Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการศึกษาชาติ 20 ปี

แผนการศึกษาชาติ 20 ปี

Published by สุภัตรา จินพละ, 2021-07-05 06:19:10

Description: แผนการศึกษาชาติ 20 ปี

Search

Read the Text Version

166 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๐ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ที่ ๔ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ระดบั หน่วยงาน รับผดิ ชอบดำเนนิ การ ■ สำนักงานเลขาธิการ ๑) ศกึ ษา วจิ ัย จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับการสรา้ งโอกาส สภาการศึกษา ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา • หนว่ ยงานอืน่ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ๒) ออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลและสารสนเทศระดบั กบั การจดั การศึกษา สถานศกึ ษา จำแนกตามหน่วยงาน/สังกัด ระดบั /ประเภท การศึกษา ท่ีสามารถบูรณาการและเชอ่ื มโยงกบั ระบบ การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก และ ระบบตดิ ตามประเมนิ ผลการพัฒนาการศกึ ษา ตามยทุ ธศาสตร ์ แผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกบั แผนการศึกษาแห่งชาต ิ ๓) ประสานและติดตามประเมินผลการใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มลู สารสนเทศ ๔) ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศกึ ษาตามแผน การศึกษาแห่งชาติ และในมิตอิ ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ๕) จดั ทำ ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมาย และระเบียบที่เก่ียวขอ้ ง ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) จดั การศึกษาและเรียนร้ใู นรูปแบบทเ่ี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพ่อื สร้างโอกาสและพัฒนาคุณภาพชวี ติ สำหรบั ผูเ้ รยี นกลมุ่ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ท่ีมีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ กลุม่ ความสามารถพิเศษ และ การอาชวี ศึกษา กลุ่มดอ้ ยโอกาส ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๒) ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาแบบเรียนรวม (Inclusive การอุดมศึกษา Education) ให้ครอบคลมุ และทั่วถงึ มากขึน้ • หน่วยงานอืน่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๓) จดั สรรบุคลากรเพ่ือชว่ ยเหลอื เด็กทม่ี คี วามตอ้ งการจำเป็น กบั การจัดการศึกษาสำหรับ พิเศษให้เพียงพอ กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะดา้ น เฉพาะทางในระดบั ต่าง ๆ ๔) พฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนท่เี หมาะสมสำหรับผู้เรยี นที่ม ี ความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ ๕) จดั ทำฐานข้อมูลและสารสนเทศผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ด้วยระบบเทคโนโลยดี ิจิทัล ทีถ่ กู ต้อง เปน็ ปจั จบุ ัน และ มกี ารปรบั ปรุงขอ้ มูลทุกไตรมาส ๖) จัดทำระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาทคี่ รอบคลุม ถูกตอ้ ง เป็นปจั จบุ ัน และสามารถอ้างอิงและใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั ระหวา่ งหน่วยงานได้ ๗) จดั ทำฐานข้อมลู ส่อื การเรยี นการสอน และสอ่ื การเรยี นร้ทู ่ไี ด้ คุณภาพและมาตรฐาน ๘) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลใหค้ รอบคลุมทกุ พ้ืนที่ เพ่ือสนับสนุนการจดั การเรยี นรใู้ นรูปแบบ DLTV DLIT และให้ บริการส่ือการเรยี นรูแ้ ละการทดสอบความรู้ในระดบั การศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน ๙) ดำเนินการในภารกิจอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 167 ตาราง ๒๐ บทบาทของหนว่ ยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ท ี่ ๔ ส่กู ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ระดับ หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ สว่ นภูมภิ าค ■ สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษา ๑) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบ และการเขา้ ถงึ นอกระบบและการศกึ ษา แหล่งเรยี นรูท้ ี่สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ และวิถีชวี ติ ของผเู้ รียน ตามอัธยาศยั ทุกกล่มุ เปา้ หมาย • หน่วยงานอน่ื ที่เกีย่ วข้อง ๒) เรง่ พฒั นาแหลง่ เรียนร้ทู ี่เออ้ื ต่อการศกึ ษาและการเรยี นร ู้ กบั การจดั การศึกษานอกระบบ ตลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ๓) จดั ทำข้อมูลและสารสนเทศรายบคุ คลของผูเ้ รียน และขอ้ มลู ดา้ นอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ผ่านระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั ๔) ดำเนนิ การในภารกิจอ่ืน ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง • หนว่ ยงานอื่นท่ีรว่ มจดั ๑) จัดการศกึ ษาและเรยี นรใู้ นรปู แบบท่เี หมาะสมและมีคุณภาพ การศึกษาเฉพาะกลุ่ม เฉพาะดา้ น เพอ่ื สร้างโอกาสและพัฒนาคณุ ภาพชีวิต สำหรับผู้เรียน เฉพาะกล่มุ เฉพาะด้าน ๒) จดั ทำข้อมูลและสารสนเทศรายบุคคลของผเู้ รยี น และขอ้ มูล ดา้ นอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ผา่ นระบบเทคโนโลยดี ิจิทัล ๓) รายงานผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ต่อหน่วยงาน • สำนักงานศึกษาธิการภาค/ ต้นสังกัด เพื่อการปรับปรงุ และพัฒนาให้ระบบมคี วามสมบรู ณ ์ ๔) ดำเนนิ การในภารกจิ อน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด/ ๑) ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาและเรยี นรู้ในรูปแบบทเี่ หมาะสมและ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา • หน่วยงานอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง มีคณุ ภาพ เพือ่ สร้างโอกาสและพฒั นาคุณภาพชวี ติ สำหรบั ในระดบั ภมู ิภาค/พนื้ ท่ี ผู้เรียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๒) พฒั นาระบบข้อมลู และสารสนเทศ เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ ระดับสถานศึกษา หนว่ ยงานส่วนภูมภิ าค และหน่วยงาน ส่วนกลาง ๓) สง่ เสริมใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาในพ้นื ท่ีใชโ้ ปรแกรม คอมพวิ เตอรผ์ า่ นระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือการบนั ทกึ และ จดั กระทำขอ้ มลู และสารสนเทศสำหรับสถานศึกษา ๔) สง่ เสริม สนบั สนุนการพัฒนาบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพื่อใหเ้ กิด การบรู ณาการและเชื่อมโยง สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถ่ี กู ตอ้ งและ เปน็ ปัจจุบัน และใช้ประโยชน์เพอื่ การบริหารจัดการและ การพฒั นาการศึกษา ๕) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง

168 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๐ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์ท ี่ ๔ สกู่ ารปฏบิ ัติ (ต่อ) ระดบั หนว่ ยงาน รับผิดชอบดำเนินการ สถานศึกษา ทุกสงั กดั ๑) จดั การเรียนรู้ในรปู แบบทีเ่ หมาะสมและมีคณุ ภาพ สำหรบั ผู้เรียนกลมุ่ ทม่ี คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ ท้ังกลมุ่ ความสามารถพิเศษ และกลุ่มดอ้ ยโอกาส ๒) จัดการศกึ ษา บนั ทกึ และจดั กระทำข้อมูลและสารสนเทศ รายบคุ คลของผเู้ รยี นและข้อมลู ท่เี กีย่ วขอ้ งผ่านระบบ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล ๓) รายงานผลการดำเนินงาน ปัญหา อปุ สรรค ต่อหนว่ ยงาน ตน้ สังกดั เพอื่ การปรบั ปรุงและพัฒนาใหร้ ะบบมคี วามสมบรู ณ์ ท้งั ด้าน software hardware และ peopleware ๔) ดำเนนิ การในภารกจิ อน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 169 การขบั เคลื่อนยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ : การจดั การศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ เป็นยทุ ธศาสตร์ทีม่ จี ดุ ม่งุ หมายเพ่ือสร้างจิตสำนึก ปลูกฝงั ทัศนคติ ค่านยิ ม วัฒนธรรมของคนทุกช่วงวัยในพฤติกรรมที่เก่ียวกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ การจัดทำฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การสร้าง ความตระหนัก และเสริมสร้างศักยภาพให้ประชาชนสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้เพ่ือจัดการในเรื่อง ภัยธรรมชาต ิ ความม่ันคงทางอาหาร พลงั งาน และการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติได้ รวมทงั้ พัฒนา แหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ท่ียืดหยุ่น หลากหลาย สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพนื้ ท่ีต่าง ๆ ได้

170 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ บทบาทของหน่วยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ ส่กู ารปฏิบตั ิ ตาราง ๒๑ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ สู่การปฏบิ ัติ ระดบั หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ส่วนกลาง • กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑) กำหนดนโยบายการจัดการศกึ ษาเพือ่ ส่งเสรมิ สนบั สนุนให ้ ■ สำนักงานปลัด คนทุกชว่ งวัยมีพฤตกิ รรม และทกั ษะท่ีสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิต กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม ๒) ส่งเสริมสนบั สนุนใหท้ ุกภาคสว่ นพฒั นาการวจิ ัย องคค์ วามร้ ู • หน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล นโยบาย แผนการสรา้ งเสริม และนวัตกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ิต คุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับ ที่เป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ ม ๓) ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการพัฒนาแหล่งเรียนรู ้ ทม่ี ีมาตรฐาน เพอ่ื เสริมสรา้ งความร้ ู ความเขา้ ใจ และจติ สำนกึ เกย่ี วกับส่ิงแวดลอ้ มให้กับคนทกุ ชว่ งวยั ๔) สร้างกลไกความร่วมมอื ระหว่างสถานศกึ ษา ชมุ ชน สังคม และ หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง เพื่อสร้างจติ สำนกึ ปลกู ฝงั ทศั นคต ิ ค่านยิ ม วัฒนธรรมของคนทุกช่วงวัยในการสร้างเสรมิ คณุ ภาพ ชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ๕) ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ้ังในและ นอกห้องเรียน เพือ่ พฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ๖) สง่ เสรมิ การนำแนวปฏิบัติในการดำรงชีวติ ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และหลกั ธรรมของศาสนาไปปฏิบตั ิ ในชวี ติ จริง ๗) ดำเนินการในภารกิจอื่น ๆ ที่เกยี่ วข้อง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) พฒั นาหลักสตู รในระดับการศกึ ษาต่าง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และนอกระบบท่สี รา้ งจิตสำนกึ ความตระหนัก และพฤติกรรม ทสี่ ง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม โดยคำนึงถงึ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ บรบิ ทที่แตกตา่ งกันของแต่ละท้องถน่ิ การอาชีวศึกษา ๒) จดั การศึกษาและการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรทส่ี ร้างเสรมิ คุณภาพ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การอุดมศกึ ษา ๓) ส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั การเรียนร/ู้ กจิ กรรมทัง้ ในและ • หนว่ ยงานอน่ื ทจ่ี ัดการศึกษาระดับ นอกหอ้ งเรียน เพือ่ พัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสำนึก การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน อาชีวศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา ความรบั ผดิ ชอบ ๔) ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการเรียนร้/ู กิจกรรม/สื่อการเรยี นรู ้ • หน่วยงานอน่ื ท่ีเกยี่ วขอ้ ง กับการจดั การศกึ ษาสำหรับ ในการนำแนวปฏบิ ัตใิ นการดำรงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของ กล่มุ เป้าหมายเฉพาะดา้ น เศรษฐกิจพอเพียง และหลกั ธรรมของศาสนาไปปฏิบตั ิ เฉพาะทางในระดับตา่ ง ๆ ในชวี ติ จรงิ ๕) พัฒนาและอบรมคร ู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ในเรอ่ื งการจดั การเรยี นการสอนทสี่ ง่ เสรมิ การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และแนวปฏิบตั ิ ในการดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 171 ตาราง ๒๑ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขับเคล่ือนยุทธศาสตรท์ ี ่ ๕ สูก่ ารปฏิบัติ (ต่อ) ระดับ หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ ส่วนภูมภิ าค ๖) ปลูกฝังและพัฒนาผเู้ รยี น/บัณฑติ ใหม้ ีพฤติกรรม คุณลกั ษณะ และทักษะทส่ี ร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม และสามารถประพฤติปฏิบัตติ นเป็นตัวอยา่ งท่ดี ใี หก้ ับบคุ คล อนื่ ๆ ได้ ๗) สง่ เสริมสถาบนั การศกึ ษาใหผ้ ลิตบคุ ลากรสาขาเฉพาะดา้ น หรือมคี วามเชยี่ วชาญระดบั สูงด้านส่ิงแวดลอ้ ม ๘) ศกึ ษา วจิ ัยสร้างองค์ความรู้และนวตั กรรม และสรา้ งเครอื ขา่ ย ความร่วมมือกบั ต่างประเทศเก่ียวกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ภยั ธรรมชาติ ความม่นั คงทางอาหาร และพลังงาน • สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค/ ๙) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัด/ ๑) สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาสำหรับคนทกุ ช่วงวัยใหม้ พี ฤตกิ รรม สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา • หนว่ ยงานอ่ืนท่เี กย่ี วขอ้ ง และทกั ษะท่ีสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ในระดบั ภูมิภาค/พืน้ ที่ ๒) พฒั นาแหล่งเรียนรู้ และส่อื การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทีม่ ีคณุ ภาพ มาตรฐาน ในเร่ืองสง่ิ แวดล้อมทส่ี อดคล้องกบั บรบิ ทของสังคม และวฒั นธรรมในแตล่ ะพน้ื ท่ีใหก้ ับคนทุกชว่ งวัย ๓) สนบั สนนุ และใหค้ วามรว่ มมอื กบั ทกุ ภาคส่วนในการมสี ว่ นรว่ ม พัฒนาแหลง่ เรียนรทู้ มี่ มี าตรฐานในเร่อื งการสรา้ งเสริมคณุ ภาพ ชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มใหก้ บั คนทุกชว่ งวยั ๔) พฒั นาระบบข้อมลู และสารสนเทศด้านการศึกษาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กบั การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ๕) กำกับ ตดิ ตาม และสนบั สนนุ การดำเนินงานของสถานศกึ ษา และหน่วยงานตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้องให้บรรลุผลตามเป้าหมาย ของการจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ ร กบั สง่ิ แวดล้อม ๖) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ที่เก่ยี วข้อง สถานศกึ ษา ทกุ สังกดั และทุกระดบั การศกึ ษา ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทงั้ ในและ และหอ้ งเรียน นอกห้องเรยี น และกิจกรรมการเรียนร้รู ่วมกันของครอบครวั กล่มุ สนใจ และชมุ ชน ท่ีสอดแทรกการสร้างจติ สำนกึ ปลูกฝัง ทศั นคต ิ ค่านยิ ม วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกบั การสร้างเสรมิ คุณภาพ ชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ๒) พฒั นาแหล่งเรียนรทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิต ทีเ่ ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม ให้มกี ิจกรรมทีม่ ีความยดื หย่นุ หลากหลาย และสามารถพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของคนในพื้นท่ี ตา่ ง ๆ ได้ ๓) ดำเนนิ การในภารกิจอืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง

172 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ : การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ที่ ๖ เป็นยุทธศาสตร์ที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิดระบบ/รูปแบบการบริหาร จัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคมและพัฒนาระบบ การเงินเพ่ือการศึกษาให้รัฐสามารถใช้ทรัพยากรในการกำหนดทิศทางการผลิตและพัฒนาผู้เรียน และกำลังคนของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือให้บริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มาตรฐานแก่ผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สนองตอบความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา และสังคม ด้วยความรับผิดชอบ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล รวมท้ัง พัฒนาระบบการผลิต ใช้และพัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงกับความร ู้ ความสามารถ มีความกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 173 บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ สูก่ ารปฏบิ ัติ ตาราง ๒๒ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรท์ ี ่ ๖ ส่กู ารปฏิบัติ ระดบั หน่วยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ส่วนกลาง • กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑) ปรับปรุงโครงสรา้ งและระบบการบรหิ ารจดั การทีม่ ี ■ สำนกั งานปลัด ความเหมาะสม สามารถนำไปปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม และขยายผลไปสูห่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ระดบั หน่วยงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค และสถานศกึ ษา • หน่วยงานอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง ๒) กำหนดนโยบายการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ กับการพฒั นาระบบบรหิ าร สถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาท่ตี อ้ งการ จัดการศึกษา ความชว่ ยเหลือและพฒั นาเปน็ พิเศษอย่างเร่งดว่ น • หนว่ ยงานอนื่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เพอื่ สร้างคุณภาพและมาตรฐานการจดั การศึกษาในทุกพ้นื ที่ กับการพัฒนาระบบการเงิน ๓) ส่งเสรมิ สนับสนุนศกั ยภาพและความพรอ้ มของหน่วยงาน เพอ่ื การศกึ ษา บคุ คล สมาคม มูลนธิ ิ สถานประกอบการ สถาบนั /องคก์ ร ตา่ ง ๆ ในสังคม ในการสนบั สนุนหรอื มีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา โดยเฉพาะการมสี ่วนรว่ มรูปแบบประชารฐั ๔) กำหนดมาตรการจงู ใจในการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการระดมทนุ หรอื รว่ มสนบั สนุนการศกึ ษาของทุกภาคส่วนในสังคม ผา่ นมาตรการทางการเงินและการคลัง ๕) กำหนดนโยบายการพฒั นาระบบการเงนิ เพอื่ การศกึ ษาท่ี ส่งผลต่อคณุ ภาพและประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษา ๖) กำหนดกลไกกลางรับผดิ ชอบระบบการเงนิ เพ่อื การศกึ ษา ทำหนา้ ท่กี ำกบั ทศิ ทาง ยทุ ธศาสตร ์ และการดำเนินงาน ในดา้ นตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง ๗) จดั ระบบการจดั สรรงบประมาณผ่านอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน การพฒั นาระบบบญั ชสี ถานศกึ ษา และการรายงานการเงิน ผ่านระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั ๘) ปรบั ปรุงและพฒั นาระบบ และวธิ ีการจัดสรรงบประมาณ ทใี่ ช้สนบั สนุนผู้เรียนและการจัดการศึกษา ใหเ้ ปน็ กลไก ในการสรา้ งทักษะแรงงานระดับกลางและระดับสงู และกำกับ เปา้ หมายการผลิตกำลงั แรงงานในสาขาที่สอดคล้องกับ ความตอ้ งการจำเปน็ ในการพฒั นาประเทศ ๙) กำหนดนโยบายการบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย ์ และ บุคลากรทางการศึกษาใหเ้ หมาะสมกบั สภาวการณ์ดา้ น โครงสรา้ งประชากร และความตอ้ งการในการพัฒนาคณุ ภาพ ผเู้ รียนและสมรรถนะกำลงั คนของประเทศ ๑๐) ปรบั ปรงุ ฐานข้อมลู ความตอ้ งการใช้ครูให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ และสดั ส่วนของประชากรวยั เรยี น ๑๑) จดั ทำแผนการใชค้ รูของประเทศ และกำกับดูแลการใชค้ ร ู ใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการใชค้ รขู องประเทศ

174 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๒ บทบาทของหนว่ ยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ท ี่ ๖ สูก่ ารปฏบิ ัติ (ต่อ) ระดบั หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ๑๒) จัดทำ ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมาย ประกาศ ระเบียบและ แนวปฏบิ ตั ใิ นสว่ นตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ๑๓) ดำเนินการในภารกจิ อ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง ■ สำนกั งานเลขาธิการ ๑) ศึกษา วจิ ัยทศิ ทางระบบบรหิ ารจดั การศึกษา รูปแบบ สภาการศกึ ษา การบรหิ ารงานบคุ คลของคร ู อาจารย์ และบคุ ลากร ทางการศึกษา • หน่วยงานอ่ืนทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๒) ศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบการเงนิ เพื่อการศกึ ษา กับการพัฒนาระบบการเงิน เพอื่ ศึกษา ทั้งด้านการระดมทนุ การจดั สรรทนุ และการบรหิ ารจดั การ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ ๓) ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบการจัดสรรเงนิ ผ่านดา้ นอปุ สงคแ์ ละ อปุ ทานของสถานศกึ ษา ๔) ออกแบบและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การกองทนุ เพือ่ การศกึ ษาตามบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู ๕) พฒั นาระบบกองทนุ เพอื่ การศึกษารูปแบบตา่ ง ๆ ใหเ้ กิด ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล เพอ่ื เปน็ เครื่องมอื ในการกำกับ การผลิตกำลังคนของสถาบนั การศึกษาใหส้ นองตอบ ความตอ้ งการของการพัฒนาประเทศ ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง • สำนักงานรบั รองมาตรฐานและ ๑) พฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา ทีบ่ รู ณาการเชอ่ื มโยงกับระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน (องคก์ ารมหาชน) การประเมินคณุ ภาพภายนอก และการตดิ ตามประเมนิ ผลของ หน่วยงานสว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค ๒) พัฒนาระบบการประเมินประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของ สถานศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทการศกึ ษา ๓) ปรบั ปรงุ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ให้เป็นระบบที่ไมย่ งุ่ ยากต่อการปฏิบัต ิ และไม่เป็นภาระของ ผู้สอน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษาแต่ละระดับ และ เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ๔) ดำเนนิ การในภารกจิ อน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑) พฒั นาระบบการใชค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหป้ ฏบิ ตั งิ าน ขา้ ราชการครูและบุคลากร ตรงกับความรูค้ วามสามารถ ทางการศกึ ษา ๒) พัฒนาระบบการสรรหาและแตง่ ตัง้ ผ้บู ริหารการศึกษา และ ผู้บริหารสถานศกึ ษาระดับต่าง ๆ

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 175 ตาราง ๒๒ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ สู่การปฏิบตั ิ (ต่อ) ระดับ หนว่ ยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ๓) พฒั นาระบบประเมนิ สมรรถนะครูตามมาตรฐานวิชาชีพ รวมทง้ั พฒั นาระบบการประเมินตำแหนง่ และวิทยฐานะ สำหรบั ตำแหน่งท่ีมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ๔) พฒั นาระบบเงนิ เดอื นและค่าตอบแทน สำหรับครทู ่มี ี สมรรถนะสงู และครูท่ีปฏิบตั ิงานในพ้ืนท่หี ่างไกล ทุรกนั ดาร เสยี่ งภัย และพ้ืนที่พเิ ศษ ๕) พฒั นากระบวนการบรหิ ารจัดการอตั รากำลงั ครูและระบบ การจา้ งครู ๖) ปรับปรุงกฎ ระเบียบและแนวปฏิบัตใิ นส่วนตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง ๗) ดำเนินการในภารกจิ อื่น ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง ■ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ๑) พฒั นาระบบการประเมินตามระดับคุณภาพของมาตรฐาน วิชาชีพเพือ่ การตอ่ อายุใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ๒) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชพี การประเมนิ ความรูแ้ ละสมรรถนะ และ การออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ๓) ดำเนินการในภารกจิ อนื่ ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) จัดกล่มุ สถานศกึ ษาที่จดั การศึกษาต่ำกวา่ ระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตอนปลายด้วยระบบภูมิสารสนเทศ เพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ • หน่วยงานอน่ื ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การบรหิ าร และการจัดการท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา และ กบั การจัดการศึกษาระดับ บริบทของพ้ืนท ่ี การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๒) ดำเนินมาตรการทางการบรหิ ารจัดการ เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของสถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษา ที่ตอ้ งการความช่วยเหลือและพฒั นาเปน็ พเิ ศษอยา่ งเรง่ ด่วน ๓) จดั ระบบการบรหิ ารงานบุคคลของหน่วยงาน และสถานศึกษา ในสงั กัดใหส้ อดคล้อง รองรบั กบั นโยบายและแผนการใชค้ รู ของประเทศ ๔) ร่วมดำเนินงานจดั การศึกษากบั ภาคสว่ นประชาสงั คม โดยเฉพาะการมีสว่ นรว่ มรปู แบบประชารัฐ ๕) จดั ระบบบญั ช ี และรายงานการเงินของสถานศกึ ษาในสังกดั ให้มปี ระสิทธภิ าพ ตรวจสอบได้และเป็นปัจจุบนั รวมท้ัง พัฒนาบคุ ลากรใหส้ ามารถบันทกึ การเงนิ ของสถานศึกษา ผ่านระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ๖) ดำเนินการในภารกจิ อน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

176 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๒ บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ท ี่ ๖ สู่การปฏบิ ัติ (ตอ่ ) ระดบั หน่วยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) ปรบั โครงสร้าง ระบบ และกลไกการบรหิ ารและการจัดการ การอาชีวศึกษา สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความเปน็ เลศิ ในศาสตร/์ สาขาวิชาทีส่ ถาบนั มีความเช่ยี วชาญ ■ สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ๒) ปรับระบบการบรหิ ารจดั การทีม่ ุ่งเนน้ ธรรมาภบิ าลและ ความรับผิดชอบทตี่ รวจสอบได้ของสถาบนั อาชีวศกึ ษาและ • หนว่ ยงานอนื่ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ อุดมศกึ ษา ที่จดั การศกึ ษาระดับอาชีวศกึ ษา ๓) ส่งเสรมิ สนบั สนุนและร่วมจดั การศกึ ษากบั ทกุ ภาคสว่ น และอดุ มศึกษา ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื การสรา้ งและพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ กำลังคนท่มี ี • หน่วยงานอื่นทเ่ี กี่ยวข้อง คุณภาพและมสี มรรถนะท่พี ึงประสงค์ กับการพฒั นาระบบการเงนิ ๔) ปรบั ระบบและวธิ ีการสนับสนนุ ผเู้ รียนระดบั อาชีวศึกษาและ เพ่อื การศึกษา อุดมศกึ ษาในสาขาทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการจำเปน็ ในการพฒั นาประเทศ ๕) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาระดับอาชีวศกึ ษา/สถาบนั อดุ มศึกษา ปรับปรงุ ระบบการเก็บค่าเล่าเรียน คา่ ธรรมเนียม การเรียนที่สะทอ้ นต้นทนุ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมรับภาระ ค่าใช้จ่ายในสดั สว่ นท่ีเหมาะสม ๖) ดำเนินการในภารกิจอ่ืน ๆ ท่เี กย่ี วข้อง ส่วนภูมภิ าค • สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค/ ๑) ปรบั โครงสร้าง ระบบและกลไกการบริหารและการจดั การของ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัด/ หนว่ ยงานระดบั จงั หวัดเพ่อื รองรบั บทบาทหน้าท่ผี กู้ ำกับ สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา นโยบาย แผน มาตรฐาน สง่ เสรมิ สนบั สนุน และติดตาม ประเมนิ ผล รวมทัง้ เพม่ิ ศักยภาพและความเขม้ แขง็ ของ • หน่วยงานอนื่ ที่เกย่ี วขอ้ ง กับการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ สถานศึกษาในการบริหารและจัดการศกึ ษา และการมีสว่ นรว่ มในการจัด ๒) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารและการจัดการสถานศึกษา การศกึ ษาของทกุ ภาคส่วน ขั้นพ้นื ฐานขนาดเลก็ การพฒั นาสถานศกึ ษาในพ้นื ทใี่ หเ้ ปน็ โรงเรียนคณุ ภาพ (Magnet School) และการปรบั ปรุง คุณภาพและประสิทธิภาพของสถานศึกษาทีต่ ้องการ ความช่วยเหลอื และพฒั นาเป็นพิเศษอยา่ งเร่งดว่ น (ICU) ๓) พัฒนาสถานศึกษาขนาดเลก็ ทเี่ ลกิ /ควบรวมให้เป็น แหลง่ เรยี นร้ขู องชุมชน ตามความตอ้ งการจำเป็น ๔) ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษา หรือการมสี ่วนร่วม ในการจัดการศึกษาของบคุ คล ครอบครวั ชุมชน มูลนิธ ิ วัด องค์กรเอกชน สถานประกอบการ สถาบัน/องคก์ รตา่ ง ๆ ใน สังคมใหเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ๕) กำหนดแผนงาน ขัน้ ตอน และมาตรการทางการบรหิ าร เพื่อ กระจายอัตรากำลงั ครใู ห้เหมาะสม

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 177 ตาราง ๒๒ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ที่ ๖ สูก่ ารปฏบิ ตั ิ (ตอ่ ) ระดบั หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนินการ สถานศึกษา ๖) พฒั นากระบวนการบริหารจัดการอัตรากำลังคร ู และระบบ การจ้างครู เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามจี ำนวน ทเ่ี หมาะสม รวมทง้ั ปรบั ปรุงฐานข้อมูลความต้องการใชค้ รู ให้เหมาะสม ๗) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่ืน ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง • สถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ๑) พฒั นาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของ • หน่วยงานอื่นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทก่ี ำหนด ๒) เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาดว้ ยรปู แบบ กบั การจดั การศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน วิธีการที่เหมาะสม สอดคล้องกบั บริบทและความตอ้ งการ จำเปน็ ของสถานศกึ ษา ๓) นำผลการประกันคณุ ภาพการศกึ ษามาใชใ้ นการวางแผน การปฏบิ ัต ิ การตรวจสอบติดตาม เพ่อื การปรับปรุง พฒั นา สถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ๔) สรา้ งการมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาจากทกุ ภาคสว่ นใน ชุมชน พื้นท่ ี เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ๕) ดำเนนิ การในภารกิจอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง • สถาบันอาชีวศึกษา/ ๑) พฒั นาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตาม สถาบนั อุดมศึกษา มาตรฐานที่กำหนด • หนว่ ยงานอื่นทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ๒) เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การสถาบันอาชวี ศกึ ษา/ กบั การจัดการศกึ ษาระดับ สถาบันอุดมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศึกษา ๓) สรา้ งความเป็นเลศิ ในศาสตร์/สาขาวิชาท่แี ตล่ ะสถาบนั มีความเชีย่ วชาญ ๔) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง

178 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๖.๓ การติดตามประเมินผลแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มหี ลกั การและแนวทางในการติดตามและประเมนิ ผล ดงั น ี้ ๑. หลักการตดิ ตามประเมนิ ผลแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ๑.๑ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษามีส่วนร่วมในกระบวนการ ด้วยการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงาน องค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ผู้จัด การศกึ ษา ผู้รบั บริการทางการศึกษาทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ทกุ ระดับ นกั วิชาการ ชุมชน และประชาชน ท่วั ไป ไดร้ ่วมตรวจสอบ ให้ขอ้ มลู และรับทราบขอ้ มลู อย่างเท่าเทียม ๑.๒ ใช้ระบบการประเมินผลผลิต ผลลัพธ ์ และผลกระทบของการดำเนินงานตาม แผนการศึกษาแห่งชาต ิ เพื่อวดั ความสำเรจ็ ของแผนการศกึ ษาแห่งชาต ิ ๑.๓ หน่วยงาน องค์กรหรือสถาบันการศึกษาประเมินผลด้วยตนเอง เพื่อสร้าง กระบวนการเรียนรู้และติดตามผลการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด ควบคู่กับการให้หน่วยงานหรือ สถาบนั ทเ่ี ป็นกลางทำหน้าทีป่ ระเมนิ ผลเพอ่ื ความถูกต้องตามหลักวชิ าการ ๑.๔ มีหลักเกณฑ์การติดตามประเมินผลและตัวชี้วัดที่ชัดเจน โปร่งใส มีมาตรฐาน เป็นกลางและถูกต้องตามหลักวิชาการบนพ้ืนฐานของข้อเท็จจริง เพื่อให้สามารถใช้เป็นแนวทาง ปรบั ปรุงและทบทวนมาตรการ นโยบาย แผนงานโครงการ ทัง้ ระดบั ภาพรวม กระทรวง/หนว่ ยงาน หรอื เทยี บเทา่ ภมู ภิ าค จังหวดั และสถานศกึ ษา ใหส้ ามารถตอบสนองความต้องการในการรบั บริการ ทางการศกึ ษาของประชาชนทกุ ช่วงวัยอย่างเสมอภาคและเปน็ ธรรม ๒. แนวทางการประเมนิ ผลแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ๒.๑ ประเมนิ ผล ๓ ระยะเวลา ๑) การประเมินผลก่อนการดำเนินงานหรือก่อนเริ่มโครงการ เป็นการประเมิน บรบิ ท และสภาวะก่อนการดำเนนิ การ ๒) การประเมินผลระหว่างดำเนนิ การ เปน็ การติดตามประเมินผลความกา้ วหน้า ในระยะท่ีกำลังดำเนินงานเพื่อศึกษาว่ามีปัญหาอุปสรรคใดบ้างในการดำเนินงาน ทั้งจากปัจจัย ภายในและภายนอกทมี่ ีผลกระทบต่อการดำเนินงาน ๓) การประเมินผลหลังการดำเนินงาน เป็นการประเมินผลภายหลังจากสิ้นสุด แผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อสรุปว่ามีความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว ้ มากน้อยเพียงใด มีผลผลิต ผลลัพธ์ใดที่เกิดขึ้น เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตลอดจนผลกระทบท้งั ทางบวกและลบ ๒.๒ วางระบบการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการระดับกระทรวง ส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค จงั หวดั และเขตพน้ื ท่ี เพ่อื เชอื่ มโยงแผนปฏบิ ตั ิการจงั หวดั และภมู ิภาคกบั แผนการศึกษา แหง่ ชาต ิ โดย

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 179 ๑) กำหนดประเด็นการพัฒนาของหน่วยงานที่เช่ือมโยงกับประเด็นการพัฒนา และเป้าหมายที่กำหนดในแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นกรอบในการกำหนดแผนปฏิบัติการ ของเขตพื้นท่ ี จังหวัด ภมู ภิ าค สว่ นกลางและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ๒) ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลระหว่างดำเนนิ การ ๓) ประเมินผลแผนงานโครงการทั้งในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติระยะดังกล่าวและเป็นข้อมูล ในการปรับมาตรการและตวั ช้ีวัดผลผลติ ในระยะต่อไป ๒.๓ ส่งเสริมให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรหลักในกระทรวง ศึกษาธิการ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงบประมาณ และ หน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังในส่วนกลางและในพ้ืนที ่ เพ่ือให้การติดตามประเมินผลมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล ๒.๔ จัดให้หน่วยงานหรือองค์กรท่ีมีความเป็นมืออาชีพด้านการวัดและประเมินผล มีความชำนาญและเป็นท่ียอมรับของทุกฝ่ายเป็นผู้ประเมิน เพื่อให้การติดตามประเมินผล มคี วามเป็นสากล ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ เชือ่ ถือได ้ ๒.๕ จัดเวทีสาธารณะเพ่ือให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีเวทีแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย และโปร่งใส ตรวจสอบได ้ ๒.๖ นำเสนอผลการติดตามและประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติให้ทุกฝ่าย ท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบ ท้ังประชาชน กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการศึกษา หน่วยงานกำหนด นโยบาย หน่วยงานนำนโยบายไปปฏิบัติ หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนผู้มีส่วนได้ สว่ นเสยี และสาธารณชนผ้สู นใจได้รับทราบผลการประเมนิ ๖.๔ ปจั จัยและเงื่อนไขความสำเรจ็ (Key Success Factors) การดำเนินการตามวัตถุประสงค ์ เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ตามที่กำหนดไว้ใน แผนการศึกษาแห่งชาติจะประสบผลสำเร็จตามที่ระบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ได้หน่วยงานทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด เขตพ้ืนท ่ี การศึกษา และสถานศึกษาต้องยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุง มาตรการ เป้าหมายความสำเร็จให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละพ้ืนท่ ี เพื่อการพัฒนา ศกั ยภาพผู้เรยี นในทุกชว่ งวยั ซง่ึ ต้องดำเนนิ การ ดงั น ี้ ๑) การสรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ และการยอมรับจากผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี และประชาสังคม ในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่างๆ อย่างกว้างขวาง มุ่งเน้นที ่

180 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การจัดระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของ ผเู้ รยี นในทุกระดับ ๒) การสร้างความเข้าใจในเป้าหมายและยุทธศาสตร์การดำเนินงานของแผนการศึกษา แห่งชาติของผู้ปฏิบัติทุกหน่วยงาน ทุกระดับ เพ่ือให้การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติ ไปสู ่ การปฏบิ ตั ิ มกี ารบรหิ ารจดั การและการเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพฒั นาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย และวิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษา มีคณะกรรมการกำกับดูแลแต่ละยุทธศาสตร์ให้เกิดการนำไป ปฏบิ ัติ โดยมรี ะบบงบประมาณเป็นกลไกสนบั สนุนใหบ้ รรลผุ ลอยา่ งเป็นรูปธรรม ๓) การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษา จากการเป็นผู้จัดการศึกษาโดยรัฐ มาเป็นการจัดการศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสังคม ท่ีมุ่งการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและ ท่ัวถึง (Inclusive Education) ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน ซ่ึง สอดคลอ้ งกับเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน (Sustainable Development Goals) ๔) การจัดให้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจัดการศึกษา ของรัฐ ระบบการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ยึดแผนงาน โครงการ และเป้าหมายการพัฒนา ที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของแผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นหลักในการ พิจารณา เพื่อให้การดำเนินงานพัฒนาการศึกษาเป็นไปในทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน แต่ละช่วงวัย และการพัฒนากำลังคนตามความต้องการของตลาดงานและประเทศ เพ่ือการจัด การศกึ ษาบรรลผุ ลตามยุทธศาสตร์ ตัวชว้ี ดั ในชว่ งเวลาท่ีกำหนด ๕) การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ โดยปรับโครงสร้าง การบริหารงานให้มคี วามชัดเจนในดา้ นบทบาทหน้าท่ี และการกระจายอำนาจและการตดั สินใจจาก ส่วนกลางสู่ระดับภูมิภาคและสถานศึกษา รวมท้ังการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหาร งานบุคคลในแต่ละระดับให้ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมี คณุ ภาพ ผเู้ รียนได้รบั บรกิ ารการศกึ ษาทีม่ ีมาตรฐานอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี ม ๖) การสร้างระบบข้อมูลและสารสนเทศที่บูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบการประกัน คุณภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพภายนอกผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงาน ต่อสาธารณชนจะเป็นกลไกในการสร้างการรับรู้ของผู้จัดการศึกษาและผู้เรียน เพื่อการปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผู้เรียน ผ่านระบบการกำกับ ตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผล ๗) การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้รัฐสามารถใช้เคร่ืองมือ ทางการเงินในการกำกับการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติและ นโยบายรฐั บาล

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 181 การขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติให้ประสบความสำเร็จจึงต้องอาศัยปัจจัยดังกล่าว ข้างตน้ เปน็ สำคญั หากสาธารณชนทกุ ภาคสว่ นเขา้ มารว่ มสนับสนนุ การดำเนนิ การ และผปู้ ฏบิ ัติงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายเข้าใจบทบาทของตนและรวมพลังดำเนินงานตามยุทธศาสตร ์ เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาที่กำหนด ย่อมส่งผลให้การพัฒนาการศึกษาของชาติบรรล ุ ผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาคน พัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ ตามความมุ่งหวัง

182 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ บรรณานกุ รม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (๒๕๕๘). รายงานสถิติคดีประจำปี ๒๕๕๗. (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า: http://www.djop.go.th/images/djopimage/yaer2557.pdf (๒๗ มีนาคม ๒๕๕๙) กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์. (๒๕๕๗). ประชากรสูงอายุไทย: ปัจจุบนั และ อนาคต. ปราโมทย์ ประสาทกุล. (๒๕๕๖). สถานการณ์ผู้สูงอายุ แนวโน้ม และผลกระทบจากการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน. ราชกิจจานุเบกษา. (๒๕๕๗). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗. เลม่ ๑๓๑ ตอนที ่ ๕๕ ก. ลดาวัลย์ ค้าภา. (๒๕๕๙). ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี Sustainable Development Goals และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ของประเทศ. นำเสนอใน เวทีสาธารณะนโยบายน้ำ สกว. คร้งั ที ่ ๗ เร่ือง การเช่อื มโยงยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารจัดการ นำ้ กับยทุ ธศาสตรช์ าต ิ วันพธุ ท่ ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมเอทสั ลมุ พนิ ี กรงุ เทพฯ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (๒๕๕๖). ผลการประเมิน PISA 2012 คณติ ศาสตร์ การอา่ น และวิทยาศาสตร์ บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร. บรษิ ทั แอดวานซ์ พริ้นตงิ้ เซอรว์ สิ จำกัด. . (๒๕๕๙). ผลการประเมนิ PISA 2015 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ บทสรุป สำหรบั ผบู้ ริหาร. บรษิ ัทแอดวานซ์ พร้นิ ต้งิ เซอรว์ ิส จำกัด. . (๒๕๕๖). สรปุ ผลการวจิ ยั โครงการ TIMSS 2011 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔. บรษิ ทั แอดวานซ ์ พร้ินต้งิ เซอร์วสิ จำกัด. . (๒๕๕๙). สรุปผลการวจิ ยั โครงการ TIMSS 2015 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒. บริษทั แอดวานซ์ พร้นิ ต้งิ เซอร์วสิ จำกดั . สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (๒๕๕๘). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๘. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.bopp-obec.info/home/?page_id=18308. (๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๗). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๗. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=14038. (๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๙)

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 183 . (๒๕๕๖). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๖. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=10968. (๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๕). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๕. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=5993. (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๔). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๔. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=2113. (๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๓). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๓. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=1063. (๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๒). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๒. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/info_52/index.php. (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๕๙). เอกสารจำนวนผู้ออกกลางคัน ปีการศึกษา ๒๕๕๗. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. (อัดสำเนา) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๕๗). ประมาณการสัดส่วน ผู้สูงอายใุ นไทย. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๘). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). เอกสารประกอบการประชมุ ประจำปี ๒๕๕๘ ของ สศช. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). สำนักงานเลขาธิการนายกรฐั มนตร.ี (๒๕๕๘). ร่างกรอบยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี. (อดั สำเนา) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๕๙). จดหมายถึง IMD กรณีสมรรถนะการศึกษาไทยใน เวทีสากล พ.ศ. ๒๕๕๙ (IMD 2016) : ในชีพจรการศึกษาโลก. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.onec.go.th/ onec_web/page.php?mod=Eduworld&file=view& itemId=1948 (๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๙). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๗). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ ศตวรรษท่ี ๒๑. บริษทั พริกหวาน กราฟฟคิ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. . (๒๕๕๙). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษา แห่งชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ (พ.ศ. 2552-2559). (อัดสำเนา)

184 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ . (๒๕๕๙) (ร่าง) กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔. บริษัท พรกิ หวาน กราฟฟคิ : สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. . (๒๕๕๙). สถิติการศึกษาของประเทศไทย ปีการศึกษา ๒๕๕๘. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารการฉายภาพประชากรวัยเรียนของประเทศไทย ๑๕ ปีข้างหน้า. กรงุ เทพมหานคร : สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารรายจ่ายด้านการศึกษาของภาครัฐส่วนกลาง (กรมบัญชีกลาง GFMIS) ปี พ.ศ. ๒๕๕๗. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (อัดสำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารรายจ่ายด้านการศึกษาของภาคครัวเรือน ปีการศึกษา ๒๕๕๘. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (อัดสำเนา) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๕๕). การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. คณะทำงานจัดทำ ข้อมลู เพอื่ เตรียมความพร้อมข้าราชการรฐั สภาสูป่ ระชาคมอาเซยี น. (อัดสำเนา) . (๒๕๕๗). รายงานการติดตามผลการพัฒนาระดับภาคในระยะครึ่งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) และแนวทางการพฒั นาในระยะตอ่ ไป. (อดั สำเนา) สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (๒๕๕๘). บทสรุปสำหรับผู้บริหารการสำรวจการอ่านของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๘. (ออนไลน์). แหล่งที่มาhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ themes/files/ readingSum58_update.pdf. (๑ เมษายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๘). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. ๒๕๕๘. (ออนไลน์).แหล่งท่ีมา: http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ themes/files/ icthh_report_58.pdf. (๑ เมษายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๖). สรปุ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ การสำรวจความตอ้ งการตลาดแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ.๒๕๕๖. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.m-society.go.th/article_attach/ 11930/16186.pdf (๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๙). เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://osthailand. nic.go.th แผนพัฒนาสถิติทางการ/แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นท่ี/118-sdgs/257 sustainable-development-goals-sdgs.html. (๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙) สำนกั วิจยั และสถิต.ิ (๒๕๕๘). สังคมสูงวยั ในอาเซียน. บรษิ ัทไทยรบั ประกนั ภยั ต่อ จำกดั (มหาชน). สุวิทย ์ เมษินทรีย์. (๒๕๕๘). โมเดลประเทศไทย ๔.๐. หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 185 . (๒๕๕๘). ไขรหัส “ประเทศไทย ๔.๐” สร้างเศรษฐกิจใหม่ก้าวข้ามกับดักรายได้ ปานกลาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://sustainabledevelopment.un.org/sdgs (๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๘). โสภาวด ี เลิศมนัสชัย. (๒๕๕๕). การปฏิรูประบบสวัสดิการพื้นฐานของสังคม กองทุนบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ. Quacquarelli Symonds. (2016). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www.topuniversities.com/university-rankings/asian-university- rankings/2016#sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+ search= (July 2016) . (2015). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2015# sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2014). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2014# sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2013). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2013# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2012). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2012# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2011). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2011# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2010). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2010# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016)

186 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ . (2009). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2009# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2016). QS World University Ranking 2015/16. (Online). Available from : http://www.topuniversities.com/university-rankings/world-university-rankings /2015#sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) OECD/UNESCO (2016). Education in Thailand : An OECD-UNESCO Perspective. Reviews of National Policies for Education. OECD Publishing. Paris. http://dx.doi.org/10.1787/9789264259259119-en. The World Competitiveness Center. (2008) IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2009). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2010). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2011). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2012). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2013). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2014). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2015). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2016). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. United Nations. (2002). World Population Ageing 1950-2050. United Nations Publications. . (2012). World Population Prospects: The 2012 Revision. Population Division of Department of Economic and Social Affairs of the United Nations Secretariat. http:22esa.un.org2undp2wpp2index.htm. . (2016). Sustainable development goals. (Online). http://www. thairath.co.th/content/613903. (June 2016)

ภาคผนวก



แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 189 คำสัง่ สภาการศึกษา ท่ี ๒ / ๒๕๕๘ เรอื่ ง การแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกจิ ดา้ นจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และได้จัด ทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๙) ข้ึน เพื่อเป็นแผนแม่บทสำหรับหน่วยงานท่ี เกยี่ วขอ้ งนำไปใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการพฒั นาการศกึ ษา และตอ่ มาไดป้ รบั ปรงุ เปน็ แผนการศกึ ษา แหง่ ชาติ ฉบับปรบั ปรงุ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) ซงึ่ จะส้ินสดุ ระยะเวลาของแผนในปี ๒๕๕๙ เพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมบ่ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค ์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงแต่งต้ังคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านการจัดทำ แผนการศึกษาแห่งชาติ ดงั น้ี องคป์ ระกอบ ประธานอนุกรรมการ ๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ นุสรณ์ ธรรมใจ รองประธานอนุกรรมการ ๒. รองศาสตราจารยว์ ุฒสิ าร ตนั ไชย รองประธานอนกุ รรมการ ๓. นางสทุ ธศร ี วงษส์ มาน อนกุ รรมการ ๔. นายเขมทัต สคุ นธสงิ ห ์ อนุกรรมการ ๕. นายถาวร ชลัษเสถียร อนุกรรมการ ๖. รองศาสตราจารย์ทพิ รัตน ์ วงษเ์ จรญิ อนุกรรมการ ๗. นายเทอดศักด์ ิ ชมโตะ๊ สุวรรณ อนกุ รรมการ ๘. นายบัณฑิต ธนชัยเศรษฐวฒุ ิ อนกุ รรมการ ๙. นายพันธอุ์ าจ ชัยรตั น์

190 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๑๐. รองศาสตราจารยย์ งยทุ ธ แฉล้มวงษ ์ อนุกรรมการ ๑๑. รองศาสตราจารยว์ ิทยากร เชยี งกลู อนุกรรมการ ๑๒. ศาสตราจารยศ์ ภุ ชัย ยาวะประภาษ อนุกรรมการ ๑๓. ศาสตราจารย์ พลโท สมชาย วริ ฬุ หผล อนกุ รรมการ ๑๔. นายสมนกึ พิมลเสถยี ร อนกุ รรมการ ๑๕. ศาสตราจารย์สมพงษ ์ จติ ระดบั อนุกรรมการ ๑๖. นายสุเมธ แยม้ นนุ่ อนกุ รรมการ ๑๗. นายอรรถการ ตฤษณารงั ส ี อนุกรรมการ ๑๘. ผู้แทนกรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ อนกุ รรมการ ๑๙. ผแู้ ทนกระทรวงแรงงาน อนุกรรมการ ๒๐. ผแู้ ทนสำนกั งบประมาณ อนกุ รรมการ ๒๑. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน อนุกรรมการ ๒๒. ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อนกุ รรมการ ๒๓. ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อนกุ รรมการ ๒๔. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร ์ อนุกรรมการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหง่ ชาติ ๒๕. ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ อนกุ รรมการ และสังคมแหง่ ชาติ ๒๖. ผ้แู ทนสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ อนกุ รรมการ ๒๗. ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สกศ. อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ๒๘. หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษาหภาค สกศ. อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๒๙. เจา้ หนา้ ทส่ี ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๐. เจา้ หนา้ ทสี่ ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 191 อำนาจหน้าท่ี ๑. พิจารณาเสนอความเห็นหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ รวมทง้ั การนำสกู่ ารปฏิบัติ ๒. ดำเนนิ การจดั ทำแผนการศกึ ษาแห่งชาต ิ เสนอต่อสภาการศกึ ษา ๓. แตง่ ต้งั คณะทำงานเพ่อื ดำเนนิ งานตามท่คี ณะอนกุ รรมการมอบหมาย ๔. มอบหมายบคุ คลหรือคณะบคุ คลเพือ่ ดำเนนิ การตามทเี่ ห็นสมควร ๕. ดำเนนิ การอืน่ ใดตามทสี่ ภาการศึกษามอบหมาย ทง้ั นี ้ ต้งั แต่บดั นีเ้ ปน็ ตน้ ไป สงั่ ณ วันที่ ๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเรือเอก (ณรงค ์ พพิ ัฒนาศัย) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ ประธานสภาการศกึ ษา

192 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คำสั่งคณะอนกุ รรมการสภาการศึกษาเฉพาะกจิ ดา้ นจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ ท่ี ๑ / ๒๕๕๘ เร่อื ง การแตง่ ต้ังคณะทำงานจดั ทำกรอบแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และ สภาการศึกษาได้มีคำส่ังแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศึกษา แห่งชาติ ตามคำสั่งสภาการศึกษาที ่ ๒/๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ โดยมีหน้าที่พิจารณา เสนอความเหน็ หรอื ใหค้ ำแนะนำเกยี่ วกบั การจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาต ิ รวมทงั้ การนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และดำเนินการจดั ทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ เสนอตอ่ สภาการศกึ ษา เพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมบ่ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค ์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ จึงเห็นสมควรแต่งต้ัง คณะทำงานจัดทำกรอบแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ดงั น ้ี องคป์ ระกอบ ๑. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยอ์ นุสรณ ์ ธรรมใจ ทป่ี รกึ ษา ๒. นายกฤษณพงศ ์ กีรตกิ ร ทป่ี รกึ ษา ๓. นายเขมทัต สุคนธสงิ ห์ ประธานคณะทำงาน ๔. นางสาวเจอื จันทร ์ จงสถิตอย่ ู คณะทำงาน ๕. รองศาสตราจารย์วฒุ สิ าร ตนั ไชย คณะทำงาน ๖. นายสมนกึ พมิ ลเสถยี ร คณะทำงาน ๗. ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สกศ. คณะทำงานและเลขานกุ าร ๘. หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค สกศ. คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๙. เจ้าหนา้ ท่ีสำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๑๐. เจ้าหนา้ ท่สี ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 193 อำนาจหนา้ ท่ี ๑. ศกึ ษา วเิ คราะห ์ สังเคราะห ์ และจัดทำกรอบแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ๒. นำเสนอคณะอนกุ รรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกิจ ดา้ นจดั ทำแผนการศกึ ษาแห่งชาต ิ ๓. ดำเนนิ การอ่นื ใดที่เกีย่ วข้องตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ทั้งนี ้ ตั้งแตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป สั่ง ณ วันท่ ี ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ นสุ รณ์ ธรรมใจ) ประธานคณะอนุกรรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกิจ ดา้ นจดั ทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ

194 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คำส่งั กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สกศ. ๑๑๑๙ / ๒๕๕๙ เรอ่ื ง การแตง่ ตงั้ คณะทำงานพจิ ารณาแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำ นโยบายและแผนการศึกษาแห่งชาต ิ ที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษา ทุกระดับ ทุกประเภท และได้ดำเนินการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ซงึ่ เปน็ แผนระยะยาว ๑๕ ปี ขึน้ เพ่อื เปน็ แผนแมบ่ ทสำหรับหนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งนำไปใช้เป็นกรอบ แนวทางในการพัฒนาการศึกษาในชว่ งระยะเวลาดังกลา่ ว เพ่ือให้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ สามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง มีประสิทธภิ าพและเป็นรปู ธรรม จึงจำเป็นต้องจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติเปน็ ตน้ ฉบบั และรปู เลม่ สมบูรณ์ รวมท้ังมีรูปแบบเหมาะสมแก่การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนรับทราบ และ เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ เหน็ สมควรแตง่ ตงั้ คณะทำงานพจิ ารณาแผนการศกึ ษา แหง่ ชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ดงั น้ ี องคป์ ระกอบ ประธานคณะทำงาน ๑. เลขานุการรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.อ.ณัฐพงษ ์ เพราแก้ว) รองประธานคณะทำงาน ๒. รองเลขาธิการสภาการศกึ ษาท่ไี ดร้ ับมอบหมาย คณะทำงาน ๓. นายเกรยี งพงศ์ ภมู ริ าช คณะทำงาน ๔. นางเกศทิพย ์ ศุภวานชิ คณะทำงาน ๕. นายจิระ เฉลิมศกั ดิ์ คณะทำงาน ๖. นายปรเมษฐ์ โมลี คณะทำงาน ๗. รองศาสตราจารยฤ์ ๅเดช เกดิ วิชยั

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 195 ๘. นายวิม กลั ปนาท คณะทำงาน ๙. ผชู้ ่วยศาสตราจารยศ์ ุภรา เชาวป์ รีชา คณะทำงาน ๑๐. นายสามารถ รอดสำราญ คณะทำงาน ๑๑. รองศาสตราจารย์สุรินทร์ คำฝอย คณะทำงาน ๑๒. ผู้แทนสำนกั นโยบายและยุทธศาสตร ์ สป.ศธ. คณะทำงาน ๑๓. ผู้แทนสำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สป.ศธ. คณะทำงาน ๑๔. ผู้แทนสำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการคร ู คณะทำงาน และบุคลากรทางการศกึ ษา สป.ศธ. ๑๕. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษา คณะทำงาน เอกชน สป.ศธ. ๑๖. ผแู้ ทนสำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ คณะทำงาน การศึกษาตามอธั ยาศยั สป.ศธ. ๑๗. ผู้แทนสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สพฐ. คณะทำงาน ๑๘. ผ้แู ทนสำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา สพฐ. คณะทำงาน ๑๙. ผแู้ ทนสำนักนโยบายและแผนการอาชวี ศึกษา สอศ. คณะทำงาน ๒๐. ผู้แทนสำนักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชพี สอศ. คณะทำงาน ๒๑. ผแู้ ทนสำนกั นโยบายและแผนการอดุ มศกึ ษา สกอ. คณะทำงาน ๒๒. ผู้แทนสำนักมาตรฐานและประเมินผลอดุ มศึกษา สกอ. คณะทำงาน ๒๓. ผู้แทนสำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา คณะทำงาน ๒๔. ผูแ้ ทนสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะทำงาน ๒๕. ผแู้ ทนสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ คณะทำงาน ๒๖. นายถวัลย ์ มาศจรัส คณะทำงาน ๒๗. นายรวิช ตาแกว้ คณะทำงาน ๒๘. นางสาวสุวีณา เกนทะนะศลิ คณะทำงาน ๒๙. นางสาวสมปอง สมญาติ คณะทำงาน ๓๐. นางสาวรุง่ นภา จิตรโรจนรกั ษ ์ คณะทำงาน ๓๑. นางสาวสายร้งุ แสงแจ้ง คณะทำงาน ๓๒. นางสาวณุตตรา แทนขำ คณะทำงาน ๓๓. นายภูริต วาจาบณั ฑิตย์ คณะทำงาน ๓๔. นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐยี ร คณะทำงาน

196 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๓๕. ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา คณะทำงานและเลขานกุ าร (นายชาญ ตนั ตธิ รรมถาวร) คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๓๖. นางรัชน ี พึง่ พาณิชย์กุล คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๓๗. นางสาวสอาดลักษม ์ จงคลา้ ยกลาง คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ๓๘. นางสาวชลาลยั ทรัพยส์ ัมพันธ์ อำนาจหนา้ ท่ี ๑. รวบรวม สังเคราะห์เอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ๒. พจิ ารณาใหข้ อ้ คดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ เนอ้ื หาสาระ และรปู แบบการนำเสนอ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ๓. ดำเนินการอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติฯ ตามท่ีประธาน มอบหมาย ทง้ั นี ้ ตั้งแต่บัดนเ้ี ป็นต้นไป สงั่ ณ วันท่ ี ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก (ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 197 คำสั่งสำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ที่ ๑๑/ ๒๕๖๐ เรอ่ื ง การแต่งตง้ั คณะทำงานปรบั ปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาต ิ ท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และ ได้ดำเนินการจัดทำร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ขึ้น เพ่ือเป็นแผนแม่บท สำหรับหน่วยงานที่เก่ียวข้องนำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในช่วงระยะเวลา ดงั กล่าว สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจะได้ดำเนินการปรับปรุงร่างแผนการศึกษาแห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ เปน็ “แผนการศกึ ษาแหง่ ชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙” ซงึ่ เปน็ แผนระยะยาว ๒๐ ป ี เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ป ี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และเพื่อให้ การปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควร แต่งตงั้ คณะทำงานปรับปรงุ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ดังน ้ี องค์ประกอบ ทป่ี รกึ ษา ๑. เลขาธิการสภาการศกึ ษา ประธานคณะทำงาน ๒. รองเลขาธิการสภาการศึกษา (นางวฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์) คณะทำงาน ๓. ผ้ชู ว่ ยเลขาธิการสภาการศึกษา คณะทำงาน (นายชาญ ตันตธิ รรมถาวร) คณะทำงาน ๔. นางสาวพฒุ ิสาร์ อัคคะพ ู คณะทำงาน ๕. นางสาวสุวมิ ล เล็กสขุ ศร ี ๖. นายสำเนา เนอื้ ทอง

198 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๗. นางสาวสมปอง สมญาติ คณะทำงาน ๘. นายสมพงษ ์ ผยุ สาธรรม คณะทำงาน ๙. นางสาวรงุ่ นภา จิตรโรจนรกั ษ ์ คณะทำงาน ๑๐. นางร่งุ ตะวัน งามจติ อนันต์ คณะทำงาน ๑๑. นางสาวสอาดลกั ษม์ จงคลา้ ยกลาง คณะทำงาน ๑๒. นายปานเทพ ลาภเกษร คณะทำงาน ๑๓. นางสาวสายรุง้ แสงแจง้ คณะทำงาน ๑๔. นางสาวปทั มา เอย่ี มละออง คณะทำงาน ๑๕. นางศศิรัศม ์ พนั ธก์ุ ระวี คณะทำงาน ๑๖. นายชชั วาล อัชฌากุล คณะทำงาน ๑๗. นายภานพุ งศ์ พนมวนั คณะทำงาน ๑๘. นางสาวกนกวรรณ ศรลี าเลศิ คณะทำงาน ๑๙. นายภรู ติ วาจาบณั ฑิตย ์ คณะทำงาน ๒๐. นายวีระพงษ์ อเู๋ จรญิ คณะทำงาน ๒๑. นายธรี ะพจน ์ คำรณฤทธิศร คณะทำงาน ๒๒. นางสาวพรรณงาม ธรี ะพงศ ์ คณะทำงาน ๒๓. นายวทิ ยาศาสตร ์ ดลประสทิ ธ ์ิ คณะทำงาน ๒๔. นางสาวสภุ ารัตน์ ศรหี ลัก คณะทำงาน ๒๕. นายธีรพงศ์ วงศ์จอม คณะทำงาน ๒๖. นายวรพจน ์ หาญใจ คณะทำงาน ๒๗. นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐียร คณะทำงาน ๒๘. ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา คณะทำงานและเลขานกุ าร (นางเรอื งรตั น์ วงศป์ ราโมทย์) ๒๙. นางรชั นี พ่งึ พาณิชย์กลุ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานกุ าร ๓๐. นางสาวชลาลยั ทรพั ย์สมั พันธ ์ คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๓๑. นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน์ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 199 อำนาจหน้าท่ี ๑. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ของประเทศ เอกสารและข้อมูล ที่เกย่ี วขอ้ งเพือ่ จัดทำแผนการศึกษาแหง่ ชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ๒. พิจารณาให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะและดำเนินการปรับปรุงเนื้อหาสาระ และรูปแบบ การนำเสนอของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ๓. ดำเนินการอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติฯ ตามท่ีประธาน มอบหมาย ทงั้ น้ี ตง้ั แต่วนั ท่ ี ๑ กนั ยายน ๒๕๕๙ เปน็ ตน้ ไป สงั่ ณ วันท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (นายกมล รอดคลา้ ย) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา

200 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คณะผดู้ ำเนนิ การ ทปี่ รกึ ษา รอดคลา้ ย เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ระงบั ทกุ ข ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายกมล ดลประสทิ ธ ิ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นางวฒั นาพร ตนั ตธิ รรมถาวร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายสมศกั ด ิ์ นายชาญ บรรณาธกิ ารกจิ และจดั ทำรปู เลม่ นางวฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ นางเรอื งรตั น ์ วงศป์ ราโมทย ์ นางรชั น ี พง่ึ พาณชิ ยก์ ลุ นางสาวชลาลยั ทรพั ยส์ มั พนั ธ ์ นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน ์ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางเรอื งรตั น ์ วงศป์ ราโมทย ์ ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา อำนวยการโครงการ นางรชั น ี พง่ึ พาณชิ ยก์ ลุ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค เลขานกุ ารโครงการ นางสาวสอาดลกั ษม ์ จงคลา้ ยกลาง นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นกั วชิ าการประจำโครงการ นางสาวสายรงุ้ แสงแจง้ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นางสาวชลาลยั ทรพั ยส์ มั พนั ธ ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวพรรณงาม ธรี ะพงศ ์ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นายวทิ ยาศาสตร ์ ดลประสทิ ธ ์ิ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษเ์ สฐยี ร นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook