Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รักษ์การออม

รักษ์การออม

Published by watnang5.1, 2021-09-08 15:42:40

Description: รักษ์การออม

Search

Read the Text Version

แบบสรปุ กจิ กรรมรักษ์การออม โครงการ ยุวชนคนดวี ถิ ีพอเพียง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนวดั หนงั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ๑. ชอื่ กิจกรรม --------------------------------------------- ชื่อโครงการ ชื่อกลุ่มงาน : รกั ษก์ ารออม : ยุวชนคนดวี ถิ ีพอเพยี ง : กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป ๒. วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรม ๒.๑ เพอ่ื ให้นกั เรยี นทุกคนรจู้ ักการวางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ประหยดั อดออม ๒.๒ เพื่อใหน้ ักเรยี นร้จู กั การออมเงนิ อยา่ งเป็นระบบ ๓. เปา้ หมายความสาเรจ็ /ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ ๓.๑ เชงิ ปรมิ าณ (ผลผลติ ) ๑) นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ -๖ ไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการรกั ษก์ ารออมร้อยละ ๑๐๐ ๓.๒ เชงิ คุณภาพ (ผลลพั ธ์) ๑) นักเรียนโรงเรียนวัดหนังทุกคนมีนิสัยรักษ์การออม ประหยัดอดออม รู้จักการใช้ จ่ายเงนิ อย่างเป็นระบบ ๒) นักเรียนทุกคนมกี ารวางแผนจดั การด้านการเงินและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ิตประจาํ วันได้อยา่ งเหมาะสมกับวัย ๔. ขัน้ ตอนดาเนนิ งาน/กิจกรรม/ระยะเวลา ๔.๑ ขัน้ เตรียมการ (P) ๔.๑.๑ เสนอโครงการเพือ่ อนุมัติ ๔.๑.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการดาํ เนนิ งานกจิ กรรมรักษก์ ารออม ๔.๑.๓ ประชมุ คณะกรรมครใู นการดาํ เนินงานกิจกรรม รักษก์ ารออม ๔.๒ ขนั้ ดาเนนิ การ (D) ๔.๒.๑ ให้ความรู้/ประโยชน์ในการออมเงินในอนาคต และประชาสัมพันธ์เก่ียวกับ โครงการรกั ษ์การออมหนา้ เสาธง

๔.๒.๒ คุณครูประจําชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และคุณครูการศึกษาพิเศษ ประชาสัมพันธเ์ กีย่ วกบั โครงการรกั ษก์ ารออมแกน่ ักเรยี นในหอ้ งเรยี น ๔.๒.๓ นักเรียนออมเงนิ ทกุ วัน ข้นั ตํ่าวนั ละ ๕ บาท กับคุณครปู ระจําช้นั ๔.๒.๔ คุณครูประจําชั้นรวบรวมเงินออมส่งครผู ู้ปฏิบตั ิหนา้ ที่เจ้าหนา้ ที่ธนาคารโรงเรียน เดอื นละ ๒ ครั้ง ๔.๒.๕ ครูและนักเรียนผู้ปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าหน้าที่ธนาคารโรงเรียนนํายอดเงินฝากของ นักเรียนแต่ละคนลงสมุดบัญชธี นาคาร ๔.๒.๖ ครูผู้ปฏบิ ัติหน้าท่ีเจ้าหน้าทีธ่ นาคารโรงเรียนนําสมุดบัญชีเงินฝากส่งคนื ครูประจํา ชั้นตรวจสอบยอดเงนิ ออมของนักเรยี นแตล่ ะคน พร้อมท้ังคืนสมดุ บัญชีให้นักเรียนดูยอดเงินสุทธิ ของตนเอง ๔.๒.๗ ครูผู้ปฏิบัติหน้าที่เจ้าหนา้ ท่ีธนาคารโรงเรียนนําเงินออมส่งเจ้าหน้าท่ีธนาคารเพ่ือ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเดอื นละ ๑ คร้ัง ๔.๓ ขัน้ ตดิ ตามและประเมนิ ผล (C) นิเทศ กํากับ ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ กิจกรรม ๔.๔ ขั้นนาผลไปพัฒนา (A) สรปุ รายงานผลการดาํ เนินโครงการและนําผลการดาํ เนนิ การไปปรบั ใชใ้ นครัง้ ต่อไป ๕. ผลการดาเนนิ งาน ๕.๑ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ร้อยละ ๑๐๐ เขา้ รว่ มโครงการรกั ษก์ ารออม ๕.๒ นักเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ ร้อยละ ๕๙ เขา้ ร่วมโครงการรักษ์การออม ๕.๓ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และนักเรียนการศึกษาพเิ ศษ ออมเงินตลอดปีการศึกษา ๒๕๖๓ รวมกันเปน็ เงนิ ทง้ั ส้นิ ๓๐๗,๔๒๔ บาท ๕.๔ ดําเนินการปิดบัญชโี รงเรียนธนาคาร โรงเรียนวดั หนังของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เนื่องจากนักเรียนจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จํานวน ๖๙ คน รวมเป็นเงนิ ท้งั สนิ้ ๑๑๐,๙๕๘ บาท (รายละเอียดดงั เอกสารแนบในภาคผนวก) ๕.๕ ดาํ เนนิ การถอนเงนิ ใหก้ ับนักเรยี นทมี่ คี วามประสงค์จะถอนเงินจากบัญชโี รงเรยี นธนาคาร โรงเรียนวัดหนัง เพ่ือนําไปชําระค่าเทอมที่ยังค้างชําระในปีการศึกษา ๒๕๖๓ และดําเนินการปิดบัญชี ของนกั เรียนทขี่ อย้ายโรงเรยี น จาํ นวนทง้ั หมด ๒๘ คน คดิ เปน็ เงนิ ท้งั สิ้น ๓๒,๐๓๘ บาท ๕.๖ นักเรียนโรงเรียนวัดหนังมีนิสัยรักษ์การออม ประหยัดอดออม รู้จักการใช้จ่ายเงินอย่างเป็น ระบบ รู้จักการวางแผนจัดการด้านการเงินและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวันได้อย่าง เหมาะสมกับวยั

๖. ผลการประเมนิ โครงการ (ประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ ความรคู้ วามเข้าใจ และการนาไปใช้) ระดบั การประเมิน ๕ = มากทสี่ ดุ ๔ = มาก ๓ = ปานกลาง ๒ = น้อย ๑ = นอ้ ยทีส่ ุด เกณฑ์การประเมิน รายการ ๕๔ ๓ ๒ ๑ นอ้ ยที่สดุ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดลอ้ ม (Context Evaluation : C) ๑.หลักการ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน  ๒.การกําหนดเป้าหมาย วิธีการดําเนินการและระยะเวลาดําเนินการ  มีความเหมาะสมและปฏิบัติจริงได้ ๓.การจัดบรรยากาศในการดําเนินงานเหมาะสมและสอดคล้องกับ  การดาํ เนินโครงการ ๔.การประสานงานในด้านต่างๆทาํ ให้เกิดความร่วมมือในการดาํ เนินโครงการ  ๕.วิธีการดําเนินงานเหมาะสมและปฏิบัติได้  การประเมินปจั จยั เบ้ืองตน้ หรือปจั จยั ป้อน (Input Evaluation : I) ๖.จํานวนบุคลากรท่ีร่วมดาํ เนินโครงการ/กิจกรรม มีความเหมาะสมและเพียงพอ  ๗.วัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาํ เนินโครงการ/กิจกรรมมีความเหมาะสมและเพียงพอ  ๘.งบประมาณเพียงพอและเหมาะสม  การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P) ๙.การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ  ๑๐.การวางแผนดาํ เนินโครงการ/กิจกรรม  ๑๑.การปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในหน้าที่ท่ีแต่ละคนรับผิดชอบ  ๑๒.การดําเนินงานเป็นไปตามที่กาํ หนดไว้ในโครงการ/กิจกรรม  ๑๓.การนิเทศติดตามกาํ กับการดาํ เนินโครงการ/กิจกรรมเป็นไปตามขั้นตอนท่ีกาํ หนดทุก  ระยะ ๑๔.การวิเคราะห์ผลอย่างต่อเนื่อง  การประเมินผลผลติ (Product Evaluation : P) ๑๕.การจัดทาํ โครงการ/กิจกรรมตามข้ันตอนโดยละเอียด  และผ่านการอนุมัติจากผู้บริหารและกรรมการสถานศึกษา ๑๖.ผลการดาํ เนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/ กิจกรรม  ๑๗.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกาํ หนดการ เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ  ๑๘.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลายและมีการบูรณาการท่ีเป็นประโยชน์ ๑๙.การนําผลการประเมินมาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง  ๒๐.ผลการเรียนรู้ตามโครงการ/กิจกรรมสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้  รวม ๒๕ ๔๐ ๑๒ เฉล่ีย ( คะแนนรวมหารด้วย ๒๐ ) ๓.๘๕ ระดบั คุณภาพ มาก

๗. คาชแี้ จงงบประมาณ ไม่มี ๘. ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาอปุ สรรค สาเหตุของปญั หาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ๑. ดา้ นงบประมาณ ไม่มี ไมม่ ี ๒. ด้านบุคลากร ครูที่ปฏบิ ตั ิหน้าที่ธนาคารที่ทําหนา้ ที่ใน ให้คุณครูมาสง่ เงนิ ออมในเวลาที่ครู ๓. ดา้ นวสั ดุ/อุปกรณ์ การรบั เงนิ มีเวลาวา่ งไม่ตรงกับคุณครู สะดวก หรอื ตอนพัก และสามารถ ประจําช้ันทจ่ี ะมาสง่ เงินออมของ ยืดหยุ่นเวลาได้ตามความเหมาะสม นักเรียน ทําใหก้ ารรบั -สง่ เงนิ ออมไม่ เป็นไปตามเวลาท่ีกําหนดไว้ ไม่มี ไม่มี ๔. ด้านบรกิ ารและ ไมม่ ี ไม่มี ประสานงาน ๙. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ๙.๑ กิจกรรมรกั ษก์ ารออมเป็นโครงการที่ดี ฝกึ นสิ ยั รกั ษก์ ารออมใหแ้ ก่นกั เรยี นและทําให้นกั เรียน ร้จู ักการออมเงินอย่างเปน็ ระบบ จงึ ควรจะดาํ เนนิ กิจกรรมน้อี ยา่ งต่อเน่ืองและสมํา่ เสมอ ๙.๒ ควรจะมีการมอบของรางวลั แกน่ ักเรียนท่ีมีการออมอยา่ งสมํ่าเสมอและนักเรียนทอ่ี อมเงินได้ สูงสุดประจําห้องเรยี น ลงช่อื .............................. .............................. (นางสาวกมลดา นอ้ ยพลี) ผู้ประเมินผล วันท่ี ๓๑ / มนี าคม / ๒๕๖๔

แผนภูมิแท่งแสดงยอดเงินออมของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖ ตงั้ แตเ่ ดือนสิงหาคม – วนั ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนภูมิแทง่ แสดงยอดเงินออมของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖ และนักเรียนการศึกษาพเิ ศษ ตง้ั แต่วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ 11,010 10,979 17,548 3,905 17,382 19,928 23,714 29,105 17,889 24,907 23,437 17,390 7,142

ประชมุ ครูเพ่อื ช้แี จงทาํ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั ขั้นตอนการดําเนินงานของโครงการรกั ษก์ ารออม ประชาสมั พนั ธ์นกั เรียนเกี่ยวกบั โครงการรกั ษก์ ารออมหน้าเสาธง

นกั เรียนออมเงินกบั คณุ ครปู ระจาช้นั ทุกวนั ขั้นตา่ วนั ละ ๕ บาท

นกั เรียนออมเงินกบั คณุ ครปู ระจาช้นั ทุกวนั ขั้นตา่ วนั ละ ๕ บาท

ครปู ระจาชั้นรวบรวมเงนิ ออมของนกั เรยี นสง่ ครผู ู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมรักษก์ ารออม

นกั เรยี นตรวจสอบยอดเงนิ ออมของตนเอง

ดาเนนิ การปดิ บญั ชีโรงเรียนธนาคาร โรงเรียนวดั หนังของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ แลว้ นาเงนิ มอบให้นักเรยี นทกุ คนตามจานวนเงนิ ท่ีไดฝ้ ากจริงพร้อมดอกเบี้ย ให้นักเรยี นตรวจนับเงินให้ถกู ตอ้ งแลว้ เซน็ ช่ือรับเงิน

ดาเนนิ การปดิ บญั ชีโรงเรียนธนาคาร โรงเรียนวดั หนังของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ แลว้ นาเงนิ มอบให้นักเรยี นทกุ คนตามจานวนเงนิ ท่ีไดฝ้ ากจริงพร้อมดอกเบี้ย ให้นักเรยี นตรวจนับเงินให้ถกู ตอ้ งแลว้ เซน็ ช่ือรับเงิน

นกั เรียนเจ้าหนา้ ทธ่ี นาคาร นายอดเงนิ ลงสมดุ บัญชโี รงเรยี นธนาคารของนักเรยี นแตล่ ะระดับช้นั

รายช่อื นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๑ ปดิ บัญชธี นาคารโรงเรียนและลงชื่อรบั เงนิ

รายช่อื นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๒ ปดิ บัญชธี นาคารโรงเรียนและลงชื่อรบั เงนิ

ผลการประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจของนักเรียน แบบสรปุ การประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รกั ษก์ ารออม แบบประเมนิ น้จี ดั ทาข้ึน เพื่อใหน้ กั เรียนประเมนิ ตนเองเรื่องการปฏิบัตกิ จิ กรรม รกั ษก์ ารออม จงึ ขอให้นักเรียน ทาแบบประเมิน ตามจรงิ และแสดงความคิดเหน็ ท่เี ป็นประโยชน์ เพอ่ื นาไปพัฒนากจิ กรรมใหด้ ีขึ้นตอ่ ไป ระดบั คณุ ภาพ ระดบั ท่ี ๑ หมายถงึ ปฏิบัตติ ามคาสัง่ คาบอก และมผี ้คู วบคุมดแู ลกากับใหป้ ฏิบัติ ระดบั ที่ ๒ หมายถงึ ปฏบิ ัติโดยอาศยั ผู้อ่ืนคอยเตือนใหป้ ฏบิ ตั ิ ระดับท่ี ๓ หมายถึง ปฏบิ ัติเองโดยไม่มผี ูส้ ง่ั ผู้เตือนให้ปฏิบัติ ระดับที่ ๔ หมายถึง ปฏิบัตเิ องจนเป็นนสิ ัย เป็นแบบอย่างแกผ่ ู้อื่นได้ ระดบั ที่ ๕ หมายถึง ปฏิบัติเองจนเป็นนสิ ยั เป็นแบบอยา่ งแกผ่ อู้ ่นื ได้ และแนะนาชักชวนใหผ้ ู้อ่ืนปฏบิ ัติ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ท่ี รายการประเมนิ ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ุด ๑ ๕๔๓๒ - ๑ การประชาสัมพันธข์ อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั การเขา้ รว่ มโครงการ ๖๑.๘๒ ๒๒.๖๑ ๑๕.๕๗ - - มีความเหมาะสม - - - - ๒ นกั เรยี นมีความสนใจและมสี ว่ นร่วมในการเขา้ รว่ มโครงการ ๖๖.๓๗ ๒๕.๖๒ ๘.๐๑ - - - ๓ นกั เรียนรจู้ กั การออมเงินอย่างเปน็ ระบบ ๕๕.๙๑ ๓๒.๗๖ ๑๑.๓๓ - - - ๔ นกั เรียนรู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงนิ ประหยัดอดออม ๗๐.๔๓ ๒๓.๘๒ ๕.๗๕ - ๕ นักเรยี นสามารถนาํ ความรตู้ า่ งๆ จากการเขา้ ร่วมโครงการไป ๕๙.๓๖ ๒๔.๑๗ ๑๖.๔๗ ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจําวันได้ ๖ นักเรยี นคิดวา่ ควรจดั โครงการน้ีในปีการศึกษาตอ่ ไป ๕๒.๗๔ ๓๑.๒๕ ๑๖.๐๑ รวม ๖๑.๑๑ ๒๖.๗๑ ๑๒.๑๙ ร้อยละ ๘๗.๘๒ ระดับคุณภาพ ดีมาก เกณฑ์การประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรมรกั ษ์การออม ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก เกณฑข์ องระดบั คะแนน ดี รอ้ ยละ ๘๐.๐๐ - ๑๐๐ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ปานกลาง รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ ควรปรับปรงุ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ ไมป่ ฏบิ ตั ิ รอ้ ยละ ๐ – ๑๙.๙๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook