื่อง จนมีการวางผังและการกอสรางสถาปตยกรรมจนเปน หลักฐานเชิงประจักษในภายหลัง ซ่ึงปรากฎเพียงแนวคูคันดินและซากฐานรากของโบราณสถาน ดังตัวอยางของเมืองในวัฒนธรรมทวารวดีที่กระจายตัวอยูในภูมิภาคตางๆของไทย ท่ีไดจากการ 2 สํานกั นายกรัฐมนตรี. (2546). “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการอนุรกั ษและพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรและ เมืองเกา พ.ศ. 2546” ใน ราชกิจจานเุ บกษา เลม ท่ี 120 ตอนพเิ ศษ 37 ง. 26 มนี าคม 2546. หนา 9-10. 3 สรุปความจาก ชดุ ความรูดา นการอนรุ ักษ พัฒนา และบรหิ ารจดั การเมืองเกา เลม 1 ความรูความเขา ใจเกย่ี วกับ เมอื งเกา ในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม. 2554. หนาท่ี 4-7. 4 เพ่ิงอา ง. หนาท่ี 4. 16 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สํารวจทางโบราณคดีพบเมืองหรอื ชุมชนในลักษณะดังกลา วน้กี วา 1,208 แหลง และอาจยงั มีการ คน พบเพมิ่ เตมิ ข้นึ อีกในอนาคต (2) เมอื งเกา ทปี่ รากฏหลกั ฐานทางกายภาพอนั บง บอกถงึ ลกั ษณะอนั เดน ชดั ของโครงสรา ง เมอื งหรอื โบราณวตั ถสุ ถานในอดตี และปจ จบุ นั ไมม ผี คู นพกั อาศยั หรอื พกั อาศยั อยนู อ ย มลี กั ษณะ เปน เมอื งรา ง และไดร บั การอนรุ กั ษไ วใ นลกั ษณะอนสุ รณส ถานหรอื อทุ ยานประวตั ศิ าสตร โดยกลาย ประโยชนใ ชสอยเปนแหลงศึกษาหรอื แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม5 เมืองในกลุมนี้เปน “เมืองโบราณ” ท่ีแสดงคุณลักษณะของการเปนเมืองศูนยกลางการ ปกครองในอดตี ทวา กลบั ไมม พี ฒั นาการทส่ี บื เนอื่ งมาถงึ ปจ จบุ นั เนอื่ งจากทาํ เลทตี่ ง้ั ดงั เดมิ นนั้ หมด บทบาทลงไปในช้ันหลัง แตยังคงเหลือหลักฐานความรุงเรืองเปนซากโบราณสถานตางๆของเมือง อาทิ พระราชวงั วดั วาอาราม ปอ ม ประตู คู เมือง ดงั ตวั อยางเชน เมืองเวียงกมุ กาม เมืองสโุ ขทยั เมืองศรีสชั นาลัย เมอื งกําแพงเพชร เปนตน (3) เมอื งเกา ทป่ี รากฏหลกั ฐานทางกายภาพอนั บง บอกถงึ ลกั ษณะอนั เดน ชดั ของโครงสรา ง เมอื ง หรอื โบราณวตั ถสุ ถานในอดตี และมกี ารใชส อยในลกั ษณะของเมอื งทย่ี งั มชี วี ติ อยา งตอ เนอ่ื งจาก อดตี ถงึ ปจ จบุ นั ในลกั ษณะของชมุ ชนเมอื งขนาดเลก็ หรอื เมอื งทม่ี ไิ ดเ ปน ศนู ยก ลางทางเศรษฐกจิ สงั คม การบรหิ ารจดั การของจังหวัด6 เมืองในกลุมน้ีมีลักษณะเปน “เมืองโบราณ” เชนเดียวกันกับเมืองในกลุมที่ 2 ทั้งนี้ มี พฒั นาการของเมอื งมาตงั้ แตส มยั รฐั จารตี ทวา ในเขตพนื้ ทด่ี งั กลา วปจ จบุ นั มกี ารตง้ั ถนิ่ ฐานของผคู น เปนชุมชนท่ียังมีพลวัตอยู และเปนชุมชนหรือยานที่มีขนาดไมใหญและไมซับซอนมากนัก อาทิ เมืองเชียงแสน เมอื งถลาง เปนตน (4)เมอื งเกา ทปี่ รากฏหลกั ฐานทางกายภาพอนั บง บอกถงึ ลกั ษณะอนั เดน ชดั ของโครงสรา ง เมอื งหรอื โบราณวตั ถสุ ถานในอดตี และมกี ารใชส อยในลกั ษณะของเมอื งทย่ี งั มชี วี ติ อยา งตอ เนอ่ื งจาก อดีตถึงปจจุบัน ในลักษณะของชุมชนเมืองขนาดใหญที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ สังคม การ บรหิ ารจดั การของจงั หวดั ท่มี ปี ระชากรพักอาศยั เปน จํานวนมาก7 เมอื งในกลุม นีถ้ อื เปน “เมอื งเกา ที่มีพลวัต” สบื เนื่องมาโดยตลอด และมีลักษณะเปน เมือง ศูนยกลางของรัฐจารีต (Traditional State) นับตั้งแตพุทธศตวรรษท่ี 19 เปนตนมา หรือเปน เมืองที่ตั้งขึ้นมาจากทําเลท่ีตั้งของการเปนชุมชนการคาขาย ท้ังนี้ ยังเปนเมืองท่ีมีพลวัตทางสังคม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ อยใู นปจจุบนั ไมไ ดถ กู ทิ้งรางไป ในองคประกอบของเมืองในเมืองเกา บางแหง ยังคงหลงเหลือซากโบราณสถานอันเกาแกแ ทรกตวั อยูในเมือง อาทิ ปอ ม ประตู คเู มือง วัดวา อาราม ทง้ั ที่เปนซากโบราณสถาน และเปนวัดเกาท่ยี งั มีการบูรณปฏสิ งั ขรณสืบเนื่องเรอ่ื ยมา และ มีการใชสอยอยูตราบกระท่งั ปจจุบัน ดงั ตวั อยางเชน เมืองเกาเชียงใหม เมืองเกาแพร เมืองเกา นา น เมืองเกานครศรธี รรมราช เมืองเกาสงขลา เปนตน 5 เพ่ิงอาง. หนา ที่ 5. 6 เพง่ิ อา ง. หนาที่ 6. 7 เพ่งิ อา ง. หนา ท่ี 7. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 17

จากนยิ าม และการจัดจําแนกประเภทของเมืองเกาดังกลา วมาขางตน จะเหน็ ไดว า คําวา “เมอื งเกา ” ครอบคลมุ ขอบเขตกวา งขวางทงั้ ในมติ ิทางประวตั ิศาสตร และพัฒนาการทางสงั คม ดงั จะเห็นไดวา คาํ วา “เมอื งเกา” ท่กี ําหนดตามนิยามน้ัน มที ั้ง “เมอื งเกาทย่ี ุติบทบาทความเปนเมือง หรือชุมชนไปแลว” ดวยเงื่อนไขและบริบทแวดลอมในอดีต เชน มีการเปล่ียนแปลงของสภาพ แวดลอมและระบบนิเวศนจนไมเ อื้อตอ การตัง้ ถน่ิ ฐาน ดงั ตัวอยางเชน การเกดิ นํ้าทวมหลาก แมน ้าํ เปล่ียนทางเดนิ การทับถมของดินตะกอน ฯลฯ หรอื เกิดภยั พบิ ตั หิ รือทพุ ภิกขภยั ขนาดใหญจ นเปน เหตุใหตอ งท้ิงบา นเมอื ง ซ่งึ ปจ จยั แวดลอมทางธรรมชาตินนั้ เปน ปจ จัยท่สี ําคัญอยางยง่ิ ยวดตอ การ กาํ หนดการตง้ั ถน่ิ ฐานของผคู น คงเหลอื แตเ พยี งรอ งรอยทางโบราณคดี หรอื หากจะมกี ารตงั้ ถนิ่ ฐาน กเ็ ปน การเขา ไปตงั้ ถนิ่ ฐานใหมใ นชนั้ หลงั ทไ่ี มเ กย่ี วเนอ่ื งหรอื เชอื่ มโยงกบั รอ งรอยทางวฒั นธรรมในอดตี อยา งไรกด็ ี ยงั มบี างเมอื งทมี่ ชี ยั ภมู ทิ ตี่ งั้ ทม่ี คี วามเหมาะสมมาตง้ั แตอ ดตี อนั เกา แก ทวา ยงั คง รักษาคุณประโยชนที่แวดลอมไวได ทําใหทําเลดังกลาวยังคงเหมาะสมตอการตั้งถ่ินฐานเร่ือยมา จนกระทั่งกาวเขาสูสังคมรวมสมัย ทําเลท่ีตั้งดังกลาวนั้นก็ยังเอื้อตอการตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาตอ จนเกดิ เปนชมุ ชนทมี่ คี วามซบั ซอ น ตวั อยา งเชน เมอื งลพบรุ ี เมอื งราชบุรี และเมืองพมิ าย เปน ตน ดังน้ัน จึงเห็นไดวาในเมืองเหลาน้ี เปนเมืองที่มีรองรอยการต้ังถ่ินฐานของผูคนมาต้ังแต สมัยกอนประวัติศาสตรจนกระท่ังมีพัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรมและรับวัฒนธรรมอินเดียอันสง ผลตอความคิด ความเชอื่ ศาสนา และคณุ ลกั ษณะอน่ื ๆ ทางสงั คมวัฒนธรรม ทําใหม ีการกอ สราง เมืองที่มีคูคันดินเพื่อปกปองตัวเองจากศัตรู (Defensive War) ในสมัยทวารวดี รวมท้ังมีการ กอสรางศาสนสถานเน่ืองในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี ของ ซากสถาปต ยกรรมและศลิ ปกรรมเปน จาํ นวนมาก และเมอื่ วฒั นธรรมเขมรโบราณในลมุ นา้ํ โตนเลสาบ ไดเบงบานและสงอิทธิพลสืบเนื่องตอมายังเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และเมือง ในภาคกลางท่ีมีความรุงเรืองในชวงสมัยท่ีเรียกวาทวารวดี ทําใหมีการกอสรางศาสนสถานและ องคประกอบเมืองซอนทับลงไปบนเมืองด้ังเดิม ตอมาเม่ืออาณาจักรเขมรโบราณไดเสื่อมคลาย อํานาจลง จงึ เปด โอกาสใหรัฐตา งๆ ไดม ีบทบาทเพ่มิ ขน้ึ อาทิ ลา นนา สโุ ขทัย และอยธุ ยา ซงึ่ มรี อ ง รอยทางวัฒนธรรมของยุคสมัยดังกลาวนีร้ วมอยดู วย จวบจนเขาสยู คุ รัตนโกสินทร และเขา สูความ เปนสมัยใหม (Modernity) จึงเกิดการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานของเมือง อาทิ ระบบการขนสง ทางรางและถนน ทําใหแมนํ้าท่ีเคยเปนเสนทางสัญจรเดิมนั้นลดบทบาทลง เปล่ียนมาใชเสนทาง สัญจรทางบก ทําใหเกิดการสรางบานแปงเมืองมีรูปแบบสอดคลองกับการสัญจรท่ีเปล่ียนแปลง ดังกลาว นอกจากนี้ การเขาสูความเปน สมยั ใหม ยังสง ผลใหมกี ารกอ สรา งสถาปตยกรรมที่มคี วาม หลากหลาย ทง้ั ท่ีเปนอาคารสาธารณะ อาคารบานเรอื น อาคารพาณิชยกรรม ซง่ึ เมืองในรูปแบบ ดังกลาวนี้ ถอื เปน “เมอื งเกาทีม่ พี ลวตั ” จึงกลาวไดวา เมืองเกาแตละแหงน้ัน ตางก็มีเงื่อนไขของพัฒนาการที่แตกตางกันออกไป ทาํ ใหผลลัพธข องพฒั นาการทางสังคม การเมือง และวฒั นธรรมที่ฉายผา น “รูปลกั ษณ” ของเมือง เกา แตละเมือง มรี ปู แบบอนั สมั พนั ธกับประวตั ิศาสตรแ ตละชว งเวลาทแ่ี ตกตางกันออกไป ซึง่ ความ แตกตางหลากหลายดังกลาวเปนตนทุนอันสําคัญในการบอกเลาประวัติศาสตรและพัฒนาการของ เมืองที่นําไปสูการบริหารจัดการเมืองเกาท่ีมีพลวัตในประเด็นทั้งดานการอนุรักษ และการพัฒนา อยา งสมดุลและยงั่ ยืนตอ ไป 18 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตัวอยางกรณศี ึกษา “เมืองราชบรุ ”ี ทแ่ี สดงถงึ ลักษณะการต้งั ถ่ินฐาน พฒั นาการทางประวตั ิศาสตรและ 19 วฒั นธรรมทีส่ ง ผลตอ การกอรูปของเมืองเกาในแตล ะชวงเวลา กลายเปนความซับซอ นหลากหลายของ องคประกอบของเมอื งทสี่ มั พันธก ับมติ ิเวลาทางประวตั ิศาสตร การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร

20 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การจัดกลุมเมืองเกาในประเทศไทยโดยสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม จากการนิยาม “เมืองเกา” ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการอนุรักษ และ พฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรแ ละเมอื งเกา พ.ศ. 2546 และแนวทางการจาํ แนกเมอื งเกา โดยคณะกรรมการ อนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกาออกเปน 4 ประเภทน้ัน จะเห็นไดวามีท้ัง “เมือง เกาท่ียุติบทบาทความเปนเมืองหรือชุมชนไปแลว” “เมืองเกาที่มีการประกาศขอบเขตเปนอุทยาน ประวัตศิ าสตร” และ “เมืองเกา ท่ีมีพลวตั ” การประกาศเปนเขตพ้นื ท่ีเมืองเกา ตามนโยบายของรฐั บาลนัน้ ใหความสําคญั กบั “เมอื ง เกา ที่มีพลวัต” ซ่ึงยังมีผูคนต้ังถิ่นฐานอยูอาศัย มีความเคลื่อนไหวทางสังคม เศรษฐกิจ และ วฒั นธรรม โดยรฐั บาลไดใ หค วามสาํ คญั เมอื งเกา ทมี่ พี ลวตั มากกวา เมอื งเกา ทเ่ี ปน เมอื งโบราณทต่ี ดั ขาด จากพลวตั ของการตง้ั ถน่ิ ฐานและการอยอู าศยั ในปจ จบุ นั แลว เนอ่ื งจากเมอื งโบราณ เชน เมอื งอยธุ ยา เมืองสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัย ดังกลาวนั้นมีกลไกและกฎหมายที่คุมครองดูแลในฐานะการเปน อุทยานประวัติศาสตรอยูแลว ในขณะที่เมืองเกาท่ีมีพลวัต แมจะมีศักยภาพสูงในแงของการเปน ตนทุนสําหรับการพัฒนาของแตละทองถิ่น แตในขณะเดียวกันหากไมมีแผนแมบท และผังแมบท ตลอดจนการออกแบบกลไก และเครอ่ื งมอื ทเ่ี หมาะสมในการบรหิ ารจดั การกอ็ าจจะเปน สง่ิ ทคี่ กุ คาม คณุ คา และความหมายของมรดกวฒั นธรรมเมอื ง ทวา หากมกี ารออกแบบกลไกเครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสม องคป ระกอบของเมอื งเกาจะสรางประโยชน และเปนตนทุนสกู ารพฒั นาอยา งยั่งยืนใหแ กช ุมชนใน ทองถ่นิ สอดคลองกับแนวทางท่ีองคการยูเนสโกไดเสนอไววา “กญุ แจสําคญั ในการทําความเขา ใจ และการจัดการสภาพแวดลอมในเมืองเกาใดๆ คือการรับรูวาเมืองไมไดเปนหยุดน่ิง เปนแตเพียง อนุสรณสถาน หรือกลุมอาคาร แตทวาเมืองนั้นมีพลวัตที่สัมพันธกับมิติเศรษฐกิจ สังคม และ วฒั นธรรม ซง่ึ ตา งสง อทิ ธพิ ลตอ คณุ ลกั ษณะของเนอ้ื เมอื งเกา และเสนอวา บรบิ ทางประวตั ศิ าสตรแ ละ การพฒั นาสามารถมปี ฏสิ มั พนั ธก นั ไดแ ละลว นแตเ สรมิ สรา งบทบาทและความหมายของกนั และกนั ” 8 รัฐบาลใหความสําคัญกบั เมืองเกา ทม่ี ีพลวตั ดว ยเหตุผลหลกั คือ ประการทีห่ นงึ่ เมืองเกา มกี ารต้ังถ่ินฐานของผคู นอยางตอเนอื่ งตลอดหนาประวตั ิศาสตร และทําหนา ท่เี ปนเมืองศนู ยก ลาง การบริหารราชการ เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ เม่ือประกาศเขตเมืองเกา ยอมทําให พลเมืองท่ีอยูอาศัยในเมืองบังเกิดความภาคภูมิใจ และไดรับประโยชนตางๆ สืบเนื่องมาจากการ อนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในอนาคต ประการท่ีสอง คือ เม่ือมีการใชประโยชนเมืองเกาในบริบท รว มสมยั จงึ มคี วามจาํ เปน ในการสรา งกลไกในการคมุ ครองมรดกวฒั นธรรมเมอื งเกาใหอ ยคู กู บั พลวตั ในบรบิ ทสงั คมรว มสมยั และเมอื่ สามารถสรา งสมดลุ ของการอนรุ กั ษแ ละการพฒั นาบนฐานของความ ยงั่ ยนื ใหเ กดิ ขน้ึ ไดแ ลว ประชาชนในชมุ ชนทอ งถน่ิ เมอื งเกา ตา งๆ จงึ จะไดร บั ประโยชนใ นรูปแบบตางๆ ท่ีสืบเน่ืองจากการบริหารจัดการกับมรดกวัฒนธรรมเมือง อันนําไปสูการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และ ความเปน อยทู ดี่ รี ว มกบั การธาํ รงรกั ษาคณุ คา ของเมอื งเกาควบคูไปดวย 8 UNESCO. (2013). New life for historic cities: the historic urban landscape approach explained. Paris: UNESCO. p.5. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 21

การจาํ แนกกลมุ ของเมอื งเกา ทม่ี พี ลวตั เพอื่ นาํ ไปสกู าร “ประกาศ เมอื งเกา ” ตามนโยบายของรัฐบาลคือการจําแนกจาก “ความสําคัญทางประวัติศาสตรและ โบราณคดี” ซ่ึงสมั พนั ธก ับ “ขนาดของเมืองเกา ” ท้งั น้ี สามารถแบง เมืองเกาออก เปน 3 กลมุ คือ9 (1) เมืองเกา กลมุ ที่ 1 เมอื งเกา กลมุ ที่ 1 เปน เมอื งทมี่ คี วามสาํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรแ ละโบราณคดี มลี กั ษณะเปน เมอื งขนาดใหญ ซงึ่ เคยเปน ศนู ยก ลางของรฐั จารตี โบราณ (Traditional State) หรอื เมืองในเครอื ขายของรฐั โบราณ ทั้งน้ยี งั ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี และศิลปกรรมของยคุ สมัยดงั กลาวเปน ท่ีประจกั ษ และยงั เปน เมอื งที่มีพลวตั อยูใน ปจ จบุ นั ซงึ่ เปน เมอื งเกา ทม่ี คี วามเรง ดว นในการจดั ทาํ การประกาศเปน เมอื งเกา เพอ่ื เปน กลไกในการอนุรกั ษและพฒั นาเมอื งอยางเหมาะสม คณะกรรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร และเมอื งเกา ไดพ จิ ารณา จดั จาํ แนกเมอื งเกา ในกลมุ ท่ี 1 มจี าํ นวน 10 เมอื ง ไดแ ก เมอื งเกา เชยี งใหม เมอื ง เกา นา น เมอื งเกา ลาํ ปาง เมอื งเกา ลาํ พนู เมอื งเกา กาํ แพงเพชร เมอื งเกา พษิ ณโุ ลก เมอื งเกา ลพบรุ ี เมอื งเกา พมิ าย เมืองเกา นครศรีธรรมราช และเมืองเกา สงขลา (2) เมืองเกากลุมท่ี 2 เมืองเกากลุม ท่ี 2 เปน เมอื งท่ีมีความสาํ คัญรองลงมาจากกลุมท่ี 1 ท้ังใน ประเด็นเร่ืองของขนาดเมือง และมิติความสําคัญในหนาประวัติศาสตร นอกจากนี้ ยงั มกี ระบวนการกลายเปน เมอื งทยี่ งั มไี มส งู มากนกั ตลอดจนปญ หาจากภยั คกุ คาม ดา นตางๆ ยงั ไมม ากและเรง ดว นเทากับเมืองเกากลุมท่ี 1 คณะกรรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร และเมอื งเกา ไดพ จิ ารณา จดั จําแนกเมืองเกาในกลมุ ที่ 2 มีจํานวน 27 เมอื ง เพือ่ ดาํ เนินการกําหนดขอบเขต พืน้ ทเี่ มืองเกาและกรอบแนวทางการอนุรักษและพัฒนา ไดแก เมืองเกาเชียงราย เมืองเกาพะเยา เมอื งเกาแพร เมอื งเกาตาก เมืองเกาพจิ ติ ร เมอื งเกา แมฮ องสอน เมืองเกา สรรคบุรี เมอื งเกา อูท อง เมอื งเกาสพุ รรณบรุ ี เมืองเกา กาญจนบรุ ี เมอื ง เกา ราชบรุ ี เมืองเกา เพชรบรุ ี เมืองเกานครนายก เมืองเการะยอง เมืองเกาจนั ทบรุ ี เมืองเกานครราชสมี า เมอื งเกา บรุ รี มั ย เมอื งเกา สรุ นิ ทร เมอื งเกา รอ ยเอด็ เมอื งเกา สกลนคร เมืองเการะนอง เมอื งเกา ตะกว่ั ปา เมอื งเกา ภเู กต็ เมอื งเกา ปต ตานี เมอื ง เกา ยะลา เมอื งเกา สตลู และเมอื งเกา นราธวิ าส 9 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม. (2554). อางแลว. หนาที่ 24. 22 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) เมืองเกา กลมุ ที่ 3 เมืองเกากลุมที่ 3 เปนเมืองโบราณขนาดเล็ก มีหลักฐานทางโบราณคดี และศิลปกรรมไมมาก รวมทั้งมีชุมชนตั้งถ่ินฐานอยูไมมาก มีความหนาแนนของ การอยูอาศยั เปน ชุมชนในระดับตําบลหรืออําเภอ หรอื บางแหลงก็ไมมกี ารอยูอ าศยั จึงมีลกั ษณะเปน เมืองรา ง ซ่ึงยังไมจ ําเปน เรงดว นทต่ี อ งดาํ เนนิ การประกาศเปน เมอื ง เกา ตามท่ีสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มไดจ ดั ทาํ ฐานขอมูลไวจํานวน 39 เมือง ไดแก เมืองเชียงแสน เมืองบัว เวียงกุมกาม เวียงเจด็ ลนิ เวียงทา กาน เวียงสวนดอก เวยี งทา วงั ทอง เวยี งบวั เวียงปูลาม เวยี ง พระธาตจุ อมทอง เวยี งลอ เวยี งหนองหา เมอื งโคกไมเ ดน เมอื งดอนคา เมอื งไพศาลี เมอื งบางขลงั เมอื งทงุ ยงั้ เมอื งนครไทย เมอื งศรเี ทพ เมอื งกาํ แพงแสน เมอื งซบั จาํ ปา เมอื งดงคอน เมอื งอตู ะเภา เมืองบานคูเมือง เมืองครุฑ เมืองสิงห เมอื งคูบวั เมือง ดงละคร เมืองศรีมโหสถ เมืองเสมา เมืองคูเชียงเทียน เมืองเสือ ดงเมืองแอม ดอนเมืองเตย เมอื งฟาแดดสงยาง เมอื งสลกั ได เมอื งหนองหาน เมอื งไชยา เมือง ยะรัง อยางไรก็ตาม ยังมีเมืองเกาท่ีเขาเกณฑเมืองเกากลุมท่ี 3 อีกหลายเมืองท่ี ยังไมม ีการศกึ ษาขอมลู จากเกณฑการจําแนกกลุมเมืองเกา และรายชื่อเมืองดังท่ียกมาขางตน จะเห็นไดวาในการประกาศเมืองเกาตามมติคณะรัฐมนตรีน้ันไดประกาศเมืองเกา แลว 31 เมอื ง คอื เมอื งเกา นา น เมอื งเกา เชยี งใหม เมอื งเกา ลาํ พนู เมอื งเกา ลาํ ปาง เมอื งเกา กาํ แพงเพชร เมืองเกา ลพบรุ ี เมืองเกา พมิ าย เมืองเกา นครศรีธรรมราช เมืองเกา สงขลา เมืองเกาแพร เมืองเกา เพชรบุรี เมืองเกาจนั ทบรุ ี เมอื งเกาปต ตานี เมืองเกา เชยี งราย เมอื งเกา สพุ รรณบรุ ี เมอื งเการะยอง เมอื งเกาบรุ รี มั ย เมอื งเกา ตะกวั่ ปา เมอื งเกา พะเยา เมอื งเกา ตาก เมอื งเกา นครราชสมี า เมอื ง เกา สกลนคร เมอื งเกาสตลู เมืองเกา ราชบรุ ี เมอื งเกา สุรนิ ทร เมืองเกา ภูเก็ต เมอื งเกา ระนอง เมืองเกา แมฮ อ งสอน เมอื งเกากาญจนบุรี เมอื งเกายะลา และเมอื งเกา นราธิวาส ลว นแตเปน เมืองทอี่ ยูใ นกลมุ ที่ 1 และกลมุ 2 ทงั้ ส้ิน การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 23

24 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 25

26 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 27

28 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกานา น มีเนื้อที่ 0.31 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันท่ี: 24 มนี าคม พ.ศ. 2549 อาณาเขตเมอื งเกานา น ก. “พื้นท่ีใจเมืองนาน” หมายความวา พืน้ ท่ใี นบรเิ วณระหวาง ดานเหนอื เรม่ิ จากแนวกําแพงดานหลงั ของคุมเจาราชบุตรลงมาตามแนวกําแพงดานทิศตะวันออกจดถนนมหาพรหม ไปทาง ทศิ ตะวนั ออกจดสวนศรเี มอื ง ลงมาตามถนนสมุ นเทวราชจดถนนสรุ ยิ พงษบ รเิ วณสะพาน กรุงศรี ไปทางทิศตะวันตกตามถนนสุริยพงษบรรจบถนนอชิตวงศ ลงมาทางทิศใตจด ถนนจันทรประโชติไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตจดถนนผากอง ลงมาทางทิศใตจดแนว กําแพงวัดภูมินทรไปทางทิศตะวันตก และขึ้นไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจดดานใต ถนนของวดั มงิ่ เมอื ง สดุ แนวกาํ แพงวดั มงิ่ เมอื งดา นใต ขนึ้ ไปทางทศิ เหนอื จดถนนสรุ ยิ พงษ ไปทางทิศตะวันตกบรรจบถนนอริยวงศบริเวณส่ีแยกโรงเรียนราชานุบาล ข้ึนไปทาง ทิศเหนือตามถนนอริยวงศบรรจบถนนมหาพรหม ไปทางทิศตะวันออกจนถึงกําแพง วดั หวั ขว ง ขนึ้ ไปทางทศิ เหนอื ตามกาํ แพงวดั หวั ขว งดา นตะวนั ตกจดแนวกาํ แพงวดั หวั ขว ง ดานเหนือ ไปทางทิศตะวันออกตามแนวกาํ แพงวดั หัวขวงบรรจบถนนผากอง ขน้ึ ไปทาง ทศิ เหนอื ตามแนวกาํ แพงคมุ เจา ราชบตุ ร จนบรรจบแนวกาํ แพงคมุ เจา ราชบตุ รดา นเหนอื เนือ้ ที่รวม 0.18 ตารางกิโลเมตร ข. “พ้ืนที่เวยี งพระธาตแุ ชแหง” หมายความวา พืน้ ทใ่ี นบรเิ วณพ้ืนที่ธรณสี งฆข องวดั พระธาตุแชแ หง กิง่ อาํ เภอ ภเู พยี ง จงั หวดั นา น เน้อื ทีร่ วม 0.13 ตารางกิโลเมตร การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 29

30 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมืองเกาเชยี งใหม มีเน้อื ท่ี 5.505 ตารางกโิ ลเมตร ประกาศวนั ที:่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมอื งเกาเชยี งใหม ทิศเหนอื จดแนวระยะ 22 เมตร จากฝงคเู มอื งดา นเหนือตลอดแนว ทิศตะวนั ออก จดแนวระยะ 50 เมตร จากฝง คลองแมข าดานตะวันออกตลอดแนว ทศิ ใต จดแนวระยะ 50 เมตร จากฝง คลองแมข า ดา นใต เชอ่ื มกบั แนวกาํ แพงดนิ เชียงใหมด านใต ทิศตะวนั ตก จดแนวระยะ 22 เมตร จากฝงคูเมอื งดานตะวันตกตลอดแนว เช่ือมกับ แนวกาํ แพงดนิ ดา นตะวนั ตก การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 31

32 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกาลาํ พูน มเี นื้อท่ี 0.648 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันท:ี่ 11 เมษายน พ.ศ. 2554 อาณาเขตเมอื งเกา ลําพนู ทศิ เหนือ ครอบคลมุ บรเิ วณโดยรอบแนวคูเมอื งตามแนวถนนรอบเมอื งนอก ทิศตะวันออก ครอบคลมุ พนื้ ที่ตามแนวขนานริมฝง แมนํ้ากวงดานตะวันออก ในระยะ 10 เมตร ทศิ ใต ครอบคลุมบริเวณโดยรอบแนวคูเมืองตามแนวถนนรอบเมืองนอก และพ้ืนที่ บรเิ วณกูบรรจุอัฐเิ จานายเมืองลําพนู และพน้ื ทส่ี าํ นักงานประปาสวนภมู ภิ าค สาขาลาํ พูน ทศิ ตะวนั ตก ครอบคลมุ บรเิ วณโดยรอบแนวคเู มืองตามแนวถนนรอบเมืองนอก การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 33

34 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกาลําปาง มีเน้อื ท่ี 3.804 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันที:่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมอื งเกาลําปาง ทศิ เหนือ จดแนวถนนปงสนุกจากทางแยกถนนปงสนุกกับถนนบุญโยงถึงเสนขนานระยะ 20 เมตรทางดา นเหนอื ของแนวคเู มอื ง และเลยี บแนวเสน ขนานคเู มอื งไปจนถงึ ถนนประตมู า ทางดานตะวนั ตกเฉียงใตของวัดสรอ ยพราว ทศิ ตะวนั ออก จดแนวกําแพงเมืองจากวัดสรอยพราวถึงถนนแยกจากถนนประตูมา ไปทาง ตะวันออกเฉียงใตตามแนวถนนจนจดฝงขวาของแมน้ําวัง และเลียบแมน้ําวังจนถึงแนว ถนนบุญวาทยท างตะวันตกของวดั เชตวัน ทิศใต จดแนวถนนพหลโยธนิ จากทางแยกตดั ถนนบญุ วาทยถ งึ ทางแยกตดั ตรอกศรกี ศุ ล และข้นึ ไปตามตรอกศรกี ศุ ล ถงึ เสน ขนานระยะ 20 เมตร ทางทิศตะวันตกเฉยี งใตข องถนน มิตรเกษม จนจดถนนฉัตรไชยและถนนท่ีแยกจากถนนฉัตรไชยจนถึงถนนทาคราวนอย ไปจนถึงทางแยกถนนทาคราวนอยกบั ถนนวงั ขวา ทศิ ตะวันตก จดแนวถนนวงั ขวาและถนนบญุ โยง จากทางแยกถนนวงั ขวากบั ถนนทา คราวนอ ย ถึงทางแยกถนนบญุ โยงกับถนนปงสนุก การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 35

36 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกากาํ แพงเพชร มเี น้อื ท่:ี 13.440 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันท:ี่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมืองเกากําแพงเพชร ทิศเหนือ จดแนวฝงดานเหนือของปากคลองทอทองแดง จดแนวก่ึงกลางแมน้ําปง ไปตามแนวเขตคลองจนบรรจบกบั แนวเขตอทุ ยานประวตั ศิ าสตรอ รญั ญกิ ไปตามแนว เขตอุทยานประวัติศาสตรฯ ขามทางหลวงแผนดินหมายเลข 101 ไปตามแนวเขต พ้นื ท่ีวดั อาวาสนอ ย จนจดกับทางหลวงแผน ดินหมายเลข 115 ทิศตะวนั ออก จดแนวถนนทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 115 ขา มคลองทอ ทองแดงตามแนว ถนนขนานคลองทอทองแดงจนจดกบั ถนนวังคาง ทศิ ใต จดถนนวังคางตดั กับคลองทอ ทองแดง ขา มถนนกะโลทัยมาจดถนนวจิ ิตร 1 จนจดถนนราชดําเนิน 1 ซอย 4 ขามถนนราชดําเนิน 1 ไปตามแนวถนนเทศา 1 ซอย 7 ขามถนนสิริจิตรไปจดแนวกึ่งกลางแมน้ําปง มาตามแนวก่ึงกลางแมน้ําปง ทางตะวันออกเช่ือมกับแนวจากคูเมืองนครชุม และมาตามคูเมืองนครชุม โดยขาม ถนนเลยี บฝง แมน า้ํ ปง (ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 1078) มาเปน ระยะทางประมาณ 380 เมตร จดกับถนนไมมชี อ่ื ลงมาทางใตต ามแนวถนนประมาณ 360 เมตร แลวไป ทางแนวตะวนั ตกอกี ประมาณ 1,575 เมตร จนถงึ ถนนไมม ชี อ่ื ทไ่ี ปจดแนวเขตเทศบาล ตาํ บลนครชมุ จนจดกบั ถนนทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 1 ทศิ ตะวนั ตก จดแนวถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 (พหลโยธนิ ) เชือ่ มกับแนวคลอง สวนหมากตลอดแนวคลอง ตัง้ แตส ะพานขามคลองสวนหมาก ถนนพหลโยธินไปจด กับแนวกงึ่ กลางแมน ้าํ ปง และขึ้นไปทางเหนอื ตามแนวกงึ่ กลางแมนาํ้ ปงจนบรรจบกบั ตําแหนง เร่ิมตนดานทิศเหนือที่ปากคลองทอ ทองแดงปากคลองทอทองแดง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 37

38 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกา ลพบุรี มีเนื้อที่: 1.729 ตารางกโิ ลเมตร ประกาศวนั ท่ี: 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมอื งเกาลพบุรี ทิศเหนอื จดแมนํ้าลพบุรีฝงตรงขามวัดมณีชลขันธไปตามแนวเขตพ้ืนที่ราชพัสดุจด คลองเรอื กฝง เหนอื ทศิ ตะวนั ออก จดแนวคลองเรือกฝง ตะวนั ออกลงมาทางใตจดถนนรามเดโช เลียบไปทาง ทิศตะวันออกของถนนรามเดโช และเช่ือมกับแนวเขตวัดสันเปาโลดานตะวันออก ผา นถนนชนะสงครามจนจดคลองบางป ทิศใต จดแนวเขตหางจากถนนชนะสงคราม ถนนประตูชัย และถนนพระราม ระยะหา งจากเขตทางดานใต 100 เมตร ทิศตะวันตก จดแนวถนนเลยี บวดั โพธงิ์ าม เชอ่ื มกบั ถนนพรหมมาสตร ขา มแมน าํ้ ลพบรุ ี ไปจดแมน าํ้ ลพบรุ ีฝง ตรงขามวัดมณีชลขนั ธ การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 39

40 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกาพมิ าย มเี นอ้ื ท่ี 10.799 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันท:ี่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมอื งเกาพิมาย ทศิ เหนือ จดแนวถนนชมุ ชนจากทางหลวงแผน ดินหมายเลข 206 ไปทางตะวันออก จนจดแนวคลองชลประทาน ทศิ ตะวนั ออก จดแนวฝายกนั้ นาํ้ ลาํ นา้ํ มลู ขนานตามแนวกาํ แพงเมอื งพมิ ายดา นตะวนั ออก (ประมาณ 800 เมตร) มาจดตลอดแนวคลองสงนํ้ามาทางดานใตจนจดลําน้ําเค็ม และเช่ือมกับแนวขนานกับคนู า้ํ คนั ดิน ระยะ 100 เมตร มาจนจดแนวขนานกับถนน ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 2175 100 เมตร ทิศใต จดแนวขนานหางจากคูเมอื งโบราณบา นวังหิน 100 เมตร ทิศตะวันตก จดทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 206 ลงมาทางใตถ งึ ถนนเขา หมบู า นวงั กลาง มาทางตะวันตก 500 เมตร และวกลงมาตามแนวหางจากลํานํา้ จกั ราช 150 เมตร จนจดแนวขนานคเู มืองโบราณบานวงั หนิ การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 41

42 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมืองเกานครศรธี รรมราช มีเน้อื ที่ 3.789 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันที:่ 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมืองเกานครศรีธรรมราช ทิศเหนือ จดคลองทาวังและแนวเขตวัดทา โพธิว์ รวหิ ารดา นเหนือ ทศิ ตะวนั ออก จดแนวเขตวัดทาโพธิ์วรวิหารดานตะวันออกเช่ือมถนนทาโพธ์ิมาทางตะวันตก จดแนวหา งจากเขตทางถนนศรปี ราชญแ ละถนนศรธี รรมโศกฝง ตะวันออก 100 เมตร และแนวหา งจากแนวกาํ แพงเมอื งพระเวยี งดา นตะวนั ออกมาทางตะวนั ออก 100 เมตร ทิศใต จดคลองคพู าย ทิศตะวนั ตก จดคลองหวั หวอง คลองทายวงั และคลองทุงปรงั การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 43

44 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมืองเกา สงขลา มีเนื้อท่ี 4.335 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันที่: 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 อาณาเขตเมืองเกา สงขลา ทศิ เหนือ จดแนวถนนชลเจริญตัดกับถนนแหลมสนออนและเชื่อมกับแนวถนนทํามุม 60 องศากับถนนแหลมสนออน และแนวเขตหางออกไปจากฝงทะเลดานเหนือเปน ระยะทาง 250 เมตร ทิศตะวนั ออก จดแนวหางออกไปจากฝง ทะเลดานตะวนั ออกระยะ 250 เมตร มาตลอดแนว ดา นใตจ ดแนวเขตหา งจากเขตทางถนนปละทา ดา นใต 100 เมตร และเชอื่ มกบั แนวเขต ทางรถไฟดา นตะวนั ออกมาจนจดถนนกาํ แพงเพชร ทศิ ใต จดถนนกําแพงเพชร ทิศตะวันตก จดแนวหา งออกไปจากฝง ทะเลสาบสงขลาระยะ 250 เมตร จากถนนชลเจรญิ ถงึ ถนนกาํ แพงเพชร การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 45

46 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เมอื งเกาแพร มเี นอ้ื ท:่ี 1.56 ตารางกิโลเมตร ประกาศวันท:่ี 10 มนี าคม พ.ศ. 2558 อาณาเขตเมืองเกา แพร ทศิ เหนือ จดเขตกันชนระยะหน่ึงรอยเมตรจากแนวเขตกําแพงเมือง-คูเมือง และครอบคลุมอาณาเขตวดั สระบอ แกว ทศิ ตะวันออก จดเขตกันชนระยะหนึ่งรอยเมตรจากแนวเขตกําแพงเมือง-คูเมือง จากทศิ เหนอื เรอื่ ยไปจนตัดกับแนวกึ่งกลางถนนเหมอื งหลวง ลดั เลาะไปตาม แนวเขตกรรมสิทธ์ิท่ีดิน กระท่ังตัดกับแนวกึ่งกลางถนนเหมืองหลวงอีกครั้ง และเล้ียวไปทางทิศตะวันออกเร่ือยไปจนจดแนวกึ่งกลางถนนยันตรกิจโกศล แลวจึงเล้ยี วลงใตต ดั ผา นบรรจบกนั ของถนนเจริญเมือง และถนนชอ แฮไปทาง ทศิ ใตป ระมาณ 100 เมตร แลว จึงเลย้ี วไปทางทิศตะวันตกลดั เลาะไปตามแนว เขตกรรมสิทธ์ิที่ดินกระทั่งบรรจบกับแนวกึ่งกลางถนนราษฎรดําเนินเรื่อยไป ทางทิศตะวันตกจนบรรจบกับเขตกันชนระยะหนึ่งรอยเมตรจากแนวเขต กําแพงเมอื ง-คเู มอื งอีกครัง้ หนงึ่ ทศิ ใต จดเขตกันชนระยะหน่ึงรอยเมตรจากแนวเขตกาํ แพงเมอื ง-คูเมือง ทิศตะวนั ตก จดเขตกนั ชนระยะหน่ึงรอ ยเมตรจากแนวเขตกาํ แพงเมอื ง-คูเมือง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 47

48 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม