Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาทันตกรรมรากฟันเทียม (DENTAL IMPLANTOLOGY)

สาขาทันตกรรมรากฟันเทียม (DENTAL IMPLANTOLOGY)

Published by Piyabut Chaisawat, 2022-07-25 04:21:29

Description: สาขาทันตกรรมรากฟันเทียม (DENTAL IMPLANTOLOGY)

Search

Read the Text Version

แนวทางปฏิบตั ิทางคลินิก (Clinical practice guidelines) เพ่ือการรักษาทางทันตกรรมรากเทียม สถาบนั ทันตกรรม กรมการแพทย์ แนวทางปฏิบัติทางคลินกิ (Clinical practice guidelines) 1. วัตถปุ ระสงคข์ องการรกั ษาทางทันตกรรมรากเทียม เพอ่ื ฟืน้ ฟูสภาพในช่องปากของผปู้ ่วย ใหส้ ามารถบดเคย้ี วอาหารไดด้ ี สามารถพูดและออกเสยี งไดอ้ ย่างชดั เจน มีความสวยงาม และให้ผ้ปู ่วยมสี ขุ ภาพกาย และสุขภาพใจที่ดี 2. การตรวจวนิ ิจฉัยและวางแผนการรกั ษา (Diagnostic and treatment planning) 2.1 ซกั ประวัติผู้ป่วยทง้ั ทางร่างกายท่วั ไปและช่องปาก ถ้ามีโรคประจาํ ตวั ให้ส่งปรึกษาแพทย์ รวมทง้ั ประเมนิ โรคทางระบบบางอยา่ ง ซงึ่ อาจทําให้มีข้อควรระวังในการทําหตั ถการมากขึน้ เชน่ ผทู้ ีเ่ คยได้รบั รงั สีรกั ษา บริเวณใบหนา้ และช่องปาก ผู้ปว่ ยทไี่ ด้รับยาในกลมุ่ Bisphosphonates เป็นต้น ถา้ มโี รคประจาตวั ท่ี ควบคมุ อาการไม่ได้ หรือเสยี่ งตอ่ การรักษา ใหส้ ่งปรึกษาแพทย์กอ่ น 2.2 พิมพ์ปากเพือ่ ทําแบบจําลองฟัน หรือแสกนภาพภายในช่องปากเพอ่ื ให้ได้รายละเอียดของฟนั และสันเหงอื ก วา่ งรวมทัง้ เน้อื เยื่อชอ่ งปาก เพอื่ วางแผนการรักษา 2.3 ประเมนิ สภาพโดยรวมในช่องปาก ได้แก่ ปริมาณและคุณภาพของกระดูก เนือ้ เยอื่ อ่อน สภาพของฟนั ราก ฟัน จํานวน และตําแหน่งของฟันธรรมชาติในช่องปาก และโดยเฉพาะบริเวณท่ีจะฝังรากฟันเทียม ลักษณะของการสบฟัน ตําแหนง่ ของเส้นประสาท โพรงอากาศ รวมถงึ อวัยวะสาํ คญั ทเี่ กี่ยวข้อง 2.4 ถา่ ยภาพรงั สีชอ่ งปากด้วยเทคนิค Cone beam computerized tomography: (CBCT) เพอ่ื ประเมิน สภาพของฟันและกระดูกขากรรไกร 2.5 ในบางกรณี หากผู้ปว่ ยมีการสบฟันที่ไมส่ มบรู ณ์ อาจตอ้ งมกี ารบรู ณะชอ่ งปากอนื่ ๆเพม่ิ เติมดว้ ย ทนั ตแพทย์ ผู้รักษาตอ้ งเสนอทางเลือกของการรักษาทั้งหมดท่ีเป็นไปไดใ้ หผ้ ูป้ ว่ ยได้รับทราบก่อนเริ่มการรักษา 2.6 เลือกแผนการรักษาที่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วย โดยต้องอธิบายแผนการรักษานั้นๆให้ผู้ป่วยเข้าใจอย่างแจ่ม แจง้ เสียกอ่ น ซง่ึ ผ้ปู ่วยบางรายไม่เหมาะกับการใสร่ ากฟันเทียมรับฟันซเี่ ด่ยี ว อาจแนะนาให้ใสร่ ากฟันเทียม รบั ฟันเทียมถอดได้หรือใสแ่ ต่ฟนั เทียมเพียงอยา่ งเดียว 3. การให้การรกั ษา 3.1 การฝงั รากฟนั เทียม 3.1.1 ฝงั รากฟนั เทียมโดยใช้ Surgical template หรือ Implant digital guide ชว่ ยกําหนดตําแหน่ง ของรากฟันเทียมที่วางแผนไว้ ในบางรายที่มีกระดกู ไม่เพียงพอต่อการฝังรากฟันเทียม อาจต้อง มีการทาํ ศัลยกรรมเพ่มิ เตมิ ได้แก่ การยกพืน้ โพรงอากาศหรือการปลูกกระดูกร่วมด้วย 3.1.2 นดั ติดตามผลการผ่าตัดเป็นระยะจนกวา่ รากฟันเทียมจะมกี ารเชื่อมยึดแน่นดกี บั กระดูก

3.1.3 ผ่าตัดเปดิ เหงอื กเพื่อใส่ Healing abutment ตามความจําเปน็ แลว้ แตก่ รณี 3.2 การใสฟ่ ันบนรากฟนั เทยี ม 3.2.1 กรณกี ารใสร่ ากฟนั เทียมรับฟันซเี่ ดย่ี ว 3.2.1.1 กรอแต่งฟันธรรมชาติที่อยูข่ ้างเคียง หรือเป็นค่สู บกับฟันซ่ีที่จะบูรณะบนรากเทยี ม ตามที่ไดว้ างแผนไว้เรียบร้อยก่อนแลว้ 3.2.1.2 บันทกึ ความสัมพันธ์ของข้อต่อขากรรไกรและฟนั ทง้ั ในแนวราบ และแนวดิง่ 3.2.1.3 พมิ พป์ าก หรือแสกนตําแหน่งของรากฟนั เทียมในปาก 3.2.1.4 เลอื กสีฟนั โดยควรใหผ้ ู้ป่วยมสี ่วนรว่ มในการเลอื กด้วย 3.2.1.5 เลอื ก Implant abutment ทเี่ หมาะสม 3.2.1.6 ส่งข้อมูล และวัสดุที่ใช้ในการบันทึกตําแหน่งของรากฟันเทียม (ถ้ามี) รวมท้ัง Implant abutment (กรณีที่จําเป็น) ไปยังห้องปฏิบัติการทางทันตกรรมประดิษฐ์ เพอ่ื ทําครอบฟนั 3.2.1.7 ใส่ครอบฟนั ให้ผปู้ ว่ ย โดยยดึ Implant abutment ลงบน Implant fixture ดว้ ย Insertion torque ทีถ่ กู ต้องตามท่บี ริษัทผู้ผลติ กาํ หนด 3.2.1.8 ตรวจและแก้ไขครอบฟันใหแ้ นบสนทิ กบั Implant abutment พอดี มี Proximal contact และการสบฟันท่ถี ูกตอ้ ง 3.2.1.9 ถ่ายภาพรังสีดว้ ยเทคนิค Bite wing เพือ่ ดูความแนบสนิทของ Implant abutment กับ Implant fixture และครอบฟนั กับ Implant abutment 3.2.2 กรณีการใสร่ ากฟนั เทียมรับฟนั เทียมถอดได้ 3.2.2.1 อาจพิจารณาทําฟนั เทยี มถอดได้ใหเ้ สรจ็ เรียบร้อยก่อนฝังรากฟนั เทียม เพื่อลดความ ผิดพลาดในข้ันตอนทางทนั ตกรรมประดิษฐ์ 3.2.2.2 ประเมินฟนั เทียมที่มีอยใู่ นเรอ่ื งความแนบของฐานฟันเทียม (Tissue surface) ขอบเขตและการสบฟันทถี่ ูกต้องและมคี วามสวยงาม 3.2.2.3 เลือก Transmucosal abutment ขนาดความสูงท่ีเหมาะสม ยึดลงบน Implant fixture ด้วย insertion torque ท่ถี กู ต้องตามท่ีบรษิ ัทผู้ผลติ กําหนด 3.2.2.4 ถา่ ยภาพรงั สีดว้ ยเทคนิค Bite wing เพอ่ื ดูความแนบสนิทของ Transmucosal abutment กบั Implant fixture 3.2.2.5 ยึดสว่ น (Pick-up) Metal Housing เข้ากับฟันเทยี มดว้ ยวธิ ี Direct หรือ Indirect pick up ตามความเหมาะสม 4. การตดิ ตามผลการรกั ษา และการให้คาปรกึ ษาแนะนาการดูแลสขุ ภาพช่องปาก 4.1 แนะนาํ ถึงวิธกี ารใชฟ้ นั เทียมและการดแู ลรกั ษาฟันเทยี มทีถ่ ูกตอ้ งให้ผปู้ ว่ ยทราบ 4.1.1 อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงประสทิ ธิภาพของฟนั เทียม และรากฟันเทียมว่า จะมปี ระสิทธภิ าพตํา่ กว่าฟันธรรมชาติ

4.1.2 ควรเล่ยี งอาหารเหนยี วและแข็ง ควรแปรงฟนั รว่ มกบั การใช้ไหมขดั ฟนั ในกรณีใส่รากฟนั เทยี มรับ ฟันซเ่ี ดี่ยว หรอื ยงั มฟี ันธรรมชาติหลงเหลืออยู่ 4.1.3 ในกรณีใส่รากฟันเทียมรับฟันเทียมถอดได้ ควรถอดฟันเทียมออกมาทําความสะอาดหลงั อาหาร ทุกครั้งรวมทั้งทําความสะอาดในช่องปากให้สะอาดเช่นกัน ไม่ควรใส่ฟันเทียมนอน เมื่อไม่ได้ใส่ ฟันเทยี มควรแช่ในนํ้าสะอาด ระวังการตก เพราะฟันเทยี มอาจแตกหักหรอื ชาํ รุดได้จากอุบัติเหตุ และการบดเคีย้ วอาหารทแี่ ข็งมากๆ ได้ 4.1.4 หากมปี ัญหาให้กลบั ไปพบทันตแพทย์ทนั ที 4.2 นดั ตรวจสภาพฟนั เทียมและรากฟันเทียม รวมท้ังสว่ นทีเ่ กี่ยวข้องเป็นระยะทุก 6 เดือนแม้วา่ ผ้ปู ่วยสามารถ ใช้งานไดด้ ี ก็ควรกลบั ไปพบทันตแพทย์เป็นระยะอยา่ งสม่าเสมอ หากมหี รอื พบความผดิ ปกติจะได้แก้ไขได้ ทันท่วงที ควรแจ้งให้ผู้ป่วยเข้าใจด้วยว่า ฟันเทียมและรากฟันเทียมอาจจะเสียหายได้เม่ือใช้งานติดต่อกัน เป็นเวลานานโดยไม่ได้ทาความสะอาดอย่างถูกวิธี หรือขาดการตรวจสภาพเป็นระยะ ฟันเทียมถอดได้มี อายุการใช้งานประมาณ 2 – 5 ปี เพราะจะมีการสึกของพลาสติกที่เป็นฟันเทียมทาให้เค้ียวอาหารไม่ ละเอียด รวมท้ังสันเหงือกอาจยบุ ตวั มากขึ้น ทาให้ฟันเทียมหลวม เวลาเค้ียวเกิดการโคลงตัวของฟันเทียม กดเหงือกเปน็ แผลเจ็บและกลายเป็นก้อนเน้ือเหตุฟันเทยี ม รวมท้งั อาจบดิ งดั Transmucosal abutment หรอื Implant fixture ได้ 5. กระบวนการเบิกจ่ายวัสดุทางทันตกรรมรากเทียม ให้ดาเนินการตามกระบวนการที่สถาบันทันตกรรม กาหนดอยา่ งเครง่ ครัด

ผู้ป่วยทต่ี อ้ งการใสฟ่ ันโดย เหมาะสม ประเมินชอ่ งวา่ งและกา ว่าเหมาะสมหรือ ประเมนิ Soft tissue ประเมินระดับกระดกู โดยการถา่ ยภาพ พิจารณาว่าปรมิ าณ KT เพียงพอหรอื ไม่ implant stent วา่ มีเพยี งพอ ไมเ่ พยี งพอ เพียงพอ เพยี งพอ เพ่มิ ปริมาณ KTอาจจะทา ฝังรากเทยี ม อาจ กอ่ นหรือหลงั การ ฝงั รากฟันเทยี ม Restoration ติดตามการรกั ษาตอ่ เน่อื ง

ยรากฟันเทยี ม ารสบฟนั ไม่เหมาะสม อไม่ วางแผนแกไ้ ขชอ่ งวา่ ง และการสบฟัน พรังสี 3 มติ ิ รว่ มกับ อหรอื ไม่ ได้ ว่าแก้ไขได้หรอื ไม่ ไมไ่ ด้ ไมเ่ พียงพอ ทาการรกั ษา ใสฟ่ นั โดยวธิ ีอื่น วางแผนเพม่ิ ปรมิ าณกระดกู จทากอ่ น/ระหว่างการฝังรากเทยี มได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook